Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปพรม e-book

สรุปพรม e-book

Published by haningnipaporn, 2023-04-07 05:53:20

Description: สรุปพรม e-book

Search

Read the Text Version

บันทกึ ข้อความ ส่วนราชการ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ที่ ศธ ๐๒๑๐.๔๘๐๕/๗๔๕ วันที่ ๓ เดือน กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๖ เร่อื ง รายงานผลการดาเนนิ งานศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน (รปู แบบกลุ่มสนใจ) หลกั สูตรการถักพรมเชด็ เทา้ ............................................................................................................................. .......................................................... เรียน ผ้อู านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ตามท่ี ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ได้อนุมัติ ศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน (รูปแบบกลุม่ สนใจ) หลักสตู รการถกั พรมเช็ดเท้า กศน.ตาบลโพแตง ได้ดาเนินการจัดศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (รูปแบบกลุ่มสนใจ) หลักสูตรการถักพรม เช็ดเท้า หลักสูตร ๕ ชั่วโมง วันท่ี ๒๖ มกราคม ๒๕๖๖ ณ ศาลาวัดโพธ์ิแตงใต้ หมู่ที่ ๓ ตาบลโพแตง อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา เสร็จเรียบร้อยแล้ว มีผู้เข้าร่วมโครงการ จานวน ๖ คน เอกสารดังแนบ มาพรอ้ มนี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ (นางสาวนภิ าพร โกษะ) ครู กศน.ตาบล  ทราบ (นางสาวฐิตพิ ร พาสี)  อน่ื ๆ หวั หน้างานการศกึ ษาตอ่ เน่ือง (นายสวัสดิ์ บญุ พร้อม) ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอนครหลวง รกั ษาการในตาแหน่ง ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางไทร

คานา เอกสาร รายงานผลการดาเนินงาน การจัดและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (รูปแบบกลุ่มสนใจ) หลักสูตรการถักพรมเช็ดเท้า น้ี จัดทาข้ึนเพ่ือรายงานผลการดาเนินงานด้านการจัดการศึกษา ต่อเน่ืองของ กศน.ตาบลโพแตง ภายใต้การดูแลของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ บางไทร โดยมวี ตั ถุประสงค์เพอ่ื ตรวจสอบข้ันตอนการดาเนินกจิ กรรม ประเมินผลและพัฒนาการดาเนินกิจกรรมของ กศน.ตาบลโพแตง ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารรายงานผลการดาเนินงาน การจัดและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน (รปู แบบกลุ่มสนใจ) หลักสูตรการถักพรมเช็ดเท้า น้ี จะเป็นแนวทางในการพัฒนางานและการ จัดกจิ กรรมด้านการศกึ ษาต่อเนือ่ งของ กศน.ตาบลโพแตง ในโอกาสต่อไป นางสาวนภิ าพร โกษะ ครู กศน.ตาบล

สารบัญ คานา หน้า สารบัญ บทท่ี 1 บทนา 1 เหตุผลและความจาเปน็ 3 วัตถปุ ระสงค์ 4 ประโยชน์ท่คี าดว่าจะไดร้ ับ 5 บทที่ 2 เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง 9 ความสาคัญของการจดั และสง่ เสริมกระบวนการเรียนรศู้ ูนยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน 15 ที่มาและความสาคญั ของหลักสูตรการถักพรมเช็ดเทา้ บทที่ 3 วิธกี ารดาเนนิ งาน บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ วัตถุประสงค์การดาเนนิ งาน วธิ ีดาเนินการ อภปิ รายผล ข้อเสนอแนะ และแนวทางในการพฒั นากจิ กรรม ภาคผนวก โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชนการเพื่อการมงี านทา หลกั สูตรการถักพรมเช็ดเท้า แบบประเมนิ ความพึงพอใจ รายช่อื ผู้เข้าร่วมกจิ กรรม

บทที่ 1 บทนา เหตุผลและความจาเปน็ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เป็นโครงการสาคัญตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษ า นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 มีความสอดคล้องกับแผนระดับต่าง ๆ ในการ ดาเนินการขับเคลื่อนโครงการ ต ามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2579) ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ด้านการ พฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ : ด้านการพัฒนาศักยภาพคนตลอด ชีวิต แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566– 2570) ในการกาหนดทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 13 ให้ประเทศสามารถก้าวข้ามความท้าทายต่าง ๆเพื่อให้ “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เป็น ประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ตามเจตนารมณ์ของยุทธศาสตร์ชาติ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการให้ความชว่ ยเหลอื กลมุ่ เปราะบางใหม้ โี อกาสได้รบั การพฒั นาอยา่ งเต็มศักยภาพ เพื่อแก้ไขปัญหา ความยากจนเรื้อรังและป้องกันการส่งต่อความยากจนไปยังลูกหลาน โดยเน้นส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาและการ พัฒนาทักษะอาชพี ท่ีมคี ุณภาพแก่เด็กและเยาวชนจากครัวเรอื นยากจน พร้อมท้ังพัฒนาหลักประกันและความคุ้มครอง ทางสังคมท่ีมีการบูรณาการอย่างเป็นระบบ เพื่อส่งเสริมความม่ันคงในชีวิตให้ทุกคนในสังคมได้รับความคุ้มครองทาง สังคมอย่างเหมาะสมเพียงพอ สามารถหลุดพ้นจากความยากจนได้อย่างยั่งยืน ในส่วนของการลดความเหลื่อมล้าของ ศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจนั้น ควรมุ่งให้ความสาคัญกับการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ให้สามารถแข่งขันได้ และมีการเติบโตที่ยั่งยืน โดยพัฒนาสภาพแวดล้อมให้ผู้ประกอบการไทยสามารถแข่งขันได้อย่าง เปน็ ธรรม อาทิ การสนบั สนุนทางเทคโนโลยีและกลไกทางการเงินที่เหมาะสมเพื่อให้เข้าถึงแหล่งทุนได้อย่างทั่วถึง การ ยกระดับมาตรฐานและพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์และบริการ การเพ่ิมการเข้าถึงบริการและการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ รวมถงึ การสนบั สนนุ ให้วิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ มของไทยยทุ ธศาสตรต์ ามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของกระทรวงศึกษาธิการ : ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ แผนงานยุทธศาสตรเ์ พอื่ สนบั สนนุ ด้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ ปีงบประมาณ 2566 จุดเน้นการดาเนินงานของ กศน. “กศน.เพื่อประชาชน “ก้าวใหม่ : ก้าวแห่ง คุณภาพ” โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนให้ความสาคัญกับการจัดกิจกรรมฝึกอาชีพให้ประชาชนระดับ ฐานรากทอ่ี าศยั อยใู่ นตาบล โดยเนน้ การจัดการศกึ ษาทยี่ ึดพนื้ ท่เี ป็นฐานในการพัฒนา (Area–.based Development) ใช้หลักสูตรอาชีพเป็นฐาน (Career – Based Education) ในหลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ หลักสูตรกลุ่มอาชีพด้าน เกษตรกรรม ด้านอุตสาหกรรมหรือหัตถกรรม ด้านพาณิชยกรรมและบริการด้านความคิดสร้างสรรค์ และกลุ่มอาชีพ เฉพาะทาง ให้ได้รับการพัฒนาสมรรถนะและทักษะในการประกอบอาชีพ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะอาชีพและเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขัน พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะสั้นที่เน้น Up – Skill Re – Skill และ New – Skill ที่ สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และกลุ่มอาชีพใหม่ท่ีรองรับ Disruptive Technology เพื่อการมีรายได้ มี คุณภาพชีวิตที่ดี ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างมูลค่าเพิ่ม และพัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้าให้มี คุณภาพมาตรฐาน เป็นท่ียอมรับของตลาด มีการบูรณาการกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายให้เกิดการรวมกลุ่มและจัดตั้ง เป็นวิสาหกิจชุมชน เพ่ือเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ และสนับสนุนให้เกิดช่องทางการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ใน โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร จัดทาโครงการขับเคล่ือนการพัฒนา การศึกษาที่ยังยืน ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนหลักสูตรอาชีพเพื่อการมีงานทา รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการถักพรม เช็ดเท้า เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนท่ีมาจากการทาแบบสารวจความต้องการและเวทีชาวบ้าน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการถักพรมเช็ดเท้า ได้อย่างถูกต้องตามข้ันตอน ผู้เรียนสามารถนา ความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพและสร้างรายได้ และสามารถดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข สอดคล้อง ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผเู้ รยี นมีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดทักษะในการถักพรมเชด็ เท้า 2. เพือ่ ให้ผูเ้ รยี นสามารถสร้างอาชพี เพ่ิมรายได้ มีคุณภาพชวี ิตที่ดใี หก้ บั ตนเองและครอบครัว ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รบั 1. มงุ่ พัฒนาประชาชนให้ไดร้ ับการศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชีพ และการมงี านทาอยา่ งมีคณุ ภาพ 2. เป็นหลักสูตรอาชีพที่เน้นการสร้างรายได้เสริมในครัวเรือนมีคุณภาพชีวิตท่ีดี และใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์

บทที่ 2 เอกสารที่เกีย่ วขอ้ ง ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (รูปแบบกลุ่มสนใจ) หลักสูตรการถักพรมเช็ดเท้า ได้เสนอแนวคิด หลักการและ เอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ ง ตามลาดับดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ความสาคญั ของการจัดและส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรูศ้ ูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน 2. ท่มี าและความสาคญั ของ หลกั สตู รการถักพรมเช็ดเทา้ 1. ความสาคัญของการจัดและสง่ เสริมกระบวนการเรียนรศู้ ูนยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน กิจกรรมการจัดและส่งเสริมกระบวนการเรียนรศู้ นู ย์ฝกึ อาชีพชุมน ตามนโยบายของสานักงาน กศน. มลี ักษณะสาคัญดังน้ี - จัดให้มีศูนย์ฝึกอาชีพอาชีพชุมชนในทุกอาเภอ/เขต อย่างน้อยอาเภอ/เขตละ 3 แห่ง เพ่ือเป็น ศูนย์กลางในการฝึก พัฒนา สาธิตและสร้างอาชีพของผู้เรียนและชุมชน รวมท้ังเป็นที่จัดเก็บ แสดง จาหน่ายและ กระจายสนิ คา้ และบริการของชมุ ชนอยา่ งเปน็ ระบบครบวงจร - พัฒนาและจัดทาหลักสูตรการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ความต้องการของตลาด และศักยภาพของพื้นที่ โดยมีเป้าหมายเพ่ือให้การจัดการศึกษาอาชีพแนวใหม่ เป็นการจัด การศึกษาท่สี ามารถสร้างอาชีพหลักที่มั่นคงให้กับผู้เรียน โดยสามารถสร้างรายได้ได้จริงท้ังในระหว่างเรียนและสาเร็จ การศึกษาไปแล้ว และสามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีในการสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับอาชีพ เพ่ือพัฒนาให้เป็น ผู้ประกอบการทม่ี ีความสามารถเชิงการแขง่ ขนั อย่างย่งั ยืน - ประสานการดาเนินงานกับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนของหน่วยงานและสถานศึกษาต่าง ๆ ในพ้ืนที่เพื่อ เชือ่ มโยงเป็นเครือขา่ ยการฝกึ และสรา้ งอาชพี ของประชาชนและชมุ ชนในจงั หวัด กลมุ่ จังหวัด และระหว่างจังหวดั - จัดให้มีระบบการประสานงานเพ่ือสนับสนุนให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งทุนต่างๆ สาหรับเป็น ช่องทางในการเสริมสร้างความเข้มแข็งและการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันด้านอาชีพอย่างต่อเน่ืองให้กับ ผู้เรยี น - จดั ให้มีการกากับ ติดตาม และรายงานผลการจดั การศึกษาอาชพี เพ่อื การมีงานทาอย่างเป็นระบบและ ต่อเนื่องพร้อมทั้งนาผลที่ได้มาใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพการดาเนินงานให้เป็นไปตามความต้องการด้านการศึกษาอาชีพ เพอื่ การมงี านทาของประชาชนและความต้องการของตลาด

2. ท่ีมาและความสาคญั ของ หลกั สตู รการถกั พรมเชด็ เท้า โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เป็นโครงการสาคัญตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 มีความสอดคล้องกับแผนระดับต่าง ๆ ในการ ดาเนินการขับเคลื่อนโครงการ ต ามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2579) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการ พัฒนาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ : ด้านการพัฒนาศักยภาพคนตลอด ชวี ติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566– 2570) ในการกาหนดทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 ให้ประเทศสามารถก้าวข้ามความท้าทายต่าง ๆเพ่ือให้ “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เป็น ประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ตามเจตนารมณ์ของยุทธศาสตร์ชาติ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ การใหค้ วามชว่ ยเหลือกลุ่มเปราะบางใหม้ ีโอกาสได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ เพื่อแก้ไขปัญหา ความยากจนเร้ือรังและป้องกันการส่งต่อความยากจนไปยังลูกหลาน โดยเน้นส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาและการ พัฒนาทักษะอาชพี ท่มี ีคุณภาพแก่เด็กและเยาวชนจากครวั เรือนยากจน พร้อมท้ังพัฒนาหลักประกันและความคุ้มครอง ทางสังคมที่มีการบูรณาการอย่างเป็นระบบ เพื่อส่งเสริมความม่ันคงในชีวิตให้ทุกคนในสังคมได้รับความคุ้มครองทาง สังคมอย่างเหมาะสมเพียงพอ สามารถหลุดพ้นจากความยากจนได้อย่างยั่งยืน ในส่วนของการลดความเหล่ือมล้าของ ศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจนั้น ควรมุ่งให้ความสาคัญกับการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ใหส้ ามารถแข่งขันได้ และมีการเติบโตท่ีย่ังยืน โดยพัฒนาสภาพแวดล้อมให้ผู้ประกอบการไทยสามารถแข่งขันได้อย่าง เปน็ ธรรม อาทิ การสนับสนนุ ทางเทคโนโลยีและกลไกทางการเงินท่ีเหมาะสมเพ่ือให้เข้าถึงแหล่งทุนได้อย่างทั่วถึง การ ยกระดับมาตรฐานและพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์และบริการ การเพิ่มการเข้าถึงบริการและการจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ รวมถึงการสนบั สนนุ ใหว้ ิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมของไทยยุทธศาสตรต์ ามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของกระทรวงศึกษาธิการ : ยุทธศาสตร์ท่ี 3 พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนบั สนุนดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ ปีงบประมาณ 2566 จุดเน้นการดาเนินงานของ กศน. “กศน.เพ่ือประชาชน “ก้าวใหม่ : ก้าวแห่ง คุณภาพ” โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนให้ความสาคัญกับการจัดกิจกรรมฝึกอาชีพให้ประชาชนระดับ ฐานรากท่ีอาศัยอยใู่ นตาบล โดยเน้นการจัดการศกึ ษาท่ยี ึดพื้นทเ่ี ปน็ ฐานในการพัฒนา (Area–.based Development) ใช้หลักสูตรอาชีพเป็นฐาน (Career – Based Education) ในหลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ หลักสูตรกลุ่มอาชีพด้าน เกษตรกรรม ด้านอุตสาหกรรมหรือหัตถกรรม ด้านพาณิชยกรรมและบริการด้านความคิดสร้างสรรค์ และกลุ่มอาชีพ เฉพาะทาง ให้ได้รับการพัฒนาสมรรถนะและทักษะในการประกอบอาชีพ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะอาชีพและเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขัน พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะส้ันท่ีเน้น Up – Skill Re – Skill และ New – Skill ท่ี สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology เพ่ือการมีรายได้ มี คุณภาพชีวิตที่ดี ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างมูลค่าเพ่ิม และพัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้าให้มี คุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด มีการบูรณาการกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายให้เกิดการรวมกลุ่มและจัดต้ัง เป็นวิสาหกิจชุมชน เพื่อเพ่ิมช่องทางการประชาสัมพันธ์ และสนับสนุนให้เกิดช่องทางการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ใน โครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางไทร จัดทาโครงการขับเคล่ือนการพัฒนา การศึกษาที่ยังยืน ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนหลักสูตรอาชีพเพ่ือการมีงานทา รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการถักพรม เช็ดเท้า เพ่ือตอบสนองความต้องการของประชาชนที่มาจากการทาแบบสารวจความต้องการและเวทีชาวบ้าน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการถักพรมเช็ดเท้า ได้อย่างถูกต้องตามขั้นตอน ผู้เรียนสามารถนา

ความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพและสร้างรายได้ และสามารถดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข สอดคล้อง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

บทท่ี 3 วธิ ดี าเนินงาน ด้วย กศน.ตาบลโพแตง ได้จัดโครงการจัดและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยยึด กลุ่มเป้าหมายเป็นสาคัญ ทาให้เนื้อหาตามหลักสูตรระยะเวลาการจัดกิจกรรม สถานท่ี และลักษณะกิจกรรมการ เรียนรู้ข้ึนอยู่กับ ศักยภาพและความพร้อมของกลุ่มเป้าหมาย ซ่ึงเป็นการตอบสนองนโยบายขอสานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งได้ดาเนนิ การ ดงั น้ี ศูนยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน (รปู แบบกลมุ่ สนใจ) หลกั สูตรการถักพรมเช็ดเทา้ (วนั ที่ 26 มกราคม 2566) สาระสาคัญ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เป็นโครงการสาคัญตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 มีความสอดคล้องกั บแผนระดับต่าง ๆ ในการ ดาเนินการขับเคลื่อนโครงการ ต ามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2579) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการ พัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ : ด้านการพัฒนาศักยภาพคนตลอด ชวี ติ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 (พ.ศ. 2566– 2570) ในการกาหนดทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 13 ให้ประเทศสามารถก้าวข้ามความท้าทายต่าง ๆเพื่อให้ “ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งค่ัง ย่ังยืน เป็น ประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ตามเจตนารมณ์ของยุทธศาสตร์ชาติ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การใหค้ วามชว่ ยเหลอื กล่มุ เปราะบางให้มโี อกาสไดร้ บั การพฒั นาอย่างเต็มศักยภาพ เพื่อแก้ไขปัญหา ความยากจนเรื้อรังและป้องกันการส่งต่อความยากจนไปยังลูกหลาน โดยเน้นส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาแล ะการ พัฒนาทกั ษะอาชพี ท่ีมคี ุณภาพแก่เดก็ และเยาวชนจากครวั เรอื นยากจน พร้อมทั้งพัฒนาหลักประกันและความคุ้มครอง ทางสังคมที่มีการบูรณาการอย่างเป็นระบบ เพ่ือส่งเสริมความมั่นคงในชีวิตให้ทุกคนในสังคมได้รับความคุ้มครองทาง สังคมอย่างเหมาะสมเพียงพอ สามารถหลุดพ้นจากความยากจนได้อย่างยั่งยืน ในส่วนของการลดความเหลื่อมล้าของ ศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจน้ัน ควรมุ่งให้ความสาคัญกับการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ให้สามารถแข่งขันได้ และมีการเติบโตท่ียั่งยืน โดยพัฒนาสภาพแวดล้อมให้ผู้ประกอบการไทยสามารถแข่งขันได้อย่าง เป็นธรรม อาทิ การสนบั สนุนทางเทคโนโลยแี ละกลไกทางการเงินที่เหมาะสมเพื่อให้เข้าถึงแหล่งทุนได้อย่างท่ัวถึง การ ยกระดับมาตรฐานและพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์และบริการ การเพิ่มการเข้าถึงบริการและการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ รวมถึงการสนบั สนนุ ใหว้ ิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ มของไทยยทุ ธศาสตร์ตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของกระทรวงศึกษาธิการ : ยุทธศาสตร์ท่ี 3 พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ แผนงานยุทธศาสตรเ์ พอื่ สนับสนุนด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ปีงบประมาณ 2566 จุดเน้นการดาเนินงานของ กศน. “กศน.เพ่ือประชาชน “ก้าวใหม่ : ก้าวแห่ง คุณภาพ” โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนให้ความสาคัญกับการจัดกิจกรรมฝึกอาชีพให้ประชาชนระดับ ฐานรากที่อาศยั อย่ใู นตาบล โดยเน้นการจดั การศึกษาท่ยี ดึ พื้นท่ีเปน็ ฐานในการพัฒนา (Area–.based Development) ใช้หลักสูตรอาชีพเป็นฐาน (Career – Based Education) ในหลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ หลักสูตรกลุ่มอาชีพด้าน เกษตรกรรม ด้านอุตสาหกรรมหรือหัตถกรรม ด้านพาณิชยกรรมและบริการด้านความคิดสร้างสรรค์ และกลุ่มอาชีพ เฉพาะทาง ให้ได้รับการพัฒนาสมรรถนะและทักษะในการประกอบอาชีพ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะอาชีพและเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขัน พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะสั้นที่เน้น Up – Skill Re – Skill และ New – Skill ท่ี

สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology เพ่ือการมีรายได้ มี คุณภาพชีวิตที่ดี ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถ่ิน สร้างมูลค่าเพ่ิม และพัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้าให้มี คุณภาพมาตรฐาน เป็นท่ียอมรับของตลาด มีการบูรณาการกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายให้เกิดการรวมกลุ่มและจัดต้ัง เป็นวิสาหกิจชุมชน เพื่อเพิ่มช่องทางการประชาสัมพันธ์ และสนับสนุนให้เกิดช่องทางการจาหน่ายผลิ ตภัณฑ์ใน โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางไทร จดั ทาโครงการขับเคลื่อนการพัฒนา การศึกษาที่ยังยืน ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนหลักสูตรอาชีพเพ่ือการมีงานทา รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตรการถักพรม เช็ดเท้า เพ่ือตอบสนองความต้องการของประชาชนที่มาจากการทาแบบสารวจความต้องการและเวทีชาวบ้าน เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการถักพรมเช็ดเท้า ได้อย่างถูกต้องตามขั้นตอน ผู้เรียนสามารถนา ความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพและสร้างรายได้ และสามารถดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข สอดคล้อง ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ ให้ผ้เู รยี นมีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดทักษะในการถกั พรมเชด็ เทา้ 2. เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นสามารถสร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ มีคณุ ภาพชีวิตทีด่ ีให้กบั ตนเองและครอบครัว กิจกรรมทดี่ าเนินการ จดั กจิ กรรม ให้ประชาชนกลุ่มเปา้ หมายในตาบลโพแตง ได้แก่ 1. วทิ ยากรบรรยายให้ความรู้ในเร่ืองต่อไปนี้ 1.1 ความปลอดภัยในการทางาน 1.2 การใช้เครอื่ งมือและอปุ กรณ์ 1.3 วสั ดุ-อุปกรณ์ ทใี่ ช้ในการถกั พรมเช็ดเท้า 1.4 ความรู้เบ้อื งต้นในการถักพรมเชด็ เท้า 1.5 เทคนคิ การถักพรมเช็ดเท้า 2. วิทยากรและผ้เู รยี นร่วมกนั แลกเปล่ยี นเรียนรู้การถักพรมเช็ดเทา้ 3. วิทยากรบรรยายใหค้ วามรู้และสาธติ การถักพรมเช็ดเท้า 4. ผเู้ รียน เรียนรูแ้ ละฝึกการถักพรมเช็ดเทา้ ผลท่ีได้รับจากการดาเนนิ กิจกรรม 1. ผูเ้ รยี นมีเวลาเรียนและฝึกปฏบิ ตั ติ ามหลกั สูตรไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 2. ผ้เู รียนมผี ลการประเมินผา่ นเกณฑ์ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60 ของหลกั สูตร 3. ผูเ้ รียนมผี ลงานผ่านการประเมนิ ทดสอบท่ีมคี ุณภาพตามหลักเกณฑ์

บทท่ี 4 ผลการดาเนนิ งาน จากการสารวจความพึงพอใจ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (รูปแบบกลุ่มสนใจ) หลักสูตรการถักพรมเช็ดเท้า กศน.ตาบลโพแตง มีผู้เข้าร่วมโครงการ โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ จานวน 6 ฉบับ และได้รับกลับคืนมา จานวน 6 ฉบบั วิเคราะหข์ อ้ มลู โดยใชโ้ ปรแกรม Excel ตามข้ันตอนตา่ ง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. วเิ คราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามตอนท่ี 1 โดยแจกแจงความถแ่ี ละค่าร้อยละ 2. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามตอนที่ 2 โดยหาค่าเฉลี่ย ( X ) แปลความหมายข้อมูลเชิง ปริมาณ ใหร้ ะดับคะแนนในแบบสอบถามทีเ่ ป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามเกณฑ์ประเมินความคิดเห็น ของเบสท์ (Best. 1981 : 182ดังนี้ 4.51–5.00 หมายถึงความพึงพอใจอยใู่ นระดับดมี าก 3.51–4.50 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยูใ่ นระดบั ดี 2.51–3.50 หมายถึงความพงึ พอใจอยู่ในระดับปานกลาง 1.51–2.50 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั พอใช้ 1.00–1.50 หมายถึงความพึงพอใจอย่ใู นระดับปรบั ปรงุ 3. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามตอนที่3 ข้อมูลที่เป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยหาค่าเฉล่ีย (X ) แปลความหมายข้อมูล แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้เกณฑ์ข้อ 2 ข้อมูลที่เป็น ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ใช้วิธีการวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) จัดกลุ่มคาตอบ และหาคา่ ความถ่ี สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (รูปแบบกลุ่มสนใจ) หลักสูตรการถักพรม เช็ดเท้า ไดด้ งั นี้

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลส่วนตวั ของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชพี ขอ้ มูลท่ัวไป จานวน รอ้ ยละ เพศ ชาย 1 16.67 หญงิ 5 83.33 อายุ ตา่ กว่า 15 ปี 0 0.00 15-29 ปี 1 16.67 30-39 0 0.00 40-49 ปี 3 50.00 50-59 2 33.33 60 ปขี ึน้ ไป 0 00.00 การศกึ ษา ตา่ กวา่ ป.4 0 0.00 ป.4 2 33.33 ประถมศึกษา 0 0.00 มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 1 16.67 มัธยมศึกษาตอนปลาย 1 16.67 อนุปรญิ ญา 1 16.67 ปริญญาตรี 1 16.67 สูงกว่าปริญญาตรี 0 0.00 อาชีพ รบั จา้ ง 3 50.00 คา้ ขาย 1 16.67 เกษตรกรรม 1 16.67 รบั ราชการ 0 0.00 พอ่ บา้ น/แมบ่ า้ น 1 16.67 อ่ืน ๆ 0 0.00 จากตารางที่ 1 แสดงจานวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 6 คน เป็นเพศหญิง จานวน 5 คน (คิดเป็น ร้อยละ 83.33) และเป็นเพศชาย จานวน 1 คน (คดิ เป็นรอ้ ยละ 16.67) ด้านอายุ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนมากอยู่ในช่วงอายุ 40-49 ปี จานวน 3 คน (คิดเป็นร้อยละ 50.00) รองลงมาช่วงอายุ 50-59 ปี จานวน 2 คน (คดิ เปน็ รอ้ ยละ 33.33) รองลงมาช่วงอายุ 15-29 ปี จานวน 1 คน (คิดเปน็ รอ้ ยละ 16.67) ตามลาดบั ด้านการศกึ ษาพบว่า ผ้ตู อบแบบสารวจส่วนมาก มีการศึกษาอยู่ในระดับ ป.4 จานวน 2 คน (คิดเป็นร้อยละ 33.33) รองลงมาระดับ ม.ต้น จานวน 1 คน (คิดเป็นร้อยละ 16.67) รองลงมาระดับ ม.ปลาย จานวน 1 คน (คิด เปน็ ร้อยละ 16.67) รองลงมาระดบั อนุปริญญา จานวน 1 คน (คิดเปน็ ร้อยละ 16.67) และรองลงมาระดับปริญญาตรี จานวน 1 คน (คดิ เป็นร้อยละ 16.67) ตามลาดบั

ด้านอาชีพ พบว่า ผู้ตอบแบบสารวจส่วนมากประกอบอาชีพรับจ้าง จานวน 3 คน (คิดเป็นร้อยละ 50.00) และรองลงมาอาชีพค้าขาย จานวน 1 คน (คิดเป็นร้อย 16.67) รองลงมาอาชีพค้าขาย จานวน 1 คน (คิดเป็นร้อย ละ 16.67) และรองลงมาอาชพี พอ่ บา้ น/แมบ่ ้าน จานวน 1 คน (คิดเปน็ รอ้ ยละ 16.67) ตามลาดับ สรุปผลการประเมินความพึงพอใจศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (รูปแบบกลุ่มสนใจ) หลักสูตรการถักพรมเช็ดเท้า ท่ีเขา้ รว่ มโครงการ ได้ดงั นี้ แบบประเมินความพงึ พอใจ มี 4 ด้าน ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจท่ีมตี ่อโครงการโดยรวมและแยกเปน็ รายด้าน ความหมาย รายการประเมนิ X 1. ความพงึ พอใจด้านเนอื้ หา 2. ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม 4.44 ดี 3. ความพงึ พอใจต่อวิทยากร 4.45 ดี 4. ความพงึ พอใจด้านการอานวยความสะดวก 4.47 ดี 4.48 ดี รวม 4.46 ดี จากตารางท่ี 2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อโครงการ โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับ ดี ทกุ รายการ เมอ่ื พิจารณาเปน็ รายข้อ พบว่า อนั ดบั หน่งึ คอื ความพงึ พอใจด้านการอานวยความสะดวกรองลงมา ความพึงพอใจต่อวิทยากรรองลงมาความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรมและด้านความพึงพอใจด้าน เน้ือหาตามลาดับ ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจดา้ นเน้ือหา รายการประเมนิ ผลการประเมิน 1. เนื้อหาตรงตามความต้องการ X ความหมาย 4.44 ดี 2. เนื้อหาเพยี งพอต่อความต้องการ 4.44 ดี 3. เนอื้ หาปัจจุบนั ทนั สมัย 4.44 ดี 4. เน้อื หามีประโยชน์ต่อการนาไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพชวี ิต 4.45 ดี รวม 4.44 ดี จากตอนท่ี 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพงึ พอใจท่มี ตี อ่ โครงการความพึงพอใจด้านเนื้อหาโดยรวมและ รายด้านอยูใ่ นระดบั ดี เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งคือ เนื้อหามีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพชีวิตรองมาอนั ดับสองสามและส่ี เท่ากัน คือ เน้ือหาตรงตามความต้องการ/เน้ือหาเพียงพอต่อความต้องการ/และ เนอื้ หาปจั จบุ ันทันสมัยตามลาดับ

ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม ผลการประเมนิ X ความหมาย รายการประเมิน 4.45 ดี 4.44 ดี 1. การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม 4.46 ดี 2. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ 4.45 ดี 3. การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 4.45 ดี 4. การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกล่มุ เป้าหมาย 4.45 ดี 5. วธิ ีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ รวม จากตอนที่ 2 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามมคี วามพอใจดา้ นกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรมโดยรวมและราย ดา้ นอย่ใู นระดับ ดี เมอ่ื พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งคือการจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลาอันดับสองสามและ ส่ี คือการจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เป้าหมาย/วิธกี ารวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์/การเตรียมความพร้อม ก่อนอบรมอนั ดบั ห้า คอื การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ตามลาดับ ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร ผลการประเมิน X ความหมาย รายการประเมิน 4.47 ดี 4.47 ดี 1. วิทยากรมีความร้คู วามสามารถในเร่ืองท่ีถ่ายทอด 4.47 ดี 2. วิทยากรมเี ทคนิคการถา่ ยทอดใช้สือ่ เหมาะสม 4.47 ดี 3. วิทยากรเปดิ โอกาสให้มสี ว่ นรว่ มและซกั ถาม รวม จากตอนที่ 3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพงึ พอใจต่อวิทยากรโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับดี เม่ือ พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหน่ึงสองและสาม คือวิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด/วิทยากรมี เทคนคิ การถ่ายทอดใช้สอ่ื เหมาะสม/วทิ ยากรเปดิ โอกาสใหม้ ีสว่ นร่วมและซกั ถามตามลาดบั ตอนที่ 4 ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก ผลการประเมนิ X ความหมาย รายการประเมนิ 4.48 ดี 4.47 ดี 1. สถานที่ วสั ดุ อุปกรณ์และส่งิ อานวยความสะดวก 4.49 ดี 2. การสอื่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพอ่ื ให้เกดิ การเรยี นรู้ 4.48 ดี 3. การบรกิ าร การชว่ ยเหลือและการแก้ปัญหา รวม

จากตอนท่ี 4 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวกโดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหน่ึงสอง คือการบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา อันดับสอง คือ สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และส่ิงอานวยความสะดวก และอันดับสาม คือ การส่ือสาร การสร้าง บรรยากาศเพ่ือใหเ้ กดิ การเรียนรู้ตามลาดับ

บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ผลการดาเนินศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (รูปแบบกลุ่มสนใจ) หลักสูตรการถักพรมเช็ดเท้า กศน.ตาบลโพแตง ครง้ั นี้มีวัตถุประสงคเ์ พื่อประเมินผลความพงึ พอใจของผเู้ รียน/ผู้รับบริการทม่ี ีต่อโครงการโดยรวมและแยกเป็นรายด้าน โดยใช้แบบสอบถามจานวน 6 ฉบับ เครื่องมือท่ีใช้เป็นแบบสอบถามที่เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามเกณฑ์ประเมินความคิดเห็นของเบสท์ (Best. 1981 : 182) วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ( X ) แปลความหมายข้อมูล แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้เกณฑ์ข้อ 2 ข้อมูลที่เป็นความคิดเห็น และ ข้อเสนอแนะ ใช้วิธีการวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) จัดกลุ่มคาตอบ และหาคา่ ความถี่ สรปุ ผลการประเมินความพึงพอใจของผเู้ รียน/ผ้รู บั บริการ จากแบบประเมนิ ความพงึ พอใจสรุปผลได้ ดังนี้ 1. ด้านเน้ือหา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมด้านเน้ือหา โดยรวมและรายด้าน อย่ใู นระดบั ดีมาก เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายข้อ พบวา่ อนั ดบั หนึ่งคอื ผู้เรยี น/ผู้รับบริการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นต่อ เนื้อหาตรงตามความตอ้ งการ รองมาอนั ดับสองคอื เน้ือหาเพียงพอต่อความต้องการ อันดับสามคือเน้ือหามีความเป็น ปัจจบุ ันทนั สมยั อนั ดบั สดุ ทา้ ยคอื เนือ้ หามีประโยชนต์ อ่ การนาไปใช้ในชวี ิตประจาวัน ตามลาดบั 2. ด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจท่ีมีต่อกิจกรรมด้าน กระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับดีมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับ หนึง่ คือผูเ้ รยี น/ผู้รบั บริการมกี ารเตรียมความพร้อมก่อนอบรม รองมาอนั ดบั สองคือการออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับ วัตถุประสงค์ อันดับสามคือกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา อันดับสี่ การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และ อันดับสดุ ท้ายคอื วธิ ีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ ตามลาดับ 3. ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร พบวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมด้านความพึงพอใจ ต่อวิทยากรโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับ ดีมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งคือวิทยากรมี วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องท่ีถ่ายทอด อันดับสองคือวิทยากรมีเทคนิค การถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม อันดับสาม คอื วิทยากร วทิ ยากรเปิดโอกาสใหม้ สี ว่ นรว่ มและซักถาม ตามลาดบั 4. ด้านการอานวยความสะดวก พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อกิจกรรมด้านการอานวย ความสะดวก โดยรวมและรายด้านอยใู่ นระดับ ดีมาก เมอ่ื พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งคือ สถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก อนั ดับสอง คือการส่อื สาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ และอันดับ สดุ ท้าย คอื การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ัญหา ตามลาดบั

ผลการดาเนนิ งาน 1. ผู้เรียนมเี วลาเรยี นและฝึกปฏบิ ัติตามหลกั สตู รไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 2. ผู้เรียนมีผลการประเมินผา่ นเกณฑ์ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60 ของหลกั สตู ร 3. ผ้เู รยี นมผี ลงานผ่านการประเมนิ ทดสอบท่ีมคี ณุ ภาพตามหลกั เกณฑ์ ปัญหาและอปุ สรรคในการปฏบิ ตั งิ าน - ขอ้ เสนอแนะ -

ภาคผนวก

ภาพถ่ายการจดั กิจกรรม หลกั สตู ร การถกั พรมเช็ดเท้า จานวน 5 ชั่วโมง วนั ท่ี 26 มกราคม 2566 สถานที่จัด ณ ศาลาวัดโพธแ์ิ ตงใต้ หมู่ท่ี 3 ตาบลโพแตง อาเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook