Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธรรมะคลายโศก

ธรรมะคลายโศก

Published by WATKAO, 2021-01-08 02:11:49

Description: ธรรมะคลายโศก

Keywords: ธรรมะคลายโศก

Search

Read the Text Version

“ดูก่อนคฤหบดีเป็นลาภของท่าน ท่านได้ดีแล้วท่ี นกุลมารดาคฤหปตานีเป็นผู้อนุเคราะห์ หวังประโยชน์ กล่าวเตอื นพร�่ำสอนทา่ น ดกู อ่ นคฤหบดี พวกสาวกิ าของเรา ทยี่ งั เปน็ คฤหสั ถ์ น่งุ ห่มผ้าขาว กระทำ� ใหบ้ รบิ รู ณใ์ นศลี มปี ระมาณเท่าใด นกุลมารดาคฤหปตานีก็เป็นคนหน่ึง ในจ�ำนวน สาวิกาเหลา่ นน้ั พวกสาวิกาของเราท่ียังเป็นคฤหัสถ์นุ่งห่มผ้าขาว ไดค้ วามสงบใจภายใน มปี ระมาณเท่าใด นกุลมารดาคฤหปตานีก็เป็นคนหนึ่งในจ�ำนวน สาวกิ าเหล่านน้ั พวกสาวิกาของเราท่ียังเป็นคฤหัสถ์นุ่งห่มผ้าขาว ได้ถึงการหย่ังลงถึงที่พ่ึง ถึงความเบาใจ ข้ามพ้นความ สงสัย ปราศจากความเคลือบแคลง ถึงความแกล้วกล้า ในธรรมวินัยน้ี ไม่มีความเชื่อถือต่อผู้อื่นในศาสนาของ พระศาสดา มีประมาณเท่าใด นกุลมารดาคฤหปตานีก็เป็นคนหนึ่งในจ�ำนวน สาวกิ าเหล่านั้น ดูก่อนคฤหบดี เป็นลาภของท่าน ท่านได้ดีแล้ว ที่นกุลมารดาคฤหปตานีเป็นผู้อนุเคราะห์หวังประโยชน์ กล่าวเตอื นสั่งสอนทา่ น. นกุลสูตร 51 www.kalyanamitra.org

52 www.kalyanamitra.org

๔. ปฐมทุสลี ยสตู ร๗ จ�ำแนกโสดาปัตตยิ งั คะ ๔ ด้วยอาการ ๑๐ กส็ มยั นน้ั ทา่ นอนาถบณิ ฑกิ คฤหบดปี ว่ ย ไดร้ บั ทกุ ข์ เป็นไขห้ นัก ครั้งนนั้ ท่านอนาถบณิ ฑิกคฤหบดเี รยี กบุรษุ คนหนึ่ง มาสั่งว่า “ดูก่อนบุรุษผู้เจริญ ท่านจงไปเถิด จงเข้าไปหา ท่านพระสารีบุตร ครั้นแล้วจงไหว้เท้าทั้งสองของท่าน พระสารบี ุตรด้วยเศียรเกล้าตามค�ำของเราวา่ ‘ข้าแตท่ า่ น ผเู้ จรญิ อนาถบณิ ฑกิ คฤหบดปี ว่ ย ไดร้ บั ทกุ ข์ เปน็ ไขห้ นกั เขาขอกราบเทา้ ทงั้ สองของทา่ นพระสารบี ตุ รดว้ ยเศยี รเกลา้ และทา่ นจงเรยี นอยา่ งนว้ี า่ ขา้ แตท่ า่ นผเู้ จรญิ ไดโ้ ปรดเถดิ ขอท่านพระสารีบุตร จงอาศัยความอนุเคราะห์เข้าไปยัง นเิ วศน์ของทา่ นอนาถบณิ ฑกิ คฤหบดเี ถิด’ ” บุรุษน้ันรับค�ำของท่านอนาถบิณฑิกคฤหบดีแล้ว เขา้ ไปหาทา่ นพระสารบี ตุ รถงึ ทอ่ี ยู่ อภวิ าทแลว้ นง่ั ณ ทค่ี วร ส่วนขา้ งหนงึ่ ๗ สํ.มหา., ล. ๓๑, น.๓๔๒, มมร. ปฐมทุสีลยสูตร 53 www.kalyanamitra.org

คร้ันแล้วได้เรยี นวา่ “ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ทา่ นอนาถ- บิณฑิกคฤหบดีป่วย ได้รับทุกข์ เป็นไข้หนัก ท่านขอ กราบเทา้ ทง้ั สองของทา่ นพระสารบี ตุ รดว้ ยเศยี รเกลา้ และ ทา่ นสงั่ มาอยา่ งนี้วา่ ‘ขา้ แตท่ า่ นผเู้ จรญิ ไดโ้ ปรดเถดิ ขอทา่ นพระสารบี ตุ ร จงอาศัยความอนุเคราะห์เข้าไปยังนิเวศน์ของท่านอนาถ บณิ ฑิกคฤหบดีเถิด’ ” ทา่ นพระสารบี ตุ รรบั นมิ นตด์ ว้ ยดษุ ณีภาพ. ครง้ั นน้ั เวลาเช้า ทา่ นพระสารีบุตรนุง่ แล้ว ถอื บาตร และจีวร มีท่านพระอานนท์เป็นปัจฉาสมณะ เข้าไปยัง นเิ วศนข์ องของทา่ นอนาถบณิ ฑกิ คฤหบดี แลว้ นงั่ บนอาสนะ ทเ่ี ขาปลู าดไว้ ครน้ั แลว้ ไดถ้ ามทา่ นอนาถบณิ ฑกิ คฤหบดวี า่ “ดูก่อนคฤหบดี ท่านพออดทนได้หรือ ? พอยัง อตั ภาพใหเ้ ปน็ ไปไดห้ รอื ? ทกุ ขเวทนาคลายลง ไมก่ ำ� เรบิ ขนึ้ แลหรอื ? ความทเุ ลายอ่ มปรากฏ ความกำ� เรบิ ไมป่ รากฏ แลหรอื ?” ท่านอนาถบณิ ฑิกคฤหบดตี อบวา่ “ข้าแต่ท่านผู้เจริญกระผมอดทนไม่ได้ยังอัตภาพให้ เป็นไปไมไ่ ด้ ทุกขเวทนาของกระผมก�ำเริบหนกั ไมท่ ุเลา ลงเลย ความกำ� เริบยอ่ มปรากฏ ความทเุ ลาไมป่ รากฏ.” 54 www.kalyanamitra.org

สา. “ดกู อ่ นคฤหบดี ปถุ ชุ นผไู้ มไ่ ดส้ ดบั ประกอบดว้ ย ความไม่เลอ่ื มใสในพระพุทธเจ้าเห็นปานใด เม่อื แตกกาย ตายไป ยอ่ มเขา้ ถงึ อบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต นรก ความไมเ่ ลอื่ มใส ในพระพทุ ธเจ้าเหน็ ปานน้นั ย่อมไม่มแี กท่ ่าน สว่ นทา่ นมคี วามเลอื่ มใสอนั ไมห่ วนั่ ไหวในพระพทุ ธเจา้ วา่ แมเ้ พราะเหตนุ ้ี ๆ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ พระองคน์ น้ั ฯลฯ เป็นผู้จ�ำแนกธรรม ก็เม่ือท่านเห็นความเลื่อมใสอันไม่ หว่ันไหวในพระพุทธเจ้าน้ันอยู่ในตน เวทนาจะพึงสงบ ระงบั โดยพลนั . ดกู อ่ นคฤหบดี ปถุ ชุ นผไู้ มไ่ ดส้ ดบั ประกอบดว้ ยความ ไม่เล่ือมใสในพระธรรมเห็นปานใด เม่ือแตกกายตายไป ย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ความไม่เล่ือมใส ในพระธรรมเห็นปานน้นั ยอ่ มไมม่ ีแกท่ ่าน สว่ นทา่ นมคี วามเลอื่ มใสอนั ไมห่ วน่ั ไหวในพระธรรม วา่ ธรรมอนั พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรสั ดแี ลว้ ฯลฯ อนั วญิ ญชู น พงึ รเู้ ฉพาะตน กเ็ มอื่ ทา่ นเหน็ ความเลอ่ื มใสอนั ไมห่ วน่ั ไหว ในพระธรรมนน้ั อยใู่ นตน เวทนาจะพงึ สงบระงบั โดยพลนั . ดูก่อนคฤหบดี ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ประกอบด้วย ความไมเ่ ลอื่ มใสในพระสงฆเ์ หน็ ปานใด เมอ่ื แตกกายตายไป ปฐมทุสีลยสูตร 55 www.kalyanamitra.org

ย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ความไม่เลื่อมใส ในพระสงฆ์เหน็ ปานน้ัน ย่อมไม่มแี กท่ ่าน ส่วนท่านมีความเลื่อมใสในพระสงฆ์ว่า พระสงฆ์ สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว ฯลฯ เปน็ นาบญุ ของโลก ไมม่ ีนาบญุ อน่ื ย่ิงกวา่ ก็เมอ่ื ท่านเหน็ ความเลอ่ื มใสอนั ไมห่ วน่ั ไหวในพระสงฆน์ นั้ อยใู่ นตน เวทนา จะพึงสงบระงบั โดยพลนั . ดูก่อนคฤหบดี ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ประกอบด้วย ความเป็นผู้ทุศีลเห็นปานใด เม่ือแตกกายตายไป ย่อม เข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ความเป็นผู้ทุศีลเห็น ปานนั้น ยอ่ มไมม่ แี ก่ทา่ น ส่วนท่านมีศีลที่พระอริยเจ้า ใคร่แล้ว ไม่ขาด ฯลฯ เป็นไปเพื่อสมาธิ กเ็ ม่ือทา่ นเห็นศีลท่ีพระอรยิ เจา้ ใคร่แลว้ อยใู่ นตน เวทนาจะพึงสงบระงับโดยพลนั . ดูก่อนคฤหบดี ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ประกอบด้วย มิจฉาทิฏฐิเห็นปานใด เม่ือแตกกายตายไป ย่อมเข้าถึง อบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต นรก มจิ ฉาทฏิ ฐเิ หน็ ปานนน้ั ยอ่ มไมม่ ี แก่ท่าน 56 www.kalyanamitra.org

ส่วนท่านมีสัมมาทิฏฐิ ก็เมื่อท่านเห็นสัมมาทิฏฐินั้น อยูใ่ นตน เวทนาจะพงึ สงบระงบั โดยพลัน. ดูก่อนคฤหบดี ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ประกอบด้วย มิจฉาสังกัปปะเห็นปานใด เมื่อแตกกายตายไป ย่อม เข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก มิจฉาสังกัปปะเห็น ปานนัน้ ย่อมไมม่ ีแกท่ า่ น ส่วนท่านมีสัมมาสังกัปปะ ก็เม่ือท่านเห็นสัมมา- สงั กปั ปะน้ันอยู่ในตน เวทนาจะพงึ สงบระงับโดยพลนั . ดูก่อนคฤหบดี ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ประกอบด้วย มิจฉาวาจาเห็นปานใด เม่ือแตกกายตายไป ย่อมเข้าถึง อบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต นรก มจิ ฉาวาจาเหน็ ปานนน้ั ยอ่ มไมม่ ี แกท่ า่ น สว่ นทา่ นมสี มั มาวาจา กเ็ มอื่ ทา่ น เหน็ สมั มาวาจานน้ั อย่ใู นตน เวทนาจะพงึ สงบระงับโดยพลนั . ดูก่อนคฤหบดี ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ประกอบด้วย มิจฉากมั มันตะ เห็นปานใด เมอ่ื แตกกายตายไป ย่อมเข้า ถึงอบาย ทุคติ วนิ บิ าต นรก มจิ ฉากมั มนั ตะเหน็ ปานน้นั ยอ่ มไมม่ ีแก่ท่าน ปฐมทุสีลยสูตร 57 www.kalyanamitra.org

ส่วนท่านมีสัมมากัมมันตะ ก็เมื่อท่านเห็นสัมมา- กัมมันตะนน้ั อยใู่ นตน เวทนาจะพึงสงบระงับโดยพลนั . ดูก่อนคฤหบดี ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ประกอบด้วย มจิ ฉาอาชวี ะเหน็ ปานใด เม่ือแตกกายตายไป ยอ่ มเข้าถงึ อบาย ทุคติ วินิบาต นรก มิจฉาอาชีวะเห็นปานนั้น ย่อมไม่มแี กท่ า่ น สว่ นทา่ นมสี มั มาอาชวี ะ กเ็ มอื่ ทา่ นเหน็ สมั มาอาชวี ะ นั้นอย่ใู นตน เวทนาจะพงึ สงบระงบั โดยพลนั . ดูก่อนคฤหบดี ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ประกอบด้วย มจิ ฉาวายามะเหน็ ปานใด เมอื่ แตกกายตายไป ยอ่ มเขา้ ถงึ อบาย ทุคติ วินิบาต นรก มิจฉาวายามะเห็นปานนั้น ย่อมไมม่ แี ก่ทา่ น ส่วนท่านมีสัมมาวายามะ ก็เมื่อท่านเห็นสัมมา- วายามะน้ันอยู่ในตน เวทนาจะพงึ สงบระงบั โดยพลัน. ดูก่อนคฤหบดี ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ประกอบด้วย มิจฉาสติเห็นปานใด เม่ือแตกกายตายไป ย่อมเข้าถึง อบาย ทคุ ติ วินิบาต นรก มจิ ฉาสตเิ หน็ ปานน้นั ย่อมไมม่ ี แก่ท่าน 58 www.kalyanamitra.org

ส่วนท่านมีสัมมาสติ ก็เม่ือท่านเห็นสัมมาสตินั้นอยู่ ในตน เวทนาจะพงึ สงบระงับโดยพลนั . ดกู อ่ นคฤหบดี ปถุ ชุ นไมไ่ ดส้ ดบั ประกอบดว้ ยมจิ ฉา สมาธิเห็นปานใด เม่ือแตกกายตายไป ย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก มิจฉาสมาธิเห็นปานนั้น ย่อมไม่มี แก่ท่าน ส่วนท่านมีสัมมาสมาธิ ก็เมื่อท่านเห็นสัมมาสมาธิ อยูใ่ นตน เวทนาจะพึงสงบระงบั โดยพลัน. ดูก่อนคฤหบดี ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ประกอบด้วย มจิ ฉาญาณะเห็นปานใด เมอื่ แตกกายตายไป ย่อมเขา้ ถงึ อบาย ทุคติ วินิบาต นรก มิจฉาญาณะเห็นปานนั้น ยอ่ มไมม่ แี กท่ ่าน สว่ นทา่ นมสี มั มาญาณะ กเ็ มอ่ื ทา่ นเหน็ สมั มาญาณะนนั้ อยใู่ นตน เวทนาจะพงึ สงบระงับโดยพลัน. ดูก่อนคฤหบดี ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ประกอบด้วย มิจฉาวิมุตติเหน็ ปานใด เม่อื แตกกายตายไป ยอ่ มเข้าถึง อบาย ทุคติ วินิบาต นรก มิจฉาวิมุตติเห็นปานน้ัน ยอ่ มไมม่ แี กท่ ่าน ปฐมทุสีลยสูตร 59 www.kalyanamitra.org

สว่ นทา่ นมสี มั มาวมิ ตุ ติ กเ็ มอ่ื ทา่ นเหน็ สมั มาวมิ ตุ ตนิ น้ั อยใู่ นตน เวทนาจะพึงสงบระงับโดยพลัน. ครั้งนั้น เวทนาของท่านอนาถบิณฑิกคฤหบดีสงบ ระงบั แลว้ โดยพลัน ท่านอนาถบิณฑิกคฤหบดีอังคาสท่านพระสารีบุตร และทา่ นพระอานนท์ดว้ ยอาหารทีเ่ ขาจดั มาเฉพาะตน ครั้งนั้น ท่านอนาถบิณฑิกคฤหบดี เมื่อท่านพระ- สารีบุตรฉันเสร็จ น�ำมือออกจากบาตรแล้ว จึงถือเอา อาสนะตำ่� อันหนึ่ง นั่ง ณ ทค่ี วรสว่ นข้างหนง่ึ แล้ว ท่านพระสารีบตุ รอนุโมทนาด้วยคาถาเหลา่ นี.้ ผใู้ ดมศี รัทธา ตง้ั มั่นไมห่ วั่นไหวในพระตถาคต มศี ลี อันงามท่ีพระอริยเจ้าใคร่แล้ว สรรเสริญแล้ว มีความ เลื่อมใสในพระสงฆ์ และมีความเห็นอันตรงบัณฑิต ทั้งหลาย เรียกผู้น้ันว่า ‘เป็นคนไม่ขัดสน’ ชีวิตของผู้น้ัน ไมเ่ ปล่าประโยชน.์ เพราะฉะนั้น บุคคลผู้มีปัญญา เมื่อระลึกถึงค�ำสอน ของพระพุทธเจ้าทั้งหลายพึงประกอบตามซึ่งศรัทธา ศีล ความเล่ือมใสและความเหน็ ธรรม. 60 www.kalyanamitra.org

คร้ังนั้น ท่านพระสารีบุตรครั้นอนุโมทนาด้วยคาถา เหล่าน้ี แลว้ จงึ ลุกจากอาสนะหลกี ไป. ล�ำดับน้ัน ท่านพระอานนท์เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระ- ภาคเจ้าถึงที่ประทบั ถวายบงั คมพระผูม้ ีพระภาคเจา้ แล้ว นั่ง ณ ท่ีควรสว่ นขา้ งหน่งึ คร้ันแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสถามท่าน พระอานนทว์ า่ “ดกู ่อน อานนท์ เธอมาจากไหนแต่ยังวัน ?” ทา่ นพระอานนท์กราบทลู วา่ “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ ูเ้ จริญ ท่านพระสารบี ตุ รกลา่ วสอน อนาถบิณฑิกคฤหบดดี ้วยโอวาทขอ้ น้ี ๆ.” พระผมู้ พี ระภาคเจ้าตรัสวา่ “ดูก่อนอานนท์ สารีบุตรเป็นบัณฑิต สารีบุตร มีปัญญามาก ได้จ�ำแนกโสดาปัตติยังคะ ๔ ด้วยอาการ ๑๐ อยา่ ง.” ปฐมทุสีลยสูตร 61 www.kalyanamitra.org

62 www.kalyanamitra.org

๕. ทตุ ยิ ทุสลี ยสูตร๘ กลัวความตายเพราะไม่มธี รรม ๔ ประการ กส็ มยั นนั้ ทา่ นอนาถบณิ ฑกิ คฤหบดปี ว่ ย ไดร้ บั ทกุ ข์ เป็นไขห้ นกั ครงั้ นนั้ ทา่ นอนาถบณิ ฑกิ คฤหบดเี รยี กบรุ ษุ คนหนง่ึ มาส่ังว่า “ดูก่อนบุรุษผู้เจริญ ท่านจงไปเถิด จงเข้าไปหา ท่านพระอานนท์ คร้ันแล้วจงไหว้เท้าท้ังสองของท่าน พระอานนท์ด้วยเศียรเกล้าตามค�ำของเราว่า ‘ข้าแต่ท่าน ผเู้ จรญิ อนาถบณิ ฑกิ คฤหบดปี ว่ ย ไดร้ บั ทกุ ข์ เปน็ ไขห้ นกั ขอกราบเทา้ ทงั้ สองของท่านพระอานนท์ด้วยเศยี รเกลา้ และทา่ นจงเรยี นอยา่ งนวี้ า่ ‘ขา้ แตท่ า่ นผเู้ จรญิ ไดโ้ ปรด เถิด ขอท่านพระอานนท์จงอาศัยความอนุเคราะห์เข้าไป ยังนเิ วศน์ของท่านอนาถบิณฑิกคฤหบดเี ถดิ ’” บุรุษน้ันรับค�ำของ ท่านอนาถบิณฑิกคฤหบดีแล้ว เขา้ ไปหาทา่ นพระอานนทถ์ งึ ทอ่ี ยู่ อภวิ าทแลว้ นงั่ ณ ทค่ี วร สว่ นข้างหนึง่ ๘ สํ.มหา., ล. ๓๑, น.๓๔๘, มมร. ทุติยทุสีลยสูตร 63 www.kalyanamitra.org

ครั้นแล้วได้เรียนว่า “ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ท่านอนาถ บิณฑิกคฤหบดีป่วย ได้รับทุกข์ เป็นไข้หนัก ท่านขอ กราบเทา้ ท้ังสองของทา่ นพระอานนท์ด้วยเศยี รเกลา้ และ ทา่ นส่งั มาอย่างน้ีว่า ‘ขา้ แตท่ า่ นผเู้ จรญิ ไดโ้ ปรดเถดิ ขอทา่ นพระอานนท์ จงอาศัยความอนเุ คราะห์เขา้ ไปยงั นเิ วศนข์ องท่านอนาถ- บณิ ฑิกคฤหบดีเถิด’” ทา่ นพระอานนท์รับนมิ นต์ดว้ ยดุษณีภาพ. คร้ังน้นั เวลาเชา้ ท่านพระอานนทน์ ุง่ แล้ว ถือบาตร และจีวรเข้าไปยังนิเวศน์ของท่านอนาถบิณฑิกคฤหบดี แล้วนง่ั บนอาสนะท่เี ขาปูลาดไว้ ครั้นแล้วไดถ้ ามท่านอนาถบิณฑกิ คฤหบดีว่า “ดกู อ่ นคฤหบดี ทา่ นพออดทนไดห้ รอื พอยงั อตั ภาพ ให้เป็นไปได้แลหรอื ? ทุกขเวทนาคลายลง ไม่ก�ำเรบิ ข้นึ แลหรือ ? ความทุเลายอ่ มปรากฏ ความก�ำเรบิ ไม่ปรากฏ แลหรือ ?” ท่านอนาถบิณฑิกคฤหบดีตอบว่า “ข้าแต่ท่าน ผู้เจริญ กระผมอดทนไม่ได้ ยังอัตภาพให้เป็นไปไม่ได้ ทุกขเวทนาของกระผมกำ� เรบิ หนกั ไมท่ ุเลาลงเลย ความ กำ� เรบิ ย่อมปรากฏ ความทุเลาไมป่ รากฏ.” 64 www.kalyanamitra.org

พระอานนท์. “ดูก่อนคฤหบดี ปุถุชนไม่ได้สดับ ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ย่อมมีความสะดุ้ง หวาดเสยี ว กลวั ความตายที่จะมาถึงในภายหน้า ธรรม ๔ ประการเปน็ ไฉน ปถุ ชุ นผไู้ มไ่ ดส้ ดบั ในโลกน้ี ประกอบด้วยความไม่เล่ือมใสในพระพุทธเจ้า ก็เม่ือเขา เห็นความไม่เลื่อมใสในพระพุทธเจ้าน้ันอยู่ในตน ย่อมมี ความสะดงุ้ หวาดเสยี ว กลวั ความตายทจ่ี ะมาถงึ ในภายหนา้ อีกประการหน่ึง ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ประกอบด้วย ความไมเ่ ลอื่ มใสในพระธรรม กเ็ มอ่ื เขาเหน็ ความไมเ่ ลอื่ มใส ในพระธรรมนั้นอยู่ในตน ย่อมมีความสะดุ้งหวาดเสียว กลัวความตายท่จี ะมาถึงในภายหนา้ . อีกประการหน่ึง ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ประกอบด้วย ความไมเ่ ลอื่ มใสในพระสงฆ์ กเ็ มอ่ื เขาเหน็ ความไมเ่ ลอ่ื มใส ในพระสงฆ์นั้นอยู่ในตน ย่อมมีความสะดุ้งหวาดเสียว กลัวความตายทจ่ี ะมาถงึ ในภายหน้า อีกประการหน่ึง ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ประกอบด้วย ความเป็นผู้ทุศีล ก็เมื่อเขาเห็นความเป็นผู้ทุศีลนั้นอยู่ ในตน ยอ่ มมคี วามสะดงุ้ หวาดเสยี ว กลวั ความตายทจ่ี ะมา ถงึ ในภายหน้า ทุติยทุสีลยสูตร 65 www.kalyanamitra.org

ดูก่อนคฤหบดี ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ประกอบด้วย ธรรม ๔ ประการนี้แล ย่อมมีความสะดุ้งหวาดเสียว กลวั ความตายที่จะมาถึงในภายหน้า ดูก่อนคฤหบดี อริยสาวกผู้ได้สดับ ประกอบด้วย ธรรม ๔ ประการ ย่อมไมม่ ีความสะดุง้ หวาดเสียว ไมก่ ลัว ความตายท่จี ะมาถงึ ในภายหนา้ ธรรม ๔ ประการเป็นไฉน อริยสาวกผู้ได้สดับใน ธรรมวินัยน้ีประกอบด้วยความเล่ือมใสอันไม่หว่ันไหวใน พระพทุ ธเจ้าวา่ แมเ้ พราะเหตุน้ี ๆ พระผู้มีพระภาคเจา้ พระองค์นั้น ฯลฯ เป็นผู้จ�ำแนก ธรรม ก็เมื่อเขาเห็นความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวใน พระพทุ ธเจา้ นน้ั อยใู่ นตน ย่อมไม่มคี วามสะด้งุ หวาดเสยี ว ไมก่ ลัวความตายทจ่ี ะมาถงึ ในภายหนา้ . อีกประการหนึ่ง อริยสาวกผู้ได้สดับ ประกอบด้วย ความเลื่อมใสอันไม่หวั่นไหวในพระธรรมว่า พระธรรม อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว ฯลฯ อันวิญญูชนพึงรู้ เฉพาะตน ก็เมื่อเขาเห็นความเล่ือมใสอันไม่หวั่นไหว ในพระธรรมนนั้ อย่ใู นตน ย่อมไม่มคี วามสะดงุ้ หวาดเสยี ว ไมก่ ลวั ความตายท่ีจะมาถึงในภายหนา้ . อีกประการหน่ึง อริยสาวกผู้ได้สดับ ประกอบด้วย ความเลอ่ื มใส อนั ไมห่ วนั่ ไหวในพระสงฆว์ า่ พระสงฆส์ าวก 66 www.kalyanamitra.org

ของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั ดิ แี ลว้ ฯลฯ เปน็ นาบญุ ของโลก ไมม่ นี าบญุ อนื่ ยง่ิ กวา่ กเ็ มอื่ เขาเหน็ ความเลอื่ มใส อันไม่หวั่นไหวในพระสงฆ์นั้นอยู่ในตน ย่อมไม่มีความ สะดุ้งหวาดเสยี วไม่กลวั ความตายที่จะมาถงึ ในภายหนา้ . อีกประการหน่ึง อริยสาวกผู้ได้สดับ ประกอบด้วย ศีลท่พี ระอรยิ เจา้ ใครแ่ ลว้ ฯลฯ เป็นไปเพอื่ สมาธิ กเ็ มอื่ เขา เหน็ ศีลท่ีพระอริยเจ้าใคร่แล้วน้ันอยู่ในตน ยอ่ มไมม่ ีความ สดุ้งหวาดเสียว ไม่กลัวความตายทจ่ี ะมาถึงในภายหน้า. ดูก่อนคฤหบดี อริยสาวกผู้ได้สดับ ประกอบด้วย ธรรม ๔ ประการน้ีแล ย่อมไม่มีความสะดุ้งหวาดเสียว ไมก่ ลวั ความตายท่จี ะมาถงึ ในภายหนา้ .” ท่านอนาถบิณฑิกคฤหบดี กลา่ ววา่ “ข้าแต่ท่านอานนท์ผู้เจริญกระผมไม่กลัว กระผม จกั พดู แกท่ า่ นได้ ดว้ ยวา่ กระผมประกอบดว้ ยความเลอ่ื มใส อนั ไมห่ วนั่ ไหวในพระพทุ ธเจา้ ...ในพระธรรม...ในพระสงฆ.์ .. อนง่ึ สกิ ขาบทเหลา่ ใดซง่ึ สมควรแกค่ ฤหสั ถ์ อนั พระ- ผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงแล้ว กระผมยังไม่แลเห็นความ ขาดอะไร ๆ ของสกิ ขาบทเหลา่ น้ันในตนเลย.” อ. “ดกู อ่ นคฤหบดี เปน็ ลาภของทา่ น ทา่ นได้ดแี ล้ว โสดาปัตติผล ทา่ นพยากรณแ์ ลว้ .” ทุติยทุสีลยสูตร 67 www.kalyanamitra.org

68 www.kalyanamitra.org

๖. อนาถปิณฑิโกวาทสตู ร๙ ความเปน็ ไปแห่งอาพาธ ขา้ พเจา้ ได้สดบั มาอย่างนี้ สมัยหน่ึง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ท่ีพระวิหาร เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกเศรษฐี เขตพระนคร สาวัตถี ก็สมัยน้ันแล อนาถบิณฑิกคฤหบดีป่วยทน ทกุ ขเวทนา เป็นไข้หนกั จงึ เรยี กบุรษุ คนหน่ึงมาสงั่ วา่ “มาเถิดพ่อมหาจ�ำเริญ พ่อจงเข้าไปเฝ้าพระผู้มี- พระภาค ยังที่ประทับ แล้วจงถวายบังคมพระบาท พระผู้มีพระภาคด้วยเศียรเกล้าตามค�ำของเรา แล้วจง กราบทูลอยา่ งนว้ี ่า ‘ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อนาถบิณฑิกคฤหบดี ปว่ ย ทนทกุ ขเวทนา เปน็ ไขห้ นกั ขอถวายบงั คมพระบาท พระผูม้ ีพระภาคดว้ ยเศียรเกลา้ อนึ่ง จงเข้าไปหาท่านพระสารีบุตรยังท่ีอยู่ แล้วจง กราบเท้าท่านพระสารีบุตรตามค�ำของเรา และเรียน อย่างนี้ว่า ๙ ม.อ.ุ , ล.๒๓, น.๔๑๒, มมร. อนาถปิณฑิโกวาทสูตร 69 www.kalyanamitra.org

‘ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อนาถบิณฑิกคฤหบดีป่วย ทน ทุกขเวทนา เป็นไข้หนัก ขอกราบเท้าท่านพระสารีบุตร ดว้ ยเศียรเกล้า และเรยี นอย่างน้อี กี วา่ ‘ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โอกาสเหมาะแล้ว ขอท่าน พระสารีบุตรจงอาศัยความอนุเคราะห์ เข้าไปยังนิเวศน์ ของอนาถบณิ ฑิกคฤหบดเี ถดิ ’ ” บุรุษน้ันรับค�ำอนาถบิณฑิกคฤหบดีแล้วเข้าไปเฝ้า พระผู้มีพระภาคยังท่ีประทับ ถวายอภิวาทแล้วน่ัง ณ ท่ีควรส่วนข้างหนึ่ง ฯ พอนั่งเรียบร้อยแล้ว ได้กราบทูล พระผ้มู ีพระภาคดังนีว้ า่ “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อนาถบิณฑิกคฤหบดีป่วย ทนทกุ ขเวทนา เปน็ ไขห้ นกั ขอถวายบงั คมพระผมู้ พี ระภาค ด้วยเศียรเกลา้ ” ตอ่ นน้ั เขา้ ไปหาทา่ นพระสารบี ตุ รยงั ทอ่ี ยู่ กราบทา่ น พระสารบี ตุ รแลว้ นงั่ ณ ทคี่ วรสว่ นขา้ งหนง่ึ พอนงั่ เรยี บรอ้ ย แลว้ จงึ เรียนท่านพระสารบี ตุ รดังนวี้ ่า “ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อนาถบิณฑิกคฤหบดีป่วย ทนทกุ ขเวทนา เปน็ ไขห้ นกั ขอกราบเทา้ ทา่ นพระสารบี ตุ ร ดว้ ยเศยี รเกล้าและสั่งมาอย่างน้ีว่า 70 www.kalyanamitra.org

‘ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โอกาสเหมาะแล้ว ขอท่าน พระสารีบุตรจงอาศัยความอนุเคราะห์ เข้าไปยังนิเวศน์ ของอนาถบิณฑกิ คฤหบดเี ถดิ ’ ” ทา่ นพระสารบี ตุ รรบั นมิ นตด์ ว้ ยดษุ ณภี าพ ครง้ั นนั้ แล ทา่ นพระสารบี ตุ รนงุ่ สบงทรงบาตรจวี ร มที า่ นพระอานนท์ เป็นปัจฉาสมณะ เข้าไปยังนิเวศน์ของอนาถบิณฑิก คฤหบดี แลว้ น่งั บนอาสนะทเี่ ขาแต่งตัง้ ไว้ ฯ พอนั่งเรียบร้อยแล้ว จึงกล่าวกะอนาถบิณฑิก คฤหบดดี งั นวี้ ่า “ดูกรคฤหบดี ท่านพอทน พอเป็นไปได้หรือ ? ทุกขเวทนาทุเลา ไม่ก�ำเริบ ปรากฏความทุเลาเป็นท่ีสุด ไมป่ รากฏความก�ำเรบิ ละหรอื ฯ” อ. “ขา้ แตพ่ ระสารบี ตุ รผเู้ จรญิ กระผมทนไมไ่ หว เปน็ ไปไม่ไหว ทุกขเวทนาของกระผมหนัก ก�ำเริบ ไม่ทุเลา ปรากฏความก�ำเริบเปน็ ที่สุด ไม่ปรากฏความทเุ ลาเลย ฯ ขา้ แตพ่ ระสารบี ตุ รผเู้ จรญิ ลมเหลอื ประมาณกระทบ ขมอ่ มของกระผมอยู่ เหมอื นบรุ ษุ มกี ำ� ลงั เอาของแหลมคม ท่ิมขม่อมฉะนั้น กระผมจึงทนไม่ไหว เป็นไปไม่ไหว ทกุ ขเวทนาของกระผมหนกั กำ� เรบิ ไมท่ เุ ลา ปรากฏความ กำ� เริบเปน็ ท่ีสดุ ไมป่ รากฏความทเุ ลาเลย ฯ อนาถปิณฑิโกวาทสูตร 71 www.kalyanamitra.org

ข้าแต่พระสารีบุตรผู้เจริญ ลมเหลือประมาณเวียน ศีรษะกระผมอยู่ เหมือนบุรุษมีก�ำลังให้การขันศีรษะด้วย ชะเนาะ๑๐ม่นั ฉะน้ัน กระผมจงึ ทนไม่ไหว เปน็ ไปไม่ไหว ทุกขเวทนาของกระผมหนัก ก�ำเริบ ไม่ทุเลา ปรากฏมี ความก�ำเรบิ เปน็ ทส่ี ุด ไมป่ รากฏความทเุ ลาเลย ฯ ขา้ แตพ่ ระสารบี ตุ รผเู้ จรญิ ลมเหลอื ประมาณปน่ั ปว่ น ทอ้ งของกระผมอยู่ เหมือนคนฆ่าโค หรือลกู มอื คนฆา่ โค ผฉู้ ลาดเอามดี แลโ่ คอันคมควา้ นท้อง ฉะนนั้ กระผมจงึ ทน ไมไ่ หว เปน็ ไปไมไ่ หว ทกุ ขเวทนาของกระผมหนกั กำ� เริบ ไม่ทุเลา ปรากฏความก�ำเริบเป็นที่สุด ไม่ปรากฏความ ทุเลาเลย ฯ ข้าแต่พระสารีบุตรผู้เจริญ ความร้อนในกายของ กระผมเหลอื ประมาณ เหมือนบุรุษมีก�ำลงั ๒ คน จับบุรุษ มีก�ำลงั นอ้ ยกวา่ ที่อวัยวะปอ้ งกนั ตวั ต่างๆ แลว้ นาบ ย่าง ในหลุมถ่านเพลิง ฉะน้ันกระผมจึงทนไม่ไหว เป็นไป ไม่ไหว ทุกขเวทนาของกระผมหนัก ก�ำเริบ ไม่ทุเลา ปรากฏความกำ� เรบิ เปน็ ทสี่ ดุ ไมป่ รากฏความทเุ ลาเลย ฯ” พระสารีบุตร. “ดกู รคฤหบดี เพราะฉะน้ันแล ๑๐ ชะเนาะ น. ไมส้ นั้ ๆ สำ� หรบั ขนั บดิ เชอื กทผี่ กู ใหแ้ นน่ เชน่ ในการ ท�ำนง่ั ร้าน ลูกชะเนาะ กเ็ รยี ก. 72 www.kalyanamitra.org

ทา่ นพงึ ส�ำเหนียก๑๑อย่างนวี้ ่า ‘เราจักไม่ยึดม่นั จักษุ และวญิ ญาณท่อี าศยั จกั ษจุ ักไม่มีแกเ่ รา’ พึงส�ำเหนียกอย่างนี้ว่า ‘เราจักไม่ยึดมั่นโสต และ วิญญาณที่อาศัยโสตจักไม่มแี กเ่ รา’ พงึ ส�ำเหนียกอยา่ งนีว้ า่ ‘เราจักไม่ยึดมน่ั ฆานะ และ วญิ ญาณทอ่ี าศยั ฆานะจักไม่มีแก่เรา’ พงึ ส�ำเหนยี กอย่างนี้วา่ ‘เราจักไม่ยึดม่ันชิวหา และ วิญญาณทอ่ี าศยั ชิวหาจักไมม่ ีแกเ่ รา’ พึงส�ำเหนียกอย่างน้ีว่า ‘เราจักไม่ยึดมั่นกาย และ วญิ ญาณท่อี าศัยกายจักไมม่ ีแก่เรา’ พึงส�ำเหนียกอย่างน้ีว่า ‘เราจักไม่ยึดม่ันมโน และ วิญญาณท่อี าศัยมโนจกั ไม่มีแกเ่ รา’ ดกู รคฤหบดี ท่านพงึ สำ� เหนียกไวอ้ ย่างนเ้ี ถดิ ฯ ดกู รคฤหบดี เพราะฉะนนั้ แล ทา่ นพงึ สำ� เหนยี กอยา่ งนว้ี า่ ‘เราจกั ไมย่ ดึ มนั่ รปู และ วิญญาณทอ่ี าศัยรปู จักไมม่ แี ก่เรา’ พึงส�ำเหนียกอย่างน้ีว่า ‘เราจักไม่ยึดม่ันเสียง และ วิญญาณที่อาศัยเสยี งจกั ไม่มีแก่เรา’ ๑๑ สำ� เหนยี ก (สำ� เหนฺ ยี ก) ก. ฟงั , คอยเอาใจใส่, กำ� หนดจดจ�ำ, เช่น ผใู้ หญ่สอนอะไรก็ให้ส�ำเหนียกไวใ้ ห้ด.ี อนาถปิณฑิโกวาทสูตร 73 www.kalyanamitra.org

พึงส�ำเหนียกอย่างน้ีว่า ‘เราจักไม่ยึดม่ันกล่ิน และ วญิ ญาณทีอ่ าศยั กลิน่ จักไมม่ แี กเ่ รา’ พึงส�ำเหนียกอย่างน้ีว่า ‘เราจักไม่ยึดม่ันรส และ วญิ ญาณท่ีอาศัยรสจักไมม่ ีแกเ่ รา’ พึงส�ำเหนียกอย่างนี้ว่า ‘เราจักไม่ยึดม่ันโผฏฐัพพะ และวญิ ญาณทอ่ี าศยั โผฏฐพั พะจักไมม่ ีแกเ่ รา’ พึงส�ำเหนยี กอย่างน้ีว่า ‘เราจักไมย่ ึดม่นั ธรรมารมณ์ และวิญญาณทอ่ี าศยั ธรรมารมณ์จักไม่มแี ก่เรา’ ดกู รคฤหบดี ทา่ นพึงสำ� เหนยี กไวอ้ ย่างนี้เถดิ ฯ ดกู รคฤหบดี เพราะฉะนนั้ แล ท่านพึงส�ำเหนียกอย่างนี้ว่า ‘เราจักไม่ยึดมั่นจักษุ วญิ ญาณ และวญิ ญาณทอี่ าศยั จกั ษวุ ญิ ญาณจกั ไมม่ แี กเ่ รา’ พงึ สำ� เหนยี กอยา่ งนว้ี า่ ‘เราจกั ไมย่ ดึ มน่ั โสตวญิ ญาณ และวญิ ญาณทอ่ี าศยั โสตวญิ ญาณจกั ไม่มีแกเ่ รา’ พงึ สำ� เหนยี กอยา่ งนวี้ า่ ‘เราจกั ไมย่ ดึ มนั่ ฆานวญิ ญาณ และวิญญาณที่อาศยั ฆานวญิ ญาณจักไม่มีแก่เรา’ พงึ สำ� เหนยี กอยา่ งนวี้ า่ ‘เราจกั ไมย่ ดึ มน่ั ชวิ หาวญิ ญาณ และวิญญาณทอ่ี าศัยชวิ หาวญิ ญาณจักไมม่ แี ก่เรา’ 74 www.kalyanamitra.org

พงึ สำ� เหนยี กอยา่ งนวี้ า่ ‘เราจกั ไมย่ ดึ มนั่ กายวญิ ญาณ และวญิ ญาณทอ่ี าศัยกายวญิ ญาณจักไม่มแี ก่เรา’ พงึ สำ� เหนยี กอยา่ งนวี้ า่ ‘เราจกั ไมย่ ดึ มน่ั มโนวญิ ญาณ และวญิ ญาณทอ่ี าศัยมโนวิญญาณจักไมม่ ีแกเ่ รา’ ดูกรคฤหบดี ท่านพงึ สำ� เหนยี กไว้อยา่ งนเ้ี ถดิ ฯ ดกู รคฤหบดี เพราะฉะน้นั แล ท่านพึงส�ำเหนียกอย่างน้ีว่า ‘เราจักไม่ยึดม่ันจักษุ สัมผัส และวญิ ญาณทีอ่ าศยั จักษสุ มั ผสั จกั ไม่มแี ก่เรา’ พึงส�ำเหนียกอย่างนี้ว่า ‘เราจักไม่ยึดมั่นโสตสัมผัส และวิญญาณท่ีอาศยั โสตสมั ผสั จกั ไมม่ ีแก่เรา’ พึงส�ำเหนียกอย่างนี้ว่า ‘เราจักไม่ยึดมั่นฆานสัมผัส และวญิ ญาณที่อาศัยฆานสมั ผสั จกั ไม่มีแก่เรา’ พงึ สำ� เหนยี กอยา่ งนว้ี า่ ‘เราจกั ไมย่ ดึ มน่ั ชวิ หาสมั ผสั และวญิ ญาณที่อาศัยชวิ หาสัมผัสจกั ไมม่ ีแก่เรา’ พึงส�ำเหนียกอย่างนี้ว่า ‘เราจักไม่ยึดมั่นกายสัมผัส และวญิ ญาณทีอ่ าศยั กายสมั ผสั จกั ไมม่ ีแก่เรา’ พึงส�ำเหนียกอย่างนี้ว่า ‘เราจักไม่ยึดมั่นมโนสัมผัส และวิญญาณทอี่ าศยั มโนสมั ผสั จกั ไม่มีแกเ่ รา’ ดูกรคฤหบดี ท่านพงึ สำ� เหนยี กไว้อยา่ งน้เี ถิด ฯ อนาถปิณฑิโกวาทสูตร 75 www.kalyanamitra.org

ดูกรคฤหบดี เพราะฉะนน้ั แล ทา่ นพึงส�ำเหนียกอยา่ งนว้ี า่ ‘เราจกั ไม่ยดึ มนั่ เวทนา เกิดแต่จักษุสัมผัส และวิญญาณที่อาศัยเวทนาเกิด แต่ จักษุสัมผัสจกั ไม่มแี กเ่ รา’ พึงส�ำเหนียกอย่างน้ีว่า ‘เราจักไม่ยึดมั่นเวทนาเกิด แตโ่ สตสมั ผสั และวญิ ญาณทอี่ าศยั เวทนาเกดิ แตโ่ สตสมั ผสั จกั ไมม่ แี ก่เรา’ พึงส�ำเหนียกอย่างนี้ว่า ‘เราจักไม่ยึดม่ันเวทนาเกิด แต่ฆานสัมผัส และวิญญาณท่ีอาศัยเวทนาเกิด แต่ฆาน- สมั ผัสจกั ไมม่ ีแกเ่ รา’ พึงส�ำเหนียกอย่างน้ีว่า ‘เราจักไม่ยึดมั่นเวทนาเกิด แตช่ วิ หาสมั ผสั และวญิ ญาณทอ่ี าศยั เวทนาเกดิ แตช่ วิ หา- สมั ผสั จักไม่มีแก่เรา’ พึงส�ำเหนียกอย่างนี้ว่า ‘เราจักไม่ยึดมั่นเวทนาเกิด แตก่ ายสมั ผสั และวญิ ญาณทอ่ี าศยั เวทนาเกดิ แตก่ ายสมั ผสั จกั ไม่มแี ก่เรา’ พึงส�ำเหนียกอย่างน้ีว่า ‘เราจักไม่ยึดมั่นเวทนาเกิด แตม่ โนสมั ผสั และวญิ ญาณทอี่ าศยั เวทนาเกดิ แตม่ โนสมั ผสั จกั ไมม่ ีแกเ่ รา’ ดกู รคฤหบดี ทา่ นพงึ สำ� เหนียกไวอ้ ยา่ งน้ีเถดิ ฯ 76 www.kalyanamitra.org

ดกู รคฤหบดี เพราะฉะน้ันแล ทา่ นพงึ สำ� เหนยี กอยา่ งนวี้ า่ ‘เราจกั ไมย่ ดึ มน่ั ปฐวธี าตุ และวิญญาณทอ่ี าศยั ปฐวีธาตุจักไม่มีแก่เรา’ พึงส�ำเหนียกอย่างน้ีว่า ‘เราจักไม่ยึดมั่นอาโปธาตุ และวญิ ญาณท่อี าศัยอาโปธาตจุ ักไมม่ ีแก่เรา’ พึงส�ำเหนียกอย่างนี้ว่า ‘เราจักไม่ยึดมั่นเตโชธาตุ และวญิ ญาณทีอ่ าศยั เตโชธาตจุ กั ไม่มแี กเ่ รา’ พึงส�ำเหนียกอย่างนี้ว่า ‘เราจักไม่ยึดมั่นวาโยธาตุ และวญิ ญาณทอ่ี าศยั วาโยธาตจุ กั ไม่มีแก่เรา’ พงึ ส�ำเหนียกอย่างนวี้ ่า ‘เราจกั ไมย่ ดึ มน่ั อากาสธาตุ และวญิ ญาณอาศยั อากาสธาตุจักไมม่ ีแกเ่ รา’ ดูกรคฤหบดี ท่านพงึ สำ� เหนยี กไว้อยา่ งนเ้ี ถดิ ฯ ดกู รคฤหบดี เพราะฉะน้นั แล ทา่ นพงึ สำ� เหนยี กอยา่ งนวี้ า่ ‘เราจกั ไมย่ ดึ มน่ั รปู และ วญิ ญาณท่ีอาศัยรปู จักไม่มแี ก่เรา’ พึงส�ำเหนยี กอย่างน้ีว่า ‘เราจักไม่ยดึ มน่ั เวทนา และ วญิ ญาณที่อาศัยเวทนาจักไม่มีแก่เรา’ พงึ ส�ำเหนยี กอย่างนวี้ ่า ‘เราจักไมย่ ึดมน่ั สัญญา และ วญิ ญาณท่อี าศัยสัญญาจักไมม่ ีแกเ่ รา’ อนาถปิณฑิโกวาทสูตร 77 www.kalyanamitra.org

พึงส�ำเหนียกอย่างน้วี า่ ‘เราจกั ไม่ยึดมน่ั สงั ขาร และ วิญญาณที่อาศยั สงั ขารจกั ไม่มีแกเ่ รา’ พึงส�ำเหนียกอย่างนี้ว่า ‘เราจักไม่ยึดมั่นวิญญาณ และวญิ ญาณทอี่ าศัยวญิ ญาณจักไมม่ แี กเ่ รา’ ดูกรคฤหบดี ทา่ นพึงสำ� เหนยี กไวอ้ ยา่ งนี้เถดิ ฯ ดูกรคฤหบดี เพราะฉะนั้นแล ท่านพึงส�ำเหนียกอย่างน้ีว่า ‘เราจักไม่ยึดม่ันอากา- สานัญจายตนฌาน และวิญญาณท่ีอาศัยอากาสานัญ- จายตนฌานจกั ไมม่ แี ก่เรา’ พงึ สำ� เหนยี กอยา่ งนว้ี า่ ‘เราจกั ไมย่ ดึ มนั่ วญิ ญาณญั - จายตนฌาน และวิญญาณทอี่ าศยั วญิ ญาณญั จายตนฌาน จักไมม่ แี ก่เรา’ พึงส�ำเหนียกอย่างนี้ว่า ‘เราจักไม่ยึดมั่นอากิญจัญ- ญายตนฌาน และวญิ ญาณทอ่ี าศยั อากญิ จญั ญายตนฌาน จกั ไมม่ แี ก่เรา’ พึงส�ำเหนียกอย่างนวี้ า่ ‘เราจักไม่ยึดมน่ั เนวสญั ญา- นาสัญญายตนฌาน และวิญญาณท่ีอาศัยเนวสัญญานา- สญั ญายตนฌานจกั ไม่มแี ก่เรา’ ดูกรคฤหบดี ทา่ นพึงสำ� เหนียกไวอ้ ย่างน้เี ถดิ ฯ 78 www.kalyanamitra.org

ดูกรคฤหบดี เพราะฉะนั้นแล ท่านพึงส�ำเหนียกอย่างนี้ว่า ‘เราจักไม่ยึดม่ันโลกน้ี และวญิ ญาณท่อี าศยั โลกนจ้ี ักไม่มีแกเ่ รา’ พึงส�ำเหนียกอย่างน้ีว่า ‘เราจักไม่ยึดม่ันโลกหน้า และวิญญาณที่อาศัยโลกหน้าจกั ไมม่ แี กเ่ รา’ ดูกรคฤหบดี ท่านพงึ สำ� เหนยี กไวอ้ ยา่ งน้ีเถิด ฯ ดูกรคฤหบดี เพราะฉะนั้นแล ทา่ นพึงส�ำเหนียกอย่างนว้ี า่ ‘อารมณใ์ ดทเ่ี ราไดเ้ ห็น ไดฟ้ ัง ได้ทราบ ได้ร้แู จง้ ได้แสวงหา ได้พิจารณาดว้ ยใจ แล้ว เราจกั ไม่ยึดม่นั อารมณแ์ มน้ ้ัน และวญิ ญาณทีอ่ าศัย อารมณ์น้นั จักไม่มแี ก่เรา’ ดูกรคฤหบดี ทา่ นพึงสำ� เหนยี กไว้อยา่ งน้ีเถิด ฯ เมื่อท่านพระสารีบุตรกล่าวแล้วอย่างน้ี อนาถบิณ- ฑิกคฤหบดี รอ้ งไห้ นำ้� ตาไหล ขณะน้ันท่านพระอานนท์ได้กล่าวกะอนาถบิณฑิก คฤหบดดี ังน้ีวา่ “ดกู รคฤหบดี ท่านยงั อาลยั ใจจดใจจ่ออยู่ หรอื ? ฯ” อนาถบณิ ฑกิ . “ขา้ แตพ่ ระอานนทผ์ เู้ จรญิ กระผมมไิ ด้ อาลัย มิได้ใจจดใจจ่อ แต่ว่ากระผมได้น่ังใกล้พระศาสดา อนาถปิณฑิโกวาทสูตร 79 www.kalyanamitra.org

และหมภู่ ิกษุที่นา่ เจริญใจมาแลว้ นาน ไมเ่ คยไดส้ ดบั ธรรมี กถาเหน็ ปานนี้ ฯ” พระอานนท.์ “ดกู รคฤหบดี ธรรมกี ถาเหน็ ปานน้ี มไิ ด้ แจม่ แจง้ แกค่ ฤหสั ถผ์ นู้ งุ่ ผา้ ขาว แตแ่ จม่ แจง้ แกบ่ รรพชติ ฯ” อนาถบณิ ฑกิ . “ขา้ แตพ่ ระสารบี ตุ รผเู้ จรญิ ถา้ อยา่ งนนั้ ขอธรรมกี ถาเหน็ ปานน้ี จงแจม่ แจง้ แกค่ ฤหสั ถผ์ นู้ งุ่ ผา้ ขาว บา้ งเถิด เพราะมกี ลุ บตุ รผู้เกิดมามีกเิ ลสธุลีในดวงตาน้อย จะเสอื่ มคลายจากธรรม จะเปน็ ผไู้ มร่ ธู้ รรม โดยมไิ ดส้ ดบั ฯ” ครั้งน้ันแล ท่านพระสารีบุตรและท่านพระอานนท์ กล่าวสอนอนาถบิณฑิกคฤหบดีด้วยโอวาทน้ีแล้ว จึงลุก จากอาสนะหลีกไป ฯ ต่อน้ัน อนาถบิณฑิกคฤหบดีเมื่อท่านพระสารีบุตร และทา่ นพระอานนทห์ ลกี ไปแลว้ ไมน่ าน กไ็ ดท้ ำ� กาลกริ ยิ า เขา้ ถึงชั้นดุสติ แล ครัง้ น้นั ลว่ งปฐมยามไปแลว้ อนาถบิณฑิกเทพบตุ ร มีรัศมีงามส่องพระวิหารเชตวันให้สว่างไปทั่ว เข้าไปเฝ้า พระผู้มีพระภาคยังท่ีประทับ แล้วถวายอภิวาทพระผู้มี- พระภาค ยนื ณ ทค่ี วรส่วนข้างหนงึ่ พอยนื เรียบร้อยแล้ว ไดก้ ราบทลู พระผู้มพี ระภาคด้วยคาถาเหล่านี้วา่ 80 www.kalyanamitra.org

พระเชตวันน้ีมีประโยชน์ อันสงฆ์ผู้แสวงบุญอยู่ อาศยั แลว้ อนั พระองค์ผูเ้ ปน็ ธรรมราชาประทบั เป็นทเ่ี กิด ปีติแก่ข้าพระองค์ สัตว์ทั้งหลายย่อมบริสุทธิ์ด้วยธรรม ๕ อย่างน้ี คือ กรรม ๑ วิชชา ๑ ธรรม ๑ ศีล ๑ ชวี ิตอดุ ม ๑ ไม่ใช่บริสุทธิ์ด้วยโคตร หรือด้วยทรัพย์ เพราะฉะนั้นแล บคุ คลผเู้ ปน็ บณั ฑติ เมอ่ื เลง็ เหน็ ประโยชนข์ องตน พงึ เลอื ก เฟ้นธรรมโดยแยบคาย จะบริสุทธิ์ในธรรมน้ันได้ด้วย อาการน้ี พระสารีบุตรนั้นแล ย่อมบริสุทธ์ิได้ด้วยปัญญา ด้วยศีล และด้วยความสงบ ความจริง ภิกษุผู้ถึงฝั่งแล้ว จะอยา่ งยิง่ กเ็ ท่าพระสารบี ตุ รนี้ ฯ อนาถบิณฑิกเทวบุตรกล่าวดังน้ีแล้ว พระศาสดา ทรงพอพระทัย ต่อน้ันอนาถบิณฑิกเทวบุตรทราบว่า ‘พระศาสดาทรงพอพระทัย’ จึงถวายอภิวาทพระผู้มี- พระภาค แลว้ กระทำ� ประทกั ษณิ หายตวั ไป ณ ทนี่ น้ั เอง ฯ คร้งั นั้นแล พอล่วงราตรีนนั้ ไปแลว้ พระผ้มู พี ระภาค ตรัสกะภิกษุทั้งหลายว่า “ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อคืนนี้ ล่วงปฐมยามไปแล้ว มีเทวบุตรตนหนึ่ง มีรัศมีงาม ส่อง พระวหิ ารเชตวนั ให้สวา่ งทั่ว เขา้ มาหาเรายงั ทีอ่ ยู่ อภิวาท อนาถปิณฑิโกวาทสูตร 81 www.kalyanamitra.org

เราแลว้ ไดย้ นื ณ ทคี่ วรสว่ นขา้ งหนง่ึ พอยนื เรยี บรอ้ ยแลว้ ได้กล่าวกะเราด้วยคาถาน้ีวา่ พระเชตวันนี้มีประโยชน์ อันสงฆ์ผู้แสวงบุญอยู่ อาศัยแลว้ อันพระองคผ์ เู้ ปน็ ธรรมราชาประทบั เปน็ ทเี่ กดิ ปีติแก่ข้าพระองค์ สัตว์ท้ังหลายย่อมบริสุทธ์ิด้วยธรรม ๕ อยา่ งน้ี คือ กรรม ๑ วชิ ชา ๑ ธรรม ๑ ศีล ๑ ชีวติ อุดม ๑ ไม่ใช่บริสุทธิ์ด้วยโคตร หรือด้วยทรัพย์ เพราะฉะนั้นแล บคุ คลผเู้ ปน็ บณั ฑติ เมอื่ เลง็ เหน็ ประโยชนข์ องตน พงึ เลอื ก เฟ้นธรรมโดยแยบคาย จะบริสุทธ์ิในธรรมน้ันได้ด้วย อาการน้ี พระสารีบุตรนั้นแล ย่อมบริสุทธิ์ได้ด้วยปัญญา ด้วยศีล และด้วยความสงบ ความจริง ภิกษุผู้ถึงฝั่งแล้ว จะอยา่ งย่ิงกเ็ ทา่ พระสารบี ตุ รน้ี ฯ ดกู รภกิ ษทุ ง้ั หลาย เทวบตุ รนนั้ ไดก้ ลา่ วดงั นแ้ี ลว้ รวู้ า่ ‘พระศาสดาทรงพอพระทัย’ จึงอภิวาทเรา แล้วกระท�ำ ประทกั ษิณ หายตวั ไป ณ ท่ีนั้นแล ฯ” เม่อื พระผู้มพี ระภาคตรัสแลว้ อยา่ งนี้ ทา่ นพระอานนทไ์ ดก้ ราบทลู พระผมู้ พี ระภาคดงั นว้ี า่ 82 www.kalyanamitra.org

“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ก็เทวบุตรน้ัน คงจักเป็น อนาถบิณฑิกเทวบุตรแน่ เพราะอนาถบิณฑิกคฤหบดีได้ เป็นผ้เู ล่อื มใสแลว้ ในทา่ นพระสารบี ุตร ฯ” พระผู้มีพระภาค. “ดกู รอานนท์ ถกู แล้วๆ เทา่ ทค่ี าด คะเนนน้ั แล เธอลำ� ดับเรอ่ื งถกู แลว้ เทวบตุ รน้นั คือ อนาถ บิณฑกิ เทวบุตร มิใช่อืน่ ฯ” พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว ท่านพระ- อานนทจ์ งึ ชนื่ ชมยนิ ดพี ระภาษติ ของพระผมู้ พี ระภาคแล ฯ อนาถปิณฑิโกวาทสูตร 83 www.kalyanamitra.org

84 www.kalyanamitra.org

๗. สริ ิวฑั ฒสตู ร๑๒ ผเู้ จริญสตปิ ัฏฐาน ๔ ได้อนาคามผิ ล สมยั หนง่ึ ทา่ นพระอานนทอ์ ยู่ ณ พระวหิ ารเวฬวุ นั กลันทกนวิ าปสถาน ใกลพ้ ระนครราชคฤห์ ก็สมัยน้ัน สิริวัฑฒคฤหบดีอาพาธ ได้รับทุกข์ เป็นไข้หนัก คร้ังน้ันสิริวัฑฒคฤหบดีเรียกบุรุษคนหนึ่ง มาส่ังว่า “มานี่แน่ะบุรุษผู้เจริญ ท่านจงเข้าไปหาท่าน พระอานนทถ์ งึ ทอ่ี ยู่ ครนั้ แลว้ จงกราบเทา้ ทง้ั สองของทา่ น ด้วยเศียรเกล้า ตามค�ำของเราว่า ‘ข้าแต่ท่านผู้เจริญ สิริวัฑฒคฤหบดีอาพาธ ได้รับทุกข์ เป็นไข้หนัก เขาขอ กราบเทา้ ทง้ั สองของทา่ นพระอานนทด์ ว้ ยเศยี รเกลา้ ’ ดงั น้ี และจงเรยี นอย่างนีว้ า่ ‘ขา้ แตท่ า่ นผเู้ จรญิ ไดโ้ ปรดเถดิ ขอทา่ นพระอานนท์ จงอาศัยความอนุเคราะห์ เข้าไปยังนิเวศน์ของสิริวัฑฒ- คฤหบดเี ถดิ ’ ” ๑๒ ส.ํ ม., ล.๓๐, น.๔๗๒, มมร. สิริวัฑฒสูตร 85 www.kalyanamitra.org

บรุ ษุ นนั้ รบั คำ� สริ วิ ฑั ฒคฤหบดแี ลว้ จงึ เขา้ ไปหาทา่ น พระอานนทถ์ งึ ทอ่ี ยู่ นมสั การท่านพระอานนทแ์ ล้ว จงึ นง่ั ณ ทคี่ วรสว่ นข้างหนึง่ ครน้ั แล้วไดเ้ รยี นทา่ นพระอานนท์ วา่ “ขา้ แตท่ า่ นผเู้ จรญิ สริ วิ ฑั ฒคฤหบดอี าพาธ ไดร้ บั ทกุ ข์ เปน็ ไขห้ นกั ทา่ นขอกราบเทา้ ทง้ั สองของทา่ นพระอานนท์ ดว้ ยเศยี รเกลา้ และสง่ั ใหเ้ รยี นอยา่ งนว้ี า่ ‘ขา้ แตท่ า่ นผเู้ จรญิ ไดโ้ ปรดเถดิ ขอทา่ นพระอานนทจ์ งอาศยั ความอนเุ คราะห์ เขา้ ไปยงั นิเวศน์ของสริ ิวัฑฒคฤหบดเี ถดิ ’” ท่านพระอานนทร์ ับค�ำด้วยดษุ ณีภาพ. คร้ังนัน้ เวลาเช้า ทา่ นพระอานนทน์ ุ่งแล้ว ถือบาตร และจีวรเข้าไปยังนิเวศน์ของสิริวัฑฒคฤหบดี แล้วน่ังบน อาสนะท่ีเขาปูถวาย ครั้นแล้วได้ถามสิริวฑั ฒคฤหบดีวา่ “ดูกรคฤหบดี ท่านพอจะอดทนได้หรือ พอจะยัง อัตภาพให้เป็นไปได้หรือ ? ทุกขเวทนาย่อมคลายลง ไม่ก�ำเริบขึ้นหรือ ? ความทุเลาปรากฏ ความก�ำเริบ ไม่ปรากฏหรือ ?” สริ ิวัฑฒคฤหบดีตอบว่า “ข้าแตท่ ่านผเู้ จรญิ กระผม อดทนไม่ได้ ยังอัตภาพให้เป็นไปไม่ได้ ทุกขเวทนาของ 86 www.kalyanamitra.org

กระผมก�ำเริบหนัก ไม่เสื่อมคลายไปเลย ความก�ำเริบ ปรากฏอยู่ ความทุเลาไม่ปรากฏ.” พระอานนท์. “ดูกรคฤหบดี เพราะเหตุนั้นแหละ ทา่ นพงึ ศึกษาอยา่ งน้ีว่า ‘เราจักพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มสี ติ กำ� จดั อภิชฌาและโทมนัสในโลกเสยี จกั พจิ ารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู.่ .. จักพิจารณาเหน็ จติ ในจิตอย.ู่ .. จกั พิจารณาเหน็ ธรรมในธรรมอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มสี ติ ก�ำจัดอภชิ ฌาและ โทมนัสในโลกเสีย ดกู รคฤหบดที ่านพงึ ศึกษาอยา่ งนี้แล.” สิริวัฑฒคฤหบดี. “ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ธรรมคือ สติปัฏฐาน ๔ เหล่าใด ท่ีพระผู้มีพระภาคทรงแสดงแล้ว ธรรมเหล่านั้นมีอยู่ในกระผม และกระผมย่อมเห็นชัด ในธรรมเหลา่ นนั้ กก็ ระผมยอ่ มพจิ ารณาเหน็ กายในกายอยู่ มคี วามเพยี ร มสี มั ปชญั ญะ มสี ติ กำ� จดั อภชิ ฌาและโทมนสั ในโลกเสยี ย่อมพิจารณาเหน็ เวทนาในเวทนาอยู่... สิริวัฑฒสูตร 87 www.kalyanamitra.org

ยอ่ มพจิ ารณาเห็นจิตในจติ อยู่ ... ย่อมพจิ ารณาเหน็ ธรรมในธรรมอยู่ มีความเพียร มสี ัมปชญั ญะ มีสติ ก�ำจัดอภชิ ฌาและ โทมนัสในโลกเสยี . ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ก็สังโยชน์อันเป็นส่วนเบื้องต่�ำ ๕ เหลา่ ใด ทพ่ี ระผมู้ พี ระภาคทรงแสดงไว้ กระผมยงั ไมแ่ ล เหน็ สงั โยชน์ขอ้ ใดขอ้ หน่ึง ทยี่ ังละไม่ไดแ้ ลว้ ในตน.” พระอานนท์. “ดูกรคฤหบดี เปน็ ลาภของทา่ น ทา่ น ได้ดแี ลว้ อนาคามผิ ลอันทา่ นกระทำ� ให้แจ้งแลว้ .” 88 www.kalyanamitra.org

๘. นารทสตู ร๑๓ ว่าด้วยฐานะ ๕ ท่ใี ครๆ ในโลกไมพ่ ึงได้ สมัยหนึ่ง ท่านพระนารทะอยู่ที่กุกกุฏาราม ใกล้ พระนครปาตลีบุตร กส็ มัยนัน้ พระนางภัททาราชเทวี ผเู้ ป็นทีร่ ัก เป็นท่ี พอพระทยั แห่งพระราชาพระนามวา่ ‘มณุ ฑะ’ ไดท้ ิวงคต เมื่อพระนางภัททาราชเทวี ผู้เป็นท่ีรักเป็นท่ีพอ พระทัย ทิวงคตไปแล้ว พระราชาก็ไม่สรงสนาน ไม่ทรง แต่งพระองค์ ไม่เสวย ไม่ทรงประกอบพระราชกรณียกิจ ทรงซบเซาอยู่ทีพ่ ระศพพระนาง ตลอดคืนตลอดวนั คร้ังนั้น พระราชาได้ตรัสสั่งมหาอ�ำมาตย์ช่ือว่า ‘โสการักขะ’ ผู้เป็นที่รักว่า “ท่านโสการักขะผู้เป็นท่ีรัก ท่านจงยกพระศพพระนางภัททาราชเทวี ลงในรางเหล็ก ท่ีเต็มด้วยน�้ำมัน แล้วปิดด้วยรางเหล็กอันอื่นอีก เพื่อให้ เราไดเ้ หน็ พระศพพระนางนานไดเ้ ท่าไรยิง่ ด”ี ๑๓ อัง.ปญั จ.,ล.๓๖,น.๑๑๕,มมร. นารทสูตร 89 www.kalyanamitra.org

90 www.kalyanamitra.org

โสการกั ขะมหาอำ� มาตยร์ บั สนองพระบรมราชโองการ แล้ว ก็ได้จัดการยกพระศพพระนางลงในรางเหล็กท่ีเต็ม ด้วยน้ำ� มัน แลว้ ปิดดว้ ยรางเหลก็ อันอื่นอกี คร้ังน้ัน โสการักขะมหาอ�ำมาตย์จึงคิดว่า ‘เมื่อ พระนางภัททาราชเทวี ผู้เป็นที่รัก ท่ีพอพระทัย แห่ง พระเจา้ มณุ ฑะน้ี ไดท้ วิ งคตไปแลว้ พระราชาไมส่ รงสนาน ไม่ทรงแต่งพระองค์ ไม่เสวย ไม่ทรงประกอบพระราช- กรณียกิจ ทรงซบเซาอยู่ท่ีพระศพพระนางตลอดคืน ตลอดวนั พระราชาพงึ เสดจ็ เขา้ ไปหาสมณะหรอื พราหมณ์ รูปใดหนอ ได้ทรงสดับธรรมแล้ว จะพึงทรงละลูกศร คือ ความโศกได’้ ล�ำดับนั้น โสการักขะมหาอ�ำมาตย์จึงคิดว่า ‘ท่าน พระนารทะรูปน้ี อยทู่ ี่กุกกฏุ าราม ใกลพ้ ระนครปาตลีบุตร กก็ ติ ตศิ พั ทอ์ นั งามของทา่ นพระนารทะขจรไปแลว้ อยา่ งน้ี ว่า เป็นบัณฑิต ฉลาด มีปัญญา เป็นพหูสูต มีถ้อยค�ำ วิจิตร มีปฏิภาณดีงาม เป็นวุฑฒบุคคล และเป็น พระอรหันต์ จึงควรท่ีพระเจ้ามุณฑะจะเสด็จเข้าไปหา เพอื่ บางทไี ดท้ รงสดบั ธรรมของทา่ นแลว้ พึงทรงละลกู ศร คือ ความโศกได้’ นารทสูตร 91 www.kalyanamitra.org

ล�ำดับนั้น โสการักขะมหาอ�ำมาตย์จึงเข้าไปเฝ้า พระเจา้ มณุ ฑะ แลว้ กราบทลู วา่ “ขอเดชะ ทา่ นพระนารทะ รปู นี้ อยทู่ ก่ี กุ กฏุ าราม ใกลพ้ ระนครปาตลบี ตุ ร กก็ ติ ตศิ พั ท์ อันงามของท่านพระนารทะขจรไปแล้วอย่างนี้ว่า เป็น บัณฑิต ฉลาด มีปัญญา เป็นพหูสูต มีถ้อยค�ำอันวิจิตร มีปฏิภาณดีงาม เป็นวุฑฒบุคคล๑๔ และเป็นพระอรหันต์ ก็ถ้าพระองค์จะพึงเสด็จเข้าไปหาท่านแล้วไซร้ บางที ได้ทรงสดับธรรมของท่านแล้ว พึงทรงละลูกศร คือ ความโศกได”้ พระเจ้ามุณฑะจึงตรัสส่ังว่า “ท่านโสการักขะ ถ้า เช่นน้ัน ท่านจงไปบอกท่านพระนารทะให้ทราบ เพราะ กษัตริย์เช่นเราพึงเข้าใจว่า ‘สมณะหรือพราหมณ์ที่อยู่ใน ราชอาณาจักร ยังไม่ได้แจ้งให้ทราบก่อนจะพึงเข้าไปหา ได้อยา่ งไร ?’ ” ๑๔ แบ่งเป็น ๓ จ�ำพวกคือ ๑. ชาติวุฑฒะ คนท่ีเจริญโดยชาติ, ๒. วยวฑุ ฒะ คนเจรญิ โดยวัย, ๓. คณุ วุฑฒะ คนท่ีเจริญดว้ ยคณุ ผู้มากด้วยความรู้, พระพุทธเจ้าได้ตรัสสรรเสริญคนที่เคารพต่อ วุฑฒบุคคล ๓ จ�ำพวกนไ้ี วว้ า่ เปน็ ผูเ้ จริญด้วยเกียรติยศชอ่ื เสยี ง 92 www.kalyanamitra.org

โสการักขะมหาอ�ำมาตย์รับสนองพระบรมราช- โองการแล้ว ไดเ้ ข้าไปหาท่านพระนารทะ อภวิ าทแล้วนง่ั ณ ทีค่ วรส่วนขา้ งหนึง่ คร้ันแล้ว กล่าวว่า “ข้าแต่ท่านผู้เจริญ พระนาง ภัททาราชเทวผี ูเ้ ป็นทีร่ กั ท่ีพอพระทัยแห่งพระเจ้ามุณฑะ นี้ ไดท้ ิวงคตแล้ว เม่ือพระนางภัททาราชเทวีผู้เป็นที่รัก ท่ีพอพระทัย ได้ทิวงคตไปแล้ว พระราชาก็ไม่สรงสนาน ไม่ทรงแต่ง พระองค์ไม่เสวย ไม่ทรงประกอบพระราชกรณียกิจ ทรง ซบเซาอยู่ท่พี ระศพแห่งพระนางภัททาราชเทวี ตลอดคืน ตลอดวัน ขอท่านพระนารทะจงแสดงธรรมแก่พระราชา โดยให้พระราชาพึงทรงละลูกศร คือความโศกได้ เพราะ ได้ทรงสดับธรรมของทา่ นพระนารทะ” ทา่ นพระนารทะจงึ กลา่ ววา่ “ดกู รมหาอำ� มาตย์ ขอให้ พระราชาทรงทราบเวลาที่ควร ณ บดั น”ี้ ล�ำดับน้ัน โสการักขะมหาอ�ำมาตย์ลุกจากท่ีน่ัง อภิวาทท่านพระนารทะ ท�ำประทักษิณเสร็จแล้ว ได้เข้า ไปเฝ้าพระเจ้ามุณฑะแล้ว กราบทูลว่า “ขอเดชะ ท่านพระนารทะได้เปิดโอกาสให้เสด็จไปหาได้แล้ว บัดน้ี ขอพระองค์จงทรงทราบเวลาที่ควรเถิดพระเจ้าขา้ ” นารทสูตร 93 www.kalyanamitra.org

พระเจา้ มณุ ฑะตรสั วา่ “ถา้ เชน่ นน้ั ทา่ นจงใหพ้ นกั งาน เทยี มพาหนะที่ดๆี ไว้” โสการักขะมหาอ�ำมาตย์ รับสนองพระบรมราช- โองการแล้ว ได้ให้พนักงานเทียมพระราชพาหนะที่ดีๆ ไว้เสรจ็ แล้ว จึงกราบทูลว่า “ขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้าได้ให้ พนักงานเทียมพระราชพาหนะท่ีดีๆ ไว้เสร็จแล้ว ขอ พระองค์ จงทรงทราบเวลาทค่ี วรเถดิ พระเจา้ ขา้ ” ลำ� ดบั นนั้ พระเจา้ มณุ ฑะ เสดจ็ ขน้ึ ทรงพระราชพาหนะ ท่ีดีๆ ไปสู่กุกกุฏาราม เพ่ือพบปะกับท่านพระนารทะ ดว้ ยพระราชานุภาพอยา่ งใหญ่ยิง่ เสด็จไปเทา่ ทพ่ี ระราช- พาหนะจะไปได้ เสด็จลงจากพระราชพาหนะแล้ว เสด็จ พระราชด�ำเนินเข้าไปสู่อาราม เข้าไปหาท่านพระนารทะ ทรงอภิวาทแล้ว ประทบั ณ ทค่ี วรส่วนขา้ งหนงึ่ ครน้ั แลว้ ทา่ นพระนารทะไดก้ ลา่ วกะพระเจา้ มณุ ฑะ ว่า “ขอถวายพระพร ฐานะ ๕ ประการนี้ อันสมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรอื ใครๆ ในโลกไมพ่ งึ ได้ ฐานะ ๕ ประการเปน็ ไฉน คือ ฐานะวา่ ขอส่งิ ทีม่ คี วามแก่เปน็ ธรรมดา [ของเรา] อยา่ แก่ ๑ 94 www.kalyanamitra.org

ขอส่ิงท่ีมีความเจ็บไข้เป็นธรรมดา [ของเรา] อย่า เจบ็ ไข้ ๑ ขอสง่ิ ทมี่ คี วามตายเปน็ ธรรมดา [ของเรา] อยา่ ตาย ๑ ขอสิ่งที่มีความสิ้นไปเป็นธรรมดา [ของเรา] อย่า ส้ินไป ๑ ขอสิ่งที่มีความฉิบหายเป็นธรรมดา [ของเรา] อย่า ฉบิ หายไป ๑ อันสมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรอื ใครๆ ในโลก ไม่พึงได้ ขอถวายพระพร สิ่งท่ีมีความแก่เป็นธรรมดาของปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ย่อมแก่ไป เมื่อส่ิงท่ีมีความแก่เป็นธรรมดาแก่ไปแล้ว เขาย่อมไม่พิจารณาเห็นดังน้ีว่า ‘ไม่ใช่ส่ิงที่มีความแก่ เป็นธรรมดาของเราผู้เดยี วเทา่ นัน้ แกไ่ ป โดยท่แี ท้ ส่ิงทีม่ ี ความแก่เป็นธรรมดาของสัตว์ทั้งปวงที่มีการมา การไป การจุติ การอุปบตั ิ๑๕ ยอ่ มแกไ่ ปทัง้ ส้ิน’ ส่วนเราเอง ก็เมื่อส่ิงที่มีความแก่เป็นธรรมดาแก่ ไปแล้ว พึงเศรา้ โศก ล�ำบาก รำ�่ ไร ทบุ อก คร่�ำครวญ หลง งมงาย แม้อาหารเราก็ไม่อยากรับประทาน แม้กายก็พึง ๑๕ อา่ นวา่ อปุ ะบดั อบุ ปะบดั น. การเขา้ ถงึ เชน่ คตอิ ปุ บตั ิ = การเขา้ ถงึ คติ การเกิด. (ป. อุปปตตฺ ิ).ปัจจุบันใช้วา่ อบุ ตั ิ นารทสูตร 95 www.kalyanamitra.org

เศร้าหมอง ซูบผอม แม้การงานก็พึงหยุดชะงัก แม้พวก อมิตรก็พงึ ดใี จ แมพ้ วกมติ รก็พงึ เสยี ใจ ดังนี้ เมอ่ื สิง่ ทีม่ คี วามแก่เป็นธรรมดาแก่ไปแล้ว เขายอ่ ม เศร้าโศก ล�ำบาก ร�่ำไร ทุบอก คร�่ำครวญ หลงงมงาย นเ้ี รยี กว่า ‘ปถุ ุชนผู้ไม่ได้สดับ’ ถกู ลกู ศร คือ ความโศกที่มี พิษเสียบแทงเข้าแล้ว ย่อมท�ำตนให้เดือดร้อน ขอถวาย พระพร อกี ประการหนง่ึ สงิ่ ทมี่ คี วามเจบ็ ไขเ้ ปน็ ธรรมดาของ ปุถุชนผไู้ ม่ไดส้ ดับ ยอ่ มเจบ็ ไข้... สิ่งที่มคี วามตายเป็นธรรมดาของปถุ ุชนผไู้ ม่ไดส้ ดับ ยอ่ มตายไป... สิ่งที่มีความสิ้นไปเป็นธรรมดาของปุถุชนผู้ไม่ได้ สดบั ยอ่ มสิ้นไป ... ส่ิงที่มีความฉิบหายเป็นธรรมดาของปุถุชนผู้ไม่ได้ สดบั ย่อมฉิบหายไป เม่ือสิ่งท่ีมีความฉิบหายเป็นธรรมดาฉิบหายไปแล้ว เขายอ่ มไมพ่ จิ ารณาเหน็ ดงั นว้ี า่ ‘ไมใ่ ชส่ ง่ิ ทม่ี คี วามฉบิ หาย เป็นธรรมดาของเราผู้เดียวเท่านั้น ฉิบหายไป โดยท่ีแท้ สง่ิ ทมี่ คี วามฉบิ หายเปน็ ธรรมดาของสตั วท์ ง้ั ปวง ทมี่ กี ารมา การไป การจุติ การอุปบัติย่อมฉบิ หายไปทั้งส้ิน’ 96 www.kalyanamitra.org

สว่ นเราเอง กเ็ มอื่ สง่ิ ทมี่ คี วามฉบิ หายไปเปน็ ธรรมดา ฉบิ หายไปแลว้ พงึ เศรา้ โศก ลำ� บาก รำ�่ ไร ทบุ อก ครำ�่ ครวญ หลงงมงาย แม้อาหารเราก็ไม่อยากรับประทาน แม้กาย ก็พึงเศร้าหมอง ซูบผอม แม้การงานก็พึงหยุดชะงัก แมพ้ วกอมิตรกพ็ งึ ดใี จ แม้พวกมติ รกพ็ ึงเสยี ใจ ดังนี้ เม่ือส่ิงท่ีมีความฉิบหายเป็นธรรมดาฉิบหายไปแล้ว เขาย่อมเศร้าโศก ล�ำบาก ร�่ำไร ทุบอก คร�่ำครวญ หลงงมงาย นเ้ี รียกวา่ ’ ปถุ ุชนผ้ไู ม่ไดส้ ดับ’ ถกู ลูกศร คอื ความโศกทม่ี พี ษิ เสยี บแทงเขา้ แลว้ ยอ่ มทำ� ตนใหเ้ ดอื ดรอ้ น ขอถวายพระพร ส่วนว่า ส่ิงที่มีความแก่เป็นธรรมดาของอริยสาวก ผู้ได้สดับ ย่อมแก่ไป เม่ือสิ่งที่มีความแก่เป็นธรรมดา แก่ไปแล้ว อริยสาวกนั้นย่อมพิจารณาเห็นดังน้ีว่า ‘ไม่ใช่ สิ่งท่ีมีความแก่เป็นธรรมดาของเราผู้เดียวเท่านั้นแก่ไป โดยท่ีแท้ ส่ิงท่ีมีความแก่เป็นธรรมดาของสัตว์ทั้งปวง ท่ีมีการมา การไป การจุติ การอปุ บตั ิ ยอ่ มแก่ไปท้ังส้นิ ’ ส่วนเราเอง ก็เม่ือส่ิงที่มีความแก่เป็นธรรมดา แกไ่ ปแล้ว พึงเศร้าโศก ลำ� บาก ร่�ำไร ทุบอก คร�่ำครวญ หลงงมงาย แม้อาหารเราก็ไม่อยากรับประทาน แม้กาย นารทสูตร 97 www.kalyanamitra.org

ก็พึงเศร้าหมอง ซูบผอม แม้การงานก็พึงหยุดชะงัก แม้พวกอมติ รกพ็ งึ ดใี จ แมพ้ วกมิตรกพ็ ึงเสยี ใจ ดงั นี’้ เมอ่ื สง่ิ ทมี่ คี วามแกเ่ ปน็ ธรรมดาแกไ่ ปแลว้ อรยิ สาวก นั้นย่อมไม่เศร้าโศก ไม่ล�ำบาก ไม่ร่�ำไร ไม่ทุบอก คร�่ำครวญ ไมห่ ลงงมงาย น้ีเรียกวา่ ‘อริยสาวกผู้ได้สดบั ’ ถอนลกู ศร คอื ความโศกท่มี ีพษิ อันเป็นเครอ่ื งเสยี บแทง ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ท�ำตนให้เดือดร้อน อริยสาวกผู้ไม่มี ความโศก ปราศจากลกู ศร ยอ่ มดบั ทกุ ขร์ อ้ นไดด้ ว้ ยตนเอง ขอถวายพระพร อกี ประการหนง่ึ สงิ่ ทมี่ คี วามเจบ็ ไขเ้ ปน็ ธรรมดาของ อรยิ สาวกผู้ได้สดบั ย่อมเจบ็ ไข้... สงิ่ ทมี่ คี วามตายเปน็ ธรรมดาของอรยิ สาวกผไู้ ดส้ ดบั ย่อมตายไป ... ส่ิงที่มีความสิ้นไปเป็นธรรมดาของอริยสาวกผู้ได้ สดบั ย่อมส้ินไป ... สิ่งที่มีความฉิบหายเป็นธรรมดาของอริยสาวกผู้ได้ สดับ ย่อมฉิบหายไป เมื่อส่ิงท่ีมีความฉิบหายไปเป็น ธรรมดา ฉิบหายไปแล้ว 98 www.kalyanamitra.org

อรยิ สาวกนัน้ ย่อมพจิ ารณาเห็นดังน้วี ่า ‘ไมใ่ ชส่ ง่ิ ท่มี ี ความฉบิ หายเปน็ ธรรมดาของเราผเู้ ดยี วเทา่ นน้ั ฉบิ หายไป โดยทแี่ ท้ สง่ิ ทม่ี คี วามฉบิ หายเปน็ ธรรมดาของสตั วท์ ง้ั ปวง ที่มีการมา การไป การจุติ การอุปบัติ ย่อมฉิบหายไป ทั้งส้นิ ’ ส่วนเราเอง ก็เม่ือส่ิงที่มีความฉิบหายเป็นธรรมดา ฉบิ หายไปแลว้ พงึ เศรา้ โศก ลำ� บาก รำ�่ ไร ทบุ อก ครำ่� ครวญ หลงงมงาย แม้อาหารเราก็ไม่อยากรับประทาน แม้กาย ก็พึงเศร้าหมอง ซูบผอม แม้การงานก็พึงหยุดชะงัก แม้พวกอมติ รก็พงึ ดีใจ แม้พวกมิตรกพ็ งึ เสยี ใจ ดงั นี้ เมื่อสิ่งที่มีความฉิบหายเป็นธรรมดาฉิบหายไปแล้ว อรยิ สาวกนนั้ ยอ่ มไมเ่ ศรา้ โศก ไมล่ ำ� บาก ไมร่ ำ�่ ไร ไมท่ บุ อก คร่�ำครวญ ไม่หลงงมงาย นเ้ี รียกวา่ ‘อรยิ สาวกผ้ไู ด้สดบั ’ ถอนลกู ศร คือ ความเศร้าโศกทม่ี พี ิษ ซงึ่ เสยี บแทงปุถชุ น ผไู้ มไ่ ด้สดบั ท�ำตนใหเ้ ดอื ดร้อน อริยสาวกผูไ้ มม่ ีความโศก ปราศจากลกู ศร ย่อมดบั ทุกข์ร้อนได้ดว้ ยตนเอง ขอถวายพระพร ฐานะ ๕ ประการ นแี้ ล อันสมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใครๆ ในโลกน้ไี ม่พึงได้ ฯ” นารทสูตร 99 www.kalyanamitra.org

ท่านพระนารทะ คร้นั กลา่ วไวยากรณภาษติ น้ีจบลง แลว้ จึงไดก้ ล่าวคาถาประพนั ธ์ตอ่ ไปอีกว่า ประโยชน์แม้เล็กน้อยในโลกน้ี อันใครๆ ย่อมไม่ได้ เพราะการเศร้าโศก เพราะการคร�่ำครวญ พวกอมิตร ทราบว่า ‘เขาเศร้าโศก เป็นทุกข์ ย่อมดีใจ ก็คราวใด บัณฑิตพิจารณารู้เน้ือความ ไม่หวั่นไหวในอันตราย ท้ังหลาย คราวน้ัน พวกอมิตรเห็นหน้า อันไม่ผิดปกติ ของบัณฑิตน้ัน ย้ิมแย้มตามเคยย่อมเป็นทุกข์ บัณฑิต พงึ ได้ประโยชน์ในทใี่ ดๆ ด้วยประการใดๆ เพราะการสรรเสริญ เพราะความรู้ เพราะกล่าว ค�ำสุภาษิต เพราะการบ�ำเพ็ญทาน หรือเพราะประเพณี ของตน ก็พึงบากบ่ันในที่นั้นๆ ด้วยประการนั้นๆ ถ้าพึง ทราบว่า ความต้องการอย่างนี้อันเราหรือผู้อ่ืน ไม่พึงได้ ไซร้ ก็ไม่ควรเศร้าโศก ควรตั้งใจท�ำงานโดยเด็ดขาดว่า ‘บดั น้ีเราท�ำอะไรอยู่ ?’ ดงั นี้ ฯ เมอ่ื ท่านพระนารทะกล่าวจบแล้วอย่างนี้ พระเจ้ามุณฑะได้ตรัสถามว่า “ท่านผู้เจริญ ธรรม ปรยิ ายนีช้ ่อื อะไร ?” ท่านพระนารทะตอบว่า ขอถวายพระพร ธรรม- ปริยายนชี้ อื่ ‘โสกสัลลหรณะ’ ” 100 www.kalyanamitra.org


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook