พระผู้มีพระภาคได้ตรัสไวยากรณภาษิตนี้แล้ว ท่านพระมหาโมคคัลลานะปล้ืมใจ ช่ืนชมภาษิตของ พระผู้มีพระภาค ท่านพระมหาโมคคัลลานะหายจาก อาพาธนน้ั แลว้ และอาพาธนน้ั อนั ทา่ นพระมหาโมคคลั ลานะ ละได้แล้ว ด้วยประการฉะนีแ้ ล. ทุติยคิลานสูตร 151 www.kalyanamitra.org
152 www.kalyanamitra.org
๑๕. ตติยคลิ านสูตร๒๖ พระผมู้ พี ระภาคหายประชวรดว้ ยโพชฌงค์ ๗ สมยั หนงึ่ พระผมู้ พี ระภาคประทบั อยู่ ณ พระวหิ าร เวฬวุ ันกลันทกนวิ าปสถาน ใกล้พระนครราชคฤห์ ก็สมัยนั้น พระผู้มีพระภาคทรงประชวร ไม่สบาย เป็นไขห้ นัก. ครงั้ นนั้ ทา่ นพระมหาจนุ ทะเขา้ ไปเฝา้ พระผมู้ พี ระภาค ถงึ ทป่ี ระทบั ถวายบงั คมพระผมู้ พี ระภาคแลว้ นงั่ ณ ทคี่ วร สว่ นข้างหน่งึ พระผมู้ ีพระภาคไดต้ รสั กะทา่ นพระจุนทะวา่ “ดูกรจุนทะ โพชฌงค์จงแจ่มแจ้งกะเธอ.” พระจุนทะ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โพชฌงค์ ๗ เหลา่ น้ี พระผมู้ พี ระภาคตรสั ไวช้ อบแลว้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระท�ำให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพ่ือความรู้ย่ิง เพ่ือความ ตรสั รู้ เพ่อื นพิ พาน โพชฌงค์ ๗ เปน็ ไฉน ? ๒๖ สํ.ม., ล.๓๐, น.๒๒๖, มมร. 153 ตติยคิลานสูตร www.kalyanamitra.org
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ สติสัมโพชฌงค์ พระผู้มี- พระภาคตรัสไว้ชอบแล้วอันบุคคลเจริญแล้ว กระท�ำให้ มากแล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อความรู้ยิ่ง เพ่ือความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน ฯลฯ อุเบกขาสมั โพชฌงค์ พระผูม้ ีพระภาค ไดต้ รสั ไวช้ อบแลว้ อนั บคุ คลเจรญิ แลว้ กระทำ� ใหม้ ากแลว้ ย่อมเปน็ ไปเพือ่ ความรยู้ ่ิง เพ่ือความตรสั รู้ เพอื่ นพิ พาน ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญโพชฌงค์ ๗ เหล่านี้แล พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ชอบแล้ว อันบุคคลเจริญแล้ว กระท�ำให้มากแล้วย่อมเป็นไป เพ่ือความรู้ยิ่ง เพ่ือความ ตรัสรู้ เพอื่ นิพพาน.” “ดูกรจุนทะ โพชฌงค์ดีนัก ดูกรจุนทะ โพชฌงค์ ดีนกั ” ท่านพระมหาจุนทะไดก้ ลา่ วไวยากรณภาษิตนแ้ี ล้ว พระศาสดาทรงพอพระทยั พระผมู้ พี ระภาคทรงหายจากประชวรนน้ั และอาพาธนน้ั อนั พระผู้มพี ระภาคทรงละแล้วด้วยประการฉะนแี้ ล. 154 www.kalyanamitra.org
๑๖. คลิ านสูตร๒๗ จติ ตงั้ มน่ั ในสตปิ ฏั ฐานทกุ ขเวทนาไมค่ รอบงำ� สมัยหน่ึง ท่านพระอนุรุทธะอยู่ในป่าอันธวัน ใกลพ้ ระนครสาวัตถี อาพาธ ได้รับทกุ ข์ เป็นไข้หนกั ครั้งน้ัน ภิกษุมากรูปเข้าไปพระอนุรุทธะถึงท่ีอยู่ คร้ันแล้วได้ถามทา่ นพระอนุรุทธะวา่ “ทา่ นอนรุ ทุ ธะอยดู่ ว้ ยวหิ ารธรรมขอ้ ไหน? ทกุ ขเวทนา ในสรรี กายท่ีบังเกิดขน้ึ จึงไม่ครอบงำ� จติ .” ท่านพระอนุรุทธะตอบว่า “ดูก่อนผู้มีอายุทั้งหลาย เรามีจิตต้ังมั่นในสติปัฏฐาน ๔ ทุกขเวทนาในสรีรกายท่ี บงั เกดิ ข้นึ จึงไมค่ รอบง�ำจติ สติปัฏฐาน ๔ เป็นไฉน ? เราย่อมพิจารณาเหน็ กายในกายอยู่ ย่อมพิจารณาเหน็ เวทนาในเวทนาอย.ู่ .. ย่อมพจิ ารณาเห็นจติ ในจิตอย่.ู .. ย่อมพจิ ารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่ ๒๗ สํ.ม., ล.๓๑, น.๒๐๑, มมร. คิลานสูตร จิตต้ังม่ันในสติปัฏฐาน 155 www.kalyanamitra.org
156 www.kalyanamitra.org
มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ ก�ำจัดอภิชฌา และโทมนสั ในโลกเสียได้ ดกู ่อนทา่ นผู้มีอายุทั้งหลาย เรามจี ติ ต้งั มัน่ อยู่ในสติ ปฏั ฐาน ๔ เหลา่ นีแ้ ล ทุกขเวทนาในสรรี กายทบี่ ังเกดิ ขึ้น จึงไม่ครอบง�ำจิต คิลานสูตร จิตตั้งม่ันในสติปัฏฐาน 157 www.kalyanamitra.org
158 www.kalyanamitra.org
๑๗. คิลานสตู ร๒๘ วา่ ดว้ ยมตี นเปน็ เกาะ ข้าพเจา้ ไดส้ ดับมาแลว้ อย่างน้ี :- สมยั หนึง่ พระผู้มพี ระภาคประทบั อยู่ ณ เวฬุวคาม ใกลเ้ มอื งเวสาลี ณ ทนี่ น้ั แล พระผมู้ พี ระภาคตรสั เรยี กภกิ ษุ ทง้ั หลายมาแลว้ ตรสั วา่ “มาเถดิ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เธอทง้ั หลาย จงเขา้ จำ� พรรษาในเมอื งเวสาลโี ดยรอบ ตามมติ ร ตามสหาย ตามพวก (ของตนๆ) เถดิ เราจะเขา้ จำ� พรรษา ณ เวฬวุ คาม นแ้ี ล” ภกิ ษเุ หลา่ นน้ั ทลู รบั พระดำ� รสั ของพระผมู้ พี ระภาคแลว้ เขา้ จ�ำพรรษาในเมืองเวสาลโี ดยรอบ ตามมติ ร ตามสหาย ตามพวก (ของตนๆ). สว่ นพระผมู้ พี ระภาคทรงเขา้ จำ� พรรษา ณ เวฬวุ คาม นนั้ แหละ เมอื่ พระผมู้ พี ระภาคทรงเขา้ จำ� พรรษาแลว้ อาพาธ กล้าบังเกิดข้ึน เวทนาอย่างหนักใกล้มรณะเป็นไปอยู่ ได้ยินว่า ณ ที่นั้น พระผู้มีพระภาคทรงพระด�ำรงสติ- สัมปชัญญะ ทรงอดกลัน้ ไม่ทรงพร่ันพรงึ ๒๘ สํ.ม., ล.๓๐, น.๓๙๕, มมร. คิลานสูตร ว่าด้วยมีตนเป็นเกาะ 159 www.kalyanamitra.org
ครงั้ นนั้ พระองคท์ รงพระดำ� รวิ า่ ‘การทเี่ รายงั ไมบ่ อก ภิกษุผู้อุปัฏฐาก ยังไม่อ�ำลาภิกษุสงฆ์ แล้วปรินิพพาน เสียน้ัน หาสมควรแก่เราไม่ ไฉนหนอ ? เราพึงขับไล่ อาพาธนเ้ี สียด้วยความเพยี ร แล้วดำ� รงชีวติ สงั ขารอย’ู่ คร้ังนั้น พระผู้มีพระภาคทรงขับไล่พระประชวรนั้น ด้วยความเพียร แล้วทรงดำ� รงชวี ิตสงั ขารอยู่ ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงหายจากพระประชวร แล้ว ทรงหายจากความไขไ้ ม่นาน ประทบั นั่งบนอาสนะที่ เขาปลู าดไวใ้ นร่มแห่งวหิ าร. ลำ� ดบั นนั้ ทา่ นพระอานนทเ์ ขา้ ไปเฝา้ พระผมู้ พี ระภาค ถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ว จึงน่ัง ณ ทค่ี วรส่วนขา้ งหนงึ่ ครัน้ แล้ว ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาค วา่ “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ขา้ พระองคเ์ หน็ พระผมู้ พี ระภาค ทรงอดทน ขา้ พระองคเ์ หน็ พระผมู้ พี ระภาคทรงยงั อตั ภาพ ให้เป็นไป กายของข้าพระองค์ประหนึ่งจะงอมระงมไป แม้ทิศทั้งหลายก็ไม่ปรากฏแก่ข้าพระองค์ แม้ธรรม ทงั้ หลายกไ็ มแ่ จม่ แจ้งแก่ข้าพระองค์ เพราะความประชวร ของพระผมู้ พี ระภาค 160 www.kalyanamitra.org
แต่ข้าพระองค์มาเบาใจอยู่หน่อยหน่ึงว่า พระผู้มี- พระภาคยงั ไมท่ รงปรารภภกิ ษสุ งฆ์ แลว้ ตรสั พระพทุ ธพจน์ อันใดอนั หน่งึ จกั ยงั ไมเ่ สดจ็ ปรินพิ พานก่อน” พระผมู้ พี ระภาคตรสั วา่ “ดกู รอานนท์ กบ็ ดั น้ี ภกิ ษสุ งฆ์ จะยังมาหวังอะไรในเราเล่า ธรรมอนั เราแสดงแล้วกระทำ� ไม่ให้มีในภายใน ไม่ให้มีในภายนอก ก�ำมืออาจารย์ใน ธรรมทั้งหลาย มิได้มีแก่ตถาคตผู้ใดพึงมีความด�ำริฉะน้ี ว่า ‘เราจักบริหารภิกษุสงฆ์ หรือว่าภิกษุสงฆ์ยังมีตัวเรา เป็นท่ีเชิดชู ผู้น้ันจะพึงปรารภภิกษุสงฆ์ แล้วกล่าวค�ำ อันใดอันหน่งึ แนน่ อน’ ดูกรอานนท์ ตถาคตมิได้มีความด�ำริอย่างนี้ว่า ‘เราจักบริหารภิกษุสงฆ์ หรือว่าภิกษุสงฆ์มีตัวเราเป็นที่ เชดิ ชู ดงั นี้ ตถาคตจกั ปรารภภกิ ษสุ งฆแ์ ลว้ กลา่ วคำ� อนั ใด อนั หน่ึง ทำ� ไมอีกเลา่ ? บัดนี้เราก็แก่เฒ่า เป็นผู้ใหญ่ ล่วงกาลผ่านวัยแล้ว วัยของเราเปน็ มาถงึ ๘๐ ปแี ลว้ เกวียนเกา่ ยังจะใช้ไปได้ ก็เพราะการซ่อมแซมด้วยไม้ไผ่ ฉันใด กายของตถาคต ก็ฉันนั้นเหมือนกันยังเป็นไปได้ก็คล้ายกับเกวียนเก่าที่ ซ่อมแซมแลว้ ดว้ ยไม้ไผ่ ฉะนัน้ . คิลานสูตร ว่าด้วยมีตนเป็นเกาะ 161 www.kalyanamitra.org
ดูกรอานนท์ สมัยใด ตถาคตเข้าเจโตสมาธิอันไม่มี นิมิต เพราะไม่กระท�ำไว้ในใจซ่ึงนิมิตท้ังปวง เพราะดับ เวทนาบางเหล่าแล้วอยู่ สมัยนั้น กายของตถาคตย่อม ผาสุกเพราะฉะนั้นแหละ เธอทั้งหลายจงมีตนเป็นเกาะ มตี นเปน็ ทพี่ งึ่ อยา่ มสี งิ่ อน่ื เปน็ ทพี่ งึ่ คอื จงมธี รรมเปน็ เกาะ มีธรรมเป็นทพี่ ึง่ อยา่ มสี ิง่ อน่ื เปน็ ทีพ่ ่ึงอยเู่ ถดิ . ดูกรอานนท์ ก็ภิกษุเป็นผู้มีตนเป็นเกาะ มีตน เป็นที่พ่ึง ไมม่ ีสง่ิ อื่นเป็นท่ีพ่งึ คอื มธี รรมเปน็ เกาะ มธี รรม เป็นท่ีพ่ึง ไม่มีส่ิงอ่ืนเป็นท่ีพึ่งอยู่ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ยอ่ มพจิ ารณาเหน็ กายในกายอยู่ มคี วามเพยี ร มสี มั ปชญั ญะ มสี ตกิ ำ� จัดอภิชฌา และโทมนัสในโลกเสยี ดกู รอานนท์ ภกิ ษเุ ปน็ ผมู้ ตี นเปน็ เกาะมตี นเปน็ ทพี่ งึ่ ไมม่ ีส่งิ อ่นื เปน็ ทพี่ ึง่ คอื มีธรรมเปน็ เกาะ มีธรรมเปน็ ท่พี ึ่ง ไมม่ ีส่งิ อ่ืนเปน็ ทพ่ี ึง่ อยู่ อย่างนแ้ี ล. ดูกรอานนท์ ก็ผู้ใดผู้หน่ึงในบัดนี้ก็ดี ในเวลาที่เรา ลว่ งไปแลว้ ก็ดี จักเป็นผมู้ ตี นเป็นเกาะ มตี นเป็นทพ่ี ึ่ง ไมม่ สี งิ่ อนื่ เปน็ ทพี่ ง่ึ คอื มธี รรมเปน็ เกาะ มธี รรมเปน็ ทพี่ ่งึ ไม่มีส่ิงอื่นเป็นที่พ่ึง ภิกษุเหล่าใดเป็นผู้ใคร่ต่อการ ศึกษา ภิกษเุ หลา่ นั้นจักเป็นผเู้ ลิศ. 162 www.kalyanamitra.org
๑๘. คลิ านสตู ร๒๙ วา่ ดว้ ยคณุ ธรรมสำ� หรบั ภกิ ษผุ อู้ าพาธ สมัยหน่ึง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ท่ีกุฏาคาร ศาลา ปา่ มหาวันใกล้เมือง เวสาลี ครั้งน้ัน พระผู้มีพระภาคเสด็จออกจากท่ีหลีกเร้น ในเวลาเย็นเสด็จเข้าไปที่ศาลาภิกษุไข้ ได้ทรงเห็นภิกษุ รูปหน่ึงท่ีทุรพล เป็นไข้ แล้วประทับน่ังบนอาสนะที่เขา ตบแต่งไว้ ครัน้ แล้วได้ ตรสั เรยี กภกิ ษุทัง้ หลายวา่ “ดกู รภกิ ษทุ งั้ หลาย ธรรม ๕ ประการ ยอ่ มไมล่ ะภกิ ษุ บางรปู ทที่ ุรพล เปน็ ไข้ เธอน้ันพึงหวงั ผลน้ี คอื จกั ทำ� ให้ แจ้งซ่ึงเจโตวิมุติปัญญาวิมุติ อันหาอาสวะมิได้เพราะ อาสวะทั้งหลายสิ้นไป ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในปัจจุบัน เขา้ ถงึ อยู่ ตอ่ กาลไมน่ านเลย ๒๙ องั .ปญั จ., ล.๓๖, น.๒๖๒, มมร. คิลานสูตร ว่าด้วยคุณธรรมส�ำหรับภิกษุผู้อาพาธ 163 www.kalyanamitra.org
164 www.kalyanamitra.org
ธรรม ๕ ประการเป็นไฉน ? คือ ภิกษใุ นธรรมวินยั นี้ ยอ่ มพิจารณาเหน็ ว่าไมง่ ามในกาย ๑ มคี วามส�ำคญั วา่ เปน็ ของปฏกิ ูลในอาหาร ๑ มคี วามส�ำคญั ว่า ไมน่ า่ ยินดีในโลกทง้ั ปวง ๑ พิจารณาเห็นว่า ไม่เทย่ี งในสงั ขารท้ังปวง ๑ มมี รณสญั ญาปรากฏขึ้นด้วยดี ณ ภายใน ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรม ๕ ประการน้ี ย่อมไม่ละ ภิกษุบางรูป ท่ีทุรพล เป็นไข้ เธอน้ันพึงหวังผลน้ี คือ จักท�ำให้แจ้งซ่ึงเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันหาอาสวะ มิได้ เพราะอาสวะทง้ั หลายส้นิ ไป ด้วยปญั ญาอัน ยงิ่ เอง ในปจั จบุ นั เข้าถงึ อยู่ ตอ่ กาลไม่นานเลย ฯ คิลานสูตร ว่าด้วยคุณธรรมส�ำหรับภิกษุผู้อาพาธ 165 www.kalyanamitra.org
166 www.kalyanamitra.org
๑๙. ปฐมอุปัฏฐากสตู ร วา่ ดว้ ยธรรมของภกิ ษไุ ขท้ ที่ ำ� ใหพ้ ยาบาลและงา่ ย ดูก่อน ภิกษุท้ังหลาย ภิกษุไข้ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการยอ่ มเป็นผพู้ ยาบาลยาก ธรรม ๕ ประการเป็นไฉน คือ ภกิ ษุไขย้ ่อมไมท่ ำ� ความสบาย ๑ ไมร่ จู้ กั ประมาณในสิ่งสบาย ๑ ไมฉ่ นั ยา ๑ ไมบ่ อกอาพาธทมี่ อี ยตู่ ามความเปน็ จรงิ แกผ่ พู้ ยาบาล ทีป่ รารถนาประโยชน์ เชน่ ไมบ่ อกอาพาธทก่ี �ำเริบวา่ กำ� เรบิ ไม่บอกอาพาธทีท่ ุเลาว่าทเุ ลา ไมบ่ อกอาพาธทท่ี รงอยวู่ ่ายงั ทรงอยู่ ๑ ไมอ่ ดทนตอ่ ทกุ ขเวทนาทเี่ กดิ มใี นรา่ งกายอนั กลา้ แขง็ เผ็ดรอ้ น ไมเ่ ป็นท่พี อใจสามารถปลดิ ชีพให้ดบั สูญ ๑ ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย ภิกษุไข้ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการนแี้ ล ย่อมเป็นผู้พยาบาลยาก. ปฐมอุปัฏฐากสูตร 167 www.kalyanamitra.org
ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย ภิกษุไข้ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ ย่อมเป็นผู้พยาบาลงา่ ย ธรรม ๕ ประการเปน็ ไฉน ? คือ ภิกษไุ ข้ย่อมท�ำความสบาย ๑ ร้จู กั ประมาณในส่งิ สบาย ๑ ฉันยา ๑ บอกอาพาธตามความเปน็ จรงิ แกผ่ พู้ ยาบาลทป่ี รารถนา ประโยชน์ เชน่ บอกอาพาธที่กำ� เรบิ วา่ ก�ำเรบิ บอกอาพาธท่ีทุเลาวา่ ทุเลา บอกอาพาธท่ีทรงอยวู่ า่ ยงั ทรงอยู่ ๑ เป็นผู้อดทนต่อทุกขเวทนาท่ีเกิดมีในร่างกายอัน กล้าแข็ง เผ็ดร้อน ไม่เป็นที่พอใจ สามารถปลิดชีพให้ ดับสญู ๑ ดูก่อนภิกษทุ ้งั หลาย ภิกษุไข้ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการนีแ้ ล ยอ่ มเปน็ ผ้พู ยาบาลง่าย. 168 www.kalyanamitra.org
๒๐. ทุตยิ อุปัฏฐากสูตร วา่ ดว้ ยธรรมของภกิ ษุ ผคู้ วรและไมค่ วรพยาบาลภกิ ษไุ ข้ ดกู อ่ นภกิ ษทุ งั้ หลาย ภกิ ษผุ พู้ ยาบาลภกิ ษไุ ขป้ ระกอบ ดว้ ยธรรม ๕ ประการ ไมค่ วรเปน็ ผพู้ ยาบาลภกิ ษไุ ข้ ธรรม ๕ ประการเป็นไฉน ? คือ ภกิ ษผุ พู้ ยาบาลเปน็ ผ้ไู ม่สามารถเพ่ือจดั ยา ๑ ไมท่ ราบสง่ิ สบายและไมส่ บาย นำ� สงิ่ ไมส่ บายเขา้ ไปให้ น�ำสงิ่ สบายออกไป ๑ เป็นผู้เพ่งอามิสพยาบาล ไม่เป็นผู้มีเมตตาจิต พยาบาล ๑ เป็นผู้มักรังเกียจเพื่อน�ำออกซ่ึงอุจจาระ ปัสสาวะ อาเจียน หรอื น�ำ้ ลาย ๑ ไมส่ ามารถจะชแี้ จงภกิ ษไุ ขใ้ หส้ มาทาน ใหอ้ าจหาญ ใหร้ า่ เรงิ ด้วยธรรมมกี ถาโดยกาลอันสมควร ๑ ดกู อ่ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย ภกิ ษผุ พู้ ยาบาลภกิ ษไุ ขป้ ระกอบ ดว้ ยธรรม ๕ ประการน้ีแล ไม่ควรเป็นผูพ้ ยาบาลภกิ ษุไข.้ ทุติยอุปัฏฐากสูตร 169 www.kalyanamitra.org
170 www.kalyanamitra.org
ดกู อ่ นภกิ ษทุ งั้ หลาย ภกิ ษผุ พู้ ยาบาลภกิ ษไุ ขป้ ระกอบ ด้วยธรรม ๕ ประการ ควรเปน็ ผ้พู ยาบาลภกิ ษไุ ข้ ธรรม ๕ ประการเปน็ ไฉน ? คือ ภิกษุผพู้ ยาบาลยอ่ มเปน็ ผู้สามารถเพือ่ จดั ยา ๑ ทราบส่ิงสบายและไม่สบาย น�ำสิ่งไม่สบายออกไป นำ� สง่ิ สบายเขา้ มาให้ ๑ เป็นผู้มีเมตตาจิตพยาบาล ไม่เป็นผู้เพ่งอามิส พยาบาล ๑ ไม่รังเกียจเพ่อื น�ำออกซึ่งอจุ จาระ ปสั สาวะ อาเจยี น หรอื น�้ำลาย ๑ เป็นผู้สามารถเพ่ือช้ีแจงภิกษุไข้ให้สมาทาน ให้ อาจหาญ ให้ร่าเรงิ ดว้ ยธรรมมีกถาโดยกาลอนั สมควร ๑ ดูก่อนภิกษทุ ้งั หลาย ภิกษุผู้พยาบาล ภิกษุไข้ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการนีแ้ ล ควรเป็นผู้พยาบาลภิกษุไข้. ทุติยอุปัฏฐากสูตร 171 www.kalyanamitra.org
172 www.kalyanamitra.org
๒๑. ธชัคคสตู รที่ ๓๓๐ อานภุ าพแหง่ การระลกึ ถงึ พระรตั นตรยั สมยั หนงึ่ พระผมู้ พี ระภาคประทบั อยู่ ณ พระวหิ าร เชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิกมหาเศรษฐี เขต พระนครสาวตั ถี ฯ ในกาลนนั้ แล พระผมู้ พี ระภาคตรสั เรยี กภกิ ษทุ ง้ั หลาย มาว่า “ดกู รภกิ ษุทงั้ หลาย ฯ” ภิกษุเหล่าน้ันทูลรับพระด�ำรัสของพระผู้มีพระภาค แลว้ ฯ พระผมู้ พี ระภาคตรสั พระพุทธพจนน์ ีว้ า่ “ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรื่องเคยมีมาแล้ว สงคราม ระหวา่ งเทวดากับอสรู ประชดิ กนั แล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลายครั้งนั้นแล ท้าวสักกะผู้เป็นจอม แห่งเทวดาตรสั เรยี กเทวดาชนั้ ดาวดึงสม์ าส่งั วา่ ‘แน่ะ ท่านผู้นิรทุกข์ทั้งหลาย หากความกลัวก็ดี ความหวาดเสียวก็ดี ความขนพองสยองเกล้าก็ดี จะพึง เกิดขึ้นแก่พวกเทวดาผู้ไปในสงคราม สมัยนั้นพวกท่าน ๓๐ สํ.ส., ล.๒๕, น.๔๖๓, มมร. ธชัคคสูตรที่ ๓ 173 www.kalyanamitra.org
พึงแลดูยอดธงของเราทเี ดยี ว เพราะวา่ เมื่อพวกทา่ นแลดู ยอดธงของเราอยู่ ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ความขนพองสยองเกล้ากด็ ี ทจี่ ักมขี ้ึนกจ็ ักหายไป ถ้าพวกท่านไม่แลดูยอดธงของเรา ทีนั้นพวกท่าน พึงแลดูยอดธงของท้าวปชาบดีเทวราชเถิด เพราะว่า เมอ่ื พวกทา่ นแลดยู อดธงของทา้ วปชาบดเี ทวราชอยู่ ความ กลัวกด็ ี ความหวาดสะดุง้ ก็ดี ความขนพองสยองเกล้ากด็ ี ที่จกั มขี ้ึนก็จักหายไป หากพวกทา่ นไมแ่ ลดยู อดธงของทา้ วปชาบดเี ทวราช ทีน้ันพวกท่านพึงแลดูยอดธงของท้าววรุณเทวราชเถิด เพราะวา่ เมอื่ พวกทา่ นแลดยู อดธงของทา้ ววรณุ เทวราชอยู่ ความกลวั กด็ ี ความหวาดสะดงุ้ กด็ ี ความขนพองสยองเกลา้ กด็ ี ทจี่ กั มขี น้ึ กจ็ กั หายไป หากพวกทา่ นไมแ่ ลดยู อดธงของ ท้าววรณุ เทวราช ทนี น้ั พวกทา่ นพงึ แลดยู อดธงของทา้ วอสี านเทวราช เถิด เพราะว่าเมื่อพวกท่านแลดูยอดธงของท้าวอีสาน- เทวราชอยู่ ความกลวั กด็ ี ความหวาดสะดงุ้ กด็ ี ความขนพอง สยองเกลา้ กด็ ี ทจ่ี กั มขี ึ้นก็จักหายไป ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อพวกเทวดาแลดูยอดธงของ ท้าวสักกะผู้เป็นจอมแห่งเทวดาก็ดี แลดูยอดธงของ ทา้ วปชาบดเี ทวราชอยกู่ ด็ ี แลดยู อดธงของทา้ ววรณุ เทวราช 174 www.kalyanamitra.org
อยกู่ ด็ ี แลดยู อดธงของทา้ วอสี านเทวราชอยกู่ ด็ ี ความกลวั ก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ความขนพองสยองเกล้าก็ดี ที่จักมีขึ้นพึงหายไปได้บ้าง ไม่ได้บ้าง ข้อน้ันเป็นเหตุ แห่งอะไร ดูกรภิกษุท้ังหลาย เหตุว่า ท้าวสักกะผู้เป็นจอม แห่งเทวดา ยงั เปน็ ผู้ไมป่ ราศจากราคะ ไมป่ ราศจากโทสะ ไมป่ ราศจากโมหะ ยงั เป็นผ้กู ลวั หวาดสะดุง้ หนไี ปอยู่ ฯ ดกู รภกิ ษทุ ัง้ หลาย สว่ นเราแลกลา่ วอย่างนว้ี า่ ‘ดูกรภิกษุท้ังหลาย หากความกลัวก็ดี ความหวาด สะดงุ้ กด็ ี ความขนพองสยองเกลา้ กด็ ี พงึ บงั เกดิ แกพ่ วกเธอ ผไู้ ปในปา่ ก็ดี อยู่ทโ่ี คนไม้กด็ ี อยใู่ นเรอื นทวี่ า่ งเปลา่ ก็ดี ทนี น้ั พวกเธอพงึ ตามระลกึ ถงึ เรานแี้ หละวา่ ‘แมเ้ พราะ เหตุนี้ๆ พระผู้มีพระภาค พระองค์น้ันเป็นพระอรหันต์ เป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและ จรณะ เสด็จไปดีแล้ว เป็นผู้รู้แจ้งโลก เป็นสารถีฝึกบุรุษ ทค่ี วรฝกึ ไมม่ ผี อู้ นื่ จะยงิ่ ไปกวา่ เปน็ ศาสดาของเทวดาและ มนษุ ยท์ ง้ั หลาย เปน็ ผตู้ ืน่ แลว้ เป็นผจู้ �ำแนกธรรม’ ดังน้ี ดูกรภกิ ษุทั้งหลาย เพราะว่า เมื่อพวกเธอตามระลึก ถงึ เราอยู่ ความกลวั กด็ ี ความหวาดสะดงุ้ กด็ ี ความขนพอง สยองเกล้ากด็ ี ทจี่ กั มีขึ้นก็จกั หายไป ธชัคคสูตรที่ ๓ 175 www.kalyanamitra.org
หากพวกเธอไม่ตามระลึกถึงเรา ทีนั้นพวกเธอพึง ตามระลึกถึงพระธรรมว่า ‘พระธรรมอันพระผู้มีพระภาค ตรัสดีแล้ว บุคคลพึงเห็นได้เอง ไม่ประกอบด้วยกาล ควรเรียกให้มาดูได้ ควรน้อมเข้าไปในตน อันวิญญูชน พงึ รแู้ จง้ ได้เฉพาะตน’ ดงั น้ี ดกู รภกิ ษทุ งั้ หลาย เพราะว่า เมอ่ื พวกเธอตามระลึก ถึงพระธรรมอยู่ ความกลวั กด็ คี วามหวาดสะด้งุ ก็ดี ความ ขนพองสยองเกล้าก็ดี ทีจ่ กั มีข้ึนก็จักหายไป หากพวกเธอไมต่ ามระลกึ ถงึ พระธรรม ทนี น้ั พวกเธอ พึงตามระลึกถึงพระสงฆ์ว่า ‘พระสงฆ์สาวกของพระผู้มี- พระภาคเปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ดิ แี ลว้ เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ติ รง เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ิ เป็นธรรม เปน็ ผูป้ ฏิบัติชอบยงิ่ พระสงฆน์ ัน้ คือใคร ไดแ้ ก่ คู่แห่งบรุ ษุ สี่ รวมเปน็ บรุ ุษบุคคลแปด นีค้ อื พระสงฆ์สาวก ของพระผมู้ พี ระภาค เปน็ ผคู้ วรแกส่ กั การะทเี่ ขานำ� มาบชู า เปน็ ผคู้ วรแกข่ องตอ้ นรบั เปน็ ผคู้ วรแกท่ กั ขณิ า เปน็ ผคู้ วร แก่การทำ� อัญชลี เปน็ บุญเขตของโลก ไมม่ ีบญุ เขตอ่นื ยง่ิ ไปกว่า’ เพราะว่า เมื่อพวกเธอตามระลึกถึงพระสงฆ์อยู่ ความกลวั กด็ ี ความหวาดสะดงุ้ กด็ ี ความขนพองสยองเกลา้ กด็ ี ทจ่ี กั มขี นึ้ ก็จกั หายไป 176 www.kalyanamitra.org
ขอ้ นนั้ เปน็ เพราะเหตแุ หง่ อะไร? เพราะวา่ พระตถาคต อรหนั ตสัมมาสมั พทุ ธเจ้าเป็นผูป้ ราศจากราคะ ปราศจาก โทสะ ปราศจากโมหะ ไม่เป็นผู้กลัว ไม่หวาด ไม่สะดุ้ง ไม่หนไี ป ฯ พระผมู้ พี ระภาคผสู้ คุ ตศาสดา ครน้ั ไดต้ รสั ไวยากรณ์ ภาษิตนีจ้ บลงแล้ว จึงได้ตรสั คาถาประพันธต์ อ่ ไปอกี ว่า ดกู รภกิ ษทุ งั้ หลายเธอทงั้ หลายอยใู่ นปา่ กด็ ีอยทู่ โี่ คนไม้ กด็ ี อยใู่ นเรอื นวา่ งเปลา่ กด็ ี พงึ ระลกึ ถงึ พระสมั พทุ ธเจา้ เถดิ ความกลวั ไมพ่ งึ มแี ก่เธอท้งั หลาย ถา้ วา่ เธอทง้ั หลายไมพ่ งึ ระลกึ ถงึ พระพทุ ธเจา้ ผเู้ จรญิ ทสี่ ดุ ในโลก ผอู้ งอาจกวา่ นรชน ทนี นั้ เธอทง้ั หลายพงึ ระลกึ ถงึ พระธรรมอนั นำ� ออกจากทกุ ข์อนั พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงดแี ลว้ ถ้าเธอทั้งหลายไม่พึงระลึกถึงพระธรรมอันน�ำออก จากทกุ ข์ อนั พระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงดแี ลว้ ทนี น้ั เธอทง้ั หลาย พงึ ระลกึ ถงึ พระสงฆผ์ เู้ ปน็ บญุ เขต ไมม่ บี ญุ เขตอน่ื ยง่ิ ไปกวา่ ดกู รภกิ ษทุ งั้ หลายเมอ่ื เธอทงั้ หลายระลกึ ถงึ พระพทุ ธเจา้ พระธรรมและพระสงฆอ์ ยู่ ความกลวั กด็ ี ความหวาดสะดงุ้ ก็ดี ความขนพองสยองเกลา้ ก็ดี จกั ไมม่ ีเลย ฯ ธชัคคสูตรท่ี ๓ 177 www.kalyanamitra.org
178 www.kalyanamitra.org
๒๒. ผัคคุณสูตร ๓๑ วา่ ดว้ ยพระพทุ ธองคเ์ สดจ็ เยย่ี มพระผคั คณุ ะอาพาธ ก็สมัยน้ัน ท่านพระผัคคุณะอาพาธ มีทุกข์ เป็นไข้หนัก คร้ังน้ันท่านพระอานนท์เข้าไปเฝ้าพระผู้มี พระภาคถึงท่ีประทับ ถวายบังคมแล้วน่ัง ณ ที่ควร สว่ นขา้ งหนึ่ง ครั้นแล้วได้กราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ทา่ นพระผคั คณุ ะอาพาธมที กุ ขเ์ ปน็ ไขห้ นกั ขา้ แตพ่ ระองค์ ผ้เู จรญิ ขอประทานพระวโรกาส ขอพระผมู้ ีพระภาคทรง อาศยั ความอนเุ คราะห์ เสดจ็ เขา้ ไปเยยี่ มทา่ นพระผคั คณุ ะ เถดิ ” พระผมู้ พี ระภาคทรงรับโดยดษุ ณภี าพ คร้ังนั้นเป็นเวลาเย็น พระผู้มีพระภาคเสด็จออก จากทเ่ี รน้ เสด็จเข้าไปเย่ยี มทา่ นพระผคั คุณะถึงทีอ่ ยู่ ทา่ นพระผัคคุณะได้เห็นพระผูม้ ีพระภาคกำ� ลังเสด็จ มาแต่ไกล แล้วจะลุกจากเตียง ๓๑ อัง.ฉกก.,ล.๓๖, น.๗๑๘, มมร. ผัคคุณสูตร 179 www.kalyanamitra.org
ลำ� ดบั นนั้ พระผมู้ พี ระภาคไดต้ รสั กะทา่ นพระผคั คณุ ะ วา่ “อยา่ เลยผคั คณุ ะ เธออยา่ ลกุ ขน้ึ จากเตยี ง อาสนะเหลา่ น้ี ทผ่ี อู้ น่ื ได้ปไู วม้ อี ยู่ เราจักน่งั บนอาสนะนัน้ ” พระผมู้ พี ระภาคไดป้ ระทบั นงั่ บนอาสนะทไ่ี ดป้ ไู วแ้ ลว้ ครนั้ แลว้ ได้ตรัสถามท่านพระผคั คณุ ะว่า “ดกู รผัคคณุ ะ เธอพออดทนไดห้ รือ ? พอยังอัตภาพ ใหเ้ ปน็ ไปไดห้ รอื ? ทกุ ขเวทนายอ่ มบรรเทาไมก่ ำ� เรบิ หรอื ปรากฏวา่ บรรเทา ไมก่ ำ� เรบิ ขึ้นหรือ ?” ท่านพระผัคคณุ ะกราบทลู ว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์อดทนไม่ได้ ยัง อตั ภาพใหเ้ ปน็ ไปไมไ่ ด้ ทกุ ขเวทนาของขา้ พระองคก์ ำ� เรบิ หนกั ไมบ่ รรเทา ปรากฏว่ากำ� เริบนัน้ ไม่บรรเทาเลย ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เปรียบเหมือนบุรุษ มีก�ำลัง พึงเฉือนศีรษะด้วยมีดโกนท่ีคมฉันใด ลมกล้าเสียดแทง ศรี ษะของขา้ พระองค์ ฉนั น้นั ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์อดทนไม่ได้ ยังอัตภาพให้เป็นไปไม่ได้ ทุกขเวทนาของข้าพระองค์ กำ� เรบิ หนกั ไมบ่ รรเทา ปรากฏวา่ กำ� เรบิ ขน้ึ ไมบ่ รรเทาเลย เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีก�ำลังพึงเอาเชือกที่เหนียวแน่น พันศีรษะ ฉันใด ความเจ็บปวดที่ศีรษะของข้าพระองค์ ก็มีประมาณย่งิ ฉันน้นั 180 www.kalyanamitra.org
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์อดทนไม่ได้ เปรียบเหมือนบุรุษฆ่าโค หรือลูกมือของบุรุษฆ่าโค เป็น คนขยนั พึงใชม้ ีดสำ� หรบั ชำ� แหละโคที่คม ช�ำแหละท้องโค ฉันใด ลมกล้ามีประมาณยิ่งย่อมเสียดแทงท้องของ ข้าพระองค์ ฉนั นน้ั ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์อดทนไม่ได้... เปรยี บบรุ ษุ ผมู้ กี �ำลงั สองคน จบั บุรุษผู้ออ่ นกำ� ลงั คนเดียว ที่แขนคนละข้าง แล้วพึงลนย่างบนหลุมถ่านไฟ ฉันใด ความเรา่ รอ้ นที่กายของข้าพระองค์กป็ ระมาณย่งิ ฉนั นั้น ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์อดทนไม่ได้ ยังอัตภาพให้เป็นไปไม่ได้ ทุกขเวทนาของข้าพระองค์ กำ� เรบิ หนกั ไมบ่ รรเทา ปรากฏวา่ กำ� เรบิ ขนึ้ ไมบ่ รรเทาเลย” ลำ� ดบั นน้ั แล พระผมู้ พี ระภาคทรงชแ้ี จงดว้ ยธรรมกี ถา ให้ท่านพระผคั คณุ ะเห็นแจ้ง ใหส้ มาทาน อาจหาญ ร่าเริง แลว้ เสด็จลกุ จากอาสนะหลกี ไป ครั้นเมื่อพระผู้มีพระภาคเสด็จไปแล้วไม่นาน ท่านพระผัคคุณะได้กระท�ำกาละและในเวลาตายอินทรีย์ ของทา่ นพระผัคคุณะนนั้ ผอ่ งใสย่ิงนกั ฯ ผัคคุณสูตร 181 www.kalyanamitra.org
อานิสงส์การฟงั ธรรม ๖ คร้ังน้ัน ท่านพระอานนท์เขา้ ไปเฝา้ พระผ้มู พี ระภาค ถึงท่ีประทับถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ทค่ี วรส่วนขา้ งหนงึ่ ครั้นแล้วได้กราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เมอื่ พระผมู้ พี ระภาคเสดจ็ จากมาไมน่ าน ทา่ นพระผคั คณุ ะ กก็ ระทำ� กาละ และในเวลาตายอนิ ทรยี ข์ องทา่ นพระผคั คณุ ะ ผอ่ งใสย่งิ นกั ” พระผู้มพี ระภาคตรัสว่า “ดูกรอานนท์ กอ็ นิ ทรีย์ของ ผัคคณุ ภกิ ษจุ ักไม่ผ่องใสไดอ้ ยา่ งไร ? จิตของผคั คณุ ภกิ ษุ ยังไม่หลุดพ้นจากสังโยชน์อันเป็นไปในส่วนเบ้ืองต�่ำ ๕ จติ ของผคั คณุ ภกิ ษนุ น้ั กห็ ลดุ พน้ แลว้ จากสงั โยชนอ์ นั เปน็ ไปในส่วนเบ้ืองตำ่� ๕ เพราะไดฟ้ งั ธรรมเทศนานน้ั ดกู รอานนท์ อานสิ งสใ์ นการฟงั ธรรมโดยกาลอนั ควร ในการใคร่ครวญเน้ือความแห่งธรรมโดยกาลอันควร ๖ ประการน้ี ๖ ประการเปน็ ไฉน ? ดกู รอานนท์ จติ ของภิกษใุ นธรรมวนิ ัยน้ี ยังไม่หลุด พ้นจากสังโยชน์ อนั เป็นไปในสว่ นเบ้อื งตำ�่ ๕ ในเวลาใกล้ ตาย เธอได้เห็นตถาคต ตถาคตย่อมแสดงธรรมอนั งาม 182 www.kalyanamitra.org
ในเบอ้ื งตน้ อนั งามในทา่ มกลาง อนั งามในทส่ี ดุ ประกาศ พรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถท้งั พยัญชนะ บริสุทธิ์ บริบรู ณ์ สน้ิ เชงิ แกเ่ ธอ จติ ของเธอยอ่ มหลดุ พน้ จากสงั โยชนอ์ นั เปน็ ไปในสว่ นเบือ้ งตำ่� ๕ เพราะได้ฟังธรรมเทศนานั้น ดูกรอานนท์ น้เี ปน็ อานิสงสข์ อ้ ที่ ๑ ในการฟงั ธรรม โดยกาลอันควร ฯ อีกประการหนึ่ง จิตของภิกษุยังไม่หลุดพ้นจาก สังโยชน์อันเป็นไปในส่วนเบื้องต�่ำ ๕ ในเวลาใกล้ตาย เธอไม่ได้เหน็ ตถาคตเลย แตไ่ ด้เหน็ สาวกของพระตถาคต สาวกของพระตถาคตย่อมแสดงธรรมอันงามในเบ้ืองต้น งามในทา่ มกลาง งามในทส่ี ดุ ประกาศพรหมจรรย์ พรอ้ มทงั้ อรรถท้ังพยัญชนะบรสิ ุทธิ์ บรบิ รู ณส์ ิน้ เชิง แกเ่ ธอ จิตของ เธอย่อมหลุดพน้ จากสงั โยชนอ์ ันเป็นไปในสว่ นเบ้อื งต�่ำ ๕ เพราะไดฟ้ งั ธรรมเทศนาน้ัน ดูกรอานนท์ นเ้ี ป็นอานิสงส์ขอ้ ท่ี ๒ ในการฟงั ธรรม โดยกาลอนั ควร ฯ อีกประการหนึ่ง จิตของภิกษุยังไม่หลุดพ้นจาก สังโยชน์อันเป็นไปในส่วนเบื้องต�่ำ ๕ ในเวลาใกล้ตาย เธอไม่ได้เหน็ ตถาคต และไมไ่ ดเ้ หน็ สาวกของตถาคตเลย ผัคคุณสูตร 183 www.kalyanamitra.org
แต่ย่อมตรึกตรองเพ่งด้วยใจ ซ่ึงธรรมตามท่ีได้ฟังมาได้ เรียนมา เมื่อเธอตรึกตรองเพ่งด้วยใจ ซ่ึงธรรมตามที่ได้ ฟังมาได้เรียนมาอยู่ จติ ของเธอย่อมหลุดพ้นจากสงั โยชน์ อันเปน็ ไปในสว่ นเบ้อื งตำ่� ๕ ดกู รอานนท์ นเ้ี ปน็ อานสิ งสข์ อ้ ท่ี ๓ ในการใครค่ รวญ เนอ้ื ความแหง่ ธรรมโดยกาลอนั ควร ฯ ดกู รอานนท์ จติ ของมนษุ ยใ์ นธรรมวนิ ยั น้ี ไดห้ ลดุ พน้ จากสังโยชน์อันเป็นไปในส่วนเบ้ืองต่�ำ ๕ แต่จิตของเธอ ยังไม่น้อมไปในนิพพานอันเป็นท่ีส้ินไปแห่งอุปธิกิเลส๓๑ อนั หาธรรมอน่ื ยง่ิ กวา่ มไิ ด้ ในเวลาใกลต้ าย เธอยอ่ มไดเ้ หน็ พระตถาคต พระตถาคตยอ่ มแสดงธรรมอนั งามในเบอ้ื งตน้ แกเ่ ธอ จติ ของเธอยอ่ มนอ้ มไปในนิพพานอนั เป็นทส่ี น้ิ ไป แห่งอุปธิกิเลส อันหาธรรมอื่นยิ่งกว่ามิได้ เพราะได้ฟัง ธรรมเทศนาน้ัน ดกู รอานนท์ นีเ้ ปน็ อานสิ งสข์ ้อท่ี ๔ ในการฟังธรรม โดยกาลอันควร ฯ ๓๑ อุปธิ หมายถึง กิเลสและกรรม จัดเป็นกิเลสชนิดหยาบที่สุด ในกิเลส ๓ ระดับ คือ อนุสัยกิเลส กิเลสอย่างละเอียดที่นอน เน่ืองอยู่ในสันดาน,ปริยุฏฐานกิเลส กิเลสอย่างกลาง ประเภท นิวรณ,์ วีติกกมกเิ ลส 184 www.kalyanamitra.org
อีกประการหน่ึง จิตของภิกษุหลุดพ้นแล้วจาก สังโยชน์ อันเป็นไปในส่วนเบื้องต�่ำ ๕ แต่จิตของเธอยัง ไมน่ อ้ มไปในนพิ พานอนั เปน็ ทส่ี น้ิ ไปแหง่ อปุ ธกิ เิ ลส อนั หา ธรรมอ่ืนยิ่งกว่ามิได้ ในเวลาใกล้ตาย เธอย่อมไม่ได้เห็น พระตถาคต แต่เธอย่อมได้เห็นสาวกของพระตถาคต สาวก ของพระตถาคตย่อมแสดงธรรมอันงามในเบื้องต้น... แก่เธอ จิตของเธอย่อมน้อมไปในนิพพานเป็นท่ีสิ้นไป แห่งอุปธิกิเลส อันหาธรรมอื่นยิ่งกว่ามิได้ เพราะได้ฟัง ธรรมเทศนาน้นั ดูกรอานนท์ นี้เปน็ อานิสงสข์ ้อที่ ๕ ในการฟังธรรม โดยกาลอันควร ฯ อีกประการหนึ่ง จิตของภิกษุหลุดพ้นแล้วจาก สังโยชน์อันเป็นไปในส่วนเบ้ืองต่�ำ ๕ แต่จิตของเธอยัง ไม่น้อมไปในนิพพาน อันเป็นที่สิ้นไปแห่งอุปธิกิเลส อันหาธรรมอื่นย่ิงกว่ามิได้ ในเวลาใกล้ตาย เธอยอ่ มไม่ได้ เห็นพระตถาคตและย่อมไม่ได้เห็นสาวกของพระตถาคต เลย แต่เธอย่อมตรกึ ตรองเพ่งดว้ ยใจซึง่ ธรรมตามท่ไี ดฟ้ ัง มาได้เรยี นมา เมอ่ื เธอตรกึ ตรองเพ่งดว้ ยใจซ่งึ ธรรมตามที่ ผัคคุณสูตร 185 www.kalyanamitra.org
ไดฟ้ ังมาไดเ้ รยี นมาอยู่ จติ ของเธอยอ่ มน้อมไปในนพิ พาน อนั เป็นท่ีส้นิ ไปแห่งอุปธกิ เิ ลสอันหาธรรมอืน่ ยิ่งกวา่ มไิ ด้ ดูกรอานนท์ นี้เปน็ อานสิ งสข์ ้อ ๖ ในการใคร่ครวญ เนอ้ื ความแห่งธรรมโดยกาลอันควร ดูกรอานนท์ อานิสงส์ในการฟังธรรม ในการ ใครค่ รวญเน้ือความโดยกาลอนั ควร ๖ ประการน้แี ล ฯ 186 www.kalyanamitra.org
แนะน�ำหนงั สือธรรมะ ของสมาคมสมาธเิ พ่อื การพฒั นาศลี ธรรมโลก ๑) ประเภท คาถาธรรมบท อุบาสกิ าฉบบั ราชนกิ ลู -พระเถรี (เฉพาะ e-book) ISBN : 978-616-8103-00-5 ผ้เู รียบเรียง : สิรปิ ุณโฺ ณ จ�ำนวนหน้า : ๑๗๖ ส�ำนักพิมพ ์ : บรษิ ัท พิมพด์ ี จำ� กดั ปีท่ีพมิ พ ์ : - ค�ำบรรยาย : ต้นฉบับเร่ืองธรรมบทเกี่ยวกับอุบาสิกาท่ีจัดท�ำข้ึน ปลายปี พ.ศ.๒๕๕๓ ต่อมาจัดท�ำเป็นเล่มเมื่อต้นปี พ.ศ. ๒๕๕๔ บัดนี้ล่วงเลยเวลามาเกือบ ๖ ปี จึงคิดว่าจะท�ำการปรับปรุงเป็นรูปเล่มให้น่าอ่าน ยงิ่ ขน้ึ เรยี บเรยี งความตอ่ เนอ่ื งของเนอ้ื หาแตล่ ะเรอ่ื ง ให้มากข้ึน ในเล่มน้ีมี ๑๕ เรอ่ื ง ใชช้ อื่ วา่ ‘อุบาสิกา ฉบบั ราชนกิ ลู -พระเถรี’ 187 www.kalyanamitra.org
อบุ าสิกา ฉบบั สามัญชน (มเี ฉพาะ e-book) ISBN : 978-616-8103-01-2 ผ้เู รียบเรยี ง : สริ ิปุณโฺ ณ จ�ำนวนหน้า : ๑๘๔ สำ� นกั พมิ พ ์ : บริษัท พมิ พด์ ี จ�ำกัด ปที พี่ ิมพ์ : - ค�ำบรรยาย : เล่มน้ีมีคาถาธรรมบทจ�ำนวน ๑๙ เรื่องใช้ชื่อว่า ‘อุบาสิกา ฉบับสามัญชน’ หลายเร่ืองที่ไม่มีใน เลม่ นเี้ พราะไดร้ วบรวมไวใ้ นเลม่ อน่ื ๆ กอ่ นหนา้ เชน่ เรอื่ งนางจฬู สภุ ทั ทา, (ภรรยา) นายพรานกกุ กฏุ มติ ร รวบรวมไวใ้ นหนงั สอื ทายาทเศรษฐ,ี เรอ่ื งนางสมุ นา เทวี, ธดิ าชา่ งหกู , ปรากฏอยู่ในหนังสือดุสติ บุรี ๒) ประเภท ชาดก ปัญญาบารมี หนทางสรา้ งปญั ญา ISBN : 978-616-91637-1-8 ผ้เู รียบเรยี ง : สริ ิปุณโฺ ณ จ�ำนวนหนา้ : ๑๔๔ สำ� นักพมิ พ ์ : บรษิ ทั พิมพ์ดี จ�ำกัด ปที พ่ี มิ พ ์ : ๒๕๕๖ 188 www.kalyanamitra.org
คำ� บรรยาย : นำ� เสนอธรรมะดง้ั เดมิ ดว้ ยมมุ มองใหม่ เพอื่ แบง่ ปนั ธรรมะประเภทมตี วั ละครเปน็ ตวั เดนิ เรอื่ ง ทเ่ี รยี กวา่ ‘ท้องนิทาน’ ให้อ่านได้สบายๆ ทุกเพศทุกวัย โดยเน้นเนื้อหาในนิทานชาดกเป็นหลัก ชาดกเรอื่ งปัญญา (มเี ฉพาะ e-book) ISBN : 978-616-8103-02-9 ผู้เรียบเรยี ง : สิรปิ ณุ โฺ ณ จำ� นวนหนา้ : ๙๖ สำ� นกั พมิ พ์ : บรษิ ัท พมิ พ์ดี จำ� กัด ปที พ่ี ิมพ ์ : - ค�ำบรรยาย : เล่มนี้เป็นการขยายความต่อจากเล่มแรกที่ช่ือว่า “ปัญญาบารมี หนทางแห่งการสร้างปัญญา”, เล่มน้ีมี ๘ เร่ืองที่พระศาสดาทรงปรารภพระ- ปัญญาบารมีของพระองค์ มีพระชาติที่เป็น พญาวานร ๑ เรอื่ งแถมอกี ๑ เรอื่ งทม่ี เี นอื้ หาตอ่ จาก ตจสารชาดกชื่อ “สาลิยชาดก” ไวท้ ่ที า้ ยเร่อื งด้วย พระชาติท่ีเป็นเด็กฉลาดมีปัญญามีอยู่ ๕ เร่ือง สมั ภวชาดก, มโหสถชาดก (เรอ่ื งที่ ๒, ๓ ในหนงั สอื ปัญญาบารมี) อีก ๓ เร่ือง ได้แก่ ตจสารชาดก, (รวมสาลยิ ชาดก), คามณจิ นั ทชาดก (เรื่องที่ ๗, ๘ ในเลม่ น้)ี 189 www.kalyanamitra.org
ชาดกเร่ืองโปรด (ฉบับ ๒ ภาษา) The Favorite Jakatas ISBN : 978-616-91637-5-6 ผ้เู รียบเรียง : สิรปิ ณุ ฺโณ จ�ำนวนหน้า : ๑๓๐ ส�ำนักพมิ พ์ : บรษิ ทั พมิ พ์ดี จำ� กดั ปีที่พิมพ์ : พ.ศ. ๒๕๕๙๘ ค�ำบรรยาย : พระโพธิสัตว์ ลูกนางยักษิณี นักสะกดรอยเท้า (ปทกุสลมาณวชาดก) ม้าบินพูดได้ (วลาหกัสส ชาดก) ทงั้ สองเรอ่ื งมียกั ษิณีปรากฏอยู่ในทอ้ งเร่อื ง ส่วนเรื่องอ่ืนๆ ก็ออกจะอภินิหารอยู่มาก ส�ำหรับ ยุคนี้ พญานกพูดได้ (ฆตาสนชาดก), ช้างแสนรู้ เหาะได้ (ทุมเมธชาดก) ส่วนท้ังส่ีเร่ืองสัมพันธ์กัน อย่างไร ติดตามได้จากบทวิเคราะห์ ภาคผนวก แผนภูมิสรปุ รวมชาดก ๕๔๗ เรอ่ื ง 190 www.kalyanamitra.org
e-book Free download ผลงานหนังสอื ธรรมะ ของ สมาคมสมาธิเพ่อื การพัฒนาศีลธรรมโลก ประเภท คาถาธรรมบท • อบุ าสกิ าฉบับราชนิกูล-พระเถรี https://goo.gl/2xFWS1 • อุบาสกิ า ฉบบั สามัญชน https://goo.gl/iwhkCA ประเภท ชาดก • ปัญญาบารมี หนทางการสร้างปญั ญา http://goo.gl/LX9xYJ • ชาดกเรือ่ งปญั ญา https://goo.gl/nktWh5 • ชาดกเร่ืองโปรด https://goo.gl/gWZyTT ประเภท พระสูตร • ภพน้ีภพหนา้ ฉบับเติมเตม็ http://goo.gl/KQrxIt • ทานบารมี สูตรลดั แห่งความสุข http://goo.gl/TfPejV ประเภท เรยี บเรยี ง • ธรรมะจาก Siripunno Fanp@ge https://goo.gl/b7kiCb 191 www.kalyanamitra.org
สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ การใหธ้ รรมทาน ชนะการให้ทั้งปวง www.kalyanamitra.org
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192