คู่มือ สถานศึกษาปลอดภัย ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนเซนต์ปอลหนองคาย อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดหนองคาย
ประกาศโรงเรียนเซนต์ปอลหนองคาย ด้วยโรงเรียนเซนต์ปอลหนองคาย มีความห่วงใยและตระหนักถึง ความปลอดภัยในชีวิต ของนักเรียนครู และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้ นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนผู้มาติดต่อทางราชการ ปลอดภัย จากอุบัติเหตุ เหตุร้าย ภัยพิบัติสิ่งที่เป็นอันตราย ทั้งต่อจิตใจ ชีวิต ทรัพย์สิน จึงกำหนดมาตรการรักษาความปลอดภัย ของโรงเรียนเซนต์ปอล หนองคายดังนี้
ก คำนำ คู่มือสถานศึกษาปลอดภัย MOE SAFETY CENTER เป็นการดูแลช่วยเหลือและ คุ้มครองนักเรียน โรงเรียนเซนต์ปอลหนองคาย เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการดูแลความ ปลอดภัยนักเรียนทุกคนในโรงเรียน โดยใช้ ระบบ MOE Safety Center เป็นระบบมาตรฐานความ ปลอดภัยในสถานศึกษาโดยใช้หลัก Digital Based Management เป็นรูปแบบ วิธีการ หรือ กระบวนการในการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา ให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ มีความสุข และได้รับ การปกป้อง คุ้มครองความปลอดภัยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงการเสริมสร้าง ทักษะให้ผู้เรียนมีความสามารถในการดูแลตนเองจากภัยอันตรายต่าง ๆ นักเรียร ครูและบุคลากร ทางการศึกษา หรือประชาชนทั่วไป สามารถเข้าถึงระบบ MOE Safety Center เมื่อมีความรู้สึกไม่ ปลอดภัยและมีความประสงค์จะร้องทุกข์ ร้องเรียน หรือเตือนให้ทราบว่าสถานศึกษาแห่งหนึ่งกำลัง เกิดภัยอย่างหนึ่งอย่างใดใน 4 กลุ่มภัยได้แก่ ภัยที่เกิดจากการให้ความรุนแรงของมนุษย์ ภัยที่จาก อุบัติเหตุ ภัยที่เกิดจากการถูกละเมิดสิทธิ์ และภัยที่เกิดจากผลกระทบต่อสุขภาวะทางกายและ จิตใจ ทั้งนี้ นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไป ที่ได้รับ ผลกระ ทบ ประสบเกตุหรือเห็นเหตุการณ์ การดำเนินงาน อาศัยนโยบายตามคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัย การ ดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และคุ้มครองนักเรียนสถานศึกษา ของสำนักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ขอบพระคุณ คณะผู้บริหาร คณะกรรมการดำเนินงานระบบ MOE Safety Center นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทำทำให้การจัดทำคู่มือ MOE Safety Center สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี โรงเรียนเซนต์ปอลหนองคาย
สารบัญ คำนำ ก ๑ มาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาโรงเรียนเซนต์ปอลหนองคาย ๑ ๖ 1. นโยบายและการวางแผนการรักษาความปลอดภัยของโรงเรียน ๘ ๑๐ 2. การวางแผนรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา ๑๒ ๑๖ 3. โครงสร้างสถานศึกษาปลอดภัยโรงเรียนเซนต์ปอลหนองคาย ๑๖ ๑๙ ๔. ขั้นตอนการดำเนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษา ๒๐ ๒๒ ๕. ระบบความปลอดภัย ๒๔ การดำเนินการตามมาตรการความปลอดภัยของสถานศึกษา ๒๖ ๒๗ 1.การป้องกัน ๓๑ 2. การปลูกฝัง ๓๕ ๓๘ 3. การปราบปราม ๔๔ ๔๕ แนวทางการปฏิบัติขอบข่ายความปลอดภัยของสถานศึกษา ช่องทางการติดต่อสื่อสาร ภัยสถานศึกษา ๔ กลุ่ม ๑. ภัยที่เกิดจาการใช้ความรุนแรงของมนุษย์ ๒. ภัยที่เกิดจากอุบัติเหตุ ๓. ภัยที่เกิดจากการถูกละเมิดสิทธิ์ ๔. ภัยที่เกิดจากผลกระทบทางสุขภาวะทางสุขภาพทางกายและทางจิต คณะผู้จัดทำ ภาคผนวก
มาตรการรักษาความปลอดภัย ของสถานศึกษา โรงเรียนเซนต์ปอลหนองคาย 1
๑. นโยบายและการวางแผนการ รักษาความปลอดภัยของโรงเรียน ๒
๑. นโยบายและการวางแผนการ รักษาความปลอดภัยของโรงเรียน นักเรียนคือหัวใจของการจัดการศึกษาโรงเรียนเซนต์ปอล หนองคาย มีความตะหนักในความสำคัญและเล็งเห็นความจำเป็นเร่ง ด่วนที่สถานศึกษาและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย จะต้องร่วมกันหา แนวทางที่เป็นรูปธรรมในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้ได้เรียนรู้อย่างมี ความสุข เป็นไปตามหลักสูตรมีทักษะชีวิตที่จะดูแลตนเองให้ปลอดภัย ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคม อุบัติเหตุ และอุบัติภัย ที่ก่อให้เกิด ความเสียหายแก่นักเรียน ดังนั้นโรงเรียนเซนต์ปอลหนองคาย จึงมี ภารกิจและความรับผิดชอบในการจัดการศึกษา ดำเนินการอย่างทั่วถึง มีคุณภาพ ความปลอดภัยของนักเรียนเป็นเรื่องที่มีความสำคัญต่อการ จัดการศึกษาของสถานศึกษาเพราะนอกจากจะทำให้นักเรียนได้เรียนรู้ อย่างมีความสุขแล้ว ยังมีผลต่อการพัฒนาด้านอื่น ๆ ๓
๑. เป้าประสงค์ ๑. เพื่อให้มีรูปแบบแนวทางการรักษาความปลอดดภัย ของสถานศึกษา ตามหลักมาตรการความปลอดภัยของสถาน ศึกษาโดยอาศัยแนวความคิดตามหลัก 3 ป คือ การป้องกัน ปลูกฝัง ปราบปราม ๒. เพื่อสร้างความเข้มแข็งระบบรักษาความปลอดภัย ของสถานศึกษาให้มีความพร้อมสามารถป้องกัน และแก้ไข สถานการณ์ปัญหาของนักเรียน ๓. เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับการป้องกัน และคุ้มครอง ความปลอดภัย ทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจโดยนักเรียนจะ ได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่าง ปลอดภัยและมีความสุข ๔. เพื่อสร้างความตระหนักในการรักษาความปลอดภัย ของสถานศึกษาโดยการให้ความรู้ ความเข้าใจ แก่ผู้รับผิดชอบ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการรักษาความปลอดภัยของสถาน ศึกษา ๔
๒. เป้าหมาย ๑. นักเรียนทุกคนในโรงเรียนเซนต์ปอลหนองคายได้รับ ความคุ้มครองให้ดูแลความปลอดภัย ๒. ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียนมีแนวทางในการป้องกันและรักษาความ ปลอดภัยนักเรียน ๓. เครือข่ายหน่วยงานภาครัฐและเอกชน มีส่วนร่วมใน การดูแลความปลอดภัยให้แก่นักเรียน ๓. ยุทธศาสตร์ ๑. จัดระบบการรักษาความปลอดภัยของนักเรียน โดยการ มีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครองและเครือข่ายทั้งภาครัฐและ เอกชนอย่างมีประสิทธิภาพ ๒. กำหนดมาตรการรักษาความปลอดภัยของนักเรียน ๓. มีการกำกับ ติดตาม ประเมินผลและรายงาน ๕
๒. การวางแผนรักษาความ ปลอดภัยของสถานศึกษา ๖
๒. การวางแผนรักษาความปลอดภัย ของสถานศึกษา แนวทางการวางแผนการรักษาความปลอดภัยให้แก่ นักเรียน เน้นการมีส่วนร่วมระหว่างนักเรียน ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่ายโดยร่วมกันปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัยของ สถานศึกษา โดยเน้นตามหลักการสถานศึกษาปลอดภัย MOE Safety Center สถานศึกษาปลอดภัย ตามหลัก 3 ป. “ป้องกัน ปลูกฝัง ปราบปราม ๗
๓. โครงสร้างสถานศึกษาปลอดภัย โรงเรียนเซนต์ปอลหนองคาย ๘
๓. โครงสร้างสถานศึกษาปลอดภัย โรงเรียนเซนต์ปอลหนองคาย เครือข่ายภาครัฐ ผู้บริหาร ศึกษาธิการจังหวัด ภาคเอกชน หนองคาย ภาคประชาชน และผู้ปกครอง คณะทำงานระดับสถานศึกษา ครูประจำชั้น ครูแนะแนว ครูฝ่าย สภา ผู้ปกครอง ครูที่ปรึกษา ปกครอง นักเรียน นักเรียน ๙
๔. ขั้นตอนการดำเนินงานความ ปลอดภัยในสถานศึกษา ๑๐
๔. ขั้นตอนการดำเนินงาน ความปลอดภัยในสถานศึกษา การดำเนินงานความปลอดภัยในสถานศึกษา มีขั้นตอน ดังนี้ ๑. การประเมิณสภาพความเสี่ยงด้านความปลอดภัยและจัด ลำดับความเสี่ยง ๒. จัดทำแผนดำเนินการความปลอดภัย ๓. การดำเนินตามมาตรการ ๔. การดำเนินการตามขอบข่ายความปลอดภัย ๕. การกำกับ ติดตาม และประเมินผล ๑. ด้านผู้เรียน ๒. ด้านครูและบุคลากร การขับเคลื่อนความปลอดภัย ทั้ง 3 ด้าน ๓. ด้านอาคารสถานที่และ สภาพแวดล้อม ๑๑
๕. ระบบความปลอดภัย ๑๒
๕. ระบบความปลอดภัย เพื่อให้เกิดความปลอดภัยสถานศึกษา สถานศึกษาต้อง ปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัยของสถานศึกษา และแนวปฏิบัติ ตามขอบข่ายความปลอดภัยของสถานศึกษา ดังนี้ ๕.๑ มาตรการความ ปลอดภัยของสถานศึกษา มาตรการความปลอดภัยของสถานศึกษามุ่งเน้นให้เกิดความปลอดภัย ของสถานศึกษามุ่งเน้นให้เกิดความปลอดภัยต่อนักเรียน นักศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษาอย่างยั่งยืน โดยเน้นมาตรการที่เข้มงวดใน มาตรการ 3 ป ดังนี้ ๑๓
๕.๑.๑ การป้องกัน หมายถึง การดำเนินการเพื่อไม่ให้เกิดปัญหา อุปสรรค หรือความไม่ปลอดภัย ต่อนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยการสร้างมาตรการป้องกันจากปัจจัยเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นทั้งใน และนอกสถานศึกษา ดังนี้ ๑ . การประเมินปัจจัยเสี่ยงของสถานศึกษา ๒. การกำหนดพื้นที่ความปลอดภัย ๓. การทำแผนความปลอดภัยของสถานศึกษา ๔. การจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศของสถานศึกษา ๕. การจัดโครงสร้างบริหารจัดความปลอดภัยของสถานศึกษา ๖. การจัดโครงสร้างข้อมูลสารสนเทศความปลอดภัยของสถาน ศึกษา ๗. การสร้างการมีส่วนร่วมของสถานศึกษาและภาคีเครือข่าย ๘. การจัดระบบช่องทางการสื่อสารด้านความปลอดภัยสถาน ศึกษา ๙. การจัดระบบคัดกรองและดูแลช่วยเหลือนักเรียน ๑๐. การประเมินนักเรียนรายบุคคล ด้านร่างการ จิตใจ สังคม สติ ปัญญา และความต้องการช่วยเหลือ ๑๔
๕.๑.๒ การปลูกฝัง หมายถึง การดำเนินการเกี่ยวกับการเสริมสร้างความรู้ ความ เข้าใจจิตสำนึก และเจตคติที่ดีและการเสริมสร้างประสบการณ์เพื่อให้ เกิดทักษะในการป้องกันภัยแก่นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ดังนี้ ๑. การสร้างจิตสำนึก ความตระหนัก การรับรู้ และความเข้าใจด้าน ความปลอดภัยให้กับตนเองและผู้อื่น ๒. การจัดกิจกรรมการสร้างความรู้ความเข้าใจ การพัฒนาองค์ ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยให้แก่นักเรียน ครูและบุคลกรทางการ ศึกษา และผู้ปกครอง ๓. การจัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะ ประสบการณ์ และสรรถนะ ด้านความปลอดภัย ๕.๑.๓ การปราบปราม หมายถึง การดำเนินการจัดแก้ไขปัญหา การช่วยเหลือ เยียวยา ฟื้นฟู และดำเนินการตามขั้นตอนของกฎหมาย ได้แก่ ๑.การจัดแก้ไขปัญหาความไม่ปลอดภัยในสถานศึกษา ๒. การช่วยเหลือเยียวยา ฟื้นฟู จิตใจบุคคลผู้ประสบเหตุความไม่ ปลอดภัย ๓. การดำเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ๑๕
การดำเนินการตามมาตรการความปลอดภัย ของสถานศึกษา ๑. การป้องกัน ตารางที่ 1 การดำเนินการตามมาตรการการป้องกันเพื่อให้เกิดความ ปลอดภัยในสถานศึกษา การป้องกัน แนวทางการปฏิบัติ ตัวชี้วัด ๑. กำหนดพื้นที่ ๑.๑ ประชุม ชี้แจง วางแผนการดำเนินงานด้านความปลอดภัย โรงเรียนมีการ ความปลอดภัย สถานศึกษาร่วมกับบุคลากร ภาคีเครือข่ายและหน่วยงาน องค์กร กำหนดพื้นที่ความ ผู้ที่ม้าส่วนเกี่ยวข้อง ปลอดภัย ๑.๒ กำหนดพื้นที่ควบคุมความปลอดภัย รวมถึงป้าย ป้ายสัญลักษณ์ สัญลักษณ์และอุปกรณ์ควบคุมความปลอดภัยส่วนบุคคล และอุปกรณ์ ๑.๓ จัดทำป้ายสัญลักษณ์พื้นที่ที่มีความเสี่ยง ควบคุมความ ๑.๔ จัดทำข้อมูลสารสนเทศด้านความปลอดภัยของสถาน ปลอดภัย ส่วน ศึกษา บุคคล ๒. จัดทำแผน ๒.๑ แต่งตั้งคณะกรรมการความปลอดภัยสถานศึกษา โดยการ โรงเรียนมีแผน ปลอดภัยสถาน มีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ความปลอดภัย ศึกษา ๒.๒ เสนอแผนความปลอดภัยต่อคณะกรรมการการศึกษาขั้น สถานศึกษาที่ พื้นฐาน ครอบคุมทุกมิติ ๒.๓ กำหนดระยะเวลาการดำเนินงานและผู้รับผิดชอบงาน ๒.๔ กำหนดนโยบายความปลอดภัยของสถานศึกษา ๒.๕ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์นโยบายและแผนความปลอดภัย ของสถานศึกษา ๓. การจัดสภาพ ๓.๑ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ภูมิทัศน์ ห้องเรียน ห้อง โรงเรียนสภาพ แวดล้อมและ ปฏิบัติการห้องน้ำ หอประชุม และห้องอื่น ๆให้มีความปลอดภัย แวดล้อมและ บรรยากาศของ ๓.๒ จัดทำแหล่งการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความปลอดภัยใน บรรยากาศที่มี สถานศึกษา สถานศึกษา ความปลอดภัยต่อ นักเรียน ครู และบุคลกร ทางการศึกษา ๑๖
การป้องกัน แนวทางการปฏิบัติ ตัวชี้วัด ๔. การจัด ๔.๑ สำรวจและประเมินสภาพความเสี่ยงด้านความปลอดภัย โรงเรียนจัดระบบ โครงสร้างในการ โครงสร้างบริหาร สถานศึกษา บริหารจัดการ ความปลอดภัย จัดการความ ๔.๒ สถานศึกษาจัดทำโครงสร้างบริหารจัดการความปลอดภัย สถานศึกษา ปลอดภัยของสถาน ของสถานศึกษา ศึกษา ๔.๓ กำหนดบทบาทและหน้าที่ ภาระงานของคณะกรรมการ ๔.๔ จัดทำปฏิทินการปฎิบัติงานของคณะกรรมการความ ปลอดภัยของสถานศึกษา ๔.๕ ประสานความร่วมมือจากคณะกรรมการ ภาคีเครือข่าย และหน่วยงานต้นสังกัด ๕. การจัดทำ ๕.๑ แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อจัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศ โรงเรียนมีระบบ ข้อมูลสารสนเทศ ข้อมูลสารสนเทศ ความปลอดภัยของสถานศึกษา ความปลอดภัย ของสถานศึกษา ความปลอดภัยของ ๕.๒ จัดหาเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ในการเก็บรวยรวมข้อมูล สถานศึกษา สารสนเทศ ๕.๓ เก็บรวบรวมข้อมูล จัดระบบหมวดหมู่สารสนเทศ ๕.๔ วิเคราะห์ข้อมูล จัดระบบหมวดหมู่สารสนเทศ ๕.๕ จัดทำรายงานระบบข้อมูล และจัดเก็บอย่างเป็นระบบ ๖.การสร้างการมี ๖.๑ ประสานความร่วมมือในการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วม ส่วนร่วมของสถาน ในพื้นที่และภาคส่วนต่าง ๆ โรงเรียนมีเครือ ศึกษาและภาคีเครือ ๖.๒ มีการประชุมวางแผนเพื่อเสริมสร้างความปลอดภัยสถาน ข่ายตวามร่วมมือ ข่าย ศึกษาร่วมกัน ความปลอดภัย ๖.๓ มีกิจกรรมการดำเนินงานในการเสริมสร้างความปลอดภัย สถานศึกษา ๖.๔ มีการประเมินผลร่วมกัน ๖.๕ มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ความร่วมมือ ๖.๖ มีการยกย่องชมเชยเครือข่ายภาคีความร่วมมือ ๗.การจัดระบบ ๗.๑ แต่งตั้งคณะทำงานด้านการสื่อสารประชาสัมพันธ์องค์กร โรงเรียนมีช่อง ช่องทางการสื่อสาร ๗.๒ กำหนดรูปแบบการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ที่ครอบคลุม ทางการติดต่อ สื่อสาร 3 ช่องทาง ทั้ง 3 ช่องทาง ประกอบด้วย ๑. On Ground ได้แก่ การจัดป้ายนิทรรศการทำเอกสารประชาสัมพันธ์ การจัดกิจกรรมรณรงค์ตามวันสำคัญต่างๆ ๒. On Line ได้แก่การเยแพร่ปชะชาสัมพันธ์ทางสื่อ ออนไลน์ ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น Facebook , Line เป็นต้น ๓. On Air ได้แก่ ประชาสัมพันธ์ผ่านระบบเสียงตามสายทั้งในสถานศึกษาและ ชุมชน ๗.๓ ปรับรูปแบบช่องทางการสื่อสารด้านความปลอดภัยของ สถานศึกษา ๑๗
การป้องกัน แนวทางการปฏิบัติ ตัวชี้วัด ๘. การจัดระบบ ๘.๑ แต่งตั้งคณะกรรมการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนระดับ แผนงาน ดูแลช่วยเหลือ นักเรียน สถานศึกษา แนะแนว ๘.๒ คัดกรองเด็กออกเป็น 3 กลุ่ม ได้อย่างชัดเจน ประกอบด้วย แผนงานสัมพันธ์ ๘.๓ เก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคลด้วยเครื่องมือและวิธีการที่ ชุมชน เหมาะสม ๘.๔ จัดกิจกรรมสำหรับเด็กกลุ่มต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ดังนี้ กลุ่มปกติ จัดกิจกรรมส่งเสริมความสามารถ กลุ่มเสี่ยง จัดกิจกรรมป้องกันปัญหา กลุ่มมีปัญหา จัดกิจกรรมแก้ปัญหาและระบบส่งต่อ ๘.๕ รายงานผลการดำเนินงานระบบดูแลการช่วยเหลือ นักเรียน ๙. การประเมิน ๙.๑ มอบหมายให้ครูประจำชั้น / ครูที่ปรึกษา นักเรียนทุกคน นักเรียนรายบุคคล ด้านร่างกาย จิตใจ มีหน้าที่ในการประเมินนักเรียนเป็นรายบุคคล ได้รับการประเมิน สังคม ๙.๒ จัดทำเครื่องมือวัดและประเมินนักเรียนรายบุคคล ๙.๓ ครูประจำชั้นครูที่ปรึกษา ดำเนินการประเมินนักเรียนเป็น รายบุคคล ๙.๔ จัดทำระบบสารสนเทศรายงานผลการประเมินนักเรียน รายบุคคล ๑๘
การดำเนินการตามมาตรการความปลอดภัย ของสถานศึกษา ๒. การปลูกฝัง ตารางที่ ๑ การดำเนินการตามมาตรการการปลูกฝังเพื่อให้เกิดความ ปลอดภัยในสถานศึกษา การปลูกฝัง แนวทางการปฏิบัติ ตัวชี้วัด ๑. การสร้าง ๑.๑ สำรวจข้อมูลด้านความปลอดภัยสถานศึกษา หลักสูตรสถาน จิตสำนึกความ ๑.๒ จัดลำดับความรุนแรง เร่งด่วนของความปลอดภัยสถาน ศึกษา โครงการ / ตระหนักการรับรู้ ศึกษา กิจกรรม และความเข้าใจ ๑.๓ ปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโดยเพิ่มเนื้อหาด้าน ด้านความปลอดภัย ความปลอดภัยสถานศึกษาที่สอดคล้องกับความรุนแรง ให้แก่ตนเองผู้อื่น ๑.๔ จัดทำคู่มือแนวทางว่าด้วยความปลอดภัยในสถานศึกษา และสังคม ๑.๕ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการด้านความปลอดภัยของสถานศึกษา ให้แก่ครูบุคลากร ทางการศึกษาและนักเรียน ๑.๖ จัดทำศูนย์บริการสื่อด้านความปลอดภัยในสถานศึกษา เพื่อค้นคว้าเพิ่มเติม ๒. การจัด ๒.๑ ประชุมครู และบุคลกรทางการศึกษาเพื่อชี้แจงแนวทาง โรงเรียนมีการจัด กิจกรรม กิจกรรมสร้างความ เกี่ยวกับความปลอดภัยในสถานศึกษา / โครงการเสริม สร้างความรู้ความ รู้ความเข้าใจพัฒนา ๒.๒ จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรโดยบูรณาการเนื้อหาความ เข้าใจด้านความ ปลอดภัยของสถาน องค์กร ปลอดภัยสถานศึกษาในรายวิชาต่าง ๆ ศึกษาให้นักเรียน ครู บุคลากร ๒.๓ การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์รูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้ความรู้ ทางการศึกษาและผู้ ปกครอง แก่ผู้ปกครองและชุมชน ๒.๔ จัดกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องความ ปลอดภัยในสถานศึกษาผ่านกิจกรรม Classroom meeting ระหว่างสถานศึกษากับผู้ปกครอง ๓. การจัด ๓.๑ จัดกิจกรรมเสริมสร้างประสบการณ์ที่เน้นการลงมือปฏิบัติ โรงเรียนมีกิจกรรม กิจกรรมเสริมสร้าง ที่เชื่อมโยงกับการดำเนินชีวิตประจำวันให้แก่ เช่น การปฐม เสริมทักษะ ทักษะ พยาบาลเบื้องต้นแก่ นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ประสบการณ์ ประสบการณ์และ ๓.๒ กิจกรรมสอดแทรกด้านความปลอดภัยสถานศึกษาใน และสมรรถนะด้าน สมรรถนะด้าน กิจกรรมวันสำคัญต่างๆ ความปลอดภัยให้แก่ ความปลอดภัยให้ ๓.๓ สรรหาต้นแบบผู้จัดกิจกรรม และการจัดเสริมทักษะที่เป็น นักเรียน แก่นักเรียน เลิศ ๑๙
การดำเนินการตามมาตรการความปลอดภัย ของสถานศึกษา ๓. การปราบปราม ตารางที่ ๓ การดำเนินการตามมาตรการการปราบปรามเพื่อให้เกิด ความปลอดภัยในสถานศึกษา การปราบปราม แนวทางการปฏิบัติ ตัวชี้วัด ๑. การจัดการการ ๑.๑ กำหนดแนวทางปฎิบัติการจัดการหรือการระงับเหตุ การ โรงเรียนมีระบบ แก้ไขปัญหากรณีเกิด ช่วยเหลือเมื่อเกิดเหตุการณ์ในสถานศึกษา การแก้ปัญหาด้าน ความปลอดภัยใน และสร้างการรับรู้ร่วมกันทุกภาคส่วน ความปลอดภัย สถานศึกษา ๑.๒ จัดตั้งคณะทำงานเคลื่อนที่เร็ว (Roving Team ) ที่ สถานศึกษาอย่าง สามารถเข้ารับการระงับเหตุได้ มีประสิทธิภาพ ๑.๓ เตรียมบุคลากรและเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ ที่พร้อมรับ สถานการณ์ ๑.๔ ติดตั้งระบบเตือนภัย เช่น กล้องวงจรปิด สามารถตรวจ สอบข้องเท็จจริงได้ ๑.๕ ซ้อมระงับเหตุอย่างต่อเนื่อง เช่นการดับเพลิง การซ้อม หนีไฟ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น เป็นต้น ๑.๖ ประสานงานเครือข่ายการมีส่วนร่วมเพื่อให้ความช่วย เหลือได้ทันเหตุการณ์ ๑.๗ ส่งต่อผู้ประสบเหตุเพื่อได้รับการช่วยเหลืออย่างมี ประสิทธิภาพ ๑.๘ กำกับ ติดตาม ประเมินผลและรายงาน ๒. การช่วยเหลือ ๒.๑ จัดทำข้อมูลบุคคลและหน่วยงานในพื้นที่ตั้งของสถาน มีระบบช่วยเหลือ เยียวยา ฟื้นฟูจิตใจ บุคคลผู้ประสบเหตุ ศึกษาที่สามารถติดต่อ ประสานงานและให้ความช่วยเหลือ เยียวยา ฟื้นฟู จิตใจ ความไม่ปลอดภัย เยียวยา ฟื้นฟู จิตใจได้อย่างรวดเร็วทันท่วงที ผู้ประสบเหตุความ ๒.๒ จัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือเยียวยา ฟื้นฟูและให้คำปรึกษา ไม่ปลอดภัย โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายต่างๆ ๒.๓ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการช่วยเหลือที่เหมาะสม ๒.๔ ประสานเครือข่ายการมีส่วนร่วมหน่วยงาน องค์กร เพื่อ ให้การช่วยเหลือเยียวยา ฟื้นฟู ๒.๕ จัดระบบประกันภัยรายบุคคลหรือรายกลุ่มที่สามารถ ให้การคุ้มครองสำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษาและ นักเรียน ๒.๖ สร้างขวัญกำลังใจ โดยการติดตามเยี่ยมเยือนอย่าง สม่ำเสมอ ๒๐
การป้องกัน แนวทางการปฏิบัติ ตัวชี้วัด ๓. การดำเนินการ ๓.๑ แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการด้านกฎหมาย ผู้ประสบเหตุทุก คนได้รับความ ตามขั้นตอนของ ให้ผู้ประสบเหตุได้รับความคุ้มครองตามที่กฎหมายกำหนด คุ้มครองตามที่กฏ หมายกำหนด กฎหมาย ๓.๒ รายงานเหตุการณ์ต่อผู้บังคับบัญชาหน่วยงานต้นสังกัด ๓.๓ ดำเนินคดี จำแนกประเภทของเหตุที่เกิด ติดต่อประสานงานผู้ปกครองเพื่อดำเนินการหรือดำเนินการ แทนผู้ปกครอง ๓.๔ ให้การคุ้มครองนักเรียนอยู่ในความปลอดภัย ๒๑
แนวทางการปฏิบัติขอบข่ายความ ปลอดภัยของสถานศึกษา ๒๒
แนวทางการปฏิบัติขอบข่าย ความปลอดภัยของสถานศึกษา ขอบข่ายความปลอดภัยของสถานศึกษาจำแนกเป็น สี่กลุ่มภัย สถานศึกษาตามมาตรการ 3 ป ได้แก่ การป้องกัน การปลูกฝัง และ การปราบปราม ซึ่งในแต่ละมาตรการมีแนวปฏิบัติตามรายละเอียด ดังนี้ ภัยสถานศึกษา 4 กลุ่ม ๒๓
ช่องทางการติดต่อสื่อสาร ติดต่อด้วยตนเอง/จดหมาย 84 หมู่ 5 ถนนหนองคาย-โพนพิสัย ต.หาดคำ อ.เมือง จ.หนองคาย E-Mail moesafetyceติnดต่อดt้วยeตนเrอง/จ1ดห1มา4ย [email protected] facebook : เซนต์ปอล หนองคาย เพจ : โรงเรียนเซนต์ปอลหนองคาย facebook : เซนต์ปอล หนองคาย เพจ : โรงเรียนเซนต์ปอลหนองคาย ๒๔
ช่องทางการติดต่อสื่อสาร หน่วยงาน สถานที่ / ช่องทางการติดต่อ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดหนองคาย ถนนศูนย์ราชการ ตำบลหนองกอมเกาะ อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย ๔๓๐๐๐ โทรศัพท์. ๐-๔๒๔๑-๒๖๖๐ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ศาลากลางจังหวัดหนองคาย ชั้น2 ต.หนองกอมเกาะ อ.เมืองหนองคาย ของมนุษย์ จ.หนองคาย 43000. 042-411-027 สำนักงานป้องกันและบรรเทา ถนนมิตรภาพ ศาลากลางจังหวัดหนองคาย ต.หนองกอมเกาะ อ.เมืองหนองคาย สาธารณภัยจังหวัดหนองคาย 43000 ติดต0่อ4ด้ว2ยตน2เอ4ง1/จด0หม1า4ย มูลนิธิ คณะภคินีศรีชุมพาบาล สำนักงานเทศบาลเมืองหนองคาย facebook : เซนต์ปอล หนองคาย เพจ : โรงเรียนเซนต์ปอลหนองคาย โรงพยาบาลหนองคาย 916 ถนนประจักษ์ จังหวัดหนองคาย 43000 0-4241-1861 เลขที่ 252 ถนนประจักษ์ศิลปาคม ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย 43000โทรศัพท์ 042-420574 อีเมล์ : [email protected] 1158 ม.3 ถ.มีชัย ต.ในเมือง อ.เมือง จ.หนองคาย 43000 เบอร์ติดต่อโอเปอร์เรเตอร์ (042)-413456-65, (042)-414719 (042)-414794-6, (042)-414894 โรงพยาบาลรวมแพทย์ หนองคาย 710 ซอยพรหมดำริห์ ถนนประจักษ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัด หนองคาย 43000 ศูนย์บริการสาธารณสุข 2 (บ้านนาโพธิ์) ถนน เนินพระเนาว์ ตำบล โพธิ์ชัย อำเภอ เมืองหนองคาย จังหวัด หนองคาย 43000. ๒๕
ภัยสถานศึกษา ๔ กลุ่ม ๒๖
๑. ภัยที่เกิดจาการใช้ความรุนแรง ของมนุษย์ ประเภทภัย แนวทางปฏิบัติ การป้องกัน การปลูกฝัง การปราบปราม การล่วงละเมิดทางเพศ ๑.สำรวจนักเรียนกลุ่มเสี่ยงและพื้นที่ที่เป็นจุด ๑.จัดกิจกรรมส่งเสริมความตระหนักรู้ ๑.เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ช่อง เสี่ยง และเห็นคุณค่าในตนเอง ทางในการขอความช่วยเหลือ ๒.เฝ้าระวังสังเกตพฤติกรรมนักเรียน และ ๒.จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต ๒.แต่งตั้งคณะกรรมการให้ พัฒนาพื้นที่เสี่ยงให้ปลอดภัย ๓. ฝึกทักษะการปฏิเสธและเอาตัวรอด ความช่วยเหลือเร่งด่วน ๓. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังทั้งในสถานศึกษา ในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่สามารถให้ความช่วยเหลือ และชุมชน ได้ทันเหตุการณ์ ๔. จัดระบบการสื่อสารเพื่อรับส่งข้อมูลด้าน ๓. แต่งตั้งคณะทำงานด้าน พฤติกรรมนักเรียนทั้งในสถานศึกษาและชุมชน กฎหมายเพื่อให้ความช่วย เหลือ ๔. ประสานงานภาคีเครือข่าย เพื่อการส่งต่อที่เหมาะสม ๑.๒ การทะเลาะ ๑.จัดทำระเบียบในการประพฤติปฏิบัติตนใน ๑.ให้ความรู้เรื่องการอยู่ร่วมกันใน ๑.แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อ วิวาท สถานศึกษา สังคม ระงับเหตุทั้งในสถานศึกษา ๒. ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจการปฏิบัติตน และผลกระทบที่เกิดจากการทะเลาะ และชุมชน ตามระเบียบ วิวาท ๒.ประสานเครือข่ายการมี ๓. เฝ้าระวัง ๒.จัดกิจกรรมส่งเสริมการอยู่ร่วมกันใน ส่วนร่วมเพื่อรวมแก้ปัญหา สังเกตพฤติกรรมทั้งในระดับ ชั้นเรียน สังคม ๓.ดำเนินการตามระเบียบ ๔. สร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังในสถาน ๓.จัดเวทีกิจกรรมให้นักเรียนได้ กฎหมาย ศึกษาและชุมชน แสดงออกตามความสามารถอย่าง โดยเน้นการไกลเกลี่ย ๕. จัดระบบติดต่อสื่อสารเพื่อติดตาม เหมาะสม ประนีประนอม ตามมาตรการ พฤติกรรมนักเรียนอย่างต่อเนื่อง จากเบาไปหาหนัก ๒๗
๑. ภัยที่เกิดจาการใช้ความรุนแรง ของมนุษย์ ประเภทภัย แนวทางปฏิบัติ การป้องกัน การปลูกฝัง การปราบปราม ๑.๓ การกลั่นแกล้ง ๑. สำรวจนักเรียนเป็นกลุ่มเสี่ยงทั้งกลุ่มผู้ ๑.ให้ความรู้ความเข้าใจการกลั่นแกล้ง ๑.แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อ รังแก กระทำและกลุ่มผู้ถูกกระทำ รังแก ระงับเหตุ ๒.จัดระเบียบข้อตกลงร่วมกัน ทักษะชีวิตและหลักในการอยู่ร่วมกัน ทั้งในระดับชั้นเรียน สถาน ทั้งในระดับชั้นเรียนและในโรงเรียน ในสังคม ศึกษา และชุมชน ๓.สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังทั้งในสถานศึกษา ๒.จัดกิจกรรมให้นักเรียนได้ทำร่วมกัน ๒.ดำเนินการเอาโทษตาม และชุมชน อย่างต่อเนื่อง ระเบียบข้อตกลง ๔.จัดระบบการสื่อสารและเฝ้าระวังช่อง ๓.จัดเวทีให้นักเรียนได้แสดงออกตาม โดยเน้นการไกล่เกลี่ย ประนี ทางการสื่อสารที่ทำให้เกิดการกลั่นแกล้งรังแก ความสามารถอย่างเหมาะสม ประนอม ตามมาตรการจาก เพื่อติดตามพฤติกรรมนักเรียน เบาไปหาหนัก ๓. ติดตาม เยี่ยมเยือน ให้ กำลังใจผู้ถูกกระทำ ๑.๔ การชุมนุม ๑. สำรวจนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ๑. สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ๑.แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อ ประท้วงและการ ๒.เฝ้าระวัง สังเกตพฤติกรรม และพัฒนา ระเบียบ กฎหมาย สิทธิและหน้าที่ ระงับเหตุทั้งในสถานศึกษา จราจร พื้นที่เสี่ยงให้ปลอดภัย พลเมือง และชุมชน ๓. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังทั้งในสถานศึกษา ๒. สร้างองค์ความรู้ความเข้าใจถึง ๒.ประสานเครือข่ายการมี และในชุมชน ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการชุมนุม ส่วนร่วมเพื่อแก้ไขปัญหา ๔. จัดระบบการสื่อสารเพื่อรับส่งข้อมูลด้าน ประท้วงและการจลาจล ๓. ดำเนินการตามระเบียบ พฤติกรรมนักเรียนทั้งในสถานศึกษาและชุมชน ๓. จัดกิจกรรมบำเพ็ญ กฎหมาย โดยเน้นการไกล่ สาธารณประโยชน์อย่างสม่ำเสมอ เกลี่ยประนีประนอม ตาม ๔. จัดกิจกรรมสร้างทัศนคติที่ถูกต้อง มาตรการจากเบาไปหาหนัก ร่วมกับผู้ปกครอง ชุมชนในโอกาสที่ เหมาะสม ๒๘
๑. ภัยที่เกิดจาการใช้ความรุนแรง ของมนุษย์ แนวทางปฏิบัติ ประเภทภัย การป้องกัน การปลูกฝัง การปราบปราม ๑.๕ การก่อ ๑. สำรวจนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ๑. สร้างความรู้ ความเข้าใจถึงผลก ๑. แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อ วินาศกรรม ๒. เฝ้าระวัง สังเกตพฤติกรรมนักเรียน ระทบที่เกิดจาการก่อวินาศกรรม ระงับเหตุทั้งในสถานศึกษา ๓. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังทั้งในสถานศึกษา ๒. จัดกิจกรรมสร้างทัศนคติที่ถูกต้อง และชุมชน ๑.๖ การระเบิด และชุมชน ร่วมกับผู้ปกครอง ชุมชน ในโอกาสที่ ๒. ประสานเครือข่ายการมี ๔.จัดระบบการสื่อสารเพื่อรับส่งข้อมูลด้าน เหมาะสม ส่วนร่วม เพื่อร่วมแก้ปัญหา พฤติกรรมนักเรียนทั้งในสถานศึกษาและชุมชน ๓. จัดเวทีให้นักเรียนได้แสดงออกตาม ๓. ดำเนินการตามระเบียบ ความสามารถได้อย่างเหมาะสม กฎหมาย โดยเน้นการไกล่ เกลี่ยประนีประนอม ตาม มาตรการจากเบาไปหาหนัก ๑.สำรวจนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ๑. สร้างความรู้ความเข้าใจถึงผลกระ ๑. แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อ ๒. สำรวจข้อมูลแหล่งที่มาของวัตถุประกอบ ทบที่เกิดขึ้นจากการใช้ระเบิด ระงับเหตุทั้งในสถานศึกษา ระเบิด ๒. จัดเวทีให้นักเรียนได้แสดงออกตาม และชุมชน ๓. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังทั้งในสถานศึกษา ความสามารถอย่างเหมาะสม ๒. ประสานงานเครือข่าย และชุมชน การมีส่วนร่วม เพื่อแก้ปัญหา ๔. จัดระบบติดต่อสื่อสารเพื่อติดตาม ๓. ดำเนินการตามระเบียบ พฤติกรรมนักเรียน กฎหมาย โดยเน้นการไกล่ เกลี่ยประนีประนอม ๒๙
๑. ภัยที่เกิดจาการใช้ความรุนแรง ของมนุษย์ ประเภทภัย แนวทางปฏิบัติ การป้องกัน การปลูกฝัง การปราบปราม ๑.๗ สารเคมีและวัตถุ ๑. จัดทำมาตรการและแนวปฏิบัติในการ ๑.สร้างความรู้และความเข้าใจถึงผลก ๑.ติดต่อประสานงานเครือ อันตราย ดำเนินการ ลด ละ เลิก ระทบที่เกิดจากการใช้สารเคมีและวัตถุ ข่ายการมีส่วนร่วมเพื่อร่วม การใช้สารเคมีและวัตถุอันตราย อันตราย แก้ปัญหาร ๒. จัดสถานที่ในการจัดเก็บสารเคมีและวัตถุ ๒. จัดกิจกรรมส่งเสริมการนำหลัก ๒. ดำเนินการตาม อันตรายให้มิดชิด ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ใน มาตรการและข้อตกลงที่ ๓. สร้างเครือเฝ้าระวังการใช้สารเคมีและ การดำเนินชีวิต กำหนดร่วมกัน วัตถุอันตรายทั้งในสถานศึกษาและชุมชน ๓. จัดกิจกรรมบำเพ็ญสาธารณะ ๓. ดำเนินการตามระเบียบ ๔. จัดระบบสื่อสารเพื่อรับส่งข้อมูล ประโยชน์อย่างสม่ำเสมอ กฎหมาย โดยเน้นกลไกล ๔.จัดกิจกรรมสร้างทัศนคติที่ถูกร่วม เกลี่ยประนีประนอม กับผู้ปกครอง ชุมชน ในโอกาสที่เหมาะ ตามมาตรการจากเบาไปหา สม หนัก ๑.๘ การล่อลวงลัก ๑.สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังทั้งในสถานศึกษา ๑.การจัดกิจกรรมส่งเสริมความ ๑. แต่งตั้งคณะทำงานให้ พาดตัว และชุมชน ตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเอง ความช่วยเหลือเร่งด่วน ๒.จัดระบบการติดต่อสื่อสารเพื่อรับส่งข้อมูล ๒.จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะในชีวิต ที่สามารถให้ความช่วย พฤติกรรมนักเรียน อย่างรอบด้าน เหลือได้ทันเหตุการณ์ ผู้ใกล้ชิด และบุคลากรภายนอก ๓.ฝึกฝนทักษะการปฏิเสธ ๒.แต่งตั้งคณะทำงานด้าน ๓.จัดทำข้อมูลของช่องทางขอความช่วย และการเอาตัวรอดในสถานการณ์ กฎหมายเพื่อให้ความช่วย เหลือเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้นักเรียนและ ต่างๆ เหลือ ชุมชน ๓.ประสานงานภาคีเครือ ข่ายเพื่อร่วมแก้ปัญหา ๓๐
๒. ภัยที่เกิดจากอุบัติเหตุ ๓๑
๒. ภัยที่เกิดจากอุบัติเหตุ ประเภทภัย แนวทางปฏิบัติ การป้องกัน การปลูกฝัง การปราบปราม ๒.๑ ภัยธรรมชาติ ๑. สำรวจข้อมูลความเสี่ยงที่เกิดจากภัย ๑.สร้างความรู้ความเข้าใจถึงปัญหา ๑.แต่งตั้งคณะทำงานให้ ธรรมชาติ และผลกระทบที่เกิดจากธรรมชาติรูป ความช่วยเหลือเร่งด่วน ๒. จัดทำแผนป้องกันภัยทางธรรรมชาติ แบบต่างๆ ที่สามารถให้ความช่วย ๓.จัดเตรียมวัสดุ ๒. จัดกิจกรรมฝึกทักษะการเผชิญ เหลือได้ทันเหตุการณ์ อุปกรณ์เครื่องมือในการป้องกันภัยธรรมชาติ ปัญหาภัยธรรมชาติ ๒.ติดต่อสื่อสารเครือข่าย ๔. ซักซ้อมเผชิญเหตุภัยธรรมชาติ ๓. จัดกิจกรรมส่งเสริมการอนุรักษ์ การมีส่วนร่วม ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อร่วมให้ความช่วยเหลือ เยียวยา ฟื้นฟูจิตใจ ๒.๒ ภัยจากอาคาร ๑. สำรวจสภาพของอาคารเรียน ๑.สร้างความตระหนักและให้ความรู้ ๑.แต่งตั้งบุคลากรดูแลรับ เรียนสิ่งก่อสร้าง อาคารประกอบ และสิ่งก่อสร้าง ความเข้าใจถึงหลักการสร้างความ ผิดชอบด้านอาคารสถานที่ ๒. ซ่อมแซมส่วนประกอบของอาคารและ ปลอดภัยในการดำเนินชีวิตแก่นักเรียน ๒. ติดต่อสื่อสารเครือข่าย อุปกรณ์ติดตั้งต่างๆให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัย ๒. จัดกิจกรรมฝึกทักษะการ การมีส่วนร่วมเพื่อให้ความ ๓. จัดทำป้ายข้อควรระวังและติดป้าย ปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อประสบภัย ช่วยเหลือและแก้ปัญหา สัญลักษณ์ในจุดอันตรายภายในอาคาร หรือ จากยานพาหนะ ๓. ประสานงานหน่วยงาน พื้นที่ที่ไม่แข็งแรงและมีความเสี่ยง ๓. จัดกิจกรรมส่งเสริมการสร้าง องค์กร เพื่อให้ความช่วย ๔. ประชาสัมพันธ์ให้นักเรียนหลีกเลี่ยงการเข้า จิตสำนึกในการปฏิบัติตามกฎจราจร เหลือเยียวยา และฟื้นฟูจิตใจ พื้นที่เสี่ยงอย่างต่อเนื่อง ๕.จัดให้มีแผนการป้องกันและเคลื่อนย้ายใน กรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน ๓๒
๒. ภัยที่เกิดจากอุบัติเหตุ แนวทางปฏิบัติ ประเภทภัย การป้องกัน การปลูกฝัง การปราบปราม ๒.๓ ภัยจากยาน ๑. สำรวจข้อมูลยานพาหนะในสถานศึกษา ๑. จัดกิจกรรมให้ความรู้ ๑. แต่งตั้งคณะกรรมการให้ พาหนะ ๒.จัดระบบจราจรรับส่งหน้าโรงเรียนเพื่อ เรื่องการใช้รถใช้ถนน ความช่วยเหลือเร่งด่วนที่ อำนวยความปลอดภัยให้กับนักเรียนและผู้ ๒. จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความ สามารถช่วยเหลือให้ทัน ปกครอง ปลอดภัยและจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการ เหตุการณ์ ๓. จัดทำแผนให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย สร้างจิตสำนึกในการปฏิบัติตามกฏ ๒. ติดต่อสื่อสารเครือข่าย จากยานพาหนะ จราจร การมีส่วนร่วมเพื่อให้การช่วย ๔.จัดเตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือ ๓. จัดกิกจรรมฝึกทักษะการ เหลือและการแก้ปัญหา เพื่อการช่วยเหลือ ปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อประสบภัย ๓.ประสานงานหน่วยงาน ๕.โรงเรียนได้ดำเนินการจัดทำประกัน จากยานพาหนะ องค์กร เพื่อให้ความช่วย อุบัติเหตุให้กับนักเรียนครูและบุคลากรทางการ เหลือเยียวยา และฟื้นฟูจิตใจ ศึกษา ๒.๔ ภัยที่เกิดจาก ๑. แต่งตั้งการทำงานประเมินความเสี่ยงใน ๑. สร้างความรู้ความเข้าใจในการจัด ๑. แต่งตั้งคณะกรรมการให้ การจัดกิจกรรม การจัดกิจกรรมต่างๆ กิจกรรมต่าง ความชวยเหลือได้ทัน ๒.จัดแยกกิจกรรมระดับความเสี่ยง ให้ปลอดภัย เหตุการณ์ ๓. เสนอแนะแนวทางในการป้องกันความ ๒. ฝึกทักษะการเลือกปฏิบัติกิจกรรม ๒. ติดต่อสื่อสารเครือข่าย เสี่ยงในกิจกรรมต่าง ๆ ต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับตนเอง การมีส่วนร่วมให้ความช่วย ๓. จัดกิจกรรมฝึกทักษะการให้ความ เหลือและแก้ปัญหา ช่วยเหลือเมื่อประสบภัยจากการปฏิบัติ ๓. ดำเนินการส่งต่อเพื่อการ กิจกรรม ช่วยเหลือที่มีประโยชน์ ๓๓
๒. ภัยที่เกิดจากอุบัติเหตุ ประเภทภัย แนวทางปฏิบัติ การป้องกัน การปลูกฝัง การปราบปราม ๒.๕ ภัยจากเครื่องมือ ๑. สำรวจข้อมูลเครื่องมืออุปกรณ์ จัดแยก ๑.จัดกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจ ๑.แต่งตั้งคณะทำงานให้ อุปกรณ์ ส่วนที่ชำรุดและส่วนที่ใช้งานได้ หลักการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ ให้ ความช่วยเหลือเร่งด่วน ๒. จัดทำคู่มือหรือแนวทางปฏิบัติหรือ ปลอดภัย ที่สามารถให้ความช่วย ระเบียบการ การใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ให้ ๒. ฝึกฝนทักษะการบำรุงรักษา เหลือได้ทันเหตุการณ์ ปลอดภัย การจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ ๒. ประสานเครือข่ายความ ๓.จัดทำป้ายสัญลักษณ์และเครื่องมือไว้อย่าง ๓. จัดกิจกรรมสร้างจิตสำนึกใน ร่วมมือเพื่อให้ความช่วยเหลือ ชัดเจน คุณค่าของเครื่องมือ อุปกรณ์ ๓.ดำเนินการส่งต่อเพื่อการ ๔. ดำเนินการซ่อมแซมบำรุงรักษาและการ ช่วยเหลือที่มีประสิทธิภาพ จัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ ให้เป็นระบบ ๓๔
๓. ภัยที่เกิดจากการ ถูกละเมิดสิทธิ์ ๓๕
๓.ภัยที่เกิดจากการ ถูกละเมิดสิทธิ์ ประเภทภัย แนวทางปฏิบัติ การป้องกัน การปลูกฝัง การปราบปราม ๓.๑ การถูกปล่อย ๑.สร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังทั้งในสถาน ๑.จัดกิจกรรมส่งเสริมการตระหนักรู้ ๑.แต่งตั้งคณะทำงานให้ ปละละเลย ทอดทิ้ง ศึกษาและชุมชน และเห็นคุณค่าในตนเอง ความช่วยเหลือเร่งด่วน ๒.จัดระบบการติดต่อสื่อสารเพื่อรับส่งข้อมูล ๒.จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตรอบ ที่สามารถช่วยเหลือได้ทัน พฤติกรรมนักเรียนและผู้ใกล้ชิด ด้าน เหตุการณ์ ๓. จัดทำข้อมูลช่องทางติดต่อขอความช่วย ๓.ฝึกฝนทักษะการปฏิเสธการเอาตัว ๒.แต่งตั้งคณะทำงานให้ เหลือเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้นักเรียนและ รอด ความช่วยเหลือด้านกฎหมาย ชุมชน และการขอความช่วยเหลือ ๓.ประสานภาคีเครือข่าย เพื่อร่วมแก้ปัญหา ๓.๒ การคุกคามทาง ๑. สำรวจนักเรียนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและพื้นที่ ๑. จัดกิจกรรมส่งเสริมการตระหนักรู้ ๑. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เพศ เป็นจุเสี่ยง และเห็นคุณค่าในตนเอง ช่องทางในการขอความช่วย ๒. เฝ้าระวัง สังเกตพฤติกรรมนักเรียน ๒.จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตรอบ เหลือ และพัฒนาพื้นที่เสี่ยงให้ปลอดภัย ด้าน ๒. แต่งตั้งคณะทำงานให้ ๓. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังทั้งในสถานศึกษา ๓.ฝึกฝนทักษะการปฏิเสธการเอาตัว ความช่วยเหลือเร่งด่วน และในชุมชน รอด และการขอความช่วยเหลือ ที่สามารถช่วยเหลือได้ทัน ๔. จัดระบบการสื่อสารเพื่อรับส่งข้อมูลด้าน เหตุการณ์ พฤติกรรมนักเรียนทั้งในสถานศึกษาและชุมชน ๓. แต่งตั้งคณะทำงานให้ ความช่วยเหลือด้านกฎหมาย ๔. ประสานภาคีเครือข่าย เพื่อร่วมแก้ปัญหา ๓๖
๓. ภัยที่เกิดจากการ ถูกละเมิดสิทธิ์ แนวทางปฏิบัติ ประเภทภัย การป้องกัน การปลูกฝัง การปราบปราม ๓.๓ การไม่ได้รับ ๑. สำรวจข้อมูลนักเรียนรายบุคคล ๑. สร้างความรู้ความเข้าใจถึงสิทธิ ๑. แต่งตั้งคณะทำงานให้ ความเป็นธรรมจาก ๒.วิเคราะห์สภาพปัญหาความต้องการ หน้าที่ และความรับผิดชอบต่อสังคม ความช่วยเหลือเร่งด่วน สังคม ความขาดแคลนของนักเรียนรายบุคคล ๒. บริการให้คำปรึกษาสำหรับ ที่สามารถให้ความช่วยเหลือ ๓.จัดทำแผนให้ความช่วยเหลือนักเรียนตาม นักเรียนกลุ่มเสี่ยง ได้ทันเหตุการณ์ ความขาดแคลน ๓. จัดกิจกรรมส่งเสริมสำหรับนักเรียน ๒.ประสานภาคีเครือข่าย ๔. สร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมเพื่อประสาน กลุ่มเสี่ยง เพื่อร่วมแก้ปัญหาได้ทัน ความช่วยเหลือ ๓. จัดกิจกรรมส่งเสริมการสร้าง เหตุการณ์ จิตสำนึกในความเสมอภาคเอื้อเฟื้อเผื่อ ๓. ติดตามเยี่ยมเยือนให้ แผ่ต่อกัน กำลังใจอย่างสม่ำเสมอ ๓๗
๔.ภัยที่เกิดจากผลกระทบทางสุขภาวะ ทางสุขภาพทางกายและทางจิต ๓๘
๔.ภัยที่เกิดจากผลกระทบทางสุขภาวะ ทางสุขภาพทางกายและทางจิต แนวทางปฏิบัติ ประเภทภัย การป้องกัน การปลูกฝัง การปราบปราม ๔.๑ ภาวะจิตเวช ๑) สำรวจข้อมูลนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ๑) จัดกิจกรรมส่งเสริม แลกเปลี่ยน ๑) แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อ ๒) ติดต่อประสานงานเครือข่ายการมีส่วน เรียนรู้กัน ของนักเรียน ระงับเหตุทั้งในสถานศึกษา ๔.๒ ติดเกม ร่วมเพื่อประเมินภาวะจิต ๒) จัดเวทีให้กันนักเรียนได้ และชุมชน ๓) จัดหลักสูตรการเรียนการสอนพิเศษราย แสดงออกตามความสามารถ ๒) ประสานงานเครือข่าย บุคคล ๓)จัดกิจกรรมส่งเสริมการตระหนักรู้ การมีส่วนร่วม เพื่อร่วมแก้ ๔) สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังทั้งใน และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น ปัญหา สถานศึกษาและชุมชน ๓) ดำเนินการตามระเบียบ ๕) จัดระบบติดต่อสื่อสารเพื่อรับส่งข้อมูล กฎหมาย โดยเน้นการไกล พฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง เกลี่ย ประนีประนอม ตาม มาตรการจากเบาไปหาหนัก ๔) ประสานงานส่งต่อเพื่อ ให้ ความช่วยเหลือที่มี ประสิทธิภาพ ๑)สำรวจข้อมูลนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ๑)สร้างความรู้ความเข้าใจถึง ๑)แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อ ๒) สำรวจข้อมูลพื้นที่แหล่งให้บริการร้านเกม ประโยชน์และโทษของการเล่นเกม ระงับเหตุทั้งในสถานศึกษา ๓) กำหนดข้อตกลงเพื่อปฏิบัติร่วมกันหรือ และผลกระทบที่เกิดจากการติดเกม และชุมชน จัดทำระเบียบ ๒)จัดกิจกรรมส่งเสริมการการคิด สถานศึกษาว่าด้วย วิเคราะห์ และในช่วงเวลาว่างให้เป็น ความประพฤตินักเรียนเพื่อให้เป็นไปตามกฎ ประโยชน์ กระทรวงที่กำหนด ๓๙
๔.ภัยที่เกิดจากผลกระทบทางสุขภาวะ ทางสุขภาพทางกายและทางจิต ประเภทภัย การป้องกัน แนวทางปฏิบัติ การปราบปราม ๔.๑ ภาวะจิตเวช ๓) กำหนดข้อตกลงเพื่อปฏิบัติร่วมกันหรือ การปลูกฝัง ๓)ดำเนินการเอาผิดตาม จัดทำระเบียบ ข้อตกลงที่กำหนดไว้ร่วมกัน สถานศึกษาว่าด้วย ๓)จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ ๔) ติดตามเยี่ยมเยือน เพื่อ ความประพฤตินักเรียนเพื่อให้ สนองต่อความสนใจของ สร้างขวัญกำลังใจ เป็นไปตามกฎกระทรวงที่กำหนด นักเรียนอย่างหลากหลาย ๔) สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังทั้งใน สถานศึกษาและชุมชน ๕) จัดระบบติดต่อสื่อสารเพื่อ รับส่งข้อมูลพฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง ๔.๓ ยาเสพติด ๑) สำรวจข้อมูลนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ๑)สร้างความรู้ความเข้าใจถึง ๑)แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อ ๒) วิเคราะห์นักเรียนรายบุคคล โทษภัย และผลกระทบของการติดยา ระงับเหตุทั้งในสถานศึกษา ๓) กำหนดข้อตกลงเพื่อปฏิบัติร่วมกัน เสพติด และชุมชน ๔) สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังทั้งใน ๒) จัดกิจกรรมต่อต้านยาเสพติด ๒) ประสานเครือข่ายการมี สถานศึกษาและชุมชน ในวันสำคัญต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ ส่วนร่วม เพื่อร่วมแก้ปัญหา ๕)จัดระบบติดต่อสื่อสาร รับส่งข้อมูล ๓) จัดกิจกรรมส่งเสริมการ คิด ๓) ดำเนินการตามระเบียบ พฤติกรรมอย่าง ต่อเนื่อง วิเคราะห์ และใช้เวลาว่างให้เป็น กฎหมาย โดยเน้นการไกล ประโยชน์ เกลี่ยประนีประนอม ตาม ๔) จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่สนอง มาตรการจากเบาไปหาหนัก ต่อความสนใจของ นักเรียนอย่างหลาก ๔) ประสานงานส่งต่อเพื่อ หลาย ให้ ที่มีประสิทธิภาพ ๔๐
๔.ภัยที่เกิดจากผลกระทบทางสุขภาวะ ทางสุขภาพทางกายและทางจิต แนวทางปฏิบัติ ประเภทภัย การป้องกัน การปลูกฝัง การปราบปราม ๔.๔ โรคระบาดใน ๑) สำรวจข้อมูลด้านสุขภาพ ๑) สร้างความรู้ความเข้าใจ ๑) แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อ มนุษย์ ของนักเรียนรายบุคคลและบุคคล เกี่ยวกับโรคระบาดในมนุษย์ ระงับเหตุทั้งในสถานศึกษา ใกล้ชิด ๒) จัดกิจกรรมฝึกทักษะการปฏิบัติตน และชุมชน ๔.๕ ภัยไซเบอร์ ๒) จัดทำแผนในการป้องกันโรค เพื่อความปลอดภัย ๒) ประสานงานเครือข่าย ระบาดในมนุษย์ จากโรคระบาดในมนุษย์ การมีส่วนร่วม เพื่อร่วมแก้ ๓) บริการวัสดุ อุปกรณ์ในการป้องกันกัน ๓) จัดกิจกรรมสร้างจิตสำนึกในความ ปัญหา โรคระบาดในมนุษย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ๓)ดำเนินการตามมาตรการ ๔) สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังทั้งใน ที่ กฎหมายกำหนด สถานศึกษาและชุมชน ๔) ประสานงานการส่งต่อ ๕)จัดระบบติดต่อสื่อสารเพื่อ เพื่อให้ ความช่วยเหลือที่มี ติดตามข้อมูลด้านสุขภาพอย่าง ประสิทธิภาพ ต่อเนื่อง ๑.สำรวจข้อมูลการใช้งาน ๑. สร้างความรู้ความเข้าใจถึง ๑แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อ ระบบไซเบอร์ของนักเรียนรายคน ประโยชน์และโทษของการใช้สื่อ ระงับเหตุทั้งในสถานศึกษา ๒. กำหนดข้อตกลงเพื่อปฏิบัติร่วมกัน ออนไลน์ที่ไม่พึงประสงค์ในเครือข่าย และชุมชน ๓. สร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังทั้งในสถาน อินเทอร์เน็ตผลกระทบที่เกิดจาการใช้ ๒.ประสานเครือข่ายการมี ศึกษาและชุมชน งานระบบไซเบอร์โดยเด็ดขาด ส่วนร่วม ๔. จัดระบบติดต่อสื่อสารเพื่อส่งข้อมูล ๒.จัดกิจกรรมส่งเสริมหลักสูตรที่สนอง ผู้ปกครองในการดูแล พฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง ต่อความสนใจของนักเรียนอย่างหลาก ติดตามพฤติกรรมนักเรียน หลาย ขณะใช้ชีวิตอยู่ที่บ้าน ในการ ใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อ ๔๑ ร่วมแก้ปัญหา ๓. ดำเนินการเอาผิดตาม ข้อตกลงที่กำหนดไว้ร่วมกัน ๓.ติดตามเยี่ยมเยือนเพื่อสร้าง ขวัญกำลังใจ
๔.ภัยที่เกิดจากผลกระทบทางสุขภาวะ ทางสุขภาพทางกายและทางจิต แนวทางปฏิบัติ ประเภทภัย การป้องกัน การปลูกฝัง การปราบปราม ๔.๖ ๑.สำรวจข้อมูลนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ๑.สร้างความรู้ความเข้าใจถึงผลกระ ๑.แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อ การพนัน ๒.สำรวจพื้นที่ที่เป็นแหล่งการพนัน ทบที่เกิดจากการพนัน ระดับเหตุทั้งในสถานศึกษา ๓.กำหนดข้อตกลงเพื่อปฏิบัติร่วมกัน ๒.จัดกิจกรรมส่งเสริมการคิด และชุมชน ๔.สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังทั้งในสถานศึกษา วิเคราะห์ และใช้เวลาว่างให้เกิด ๒.ประสานเครือข่ายการมี และชุมชน ประโยชน์ ส่วนร่วม ๕.จัดระบบติดต่อสื่อสารเพื่อรับส่งข้อมูล ๓.จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่สนองต่อ เพื่อร่วมแก้ปัญหา พฤติกรรมอย่างต่อเนื่อง ความสนใจของนักเรียนอย่างหลาก ๓.ดำเนินการตามมาตรการ หลาย ที่กฎหมายกำหนด ๔.ประสานการส่งต่อเพื่อให้ ความช่วยเหลือที่มี ประสิทธิภาพ ๔.๗ ๑.สำรวจข้อมูลพื้นที่ที่เกิดมลภาวะที่เป็นพิษ ๑.สร้างความรู้เข้าใจถึงสาเหตุและ ๑.แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อ มลภาวะที่เป็นพิษ ในสถานศึกษาและชุมชน ผลกระทบที่เกิดจากมลภาวะเป็นพิษ ระดับเหตุทั้งในสถานศึกษา ๒.จัดทำป้ายสัญลักษณ์แสดงพื้นที่มลภาวะที่ ๒.จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการแก้ปัญหา และชุมชน เป็นพิษ และการลดมลภาวะเป็นพิษ ๒.ประสานเครือข่ายการมี ๓. จัดทำแผนในการแก้ปัญหามลภาวะเป็น ๓.จัดกิจกรรมส่งเสริมการสร้าง ส่วนร่วม พิษร่วมกัน จิตสำนึกในการลดมลพิษร่วมกับชุมชน เพื่อร่วมแก้ปัญหา ๔.กำหนดข้อตกลงในการปฏิบัติร่วมกัน ๓.ดำเนินการตามมาตรการ ที่กฎหมายกำหนด ๔.ประสานการส่งต่อเพื่อให้ ความช่วยเหลือที่มี ประสิทธิภาพ ๔๒
๔.ภัยที่เกิดจากผลกระทบทางสุขภาวะ ทางสุขภาพทางกายและทางจิต ประเภทภัย แนวทางปฏิบัติ การป้องกัน การปลูกฝัง การปราบปราม ๔.๘ โรคระบาดใน ๑.สำรวจข้อมูลสัตว์เลี้ยงนักเรียนรายบุคคล ๑.สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค ๑.แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อ สัตว์ ๒.จัดทำแผนป้องกันโรคระบาดในสัตว์ ระบาดในสัตว์ ระดับเหตุทั้งในสถานศึกษา ๓. บริการวัสดุ ๒.จัดกิจกรรมฝึกทักษะการปฏิบัติตน และชุมชน อุปกรณ์ในการป้องกันโรคระบาดในสัตว์ เพื่อความปลอดภัยจากโรคระบาดใน ๒.ประสานเครือข่ายการมี ๔. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังทั้งในสถานศึกษา สัตว์ ส่วนร่วม และชุมชน ๓. เพื่อร่วมแก้ปัญหา ๕.จัดระบบติตต่อสื่อสารเพื่อติดตามข้อมูล จัดกิจกรรมสร้างจิตสำนึกในความรับ ๓.ดำเนินการตามมาตรการ สัตว์เลี้ยงอย่างต่อเนื่อง ผิดชอบต่อตนเองและสังคม ที่กฎหมายกำหนด ๔.ประสานการส่งต่อเพื่อให้ ความช่วยเหลือที่มี ประสิทธิภาพ ๔.๙ ๑. สำรวจและจัดกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่มีภาวะ ๑.จัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านโภชนการ ๑.เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ภาวะทุพโภชนาการ ทุพโภชนาการ แก่นักเรียน ช่องทางในการขอความช่วย ๒. จัดเสริมสร้างความร่วมมือระหว่าง ๒.จัดกิจกรรมออกกำลังกายและวิธี เหลือ โรงเรียน ครอบครัว ชุมชน และผู้มีส่วน การรักษาสุขภาพให้กับนักเรียน ๒.แต่งตั้งคณะทำงานให้ เกี่ยวข้อง ๓.จัดบูรณาการความรู้ด้านโภชนาการ ความช่วยเหลือเร่งด่วน ๓. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ด้าน ในการจัดการเรียนการสอน ที่สามารถให้ความช่วย โภชนการแก่ผู้ปกครอง เหลือได้ทันเหตุการณ์ ๔. จัดทำฐานข้อมูลเพื่อตรวจสอบพัฒนาการ ๔๓ ๓.ประสานงานภาคีเครือ และความก้าวหน้าในการลดภาวะทุพ ข่ายเพื่อการส่งต่อที่เหมาะสม โภชนาการ ๕. จัดหาอุปกรณ์กีฬาให้เพียงพอ ๖. การดูแลอาหารกลางวันอาหารเสริม และ อาหารว่างที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
คณะผู้จัดทำ ๑. นางสาวพวงแก้ว สกุลทอง ผู้อำนวยการโรงเรียนเซนต์ปอลหนองคาย ๒. นางสาวลาวัลย์ อนงค์จรรยา ๓. นางสาวรุ่งนิทรา บุญกันฑ์ ๔. นางสาววัชรีวรรณ เจริญชัย หัวหน้าฝ่าบบริหารจัดการ ๕. นางสาวรัตนพร อุปพงษ์ หัวหน้าฝ่ายวิชาการ ๖. นางสาวรัฐพร ศรีแสน หัวหน้าฝ่ายบุคลากร ๗. นางสาวอัจฉรี โยธิไกล หัวหน้าฝ่ายมาตรฐานคุณภาพ ๘. นางสาวกนกอร พลขยัน หัวหน้าแผนกอนุบาล ๙. นางสาวชนิญญา ลีนาราช หัวหน้าฝ่ายกิจการนักเรียน ๑๐. นางสาวพัฒนา คะศรีทอง หัวหน้าฝ่ายอภิบาล ๑๑. นางสาวตะวันฉาย จ้อยกระจ่าง หัวหน้าฝ่ายทรัพยากรเพื่อการศึกษา
ภาคผนวก
Search