Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปงานเศรฐกิจพอเพียง-ต.โพแตง2563

สรุปงานเศรฐกิจพอเพียง-ต.โพแตง2563

Published by haningnipaporn, 2020-05-26 02:18:53

Description: สรุปงานเศรฐกิจพอเพียง-ต.โพแตง2563

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดาเนินงาน โครงการใช้ชีวติ แบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระหว่างวนั ที่ 18-19 พฤษภาคม 2563 ณ ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ประจาตาบลโพแตง หมู่ท่ี 3 ตาบลโพแตง อาเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา นางสาวนิภาพร โกษะ กศน.ตาบลโพแตง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรีอยุธยา ประจาปี งบประมาณ 2563 ไตรมาส 3-4

บนั ทึกขอ้ ความ ส่วนราชการ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ที่ ศธ ๐๒๑๐.๔๘๐๕/๖๙๕ วนั ท่ี ๒๕ เดือน พฤษภาคม ๒๕๖๓ เรอื่ ง รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการใช้ชวี ิตแบบเศรษฐกจิ พอเพียง ............................................................................................................................. ....................................................... เรียน ผู้อานวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางไทร ตามทผ่ี ู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ได้อนมุ ัติ โครงการใชช้ ีวติ แบบเศรษฐกจิ พอเพียง กศน.ตาบลโพแตง ได้ดาเนินการจัดโครงการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ในระหว่างวันที่ ๑๘ - ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ณ ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจาตาบล โพแตง หมู่ท่ี ๓ ตาบลโพแตง อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา มผี ู้เข้ารว่ มโครงการ จานวน ๑๐ คน เอกสารดังแนบมาพรอ้ มนี้ จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดทราบ (นางสาวนิภาพร โกษะ) ครู กศน.ตาบล ทราบ อื่น ๆ (นางสาววรศิ รา คานึงธรรม) ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอบางซา้ ย รักษาการในตาแหนง่ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางไทร

คานา เอกสาร รายงานผลการดาเนินงาน โครงการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง น้ี จัดทาขึ้นเพ่ือ รายงานผลการดาเนินงานด้านการจัดการศึกษาต่อเน่ือง ของ กศน.ตาบล ภายใต้การดูแลของศูนย์การศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบข้ันตอนการดาเนินกิจกรรม ประเมินผลและพฒั นาการดาเนินกิจกรรมของ ตาบลโพแตง ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารรายงานผลการดาเนินงานการจัดกิจกรรมในคร้ังน้ี จะเป็น แนวทางในการพฒั นางานและการจดั กิจกรรมในครงั้ ตอ่ ไป คณะผู้จดั ทา

สารบญั หนา้ คานา 1 สารบัญ 1 บทท่ี 1 บทนา 2 2 เหตผุ ลและความจาเป็น 3 วตั ถปุ ระสงค์ 3 ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้รบั บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กี่ยวข้อง 4 ความสาคัญของการจัดและส่งกระบวนการเรียนรู้ 5 ตามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 10 ทม่ี าและความสาคัญของกิจกรรม 15 บทที่ 3 วธิ กี ารดาเนนิ งาน 15 บทที่ 4 ผลการดาเนนิ งาน 15 บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ 15 วตั ถุประสงค์การดาเนนิ งาน 16 วิธดี าเนินการ อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ และแนวทางในการพัฒนากิจกรรม ภาคผนวก ภาพโครงการใชช้ ีวิตแบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง แบบประเมินความพึงพอใจ รายชื่อผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม

บทที่ 1 บทนา เหตุผลและความจาเป็น สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีนโยบายและจุดเน้นการ ดาเนินงานประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 นโยบายเร่งด่วนเพ่ือร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อ 3.3 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ ข้อ 1.3 การจัดการศึกษาต่อเนื่อง 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรตู้ ลอดชีวิตในรูปแบบต่างๆให้กับประชาชนเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สาม รถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง และมีการบริหารจัดการความเส่ียงอย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ ความสมดุลและย่ังยนื กศน.อาเภอบางไทร เป็นหน่วยงานจัดกิจกรรม ได้เห็นความสาคัญของการสร้างการรับรู้ในเร่ือง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ เพ่ือให้ประชาชนได้นาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน จึงได้ จัดโครงการนข้ี น้ึ วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎใี หม่ 2. เพ่ือให้ประชาชนท่ีเข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการพัฒนาอาชีพต่าง ๆ ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะได้รบั ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ใช้ในการดาเนิน ชวี ติ ประจาวนั

บทท่ี 2 เอกสารที่เก่ียวข้อง การจัดและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการใช้ชีวติ แบบเศรษฐกิจ พอเพยี ง ไดเ้ สนอแนวคิด หลักการและเอกสารทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ตามลาดับดังต่อไปนี้ 1. ความสาคัญของการจัดและส่งกระบวนการเรยี นรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. ทม่ี าและความสาคัญของกจิ กรรม 1. ความสาคัญของการจัดและสง่ กระบวนการเรียนรูต้ ามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพ่ือให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงท้ังภายในภายนอก ท้งั น้ี จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยา่ งยง่ิ ใน การนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ ทุกข้ันตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้าง พน้ื ฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหนา้ ที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดบั ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และ ความรอบคอบ เพ่ือให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ท้ังด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เปน็ อย่างดี ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบด้วยคณุ สมบตั ิ ดังนี้ 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและ ผู้อ่ืน เชน่ การผลติ และการบรโิ ภคที่อยู่ในระดบั พอประมาณ 2. ความมเี หตุผล หมายถึง การตัดสนิ ใจเก่ียวกบั ระดับความพอเพียงน้ัน จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดย พิจารณาจากเหตุปจั จัยทีเ่ กีย่ วขอ้ ง ตลอดจนคานึงถึงผลทคี่ าดว่าจะเกิดขน้ึ จากการกระทานัน้ ๆ อยา่ งรอบคอบ 3. ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดข้ึน โดยคานึงถงึ ความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ตา่ งๆ ทค่ี าดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคต โดยมี เงอื่ นไข ของการตัดสนิ ใจและดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยใู่ นระดับพอเพียง 2 ประการ ดังน้ี 1. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เก่ียวกับวิชาการต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่ จะนาความรู้เหล่านนั้ มาพิจารณาใหเ้ ชื่อมโยงกนั เพ่ือประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏบิ ตั ิ 2. เง่ือนไขคุณธรรม ท่จี ะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซอ่ื สัตย์สุจริต และมีความอดทน มคี วามเพียร ใชส้ ติปัญญาในการดาเนนิ ชวี ติ

2. ท่ีมาและความสาคญั ของกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง การปลกู ผกั ปลอดสารพิษ พชื ผกั เป็นพืชอาหารทีค่ นไทยนิยมนา มาใช้รบั ประทานกันมากเน่ืองจากมคี ุณค่าทางอาการท้ังวิตามินและ แร่ธาตุต่างๆ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อร่างกายสูง แต่ค่านิยมในการบริโภคผักนั้น มักจะเลือกบริโภคผักท่ีสวยงามไม่มี ร่องรอยการทา ลายของหนอนและแมลงศัตรูพืช จึงทา ให้เกษตรกรท่ีปลูกผักจะต้องใช้สารเคมีป้องกันและกาจัด แมลงฉีดพ่นในปริมาณท่ีมาก เพื่อให้ได้ผักที่สวยงามตามความต้องการของตลาด เม่ือผู้ซ้ือนา มาบริโภคแล้วอาจ ได้รับอันตรายจากสารพิษที่ตกค้างอยู่ในพืชผักนั้นได้เพื่อเป็นการแก้ปัญหาดังกล่าว เกษตรกรจึงควรหันมา ทาการ ปลูกผักปลอกภัยจากสารพิษ โดยนา เอาวิธีการป้องกันและกา จัดศัตรูพืชหลายวิธีมาประยุกต์ใช้ร่วมกัน เป็นการ ทดแทนหรอื ลดปริมาณการใชส้ ารเคมีใหน้ อ้ ยลง เพ่อื ความปลอดภัยของเกษตรกร ผู้บริโภคและส่งิ แวดล้อม ขอ้ ดขี องการปลูกผักปลอดภัยจากสารพษิ 1. ทา ใหไ้ ดพ้ ืชผกั ท่ีมคี ุณภาพ ไมม่ สี ารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บรโิ ภค 2. ช่วยใหเ้ กษตรกรผปู้ ลกู ผักมีสุขภาพอนามัยที่ดขี น้ึ เน่ืองจากไม่มีการฉีดพ่นสารเคมปี ้องกันและกาจัด ศัตรูพืช ทา ใหเ้ กษตรกรปลอดภัยจากสารพิษเหล่าน้ีด้วย 3. ลดต้นทนุ การผลติ ของเกษตรกรด้านค่าใช้จ่ายในการซ้ือสารเคมีปอ้ งกันและกา จัดศัตรูพืช 4. ลดปริมาณการนา เข้าสารเคมีปอ้ งกนั และกา จดั ศัตรูพืช 5. เกษตรกรจะมีรายไดเ้ พิ่มมากขึ้น เนือ่ งจากผลผลิตท่ีได้มีคณุ ภาพ ทา ให้สามารถขายผลผลติ ได้ในราคา สูงขน้ึ 6. ลดปรมิ าณสารเคมปี ้องกนั และกา จดั ศตั รูพืชทจ่ี ะปนเป้ือนเข้าไปในอากาศและนา้ ซ่งึ เปน็ การอนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและลดมลพิษของส่งิ แวดล้อมได้ทางหนึ่ง

บทท่ี 3 วธิ กี ารดาเนนิ งาน ด้วย กศน.ตาบล ได้จัด โครงการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง โดยยึดประชาชนในตาบลเป็นสาคัญ ทาให้เกิดเน้ือหาสาระ ระยะเวลาการจัดกิจกรรม สถานที่ และลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้ ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับ ศักยภาพและความพร้อมของประชาชนกลุ่มเป้าหมายซ่ึงเป็นการตอบสนองนโยบายของสานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ซึง่ ไดด้ าเนนิ การ ดงั น้ี โครงการใชช้ วี ติ แบบเศรษฐกิจพอเพยี ง (18-19 พฤษภาคม 2563) สาระสาคญั เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาทชี่ ี้แนวทางการดารงชีวิต ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลย เดชมพี ระราชดารสั แก่ชาวไทยนบั ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 เป็นต้นมาและถกู พดู ถงึ อยา่ งชัดเจนในวันท่ี 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 เพ่ือเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศไทย ให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและย่ังยืนใน กระแสโลกาภิวัฒนแ์ ละความเปลี่ยนแปลงต่างๆ เศรษฐกิจพอเพียงเปน็ ปรัชญาท่ียึดหลักทางสายกลาง ท่ีชแี้ นวทางการดารงอย่แู ละปฏบิ ัตขิ องประชาชนใน ทุกระดับให้ดาเนินไปในทางสายกลาง มีความพอเพียง และมีความพร้อมที่จะจัดการต่อผลกระทบจากการ เปลย่ี นแปลง ซ่ึงจะต้องอาศัยความรอบรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง ในการวางแผนและดาเนนิ การทกุ ขั้นตอน ทั้งน้ี เศรษฐกิจพอเพียงเป็นการดาเนินชีวิตอย่างสมดุลและย่ังยืน เพื่อให้สามารถอยู่ได้แม้ในโลกโลกาภิวัตน์ที่มีการ แขง่ ขันสงู วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือให้ประชาชนท่ีเข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎใี หม่ 2. เพื่อให้ประชาชนท่ีเข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับการพัฒนาอาชีพต่าง ๆ ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ กิจกรรมท่ดี าเนินการ จัดกจิ กรรมใหป้ ระชาชนกลมุ่ เป้าหมายในตาบล ไดแ้ ก่ วิทยากรบรรยายความรู้เกี่ยวกบั บรรยายใหค้ วามรูเ้ ก่ียวกบั หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. บรรยายให้ความรู้ เร่ือง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ พร้อมกับแจกหนังสือแนว ทางการใชช้ วี ิตตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง พร้อมพนั ธผ์ุ ัก โดย ครู กศน.ประจาตาบล 2. บรรยายให้ความรู้ เร่ือง ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ พร้อมกบั แจกหนงั สอื แนว ทางการใชช้ วี ิตตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง พร้อมพันธ์ผุ ัก โดย ครู กศน.ประจาตาบล

ผลท่ไี ดร้ ับจากการดาเนนิ กิจกรรม ประชาชนทเี่ ขา้ ร่วมโครงการนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ใช้ในการ ดาเนนิ ชวี ิตประจาวัน

บทที่ 4 ผลการดาเนนิ งาน จากการสารวจความพึงพอใจ โครงการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ผู้เข้าร่วมโครงการ โดยใช้แบบ ประเมินความพึงพอใจ จานวน 10 ฉบับ และได้รับกลับคืนมา จานวน 10 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ โปรแกรม Excel ตามขัน้ ตอนต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. วิเคราะหข์ อ้ มูลจากแบบสอบถามตอนท่ี 1 โดยแจกแจงความถี่และคา่ ร้อยละ 2. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามตอนท่ี 2 โดยหาค่าเฉล่ีย X( ) แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ ให้ระดับคะแนนในแบบสอบถามที่เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามเกณฑ์ประเมินความคิดเห็นของ เบสท์ (Best. 1981 :182) ดังนี้ 4.51–5.00 หมายถงึ ความพึงพอใจอยูใ่ นระดับดีมาก 3.51–4.50 หมายถึงความพึงพอใจอยู่ในระดบั ดี 2.51–3.50 หมายถึงความพึงพอใจอยใู่ นระดับปานกลาง 1.51–2.50 หมายถงึ ความพึงพอใจอยู่ในระดบั พอใช้ 1.00–1.50 หมายถึงความพึงพอใจอยู่ในระดบั ปรับปรงุ 3. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามตอนที่ 3 ข้อมูลที่เป็นมาตราส่วนประมาณค่า (RatingScale) โดย หาค่าเฉล่ีย ( X ) แปลความหมายข้อมูล แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้เกณฑ์ข้อ 2 ข้อมูลที่เป็น ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ใช้วิธีการวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) จัดกลุ่มคาตอบและหาค่าความถ่ี สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ กิจกรรมการจัดและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง โครงการใชช้ ีวติ แบบเศรษฐกิจพอเพยี ง ทีเ่ ข้ารว่ มโครงการดังน้ี

ข้อมูลพ้ืนฐานของผู้ประเมินความพึงพอใจ ตารางท่ี 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตาม เพศ อายุ วฒุ ิการศึกษา และอาชีพ เพศ ขอ้ มูลท่ัวไป จานวน รอ้ ยละ อายุ ชาย 6 60.00 การศกึ ษา หญิง 4 40.00 อาชพี ตา่ กวา่ 15 ปี 0 0.00 15-29 ปี 0 0.00 30-39 ปี 2 20.00 40-49 ปี 2 20.00 50-59 ปี 5 50.00 60 ปีขนึ้ ไป 1 10.00 ตา่ กว่า ป.4 0.00 0.00 ป.4 1 10.00 ประถมศกึ ษา 2 20.00 มัธยมศึกษาตอนตน้ 1 10.00 มธั ยมศึกษาตอนปลาย 1 10.00 อนุปริญญา 2 20.00 ปรญิ ญาตรี 2 20.00 สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี 1 10.00 รับจ้าง 8 80.00 ค้าขาย 1 10.00 เกษตรกรรม 1 10.00 รับราชการ 0 0.00 อ่ืน ๆ(แมบ่ า้ น) 0 0.00 จากตารางที่ 1 แสดงจานวนผตู้ อบแบบสอบถามทั้งหมด 10 คน เป็นเพศชาย จานวน 6 คน (คดิ เป็นร้อยละ 60.00) เป็นเพศหญิง จานวน 4 คน (คิดเปน็ ร้อยละ 40.00) - ด้านอายุ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ช่วงอายุ 50-59 ปีมากที่สุด จานวน 5 คน (คิดเป็นร้อยละ 50.00) รองลงมาช่วงอายุ 30-39 ปี จานวน 2 คน (คิดเป็นร้อยละ 20.00) รองลงมาช่วงอายุ 40-49 ปี จานวน 2 คน (คิดเป็นร้อยละ 20.00) และรองลงมาช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป จานวน 1 คน (คิดเป็นร้อยละ 10.00) ตามลาดบั

- ด้านการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีการศึกษาระดับประถมศึกษามากท่ีสุดจานวน 2 คน (คิดเป็นร้อยละ 20.00) รองลงมาคือการศึกษาระดับอนุปริญญาตรี และระดับปริญญาตรี จานวน 2 คน (คิดเป็น ร้อยละ 20.00) และระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย และระดบั สูงกวา่ ปริญญาตรี จานวน 1 คน (คดิ เป็นรอ้ ยละ 10.00) ตามลาดบั - ด้านอาชีพ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีอาชีพรับจ้างมากที่สุด จานวน 8 คน (คิดเป็นร้อยละ 80.00) รองลงมามีอาชีพคา้ ขาย และอาชีพเกษตรกรรม จานวน 1 คน (คิดเปน็ ร้อยละ 10.00) ตามลาดับ สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ โครงการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกจิ พอเพียง ของตาบลท่ีเข้ารว่ มโครงการ ได้ดังน้ี แบบประเมินความพึงพอใจ มี 4 ดา้ น ผลการประเมิน ความพงึ พอใจที่มีต่อโครงการโดยรวมและแยกเป็นรายด้าน ความหมาย รายการประเมิน X 1. ความพงึ พอใจด้านเนอ้ื หา 2. ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม 4.44 ดี 3. ความพงึ พอใจต่อวทิ ยากร 4.45 ดี 4. ความพงึ พอใจด้านการอานวยความสะดวก 4.47 ดี 4.48 ดี รวม 4.46 ดี จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจท่ีมีต่อโครงการ โดยรวมและรายด้าน อยู่ใน ระดบั ดี ทุกรายการ เมื่อพิจารณาเปน็ รายขอ้ พบว่า อันดบั หนึ่งคอื ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก รองลงมาความพึงพอใจต่อวิทยากรรองลงมาความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรมและด้านความ พงึ พอใจดา้ นเน้ือหาตามลาดบั ตอนที่ 1 ความพึงพอใจดา้ นเน้อื หา ผลการประเมนิ X ความหมาย รายการประเมนิ 4.44 ดี 4.44 ดี 1. เนื้อหาตรงตามความตอ้ งการ 4.44 ดี 2. เนือ้ หาเพยี งพอต่อความต้องการ 4.45 ดี 3. เนอื้ หาปจั จบุ นั ทนั สมยั 4.44 ดี 4. เนอ้ื หามีประโยชนต์ ่อการนาไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชีวิต รวม

จากตอนที่ 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อโครงการความพึงพอใจด้านเนื้อหาโดยรวม และรายด้านอยู่ในระดับ ดี เม่ือพิจารณาเป็นรายขอ้ พบว่า อันดับหนึ่งคือ เน้ือหามีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการ พัฒนาคุณภาพชีวิตรองมาอันดับสองสามและส่ี เท่ากัน คือ เน้ือหาตรงตามความต้องการ/เนื้อหาเพียงพอต่อความ ต้องการ/และเน้ือหาปัจจุบนั ทันสมัยตามลาดับ ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม ผลการประเมิน X ความหมาย รายการประเมนิ 4.45 ดี 4.44 ดี 1. การเตรยี มความพรอ้ มก่อนอบรม 4.46 ดี 2. การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ 4.45 ดี 3. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 4.45 ดี 4. การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เป้าหมาย 4.45 ดี 5. วิธีการวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ รวม จากตอนที่ 2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมคี วามพอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรมโดยรวมและ รายด้านอยู่ในระดบั ดี เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหน่ึงคอื การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลาอันดับสอง สามและส่ี คอื การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย/วิธีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์/การเตรียม ความพร้อมกอ่ นอบรมอนั ดับห้า คอื การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ตามลาดับ ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร ผลการประเมิน X ความหมาย รายการประเมิน 4.47 ดี 4.47 ดี 1. วทิ ยากรมีความรคู้ วามสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด 4.47 ดี 2. วิทยากรมเี ทคนิคการถา่ ยทอดใชส้ ื่อเหมาะสม 4.47 ดี 3. วทิ ยากรเปดิ โอกาสใหม้ สี ่วนรว่ มและซกั ถาม รวม จากตอนที่ 3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อวิทยากรโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งสองและสาม คือวิทยากรมีความรู้ความสามารถในเร่ืองที่ถ่ายทอด/ วิทยากรมเี ทคนิคการถ่ายทอดใชส้ ื่อเหมาะสม/วิทยากรเปดิ โอกาสให้มสี ่วนร่วมและซักถามตามลาดับ

ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก ผลการประเมนิ X ความหมาย รายการประเมนิ 4.48 ดี 4.47 ดี 1. สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และสง่ิ อานวยความสะดวก 4.49 ดี 2. การสือ่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่ือใหเ้ กิดการเรียนรู้ 4.48 ดี 3. การบรกิ าร การชว่ ยเหลือและการแกป้ ญั หา รวม จากตอนท่ี 4 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวกโดยรวมและราย ด้านอยู่ในระดับดี เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งสอง คือการบริการ การช่วยเหลือและการ แก้ปัญหา อันดับสอง คือ สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และส่ิงอานวยความสะดวก และอันดับสาม คือ การส่ือสาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่ือให้เกดิ การเรียนรู้ตามลาดบั

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ผลการดาเนิน โครงการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ที่เข้าร่วมโครงการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ประเมินผลความพึงพอใจของผู้เรียน/ผู้รับบริการท่ีมีต่อโครงการโดยรวมและแยกเป็นรายด้าน โดยใช้ แบบสอบถามจานวน 10 ฉบับ เครื่องมือท่ีใช้เปน็ แบบสอบถามทเี่ ป็นแบบมาตราสว่ นประมาณคา่ 5 ระดบั ตาม เกณฑ์ประเมินความคดิ เห็นของเบสท์ (Best. 1981 : 182) วเิ คราะหข์ ้อมูลโดยหาคา่ เฉลี่ย (X ) แปลความหมาย ข้อมูล แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้เกณฑ์ข้อ 2 ข้อมูลที่เป็นความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ใช้ วิธีการวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) จัดกลุ่มคาตอบ และหาคา่ ความถี่ สรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจ จากแบบประเมนิ ความพงึ พอใจสรปุ ผลได้ ดงั น้ี 1. ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อโครงการความพึงพอใจด้านเน้ือหา โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับ ดี เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหน่ึงคือ เน้ือหามีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพชีวิตรองมาอันดับสองสามและส่ี เท่ากัน คือ เนื้อหาตรงตามความต้องการ/เน้ือหาเพียงพอต่อความต้องการ/ และเนอื้ หาปัจจบุ นั ทนั สมยั ตามลาดบั 2. ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพงึ พอใจที่มีต่อโครงการ โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับ ดี ทุกรายการ เมอื่ พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดบั หน่ึงคือ ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวกรองลงมาความพงึ พอใจตอ่ วิทยากร รองลงมาความพงึ พอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม และด้านความพึงพอใจด้าน เนอ้ื หาตามลาดับ 3. ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพงึ พอใจต่อวทิ ยากรโดยรวมและรายดา้ นอยู่ในระดบั ดี เม่ือพจิ ารณาเป็น รายข้อ พบว่า อันดบั หนงึ่ สองและสาม คอื วทิ ยากรมีความร้คู วามสามารถในเรอ่ื งทีถ่ า่ ยทอด/วทิ ยากรมเี ทคนคิ การ ถา่ ยทอดใชส้ ่อื เหมาะสม/วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้มีสว่ นรว่ มและซักถามตามลาดับ 4. ผ้ตู อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวกโดยรวมและรายด้านอยใู่ นระดบั ดี เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อนั ดบั หนง่ึ สอง คือการบรกิ าร การช่วยเหลอื และการแก้ปัญหา อันดับสอง คือ สถานที่ วสั ดุ อุปกรณ์และส่งิ อานวยความสะดวก และอนั ดับสาม คือ การสื่อสาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อให้ เกิดการเรียนรู้ตามลาดบั

ผลการดาเนนิ งาน ร้อยละ 80 ของประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบตั งิ าน - ขอ้ เสนอแนะ -

ภาคผนวก

ภาพการจัดกจิ กรรม โครงการใชช้ ีวติ แบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระหวา่ งวนั ที่ 18-19 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ณ ศูนยเ์ รยี นรู้ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ประจาตาบลโพแตง อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook