Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best practice ตำบลโพแตง

Best practice ตำบลโพแตง

Published by haningnipaporn, 2020-08-17 22:49:59

Description: Best practice ตำบลโพแตง

Search

Read the Text Version

Best Practice ศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน(ช้ันเรียนวชิ าชีพ) หลกั สูตร การสานตะกร้าจากเชือกมดั ฟาง ระหว่างวนั ที่ 19 - 30 มิถุนายน 2563 กศน.ตาบลโพแตง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา ประจาปี งบประมา 2563 ไตรมาส 3-4

1. ชือ่ โครงการ ศูนยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน (ชั้นเรียนวิชาชีพ) หลักสูตรการสานตะกร้าจากเชือกมัดฟาง 2. นางสาวนิภาพร โกษะ ตาแหน่งครู กศน.ตาบล รับผิดชอบ กศน.ตาบลโพแตง 3. ความเป็นมา สืบเน่ืองจากกระทรวงศึกษาธิการได้จัดทาแผนยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561 - 2580 และได้กาหนดบทบาท หน้าที่ของสานักงาน กศน ตามนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานของสานักงาน กศน. ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ 3.1 เร่งรัดดาเนินการจดั การศึกษาอาชีพเพ่ือยกระดบั ทักษะอาชีพของ ประชาชนสู่ฝีมือแรงงาน 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความ ตอ้ งการของตลาด ให้ประชาชนสามารถนาไปประกอบอาชีพได้ (2) บูรณาการความรว่ มมือในการพัฒนาฝีมือแรงงาน กับสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผ่านศูนย์ประสานงานการผลิตและพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษาภาคทั่ว ประเทศ เพื่อมุ่งพัฒนาทักษะของประชาชนโดยใช้ประโยชน์จากศักยภาพและภูมิสังคมเฉพาะของพ้ืนท่ี ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 4.5 พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะส้ัน ให้มี ความหลากหลาย ทนั สมัย เหมาะสมกบั บรบิ ทของพนื้ ที่ และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนผ้รู บั บรกิ าร เพ่อื ให้การดาเนินงานแผนยุทธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพคนใหม้ ีคณุ ภาพบรรลผุ ลสาเรจ็ สู่ วิสัยทัศน์ กระทรวงศึกษาธิการจึงกาหนดวิสัยทัศน์ของประเทศ คือ ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็น ประเทศที่พัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกาหนดเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรมฐานทรัพยากรธรรมชาติ ยั่งยืน โดยยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติ และในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีคณุ ภาพ สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คมสร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ติ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร เห็นว่าเป็นการส่งเสริมสนับสนุนการ ดาเนินงานของศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ และแนวทางการขับเคลื่อ น การศึกษาของสานักงาน กศน. โดยเฉพาะใน ๕ กลุ่มอาชีพใหม่ ซ่ึงเป็นบทบาทของสถานศึกษา ในการดาเนินการ จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทาให้สอดคล้องตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและศักยภาพของ พนื้ ท่ี กศน.ตาบลโพแตง จงึ ไดจ้ ัดทาศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (ช้ันเรยี นวิชาชพี ) หลักสูตรการสานตะกร้าจากเชือกมดั ฟาง ขนึ้ 4. วตั ถุประสงค์ 1. เพือ่ ใหป้ ระชาชนผูร้ ับบริการมคี วามร้คู วามเขา้ ใจการสานตะกรา้ จากเชือกมัดฟาง 2. เพือ่ ใหป้ ระชาชนผู้รบั บรกิ ารมที ักษะและมองเหน็ ช่องทางการสานตะกร้าจากเชอื กมัดฟาง 5. กิจกรรม/วธิ กี าร/ขน้ั ตอนทีส่ าคญั วิทยากรบรรยายความรเู้ กีย่ วกับ จดั กจิ กรรม ให้ประชาชนกลุ่มเปา้ หมายในตาบลโพแตง ได้แก่ 1. วิทยากรบรรยายให้ความรู้ในเรอ่ื งต่อไปน้ี 1.1 ความปลอดภยั ในการทางาน 1.2 การใชเ้ ครื่องมือและอุปกรณ์

1.3 วสั ดุ-อุปกรณ์ ที่ใชใ้ นการสานตะกร้าจากเชอื กมดั ฟาง 1.4 ความรู้เบ้ืองต้นในการสานตะกรา้ จากเชือกมดั ฟาง 1.5 เทคนคิ การสานตะกรา้ จากเชอื กมดั ฟาง 2. วิทยากรและผูเ้ รียนรว่ มกนั แลกเปลยี่ นเรยี นรู้การสานตะกร้าจากเชอื กมดั ฟาง 3. วทิ ยากรบรรยายให้ความรู้และสาธติ การสานตะกร้าจากเชือกมดั ฟาง 4. ผ้เู รยี น เรียนรูแ้ ละฝกึ การสานตะกรา้ จากเชือกมัดฟาง 6. ผลสาเรจ็ 6.1 กล่มุ เปา้ หมายไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80 มคี วามรู้และทกั ษะ มองเห็นช่องทางในการประกอบอาชีพ 6.2 กลมุ่ เป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เกดิ กระบวนการเรียนรู้ มกี ารรวมกลมุ่ เพื่อพฒั นาอาชีพ 6.3 กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เกิดกระบวนการคิดเป็น แก้ปัญหาเป็นในการหาช่องทางการ ขยายอาชีพ 7. สมั ฤทธ์ิผล/การได้รับการยอมรบั 7.1 ผ้เู รยี นมคี วามรูแ้ ละทักษะ มองเห็นช่องทางทาใหเ้ กิดรายไดเ้ สรมิ สร้างอาชีพใหมเ่ กิดขึ้นภายในตาบล 7.2 ผเู้ รียนเกดิ กระบวนการเรียนรู้ มีการรวมกลมุ่ เพอื่ พฒั นาอาชพี 7.3 ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดเปน็ แกป้ ญั หาเปน็ ในการหาชอ่ งทางการขยายอาชีพ

คานา เอกสาร รายงานผลการดาเนินงาน การจัดและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (ชั้นเรียนวิชาชีพ) หลักสูตรการสานตะกร้าจากเชือกมัดฟาง น้ี จัดทาข้ึนเพ่ือรายงานผลการดาเนินงานด้านการจัด การศึกษาต่อเน่ืองของ กศน.ตาบลโพแตง ภายใต้การดูแลของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอบางไทร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบขั้นตอนการดาเนินกิจกรรม ประเมินผลและพัฒนาการดาเนิน กิจกรรมของ กศน.ตาบลโพแตง ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารรายงานผลการดาเนินงาน การจัดและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน (ชั้นเรียนวิชาชพี ) หลักสตู รการสานตะกร้าจากเชือกมัดฟาง น้ี จะเปน็ แนวทางในการพฒั นางาน และการจัดกจิ กรรมดา้ นการศึกษาตอ่ เน่ืองของ กศน.ตาบลโพแตง ในโอกาสตอ่ ไป นางสาวนิภาพร โกษะ ครู กศน.ตาบล

สารบัญ หนา้ คานา สารบญั บทท่ี 1 บทนา 1 เหตผุ ลและความจาเปน็ วตั ถปุ ระสงค์ ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ ับ บทที่ 2 เอกสารทเี่ กีย่ วข้อง 3 ความสาคัญของการจดั และส่งเสริมกระบวนการเรยี นรู้ศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน ที่มาและความสาคัญของหลักสตู ร หลักสตู รการสานตะกร้าจากเชือกมัดฟาง 4 บทที่ 3 วิธกี ารดาเนินงาน 5 บทที่ 4 ผลการดาเนนิ งาน 9 บทท่ี 5 สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 15 วัตถุประสงคก์ ารดาเนนิ งาน วธิ ดี าเนินการ อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ และแนวทางในการพัฒนากิจกรรม ภาคผนวก โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชนการเพ่ือการมีงานทา หลักสตู รการสานตะกรา้ จากเชือกมัดฟาง แบบประเมินความพงึ พอใจ รายช่อื ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม

บทท่ี 1 บทนา เหตผุ ลและความจาเป็น สืบเน่ืองจากกระทรวงศึกษาธิการได้จัดทาแผนยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561 - 2580 และได้กาหนดบทบาท หน้าท่ีของสานักงาน กศน ตามนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานของสานักงาน กศน. ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ด้านการ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ 3.1 เร่งรัดดาเนินการจดั การศึกษาอาชีพเพ่ือยกระดบั ทักษะอาชีพของ ประชาชนสู่ฝีมือแรงงาน 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาที่สอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความ ตอ้ งการของตลาด ให้ประชาชนสามารถนาไปประกอบอาชีพได้ (2) บูรณาการความรว่ มมือในการพัฒนาฝีมอื แรงงาน กับสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผ่านศูนย์ประสานงานการผลิตและพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษาภาคทั่ว ประเทศ เพื่อมุ่งพัฒนาทักษะของประชาชนโดยใช้ประโยชน์จากศักยภาพและภูมิสงั คมเฉพาะของพ้ืนท่ี ยุทธศาสตร์ที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 4.5 พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะสั้น ให้มี ความหลากหลาย ทนั สมยั เหมาะสมกับบรบิ ทของพนื้ ท่ี และตอบสนองความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ เพอ่ื ให้การดาเนนิ งานแผนยุทธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพคนใหม้ ีคณุ ภาพบรรลผุ ลสาเร็จสู่ วิสัยทัศน์ กระทรวงศึกษาธิการจึงกาหนดวิสัยทัศน์ของประเทศ คือ ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เป็น ประเทศท่ีพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกาหนดเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเน่ือง สังคมเป็นธรรมฐานทรัพยากรธรรมชาติ ย่ังยืน โดยยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติ และในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี คนเก่ง และมคี ุณภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คมสร้างการเติบโตบนคณุ ภาพชีวิต ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร เห็นว่าเป็นการส่งเสริมสนับสนุนการ ดาเนินงานของศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ และแนวทางการขับเคลื่อน การศึกษาของสานักงาน กศน. โดยเฉพาะใน ๕ กลุ่มอาชีพใหม่ ซึ่งเป็นบทบาทของสถานศึกษา ในการดาเนินการ จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและการมีงานทาให้สอดคล้องตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและศักยภาพของ พ้ืนที่ กศน.ตาบลโพแตง จึงได้จัดทาศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (ช้ันเรียนวิชาชีพ) หลักสูตรการสานตะกร้าจากเชือกมัด ฟาง ข้นึ วตั ถุประสงค์ 1. เพือ่ ใหป้ ระชาชนผรู้ ับบรกิ ารมคี วามรคู้ วามเข้าใจการสานตะกรา้ จากเชอื กมัดฟาง 2. เพื่อให้ประชาชนผู้รับบริการมที กั ษะและมองเห็นช่องทางการสานตะกร้าจากเชอื กมัดฟาง ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รับ 1. เพ่ือใหป้ ระชาชนผู้รบั บรกิ ารมีความรู้ความเขา้ ใจการสานตะกร้าจากเชือกมดั ฟาง 2. เพอ่ื ใหป้ ระชาชนผรู้ บั บรกิ ารมที ักษะและมองเหน็ ช่องทางการสานตะกร้าจากเชอื กมัดฟาง

บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กี่ยวข้อง ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (ชั้นเรยี นวิชาชีพ) หลักสูตรการสานตะกร้าจากเชือกมัดฟาง ได้เสนอแนวคิด หลักการ และเอกสารทเี่ กี่ยวข้อง ตามลาดับดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ความสาคัญของการจัดและสง่ เสรมิ กระบวนการเรียนรู้ศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน 2. ท่มี าและความสาคัญของ หลกั สตู รการสานตะกร้าจากเชือกมดั ฟาง 1. ความสาคัญของการจัดและส่งเสริมกระบวนการเรียนรูศ้ ูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน กจิ กรรมการจัดและสง่ เสริมกระบวนการเรียนรูศ้ ูนย์ฝึกอาชีพชุมน ตามนโยบายของสานักงาน กศน. มีลักษณะสาคัญดังนี้ - จัดให้มีศูนย์ฝึกอาชีพอาชีพชุมชนในทุกอาเภอ/เขต อย่างน้อยอาเภอ/เขตละ 3 แห่ง เพ่ือเป็น ศูนย์กลางในการฝึก พัฒนา สาธิตและสร้างอาชีพของผู้เรียนและชุมชน รวมทั้งเป็นท่ีจัดเก็บ แสดง จาหน่ายและ กระจายสนิ คา้ และบรกิ ารของชมุ ชนอย่างเปน็ ระบบครบวงจร - พัฒนาและจัดทาหลักสูตรการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ความต้องการของตลาด และศักยภาพของพ้ืนที่ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้การจัดการศึกษาอาชีพแนวใหม่ เป็นการจัด การศึกษาที่สามารถสร้างอาชีพหลักท่ีมั่นคงให้กับผู้เรียน โดยสามารถสร้างรายได้ได้จริงทั้งในระหว่างเรยี นและสาเร็จ การศึกษาไปแล้ว และสามารถใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีในการสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับอาชีพ เพ่ือพัฒนาให้เป็น ผปู้ ระกอบการทมี่ คี วามสามารถเชิงการแขง่ ขนั อย่างย่งั ยืน - ประสานการดาเนนิ งานกับศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชนของหน่วยงานและสถานศึกษาตา่ งๆ ในพนื้ ทีเ่ พื่อ เช่ือมโยงเปน็ เครือข่ายการฝกึ และสร้างอาชีพของประชาชนและชุมชนในจงั หวดั กลมุ่ จงั หวัด และระหวา่ งจังหวัด - จัดให้มีระบบการประสานงานเพื่อสนับสนุนให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งทุนต่างๆ สาหรับเป็น ช่องทางในการเสริมสร้างความเข้มแข็งและการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันด้านอาชีพอย่างต่อเน่ืองให้กับ ผเู้ รียน - จัดให้มีการกากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพอื่ การมีงานทาอย่างเป็นระบบ และต่อเน่ืองพร้อมทั้งนาผลท่ีได้มาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการดาเนินงานให้เป็นไปตามความต้องการด้านการศึกษา อาชพี เพอื่ การมงี านทาของประชาชนและความต้องการของตลาด

2. ที่มาและความสาคัญของ หลกั สูตรการสานตะกร้าจากเชือกมดั ฟาง สืบเน่ืองจากกระทรวงศึกษาธิการได้จัดทาแผนยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561 - 2580 และได้กาหนดบทบาท หน้าที่ของสานักงาน กศน ตามนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานของสานักงาน กศน. ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ด้านการ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนให้มีคุณภาพ 3.1 เร่งรัดดาเนินการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือยกระดับทักษะอาชีพของ ประชาชนสู่ฝีมือแรงงาน 1) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความ ต้องการของตลาด ให้ประชาชนสามารถนาไปประกอบอาชีพได้ (2) บูรณาการความรว่ มมือในการพัฒนาฝีมอื แรงงาน กับสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผ่านศูนย์ประสานงานการผลิตและพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษาภาคทั่ว ประเทศ เพื่อมุ่งพัฒนาทักษะของประชาชนโดยใช้ประโยชน์จากศักยภาพและภูมิสังคมเฉพาะของพ้ืนท่ี ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 4.5 พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะส้ัน ให้มี ความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับบรบิ ทของพนื้ ท่ี และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนผรู้ ับบรกิ าร เพื่อใหก้ ารดาเนินงานแผนยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนใหม้ ีคุณภาพบรรลผุ ลสาเร็จสู่ วิสัยทัศน์ กระทรวงศึกษาธิการจึงกาหนดวิสัยทัศน์ของประเทศ คือ ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยื น เป็น ประเทศท่ีพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกาหนดเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรมฐานทรัพยากรธรรมชาติ ยั่งยืน โดยยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติ และในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คมสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิต ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร เห็นว่าเป็นการส่งเสริมสนับสนุนการ ดาเนินงานของศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของกระทรวงศึกษาธิการ และแนวทางการขับเคล่ือน การศึกษาของสานักงาน กศน. โดยเฉพาะใน ๕ กลุ่มอาชีพใหม่ ซึ่งเป็นบทบาทของสถานศึกษา ในการดาเนินการ จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพและการมีงานทาให้สอดคล้องตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและศักยภาพของ พื้นที่ กศน.ตาบลโพแตง จึงได้จัดทาศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (ช้ันเรียนวิชาชีพ) หลักสูตรการสานตะกร้าจากเชือกมัด ฟาง ขึ้น

บทท่ี 3 วธิ ดี าเนินงาน ด้วย กศน.ตาบลโพแตง ได้จัดโครงการจัดและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยยึด กลุ่มเป้าหมายเป็นสาคัญ ทาให้เนื้อหาตามหลักสูตรระยะเวลาการจัดกิจกรรม สถานท่ี และลักษณะกิจกรรมการ เรียนรู้ข้ึนอยู่กับ ศักยภาพและความพร้อมของกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งเป็นการตอบสนองนโยบายขอสานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ซ่งึ ไดด้ าเนนิ การ ดงั นี้ ศูนยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน (ชนั้ เรยี นวชิ าชพี ) หลกั สูตรการสานตะกรา้ จากเชือกมัดฟาง (19 - 30 มิถุนายน 2563) สาระสาคญั การสานตะกรา้ ดว้ ยเชือกฟาง วสั ดอุ ุปกรณท์ ใ่ี ชผ้ ลิต 1. เชือกมัดฟาง 2. กรรไกร 3. เขม็ เย็บกระสอบ 4. ไฟแชค๊ 5. โครงเหล็กทาตะกรา้ หรือลวดขนาดใหญ่ วธิ กี ารคดั เลือกวัสดุอุปกรณ์ เลือกเชอื กมดั ฟางแบบสาเร็จรปู ตามขนาดและสที ี่ต้องการ เลอื กโครงเหล็กตะกรา้ ทด่ี ัดโครงตามขนาดและรูปแบบทต่ี ้องการ วัสดุอุปกรณ์ทใ่ี ชผ้ ลิต 1. เชอื กมัดฟาง 2. กรรไกร 3. เขม็ เย็บกระสอบ 4. ไฟแชค๊ 5. โครงเหลก็ ทาตะกร้า หรอื ลวดขนาดใหญ่ วิธกี ารคดั เลอื กวสั ดุอุปกรณ์ เลือกเชือกมัดฟางแบบสาเร็จรปู ตามขนาดและสที ่ตี ้องการ เลือกโครงเหล็กตะกร้าที่ดัดโครงตามขนาดและรูปแบบที่ต้องการ ขนั้ ตอนวธิ กี ารผลติ 1. เริ่มแรกนาเชอื ก 1 เสน้ มาตใี ห้แตกแลว้ นามาพันรอบโครงเหล็กตะกร้าให้มิดทั้งใบ 2. ข้ึนขอบของโครงเหลก็ ให้รอบทั้งกน้ และปากของตะกร้า โดยการสานหรอื ผูกเชือกมัดฟางแบบผูกไขว้ สลับ ซ้ายและขวา 3. ร้อยเชือกสานก้นตะกร้า โดยใช้เชือกสอด 1 ช่อง เว้น 1 ช่อง แล้วเอาเชือกสองเส้นคู่หรือสี่เส้น นามาผูก กนั หรือสานใหเ้ ตม็ ส่วนกน้ ตะกร้าเป็นลายขัด

4. ร้อยเชือกถักข้ึนลายขอบ การถักลวดลาย คือการขึ้นลายของขอบตะกร้าโดยใช้เชือกมัดฟาง ใส่หน่ึงเส้น เว้น 1 ชอ่ ง จะเป็นหน่ึงตวั ของส่ีเส้น แล้วนามาผกู หรือสานให้เปน็ ลายดอก แลว้ จะขน้ึ ลวดลายตามแบบลายทต่ี ้องการ ถกั จนเต็มถึงก้นตะกร้าแล้วมัดติดกับส่วนลา่ งของก้นตะกร้า และตัดเชือกด้วยไฟแช็คเพื่อไม่ให้เชือกลุ่ย ทาการถักสาน จนเสรจ็ ทัง้ ใบ 5. ร้อยเชือกถักหูตะกร้า โดยถักเชือกในส่วนของด้านข้างหูจับตะกร้าจะถักเป็นลายเกลียว วิธีคือเร่ิมถักจาก ด้านใดด้านหนึ่งก่อนแล้วลายจะหมุนเป็นลายเกลียว ส่วนด้านบนของตัวจับตะกร้า จะถักสลับซ้ายขวา จะได้เป็นสัน บรเิ วณขอบหูและนาเชือกมาถกั บรเิ วณด้านบนของหูจบั เปน็ ลายสนั ปลาช่อน เป็นการเสร็จข้นั ตอน วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อใหป้ ระชาชนผรู้ บั บรกิ ารมีความรูค้ วามเข้าใจการสานตะกรา้ จากเชอื กมัดฟาง 2. เพือ่ ใหป้ ระชาชนผ้รู ับบรกิ ารมที กั ษะและมองเห็นช่องทางการสานตะกรา้ จากเชือกมัดฟาง กิจกรรมที่ดาเนนิ การ จัดกจิ กรรม ใหป้ ระชาชนกลุม่ เป้าหมายในตาบลโพแตง ได้แก่ 1. วทิ ยากรบรรยายให้ความรู้ในเรือ่ งต่อไปนี้ 1.1 ความปลอดภยั ในการทางาน 1.2 การใชเ้ คร่ืองมือและอปุ กรณ์ 1.3 วัสดุ-อุปกรณ์ ทใี่ ช้ในการสานตะกรา้ จากเชือกมัดฟาง 1.4 ความรูเ้ บอื้ งต้นในการสานตะกรา้ จากเชือกมดั ฟาง 1.5 เทคนคิ การสานตะกร้าจากเชือกมัดฟาง 2. วิทยากรและผู้เรยี นรว่ มกนั แลกเปลี่ยนเรียนรู้การสานตะกรา้ จากเชือกมดั ฟาง 3. วทิ ยากรบรรยายให้ความรู้และสาธติ การสานตะกร้าจากเชือกมดั ฟาง 4. ผู้เรียน เรยี นรู้และฝกึ การสานตะกร้าจากเชือกมัดฟาง ผลทไี่ ด้รับจากการดาเนนิ กจิ กรรม 1. กลุ่มผู้เรียนร้อยละ 80 มีความรู้และทักษะ มองเห็นช่องทางทาให้เกิดรายได้เสริมสร้างอาชีพ ใหมเ่ กดิ ขนึ้ ภายในตาบล 2. กลุม่ ผเู้ รียนรอ้ ยละ 80 เกิดกระบวนการเรยี นรู้ มีการรวมกลุ่มเพ่อื พัฒนาอาชพี 3. กลุ่มผู้เรียนร้อยละ 80 เกิดกระบวนการคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น ในการหาช่องทางการขยาย อาชีพ

บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน จากการสารวจความพึงพอใจ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (ชั้นเรียนวิชาชีพ) หลักสูตรการสานตะกร้าจาก เชือกมัดฟาง กศน.ตาบลโพแตง มีผู้เข้าร่วมโครงการ โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ จานวน 16 ฉบับ และ ไดร้ ับกลบั คนื มา จานวน 16 ฉบบั วิเคราะหข์ อ้ มลู โดยใชโ้ ปรแกรม Excel ตามข้ันตอนต่าง ๆ ดงั ต่อไปนี้ 1. วิเคราะหข์ อ้ มลู จากแบบสอบถามตอนท่ี 1 โดยแจกแจงความถแี่ ละค่ารอ้ ยละ 2. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามตอนที่ 2 โดยหาค่าเฉล่ียX( ) แปลความหมายข้อมูลเชิง ปริมาณ ให้ระดับคะแนนในแบบสอบถามท่ีเป็นแบบมาตราสว่ นประมาณคา่ 5 ระดับ ตามเกณฑ์ประเมินความคิดเห็น ของเบสท์ (Best. 1981 : 182ดงั นี้ 4.51–5.00 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั ดีมาก 3.51–4.50 หมายถึงความพึงพอใจอยู่ในระดับดี 2.51–3.50 หมายถึงความพึงพอใจอยู่ในระดบั ปานกลาง 1.51–2.50 หมายถงึ ความพึงพอใจอยใู่ นระดบั พอใช้ 1.00–1.50 หมายถงึ ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั ปรับปรงุ 3. วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามตอนท่ี3 ข้อมูลท่ีเป็นมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) โดยหาค่าเฉล่ีย (X ) แปลความหมายข้อมูล แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้เกณฑ์ข้อ 2 ข้อมูลที่เป็น ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) จัดกลุ่มคาตอบ และหาค่าความถ่ี สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน (ช้ันเรยี นวชิ าชพี ) หลักสูตรการสานตะกร้า จากเชือกมัดฟาง ไดด้ ังนี้

ตอนที่ 1 ข้อมลู ส่วนตวั ของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางท่ี 1 ขอ้ มลู ทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตาม เพศ อายุ ระดบั การศึกษา และอาชพี ขอ้ มูลทั่วไป จานวน ร้อยละ เพศ ชาย 2 12.50 หญงิ 14 87.50 อายุ ตา่ กวา่ 15 ปี 0 0.00 15-29 ปี 0 0.00 30-39 1 6.25 40-49 ปี 0 0.00 50-59 6 37.50 60 ปีข้นึ ไป 9 56.25 การศึกษา ตา่ กวา่ ป.4 0 0.00 ป.4 8 50.00 ประถมศึกษา 1 6.25 มัธยมศึกษาตอนต้น 2 12.50 มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 18.75 อนปุ รญิ ญา 1 6.25 ปรญิ ญาตรี 1 6.25 อื่น ๆ 0 0.00 อาชพี รับจ้าง 5 31.25 ค้าขาย 3 18.75 เกษตรกรรม 1 6.25 รับราชการ 0 0.00 อืน่ ๆแม่บา้ น/ นักเรียน 7 43.75 จากตารางท่ี 1 แสดงจานวนผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมด 16 คน เป็นเพศหญิง จานวน 14 คน (คิดเป็นร้อย ละ 87.50) และเปน็ เพศชาย จานวน 2 คน (คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.50) ด้านอายุ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนมากอยู่ในช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป จานวน 9 คน (คิดเป็นร้อยละ 56.25) รองลงมาช่วงอายุ 50-59 ปีขึ้นไป จานวน 6 คน (คิดเป็นร้อยละ 37.50) รองลงมาคือช่วงอายุ 30–39 ปี จานวน 1 คน (คิดเป็นร้อยละ 6.25) ตามลาดบั ดา้ นการศกึ ษาพบว่า ผู้ตอบแบบสารวจสว่ นมาก มีการศึกษาอยู่ในระดับ ป.4 จานวน 8 คน (คดิ เปน็ ร้อยละ 50.00) รองลงมาระดบั ม.ปลาย จานวน 3 คน (คดิ เปน็ รอ้ ยละ 18.75) ระดับ ม.ต้น จานวน 2 คน (คิดเป็นร้อยละ 12.50) และระดับประถม อนุปรญิ ญา และระดับปริญญาตรี จานวน 1 คน (คดิ เป็นรอ้ ยละ 6.25) (ตามลาดบั )

ด้านอาชีพ พบว่า ผู้ตอบแบบสารวจส่วนมากประกอบอาชีพอ่ืนๆ จานวน 7 คน (คิดเป็นร้อยละ 43.75) รองลงมาอาชีพรับจ้าง จานวน 5 คน (คิดเป็นร้อย 31.25) รองลงอาชีพค้าขาย จานวน 3 คน (คิดเป็นร้อยละ 18.75) และอาชพี เกษตรกรรม จานวน 1 คน (คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.25) ตามลาดบั สรุปผลการประเมินความพึงพอใจศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (ช้นั เรียนวชิ าชีพ) หลักสูตรการสานตะกร้าจากเชือก มดั ฟาง ทีเ่ ข้าร่วมโครงการ ไดด้ ังน้ี แบบประเมนิ ความพึงพอใจ มี 4 ด้าน ผลการประเมิน ความพงึ พอใจที่มตี ่อโครงการโดยรวมและแยกเปน็ รายด้าน ความหมาย รายการประเมิน X 1. ความพงึ พอใจด้านเนอ้ื หา 2. ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม 4.44 ดี 3. ความพึงพอใจตอ่ วทิ ยากร 4.45 ดี 4. ความพงึ พอใจด้านการอานวยความสะดวก 4.47 ดี 4.48 ดี รวม 4.46 ดี จากตารางท่ี 2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจท่ีมีต่อโครงการ โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับ ดี ทุกรายการ เมอ่ื พิจารณาเป็นรายข้อ พบวา่ อนั ดับหนึง่ คอื ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวกรองลงมา ความพึงพอใจต่อวิทยากรรองลงมาความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรมและด้านความพึงพอใจด้าน เนอื้ หาตามลาดบั ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจดา้ นเน้ือหา รายการประเมิน ผลการประเมนิ 1. เนื้อหาตรงตามความต้องการ X ความหมาย 4.44 ดี 2. เน้ือหาเพยี งพอต่อความต้องการ 4.44 ดี 3. เนอ้ื หาปัจจุบันทนั สมยั 4.44 ดี 4. เนือ้ หามปี ระโยชน์ตอ่ การนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต 4.45 ดี รวม 4.44 ดี จากตอนท่ี 1 พบว่าผตู้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจท่ีมตี ่อโครงการความพึงพอใจด้านเน้ือหาโดยรวมและ รายด้านอยู่ในระดับ ดี เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งคือ เน้ือหามีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนา คณุ ภาพชวี ิตรองมาอันดับสองสามและสี่ เท่ากัน คือ เนื้อหาตรงตามความต้องการ/เนื้อหาเพียงพอต่อความต้องการ/และ เนอ้ื หาปัจจุบันทนั สมัยตามลาดับ

ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม ผลการประเมนิ X ความหมาย รายการประเมนิ 4.45 ดี 4.44 ดี 1. การเตรียมความพรอ้ มก่อนอบรม 4.46 ดี 2. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ 4.45 ดี 3. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 4.45 ดี 4. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั กล่มุ เปา้ หมาย 4.45 ดี 5. วธิ ีการวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ รวม จากตอนที่ 2 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพอใจด้านกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรมโดยรวมและราย ด้านอยู่ในระดบั ดี เม่ือพจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ อนั ดบั หนงึ่ คือการจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลาอนั ดับสองสามและ ส่ี คือการจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย/วธิ ีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์/การเตรียมความพร้อม กอ่ นอบรมอนั ดับหา้ คือ การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ตามลาดับ ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร ผลการประเมนิ X ความหมาย รายการประเมนิ 4.47 ดี 4.47 ดี 1. วทิ ยากรมีความรูค้ วามสามารถในเร่ืองท่ีถา่ ยทอด 4.47 ดี 2. วทิ ยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สอ่ื เหมาะสม 4.47 ดี 3. วิทยากรเปดิ โอกาสให้มีส่วนรว่ มและซักถาม รวม จากตอนที่ 3 พบวา่ ผ้ตู อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อวิทยากรโดยรวมและรายด้านอยใู่ นระดับดี เมื่อ พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งสองและสาม คือวิทยากรมีความรู้ความสามารถในเร่ืองท่ีถ่ายทอด/วิทยากรมี เทคนคิ การถา่ ยทอดใช้สือ่ เหมาะสม/วิทยากรเปิดโอกาสใหม้ ีสว่ นร่วมและซกั ถามตามลาดบั ตอนที่ 4 ความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก ผลการประเมิน X ความหมาย รายการประเมนิ 4.48 ดี 4.47 ดี 1. สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก 4.49 ดี 2. การสื่อสาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่ือใหเ้ กิดการเรยี นรู้ 4.48 ดี 3. การบริการ การชว่ ยเหลอื และการแก้ปัญหา รวม

จากตอนท่ี 4 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจด้านการอานวยความสะดวกโดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งสอง คือการบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา อันดับสอง คือ สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และส่ิงอานวยความสะดวก และอันดับสาม คือ การสื่อสาร การสร้าง บรรยากาศเพ่ือใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ตามลาดับ

บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ผลการดาเนินศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (ชั้นเรียนวิชาชีพ) หลักสูตรการสานตะกร้าจากเชือกมัดฟาง กศน.ตาบล โพแตง คร้ังนี้มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือประเมนิ ผลความพึงพอใจของผู้เรียน/ผ้รู ับบริการทม่ี ีต่อโครงการโดยรวมและแยกเป็น รายด้าน โดยใช้แบบสอบถามจานวน 16 ฉบับ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามท่ีเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ตามเกณฑ์ประเมินความคิดเห็นของเบสท์ (Best. 1981 : 182) วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉล่ีย ( X ) แปลความหมายข้อมูล แปลความหมายข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้เกณฑ์ข้อ 2 ข้อมูลที่เป็นความคิดเห็น และ ข้อเสนอแนะ ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) จัดกลุ่มคาตอบ และหาค่าความถี่ สรปุ ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน/ผรู้ บั บริการ จากแบบประเมนิ ความพงึ พอใจสรุปผลได้ ดังนี้ 1. ด้านหลักสูตร พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อโครงการด้านหลักสูตร โดยรวมและราย ด้านอยู่ในระดับดีมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหนึ่งคือผู้เรียน/ผู้รับบริการมีส่วนร่วมแสดงความ คิดเห็นต่อการจัดทาหลักสูตร รองมาอันดับสองคือ ผู้เรียน/ผู้รับบริการสามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน อันดับสามคือกิจกรรมท่ีจัดสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรอันดับสี่ คือ การจัดกิจกรรมทาให้ผู้เรียน/ ผูร้ ับบริการสามารถคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็นอันดับห้าคือ ส่ือ/เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม และ อนั ดบั สุดท้ายคอื เนอ้ื หาของหลกั สตู รตรงกบั ความต้องการของผเู้ รียน/ผู้รับบรกิ ารตามลาดบั 2. ด้านวิทยากร พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจที่มีต่อโครงการด้านวิทยากรโดยรวมและราย ด้านอยู่ในระดับ ดีมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับหน่ึงคือวิทยากรมีคุณธรรม จริยธรรมอันดับสองคือ วิทยากรมเี ทคนิค กระบวนการจัดกิจกรรมอันดับสาม คือ วิทยากร มีความรคู้ วามสามารถในการจัดกิจกรรมอันดับส่ี คอื วทิ ยากรมีการใช้สื่อท่สี อดคลอ้ งและเหมาะสมกับกิจกรรมและอันดับสดุ ทา้ ย คอื บคุ ลกิ ภาพของวิทยากรตามลาดับ 3. ด้านสถานท่ี/ระยะเวลา/ความพึงพอใจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจท่ีมีต่อโครงการด้าน สถานท่ี/ระยะเวลา/ความพึงพอใจ โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับ ดีมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า อันดับ หน่งึ คอื ความพึงพอใจในภาพรวมของผรู้ ับบริการตอ่ การเขา้ ร่วมกิจกรรมอนั ดับสองคือสถานที่ในการจัดกิจกรรม และ อนั ดับสดุ ท้าย คือ ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสม ตามลาดบั

ผลการดาเนนิ งาน 1. จานวนผู้เข้าร่วมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (กลุ่มสนใจ) หลักสูตรการสานตะกร้าจากเชือกมัดฟาง กศน.ตาบล โพแตง จานวน 16 คน คือกลุ่มเป้าหมายร้อยละ 85 มีความรู้ทักษะ มองเห็นช่องทางในการประกอบอาชีพ กลุ่มเป้าหมายเกิดกระบวนการเรียนรู้ มีการรวมกลุ่มเพ่ือพัฒนาอาชีพกลุ่มเป้าหมายมีการบริหารจัดการกลุ่มที่ดี สามารถพฒั นาอาชีพของกล่มุ ได้ 2. ผู้เข้าร่วมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (กลุ่มสนใจ) หลักสูตรการสานตะกร้าจากเชือกมัดฟาง ได้ให้ความร่วมมือ รว่ มใจและลงมือทาเป็นอย่างดี 3. ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ในระดับดี ตามแบบประเมินความพึงพอใจในการ จัดกิจกรรม ท่ีแนบมาน้ี ปญั หาและอุปสรรคในการปฏบิ ัติงาน - ขอ้ เสนอแนะ -

ภาคผนวก

ภาพถ่ายการจดั กิจกรรม หลักสตู รการสานตะกรา้ จากเชือกมัดฟาง ระหวา่ งวันที่ 19-30 มถิ ุนายน 2563 ณ ศาลาวัดโพธ์แิ ตงใต้ หมู่ที่ 3 ตาบลโพแตง อาเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

ภาพถ่ายการจดั กิจกรรม หลักสตู รการสานตะกรา้ จากเชอื กมัดฟาง ระหวา่ งวันที่ 19-30 มถิ ุนายน 2563 ณ ศาลาวัดโพธ์แิ ตงใต้ หมู่ที่ 3 ตาบลโพแตง อาเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

บันทกึ ข้อความ ส่วนราชการ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางไทร ท่ี ศธ ๐๒๑๐.๔๘๐๕/ วนั ที่ เดอื น สิงหาคม ๒๕๖๓ เร่อื ง รายงานผลการจัดทาผลการปฎิบัติงานท่ีดี Best Practice ศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน (ชั้นเรยี นวิชาชีพ) หลกั สูตรการสานตะกรา้ จากเชือกมัดฟาง ............................................................................................................................. .......................................................... เรยี น ผอู้ านวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางไทร ตามที่ผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร ได้อนุมัติ ศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน (กลุ่มสนใจ) หลักสูตรการสานตะกร้าจากเชอื กมดั ฟาง กศน.ตาบลโพแตง ได้ดาเนินการจัดทาผลการปฎิบัติงานที่ดี Best Practice ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (ชั้นเรียนวิชาชีพ) หลักสูตรการสานตะกร้าจากเชือกมัดฟาง หลักสูตร ๔๐ ชั่วโมง ระหว่างวันท่ี ๑๙– ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๓ ณ ศาลาวัดโพธ์ิแตงใต้ หมู่ที่ ๓ ตาบลโพแตง อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีผ้เู ข้ารว่ มโครงการ จานวน ๑๖ คน เอกสารดังแนบมาพร้อมน้ี จงึ เรียนมาเพื่อโปรดทราบ (นางสาวนิภาพร โกษะ) ครู กศน.ตาบล ทราบ อ่นื ๆ (นางสาววริศรา คานึงธรรม) ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอบางซา้ ย รกั ษาการในตาแหน่ง ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบางไทร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook