Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปปริจเฉท ๘

สรุปปริจเฉท ๘

Published by WATKAO, 2021-01-22 06:54:39

Description: สรุปปริจเฉท ๘

Keywords: สรุปปริจเฉท ๘

Search

Read the Text Version

สรุป ปรจิ เฉท ๘ ขอ ๑ ๑. ก. แสดงคาถาปฏิญญาของพระอนุรุท- ธรรมท้งั หลายเหลา ใด คอื สังขตธรรม อสงั ขตธรรม และ ธาจารย ท้งั บาลแี ละคําแปลดงั นี้ บญั ญตั ิธรรม เปน ปจ จัยชว ยอุปการะแกปจ จยปุ บันธรรมเหลา ใด คือ สงั ขตธรรม โดยอาการตา งๆ มีเหตสุ ัตติ อารัมมณสัตติ เยสํ สงฺขตธมฺมานํ เย ธมมฺ า ปจฺจยา ยถา เปนตน บดั น้ี ในปจจยสังคหะนี้ ขา พเจา จะแสดงซึง่ ประเภท ตํ วิภาคมเิ หทานิ ปวกขฺ ามิ ยถารหํ. ตางๆ กนั แหงอาํ นาจการอปุ การะของปจจยั และปจจยุปบนั เหลา นนั้ ตามสมควร [P1] 39, 42, 45, 48, 55, 56, 58 แสดงคาถาบทสดุ ทา ย ดังนี้ โดยนัยดงั ท่ไี ดก ลา วมาแลว นน้ั การหมนุ เวยี นของวัฏฏะ วฏฏมาพนธฺ มิจเฺ จวํ เตภมู กมนาทิกํ ปฏจิ ฺจสมุปปฺ าโทติ ปฏเปสิ มหามุนิ ท้ัง ๓ ทผ่ี กู พันกันอยูไมขาดสาย อนั เกดิ อยูใ นภมู ิ ๓ ซง่ึ เปน ธรรมชาติท่ีหาเบ้อื งตนมิไดนน้ั แหละ พระจอมมุนี ยอมตรสั ไว วา เปนปฏิจจสมปุ บาทดงั นี้ [P ] 56 ๑. แปล พระบาลี ตตฺถ อวิชชฺ าปจจฺ ยา สงขฺ ารา สงขฺ ารปจจฺ ยา วิ ฺาณํ วิ ฺาณปจจฺ ยา นามรูป ฯลฯ ภวปจฺจยา ชาติ ชาติปจฺจยา ชรามรณํ โสกปรเิ ทวทกุ ฺขโทมนสฺสปุ ายาสา สมภฺ วนฺติ เอวเมตสฺส เกวลสฺส ทกุ ขฺ กฺขนธฺ สฺส สมุทโย โหตีติ ? (คูท่ี ๑, ๒, ๓, ๑๐, ๑๑ ดงั น้ี [P2-3] 58(2)) [P2-3] 49, 52, 50, 56, 57, 59 คปทู ุญี่ ๑แญปาลภวิสางั ใขนานรัยอทป้ังุญ๒ญนานั้ ภสิคงัวขามารเปอนาไเปนแญหชง ปาภจ จิสัยังธขรารรมธแรลระมปทจ้ังจ๓ยุปปบรันะธกรารรมนี้โปดรยานกยั ฏแเหกงดิ ปขฎึ้นิจเจพสรมาปุะอบาาศทัยคือ อวิชชา คือ ความไมร ใู นสัจจะ ๔ ความไมรใู นปุพพันตะ ๑ ความไมร ใู นอปรนั ตะ ๑ ความไมร ใู น ปุพพนั ตาปรนั ตะ ๑ ความไมรูในปฏิจจสมปุ บาท ๑ รวม ๘ ประการน้ีเปนเหตุ วญิ คทูญี่ ๒าณ คือ โลกียวิปากจิต ๓๒ ปรากฏเกดิ ขน้ึ เพราะอาศัยสังขาร ๓ เปน เหตุ นคทูาี่ ม๓รูป คือ เจตสิกทปี่ ระกอบกบั โลกยี วิบากและกัมมชรูป ปรากฏเกิดขน้ึ เพราะอาศัยวิญญาณ คอื กศุ ล อกุศล ชคาทู ตี่ ๑ิ ๐คอื (กมั มวิญญาณ) ท่ใี นภพกอนๆ และวิปากวญิ ญาณทใ่ี นภพนเ้ี ปนเหตุ ฯลฯ (53, 56) ความเกิดข้ึนแหงโลกยี วิปากจิต เจตสกิ และกัมมชรูป ปรากฏเกดิ ข้นึ เพราะอาศยั กมั มภวะเปนเหตุ ชคูทร่ีา๑ค๑วามแก มรณะความตาย และโสกะความเศราโศก ปรเิ ทวะการรองไหร ําพนั ทกุ ขะความทุกขกาย โทมนสั สะ ความทุกขใจ อปุ ายาสะความคบั แคน ใจ ท้ัง ๗ น้ี ปรากฏเกดิ ขน้ึ เพราะอาศยั ชาติเปนเหตุ ความเกิดขน้ึ แหง กองทุกขแทๆ ท้ังปวงน้เี พราะอาศยั ปจ จยั ตางๆ มีอวชิ ชาเปน ตน ดงั ทไี่ ดก ลา วมาแลวน้ี ๑. เวทนาปจจฺ ยา ตณฺหา ตณหฺ าปจจฺ ยา อุปาทานํ อปุ าทานปจฺจยา ภโว ภวปจฺจยา ชาติ ชาตปิ จจฺ ยา ชรา มรณํ โสกปรเิ ทวทุกขฺ โทมนสสฺ ปุ ายาสา สมฺภวนตฺ ิ เอวเมตสสฺ เกวลสฺส ทุกฺขกฺขนธฺ สสฺ สมทุ โย โหติ แปลบาลีปฏจิ จสมุปบาท ดังนี้ [P2-3] 44, 54(1ก) ตัณหาค๖ทู ่ี ๗ หรือวา โดยพิสดาร ๑๐๘ มีรปู ตัณหาเปน ตน ปรากฏเกิดขน้ึ เพราะอาศยั เวทนา ๖ เปนเหตุ อปุ าทานค๔ูท่ี ๘มกี ามุปาทานเปนตน ปรากฏเกิดข้ึน เพราะอาศยั ตัณหา ๖ หรือ ๑๐๘ ภวะคูท ่ี ๙ คอื กมั มภวะ และอุปปต ติภวะ ทง้ั ๒ ปรากฏเกิดขน้ึ เพราะอาศยั อุปาทาน ๔ เปนเหตุ เปนเหตุ ชาติ คือ ความเกิดข้นึ แหงโลกียวปิ ากจิต เจตสิก และกมั มชรูป ปรากฏเกดิ ข้ึนเพราะอาศยั กัมมภวะเปน เหตุ ชรา มรณะ และโสกะ ปรเิ ทวะ ทกุ ขะ โทมนสั สะ อปุ ายาสะท้ัง ๗ นี้ ปรากฏเกิดข้ึนเพราะอาศยั ชาติ เปนเหตุ ความเกิดขน้ึ แหงกองทุกขแทๆ ทัง้ ปวงน้ี เพราะอาศยั ปจจยั ตา งๆ มีอวิชชาเปน ตน ดงั ที่ไดกลาวมาแลว นี้ ๑. ค. องคปฏจิ จสมปุ บาทมี ๑๒ คอื ๑. อวิชชา ๒. สังขาร ๓. วิญญาณ ๔. นามรปู ๕. สฬายตนะ ๖. ผสั สะ ๗. เวทนา ๘. ตัณหา ๙. อปุ าทาน ๑๐. ภวะ ๑๑. ชาติ ๑๒. ชรามรณะ (43) จําแนกองคปฏิจจสมุปบาท โดยกาล ๓ ดังน้ีคอื อวิชชา และสงั ขาร ท้ัง ๒ น้ี เปนอตตี กาล คอื เปนธรรมที่เกิดในภพกอนๆ ชาติ ชรามรณะ ทงั้ ๒ (หรือ ๓) น้ี เปนอนาคตกาล คอื เปน ธรรมทเ่ี กิดในภพหนา

มชั ฌิมอาภิธรรมกิ ะโท 2 ปฏิจจสมุปบาท ปฏ ฐาน บญั ญตั ิ : สมถ+วปิ สสนา กรรมฐาน องคธ รรม ๘ ท่ีอยูตรงกลาง คือ วิญญาณ นามรปู สฬายตนะ ผสั สะ เวทนา ตณั หา อปุ าทาน กมั มภวะ เหลาน้ี เปนปจ จบุ นั กาล คือ เปนธรรมที่เกิดในภพนี้ [P4] 36, 43, 46, 51, 49(2ค), 54(1ข), 55(1ข), 59 ๑. ปฏจิ จสมุปบาท (กลา วโดยองค มี ๑๒ แต) เมื่อแสดงโดยประเภทหรืออาการมีมากถงึ ๒๐ นนั้ แสดงการนบั สงเคราะหดงั นี้ สําหรบั ในอัทธา ๓ นน้ั [P5] 36(2), 46, 47, 51, 59(4) โดยยก อวิชชาและสังขารข้ึนแสดงแลว แมตัณหา อปุ าทาน กัมมภวะ ทง้ั ๓ นี้ ก็พงึ นับเขา ในอดีตอทั ธาดว ย โดยการยก ตัณหา อปุ าทาน กัมมภวะ ข้นึ แสดงแลว อวิชชา สงั ขารทัง้ สองน้ี กพ็ งึ นบั เขาในปจจบุ ันอธัทธา ดว ยเหมอื นกัน โดยการยก ชาติ ชรา มรณะ ข้ึนแสดงแลว ผลท้งั ๕ อยา ง อนั ไดแก วญิ ญาณ นามรูป สฬายตนะ ผสั สะ เวทนา ก็พงึ นบั เขาในอนาคตอทั ธาดว ย ฉะนัน้ ประเภทหรืออาการ ๒๐ จงึ เปน ไปดงั นี้  [P5] 36(2), 46, 47, 51, 59(4) อตีเต เหตโว ปฺจ ๑. คาถา อาการ ๒๐ สนั ธิ ๓ สงั เขป ๔ จงึ เปนไปดงั น้ี [P5] 42 อทิ านิ ผลปฺจกํ อิทานิ เหตโว ปจฺ เหตใุ นอดีตภพ มี ๕ คอื อวชิ ชา สงั ขาร ตัณหา อปุ าทาน กมั มภวะ อายตึ ผลปฺจกนตฺ ิ วสี ตาการา ติสนฺธิ ผลในปจ จบุ นั ภพ มี ๕ คือ วญิ ญาณ นามรปู สฬายตนะ ผสั สะ เวทนา จตุสงเฺ ขปา จ ภวนฺติ ฯ เหตใุ นปจจบุ ันภพ มี ๕ คือ ตณั หา อุปาทาน กัมมภวะ อวิชชา สงั ขาร ผลในอนาคตภพ มี ๕ คอื วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผสั สะ เวทนา ๒. ค. ๑. เปนปจ จัยได แตเ ปนปจจยปุ บนั ไมไ ด มี ๑ คอื อวชิ ชา [P ] 48, 45(2ก) ๒. เปนปจ จยุปบันได แตเปนปจ จัยไมได มี ๗ คือ ๑) ชรา ๒) มรณะ ๓) โสกะ ๔) ปรเิ ทวะ ๕) ทกุ ขะ ๖) โทมนสั สะ ๗)อุปายาสะ ๓. เปนปจจยั และปจจยปุ บันไดทั้ง ๒ มี ๑๐ คือ ๑) สงั ขาร ๒) วิญญาณ ๓) นามรปู ๔) สฬายตนะ ๕) ผสั สะ ๖) เวทนา ๗) ตัณหา ๘) อุปาทาน ๙)ภวะ ๑๐)ชาติ ๔. เปนปจ จัย และปจ จยุปบนั ไมไดท้งั ๒ ไมม ี ๑. ก. ปริจเฉท ๘ ทชี่ อ่ื วา ปจ จยสงั คหะนัน้ เพราะพระอนรุ ทุ ธาจารยไดแ สดงรวบรวมธรรมที่เปน ปจ จยั และปจจยุปบัน ตามนยั แหง ปฏจิ จสมปุ บาทและนัยแหง ปฏฐานทั้งหมดอยใู นปริจเฉทน้ี ฉะนั้น ปรจิ เฉท ๘ นจี้ ึงช่ือวา ปจ จยสงั คหะ [P7] 36, 49(2), 52, 57(ก/ค) , 59 ๑. ข. ธรรมที่เปน ปจจัยทแี่ สดงในปฏิจจสมปุ บาทนน้ั เปนปรมัตถล ว นๆ ไมมบี ัญญตั เิ ขาเจือปนดวยเลย สว นธรรมทเ่ี ปน ปจจัยทแี่ สดงในปฏ ฐานนน้ั มที ั้งปรมัตถแ ละบญั ญัติ ดว ยเหตนุ ้ี พระอนรุ ุทธาจารย จึงไดแสดงบัญญตั ิตางๆ ไวในสดุ ทา ยแหง ปรจิ เฉทนี้ [P7] 48, 49(2), 51, 59 (49, 51) สาํ หรบั ธรรมที่เปน ปจจยุปบันน้ัน เปน ปรมตั ถโ ดยสวนเดียว ทง้ั ๒ นัย ๑. ก. ปฏิจจสมุปบาท หมายความวา ธรรมท่เี ปน เหตุ ทท่ี ําใหผ ลธรรมเกิดขน้ึ สมาํ่ เสมอพรอ มกนั โดยอาศัยความพรอมเพรยี งแหงปจ จัยท่ีเกยี่ วเนอ่ื งกบั เหตนุ นั้ ๆ [P] 51 ๑. ข. ปจ จยสงั คหะ หมายความวา การรวบรวมธรรมทเ่ี ปน ปจจัยและปจจยปุ บัน ตามนยั แหงปฏจิ จสมุปบาท และปฏ ฐานทง้ั หมดอยูใ นปรจิ เฉท (ที่ ๘) นี้ [P7] 48, 58 ๑. ค. ธรรมท่เี ปน ปจ จัยในปฏจิ จสมปุ บาท ไดแ ก ปรมัตถลว น ๆ ไมม บี ัญญตั ิเขา เจือปนดว ยเลย สวนธรรมที่เปน ปจ จยั ในปฏ ฐานนนั้ ไดแก ปรมตั ถและบญั ญตั ทิ ้ังหมด [P7] 58 ขอ ๒ ๒. ก. คาํ วา ปจ จยะ หรือ ปจ จยั นั้น หมายความวา เปน เหตขุ องผลท่เี กีย่ วเนื่องดว ยเหตนุ ั้นๆ คาํ วา ปจจยปุ บนั หมายความวา เปนผลท่เี กดิ ขึ้นโดยอาศยั ธรรมที่เปน เหตุนัน้ ๆ สรุปความวา ปจ จยั ไดแก ธรรมทเ่ี ปนเหตุ ปจ จยุปบัน ไดแก ธรรมทีเ่ ปน ผล [P7] 36(1ข), 42(1ข), 46, 48  ดาวนโหลดขอ มลู และไฟลต างๆไดจาก Post ท่หี นา fb/Line ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ท่ีแปะไว)

มชั ฌมิ อาภิธรรมิกะโท 3 ปฏิจจสมุปบาท ปฏ ฐาน บญั ญตั ิ : สมถ+วปิ สสนา กรรมฐาน ๒. ข. คําวา ปจ จยา แปลวา เปน ปจจัยชว ยอปุ การะ (อุปการกา) การชว ยอปุ การะมี ๒ อยาง คือ ๑. ชวยอุปการะแกป จจยุปบนั ธรรมท่ียังไมเกดิ ใหเกดิ ขึ้น อยา งหน่ึง ๒. ชวยอุปการะแกปจ จยปุ บนั ธรรมที่เกดิ ข้นึ แลว ใหตั้งมนั่ และเจริญข้ึน อยา งหน่งึ [P8] 48 ๒. ข. ปจ จัย แปลวา เปนปจจัยชวยอปุ การะหรอื ธรรมทชี่ วยอุปการะ หมายความวา เปน เหตุของผลทเี่ ก่ียวเน่ือง ดว ยเหตนุ นั้ ๆ และ ปจ จยุปบัน หมายความวา เปน ผลทเี่ กดิ ขึ้นโดยอาศัยธรรมทเ่ี ปนเหตนุ น้ั ๆ สรปุ ความวา ปจ จยั ไดแ ก ธรรมท่เี ปน เหตุ ปจ จยุปบัน ไดแก ธรรมท่ีเปนผล [P8] 45 ๑. ข. ปฏิจจสมปุ บาทธรรม หมายความวา ธรรมทเี่ ปน เหตุ มี ๑๑ คือ อวิชชา สงั ขาร วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา ตณั หา อุปาทาน ภวะ และชาติ ปฏิจจสมปุ ปน นธรรม หมายความวา ธรรมทเี่ ปนผล มี ๑๑ คอื สงั ขาร วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ [P ] 41(1), 52, 57(ข/ค) ผัสสะ เวทนา ตณั หา อุปาทาน ภวะ ชาติ และชรามรณะ ๒. ปฏจิ ฺจ สมํ สห จ อปุ ฺปชชฺ ติ เอตสมฺ าติ = ปฏจิ ฺจสมปุ ปฺ าโท? [P10] 52 แสดงเหตุผลตามนยั แหงปฏิจจสมปุ บาทนน้ั คอื แสดงแตเพยี งใหร ูวา สัตวทั้งหลายทปี่ รากฏอยูในโลกนี้ ลวนแตเปน ผลที่เกดิ มาจากธรรมทเ่ี ปน เหตุท้ังสน้ิ ท่ีจะเกดิ ข้ึนเองหรอื มผี สู รางใหเ กิด โดยไมไดอ าศยั ธรรมที่เปน เหตนุ นั้ ยอ มไมมเี ลย หมายความวา เมื่อมีเหตมุ ปี จ จัยครบบริบรู ณแลว ผลยอมปรากฏขน้ึ เปน ธรรมดา แตไมไ ดแ สดงถงึ อาํ นาจของปจจัยน้นั ๆ วาการชวยอุปการะของปจ จยั นั้นๆ เปนไปโดยอํานาจเหตุบาง อารมณบา ง อธิบดบี า ง เปน ตน และวจนตั ถะท่ียกมาน้ี แปลวา ผลธรรมมีสงั ขารเปน ตน เมื่อไดอ าศัยการประชมุ รว มกันแหงปจ จัยแลว ยอมเกิดขน้ึ สม่าํ เสมอพรอ มเพรยี งกัน เพราะอาศยั เหตุตา งๆ มี อวิชชาเปนตน ฉะนน้ั เหตตุ างๆ มอี วชิ ชา เปน ตน เหลานน้ั จึงชอ่ื วา ปฏจิ จสมปุ บาท ไดแ ก อวชิ ชาเปน ตน จนถงึ ชาติ ๑. ในปริจเฉทที่ ๘ น้ี ทานแสดงการอปุ การะไว ๒ นัย คือ ๑. ปฏิจจสมุปบาทนยั ๒. ปฏ ฐานนัย และนยั ท้ัง ๒ น้นั มคี วามแตกตางกนั ดังนี้ การแสดงเหตุผล (ของการอปุ การะกัน) ตามนัยปฏิจจสมปุ บาทนัน้ แสดงแตเ พียงใหรวู า สัตวท้ังหลายท่ี ปรากฏอยใู นโลกนี้ ลว นแตเปน ผลทเี่ กดิ มาจากธรรมท่ีเปนเหตุท้งั สิน้ ท่ีจะเกดิ ขนึ้ เอง หรือมผี ูสรางใหเกดิ โดย ไมไดอาศัยธรรมทเี่ ปนเหตนุ น้ั ยอมไมมเี ลย หมายความวา เมื่อมเี หตุมปี จจยั ครบบรบิ รู ณแ ลว ผลยอ มปรากฏข้นึ เปนธรรมดา แตไ มไดแ สดงถงึ อํานาจของปจ จัยนนั้ ๆ วา การชว ยอปุ การะของปจจัยน้นั ๆ เปนไปโดยอาํ นาจเหตุ บา ง อารมณบ าง อธิบดีบา ง เปนตน สว นการแสดงเหตผุ ล (ของการอปุ การะกนั ) ตามนัยแหงปฏฐานนนั้ แสดงใหรวู าสงิ่ ทม่ี ีชีวติ และไมมชี วี ติ ทง้ั หลายท่ีปรากฏอยูในโลกนี้ ลวนแตเ ปน เหตุผลทีเ่ ก่ียวเนือ่ งกนั ตามสมควร ทีป่ รากฏข้นึ โดยไมเ กี่ยวของกับ เหตผุ ลนั้น ไมมเี ลย และแสดงถึงอํานาจของปจจัยนน้ั ๆ ดวยวา การอุปการะของปจ จัยนนั้ ๆ เปนไปดว ยอาํ นาจ เหตบุ า ง อารมณบ า ง อธบิ ดบี าง เปน ตน P10-11] 38, 40 ๒/๓. (36) อวชิ ชา แปลวาไมรู หรือ ธรรมชาตทิ เ่ี ปนไปตรงกนั ขา มกบั ปญ ญา องคธ รรมไดแ ก โมหเจตสกิ มี ๘ ประการ คอื / (39, 40, 46) การไมร ูตามความเปน จรงิ ของอวชิ ชา มี ๘ อยาง คอื ๑. ทกุ เฺ ข อาณํ ไมรใู นทุกข ๒. ทกุ ฺขสมทุ เย อาณํ ไมรเู หตทุ ท่ี ําใหเกิดทกุ ข ๓. ทุกฺขนิโรเธ อาณํ ไมรูธรรมอนั เปนท่ดี บั แหงทุกข ๔. ทุกฺขนโิ รธคามนิ ีปฏปิ ทาย อาณํ ไมรูห นทางทใ่ี หเขาถึงความดับทุกข ๕. ปุพพฺ นเฺ ต อาณํ ความไมร ูในขันธ อายตนะ ธาตุ ทเี่ ปน อดตี ๖. อปรนฺเต อาณํ ความไมรูในขนั ธ อายตนะ ธาตุ ท่เี ปน อนาคต ๗. ปพุ พฺ นเฺ ต อาณํ ความไมรูในขนั ธ อายตนะ ธาตุ ท่เี ปน อดตี และอนาคต  ดาวนโหลดขอมูลและไฟลต า งๆไดจ าก Post ท่ีหนา fb/Line ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแี่ ปะไว)

มชั ฌิมอาภิธรรมกิ ะโท 4 ปฏจิ จสมปุ บาท ปฏฐาน บญั ญตั ิ : สมถ+วปิ ส สนา กรรมฐาน ๘. อทิ ปฺปจฺจยตาปฏิจจฺ สมุปปฺ นฺเนสุ ธมฺเมสุ อาณํ ความไมร ใู นรปู นามทเี่ กดิ ข้นึ โดยอาศัยมีเหตุใหเ กดิ ตาม ในปฏิจจสมปุ บาท [P16] 36, 40, 42, 46(2ข), 55(2ก) , 57(3ก) ๒. ก. ภยั ทง้ั ๔ คอื ๑. นานาสัตถอุลโลกนภัย คอื ยงั ไมพน จากการเคารพนบั ถอื ศาสดาตาง ๆ ๒. วนิ ิปาตภัย คือ การไปเกิดในท่ไี มแนน อน ๓. อปายภยั คือ ยงั ไมพน จากการไปเกิดในอบายภูมิ ๔. ทุจรติ ภัย คือ ยงั ไมพน จากการกระทําอันเปนทุจริตตา ง ๆ [P25-26] 53 ๒. ผูทม่ี อี วิชชาหนามาก ผทู ่มี ีอวชิ ชาเบาบางแลว และผูท่มี อี วิชชาบางท่สี ดุ ทัง้ ๓ พวกน้ี ไดแก .... ๑. บคุ คลบางพวก ไมรูวา การกระทําอยางนด้ี ีเปนกศุ ล การกระทาํ อยา งนี้ไมดเี ปน อกุศล ดว ยอาํ นาจแหง อวชิ ชาทีป่ กปดไวไมใ หร ู ฉะนั้น บุคคลพวกนจี้ งึ กลาทําในทุจริตตา งๆ อยางไมร สู ึกเกรงกลวั และละอายใจ อวิชชา ชนิดนเี้ ปน อวิชชาท่ีหนามาก ๒. บคุ คลบางพวก รูวาการกระทําอยางนดี้ เี ปน กศุ ล อยางนีไ้ มดเี ปน อกุศล ฉะนน้ั บคุ คลจาํ พวกน้ีเมื่อ ขณะท่ีมีอกุศลเกิดขน้ึ กส็ ามารถระงับไดไมปลอยใหล ว งถงึ กาย วาจา แลว เปลย่ี นจติ ใจและการกระทาํ นน้ั ใหเ ปน กศุ ลเกดิ ขึน้ อวชิ ชาของบคุ คลจําพวกน้ี จดั วาเปน อวิชชาทบี่ างมากแลว ๓. บุคคลที่สําเร็จเปน โสดาบนั สกทาคามี อนาคามีนัน้ ไดช่ือวาเปนผูเห็นแจง ในอริยสัจ ๔ แลว แตก ็ยังไมไ ด ทาํ ลายอวชิ ชาใหห มดสิ้นไป อวชิ ชาของพระอริยบุคคลเหลาน้ีเปนอวชิ ชาทบี่ างที่สดุ [P33] 54 ๒. อวิชชา เมอ่ื สรุปความแลว หมายความวา การไมร ตู ามความเปน จริงท่คี วรรู รแู ตสิ่งท่ไี มเ ปน ไปตามความ เปน จรงิ ทีไ่ มควรรู [(38) สงั ขารในปฏจิ จสมปุ บาทน้ัน หมายความวา ธรรมทป่ี รุงแตงใหผลธรรมเกดิ ข้ึน] และ อวชิ ชา เปน ปจจยั ชว ยอุปการะแก อปญุ ญาสงั ขารนัน้ ไดอํานาจปจ จัย ๑๕ ปจ จยั คอื ๑. เหตุปจ จัย ๒. อารมั มณปจ จัย ๓. อธปิ ติปจจัย (อารมั มณาธิปตปิ จจยั ) ๔. อนนั ตรปจจัย ๕. สมนันตรปจ จัย ๖ สหชาตปจจัย ๗. อญั ญมัญญปจ จยั ๘. (สหชาต)นิสสยปจ จยั ๙. อุปนิสสยปจจยั (ทงั้ ๓ ปจจัย) ๑๐. อาเสวนปจจัย ๑๑. สัมปยตุ ตปจ จัย ๑๒. อตั ถิปจจยั (สหชาตตั ถิปจจัย) ๑๓. นตั ถปิ จ จยั ๑๔. วิคตปจจัย ๑๕. (สหชาต)อวิคตปจจัย [P12, 36, 45] 38, 44 ๔. ข. อวิชชาเปนปจจยั ใหอปญุ ญาภิสังขารท่ีเกดิ พรอ มกันกบั ตนไดอาํ นาจไดอํานาจปจจยั ๗ ปจ จัย คอื ๑. เหตปุ จจยั ๒. สหชาตปจ จัย ๓. อัญญมญั ญปจจัย ๔. นสิ สยปจ จัย (สหชาตนิสสยปจจัย) ๕. สัมปยุตตปจ จยั ๖. อัตถปิ จ จยั (สหชาตัตถปิ จ จัย) ๗. อวคิ ตปจจัย (สหชาตอวิคตปจจัย) [P ] 51 ๔. ก. อวิชชาเปนปจจยั ชว ยอปุ การะแกอปุญญาภิสงั ขารทเ่ี กิดขึ้นติดตอกนั กับตนโดยไมม รี ะหวางคน่ั น้ัน ไดอํานาจปจ จัย ๖ คือ ๑. อนนั ตรปจ จัย ๒. สมนันตรปจ จยั ๓. อนนั ตรปู นิสสยปจจัย ๔. อาเสวนปจ จยั ๕. นัตถิปจ จยั ๖. วิคตปจ จัย [P ] 46(5ก) ๒/๓. สงั ขาร หมายความวา ธรรมท่ีปรงุ แตงใหผ ลธรรมเกิดขนึ้ [P36] 39, 52, 59 สงั ขารที่เปน ผลของอวชิ ชานน้ั มี ๖ อยาง คอื [P36] 41,.47, 55(3) ๑. ปุญญาภิสงั ขาร กุศลเจตนา เปน ผปู รงุ แตง โลกียกุศลวิบาก และกุศลกัมมชรปู โดยตรง องคธ รรมไดแ ก มหากศุ ลเจตนา ๘ รปู าวจรกศุ ลเจตนา ๕ ๒. อปุญญาภสิ ังขาร อกศุ ลเจตนา เปน ผปู รงุ แตง อกุศลวบิ าก และอกศุ ลกัมมชรูปโดยตรง องคธ รรมไดแก อกุศลเจตนา ๑๒ ๓. อาเนญชาภิสังขาร กศุ ลเจตนาที่ตง้ั ม่ันไมหวั่นไหว เปน ผูปรุงแตงอรูปวิบากโดยตรง องคธ รรมไดแก อรูปาวจรกศุ ลเจตนา ๔ ๔. กายสงั ขาร เจตนาท่เี ปน ผปู รุงแตง กายทจุ ริตและกายสจุ รติ ใหสําเร็จลง องคธรรมไดแก อกุศลเจตนา ๑๒ มหากศุ ลเจตนา ๘ ทเี่ กย่ี วกับทางกาย  ดาวนโหลดขอมลู และไฟลต างๆไดจาก Post ที่หนา fb/Line ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ท่แี ปะไว)

มชั ฌมิ อาภิธรรมิกะโท 5 ปฏิจจสมุปบาท ปฏ ฐาน บญั ญตั ิ : สมถ+วปิ สสนา กรรมฐาน ๕. วจสี ังขาร เจตนาทเี่ ปน ผูปรงุ แตง วจที จุ ริตและวจีสุจริตใหสําเร็จลง องคธ รรมไดแก อกศุ ลเจตนา ๑๒ มหากุศลเจตนา ๘ ท่เี ก่ยี วกบั ทางวาจา ๖. จติ ตสังขาร เจตนาท่ีเปน ผูป รุงแตง มโนทุจริตและมโนสจุ รติ ใหส าํ เรจ็ ลง องคธรรมไดแก อกุศลเจตนา ๑๒ โลกียกศุ ลเจตนา ๑๗ ทเี่ ก่ยี วกบั ทางใจ ๔. ง. สังขาร ๓ เปน ปจ จยั ชว ยอุปการะแกวปิ ากจิต (วปิ ากวญิ ญาณ) [P53] ไดอ าํ นาจปจจัย ๒ คอื ๑) ปกตปู นสิ สยปจ จัย ๒) นานักขณกิ กัมมปจ จยั ขอ ๓ ๕. ก. อวิชชา ตามวจนตั ถะมีความหมายหลายอยาง เม่ือกลา วโดยสรปุ หมายความวา [P16] การไมรตู ามความเปน จริงท่ีควรรู รแู ตส ่ิงท่ีไมเปน ไปตามความเปนจรงิ ท่ไี มค วรรู น้แี หละชือ่ วา อวชิ ชา แสดงลักษณะ รส ปจจปุ ฏ ฐาน ปทฏั ฐาน ของอวิชชา ดังนี้ [P35] ๑. อาณลกฺขณา มีความไมร เู ปนลักษณะหรอื เปนปฏปิ กษต อ ปญญา เปนลกั ษณะ ๒. สมฺโมหนรสา ทําใหธรรมท่ีประกอบกบั ตนและผูที่โมหะกาํ ลงั เกิดอยนู ้นั มีความหลงหรือมดื มน เปน กิจ ๓. ฉาทนปจจฺ ุปฏานา เปน ธรรมชาติท่ปี กปดสภาวะที่มีอยูใ นอารมณน้ันๆ เปนอาการปรากฏ ในปญ ญาของบัณฑิตท้ังหลาย ๔. อาสวปทฏานา มีอาสวะ ๓ เปน เหตใุ กล (เวน ตวั เอง) ลักขณาทจิ ตุกกะ ของตณั หา คือ [P80] ๑. เหตลุ กขฺ ณา มกี ารเปนเหตุของทกุ ขทงั้ ปวง เปนลกั ษณะ เปน กจิ ๒. อภินนฺทนรสา มคี วามยนิ ดีพอใจในอารมณภ มู ิและภพ เปนอาการปรากฏ ๓. อติตตฺ ภาวปจฺจปุ ฏานา มีความไมอิม่ ในอารมณต า งๆ ของจิต หรือบุคคล เปนเหตุใกล ในปญ ญาของบณั ฑิตทง้ั หลาย ๔. เวทนาปทฏ านา มเี วทนา ๕. ข. อปุ ายาสะ แปลวา ความลําบากใจอยางหนกั หรือความคบั แคน ใจ [P144] แสดงลักษณะ รส ปจ จุปฏ ฐาน ปทฏั ฐาน ของอุปายาสะ ดังน้ี [P144] ๑. จติ ตฺ ปรทิ หนลกขฺ โณ มีการเผาจติ อยา งหนัก เปน ลกั ษณะ ๒. นิตฺถนุ นรโส มีการทอดถอนใจ เปน กจิ ๓. วิสาทปจฺจปุ ฏาโน มกี ายและใจขาดกาํ ลังลง เปนอาการปรากฏในปญ ญาของบณั ฑิตท้ังหลาย ๔. หทยวตถฺ ปุ ทฏาโน มหี ทยั วัตถุ เปนเหตใุ กล แสดงลักษณะเปนตน ของกมั มภวะ ดังนี้ [P121] ๑. กมมฺ ลกขฺ โณ มีความเปน กรรม เปน ลักษณะ ๒. ภาวนรโส มกี ารทาํ ใหเ กดิ เปน กิจ (กจิ จรส) ๓. กุสลากสุ ลปจฺจปุ ฏาโน มคี วามเปนกุศลอกศุ ล เปนอาการปรากฏ ในปญญาของบณั ฑิตท้ังหลาย ๔. อุปาทานปทฏ าโน มีอุปาทาน เปน เหตุใกล ๑. ค. วิญญาณ ท่ีเปน เหตุใหเ กดิ นามรูปน้ัน มี ๒ อยาง คือ [P ] ๑. วปิ ากวิญญาณ องคธ รรมไดแ ก โลกยี วิปากจิต ๓๒ ๒. กัมมวิญญาณ องคธรรมไดแ ก อกุศลจิต มหากุศลจติ รูปาวจรกศุ ลจิต ทีป่ ระกอบกับกุศล อกศุ ลเจตนา ทีใ่ นอดตี ภพ ๓. จาํ แนกกามปฏิสนธิวญิ ญาณ ดงั ตอไปนี้ P49-50]  ดาวนโหลดขอมูลและไฟลต า งๆไดจาก Post ท่ีหนา fb/Line ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทีแ่ ปะไว)

มชั ฌิมอาภิธรรมิกะโท 6 ปฏิจจสมุปบาท ปฏ ฐาน บัญญตั ิ : สมถ+วปิ ส สนา กรรมฐาน ๑. อปุญญาภสิ งั ขาร ๑๑ (เวน อทุ ธัจจเจตนา) เปน เหตุ อเุ บกขาสนั ตรี ณอกุศลวบิ ากจิต ๑ เปนผล ใหป ฏิสนธิใน อบายภูมิ ๔ เปนพวกทุคติอเหตกุ บคุ คล คอื พวกอบายสตั วท้งั หลาย ๒. ปุญญาภิสงั ขาร อนั ไดแก มหากุศลทวเิ หตกุ โอมกเจตนา ๔ เปน เหตุ อุเบกขาสันตรี ณกุศลวิบากจิต ๑ เปน ผล ใหปฏสิ นธิในมนษุ ยภมู ิ ๑ จาตุมหาราชิกาภูมิ ๑ เปนพวกสุคติอเหตุกบคุ คล คอื มนษุ ยแ ละเทวดาช้ันตํา่ ท่ีพกิ ลพิการใบ บา บอด หนวก เปน ตน ๓. ปุญญาภิสังขาร อนั ไดแ ก มหากุศลทวิเหตกุ อุกกัฏฐเจตนา ๔ และติเหตกุ โอมกเจตนา ๔ เปน เหตุ มหาวิบาก ญาณวปิ ปยตุ ตจิต ๔ เปน ผล ใหปฏิสนธิในมนุษยภูมิ ๑ เทวภูมิ ๖ เปนพวกทวิเหตุก- บคุ คล คือ มนุษยแ ละเทวดาช้ันกลาง ๔. ปญุ ญาภสิ งั ขาร อนั ไดแ ก มหากศุ ลตเิ หตุอุกกัฏฐเจตนา ๔ เปนเหตุ มหาวบิ ากญาณสมั ปยุตตจิต ๔ เปน ผล ให ปฏสิ นธิในมนุษยภมู ิ ๑ เทวภูมิ ๖ เปนพวกตเิ หตกุ บคุ คลคอื มนษุ ยและเทวดาชั้นสงู ๔. จาํ แนกปฏิสนธิวญิ ญาณ ๙ คอื อเุ บกขาสนั ตรี ณกุศลวิบาก ๑ มหาวบิ าก ๘ โดยปุญญาภิสังขารคือมหากุศล เจตนา ๘ มาโดยเฉพาะ ๆ ไดด ังตอ ไปน้ี [P49-50] ๑. ปุญญาภิสังขาร อันไดแก มหากุศลทวิเหตุกโอมกเจตนา ๔ เปนเหตุ อเุ บกขาสนั ตรี ณกศุ ลวิบาก ๑ เปนผลใหป ฏสิ นธิในมนุษยภมู ิ ๑ จาตุมหาราชิกาภูมิ ๑ เปนพวกสคุ ติ อเหตกุ บุคคล คือ มนษุ ยแ ละเทวดาช้ันต่ํา ท่พี ิกลพิการใบบา บอดหนวก เปน ตน (หมายถึงวา เปนมนุษยชัน้ ต่ําท่พี กิ ลพิการใบบาบอดหนวกเปน ตน และเปน เทวดาชน้ั ตาํ่ ไดแก วินปิ าตกิ อสุรามรี ปู รา งนาเกลียดนากลัวความเปน อยูกล็ ําบากมาก คลา ยกบั พวกเปรต) ๒. ปุญญาภสิ งั ขาร อนั ไดแก มหากุศลทวเิ หตกุ อุกกฏั ฐะเจตนา ๔ และติเหตกุ โอมกเจตนา ๔ เปนเหตุ มหาวิบากญาณวิปปยตุ ตจติ ๔ เปน ผล ใหป ฏสิ นธิในมนุษยภูมิ ๑ เทวภูมิ ๖ เปน พวกทวิเหตุกบคุ คล คือ มนุษยและเทวดาชัน้ กลาง ๓. ปุญญาภิสงั ขาร อันไดแ ก มหากุศลตเิ หตุกอุกกัฏฐะเจตนา ๔ เปน เหตุ มหาวิบากญาณสมั ปยุตตจิต ๔ เปนผล ใหปฏิสนธใิ นมนษุ ยภ มู ิ ๑ เทวภูมิ ๖ เปน พวกตเิ หตกุ บคุ คล คอื มนุษยและเทวดาชั้นสงู ๓. จาํ แนก ปวตั ติวิญญาณ ที่เกิดขึ้นโดยอาศยั ปุญญาภสิ งั ขาร ๑๓ เปน เหตุ ไดด ังตอ ไปน้ี ๑. ปุญญาภิสงั ขาร อันไดแก มหากศุ ลเจตนา ๘ เปนเหตุ อเหตกุ กศุ ลวบิ าก ๘ ไดแ ก การเหน็ การไดย นิ การไดก ล่นิ การรรู ส การถูกตอง การรบั อารมณ การไตส วนอารมณ และการรับอารมณต อ จากชวนะท่ดี ีเปนผล ในกามภูมิ ๑๑ ๒. ปุญญาภิสงั ขาร อันไดแ ก มหากุศลเจตนา ๘ เปนเหตุ มหาวบิ าก ๘ ไดแก การรบั อารมณตอจากชวนะที่ดีเปนผล ในกามสุคตภิ ูมิ ๗ ๓. ปุญญาภิสังขาร อนั ไดแก มหากศุ ลเจตนา ๘ เปน เหตุ อเหตุกกศุ ลวบิ าก ๕ ไดแ ก การเหน็ การไดยิน การรับอารมณการไตส วนอารมณทด่ี ีเปน ผล ในรูปภูมิ ๑๕ ๔. ปุญญาภิสังขาร อนั ไดแ ก รปู าวจรกุศลเจตนา ๕ เปน เหตุ รปู าวจรวิบาก ๕ ไดแ ก การรกั ษาภพเปน ผล ในรูปภูมิ ๑๕ [P50-51] ๔. แสดงปจจยั สงเคราะห อวิชชา เปนปจจัยชวยอุปการะแกอ ปุญญาภิสงั ขารท่เี กดิ พรอมกบั ตน ? 56(4ก/ค) ก. ไดอ ํานาจปจ จัย ๗ คอื ๑. เหตุปจจัย ๒. สหชาตปจ จัย ๓. อัญญมญั ญปจจัย ๔. สหชาตนสิ สยปจ จัย ๕. สมั ปยตุ ตปจ จัย ๖. สหชาตัตถปิ จ จยั ๗. สหชาตอวิคตปจจัย [P ] 56(4ก/ค) ๔. ก. อวชิ ชาทีเ่ ปนอารมณอ ยางเอาใจใสเปน พเิ ศษ เปน ปจจัยชวยอปุ การะแกอปุญญาภิสงั ขารนัน้ 57(4ก/ค) ไดอ ํานาจปจ จัย ๓ คอื ๑. อารมั มณปจจัย ๒. อารัมมณาธิปตปิ จ จัย ๓. อารมั มณูปนิสสยปจ จยั ๒. ข. วญิ ญาณเปน ปจ จัยชวยอุปการะแกน ามในอรูปภูมิ คอื อรปู วิปากจติ ๔ เปน ปจ จยั ชวยอปุ การะแกเ จตสกิ ๓๐ ทง้ั ในปฏสิ นธิกาล และปวตั ตกิ าล ในอรปู ภูมิ ๔  ดาวนโหลดขอ มูลและไฟลต า งๆไดจาก Post ท่หี นา fb/Line ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ท่ีแปะไว)

มชั ฌิมอาภิธรรมกิ ะโท 7 ปฏิจจสมปุ บาท ปฏ ฐาน บัญญตั ิ : สมถ+วปิ สสนา กรรมฐาน วิญญาณเปน ปจจัยชวยอปุ การะแกนามในปญจโวการภมู ิ คอื ทวปิ ญ จวิญญาณจติ ๑๐ เปน ปจ จยั ชวย อปุ การะแกสัพพจติ ตสาธารณเจตสกิ ๗ ในปวตั ตกิ าลเทาน้นั ในปญ จโวการภมู ิ ๒๖ ตามสมควร [P55-56] ๔. ก. ปฏิสนธวิ ิญญาณเปน ปจ จัยชวยอุปการะแกห ทยวตั ถุรูป ไดอ ํานาจปจจยั ๙ คอื ๑.สหชาตปจจัย ๒. อญั ญมัญญปจ จัย ๓.นสิ สยปจจัย (สหชาตนิสสยปจจยั ) ๔.วิปากปจจยั ๕. อาหารปจจัย (นามอาหารปจ จัย) ๖. อนิ ทริยปจจัย (สหชาตนิ ทริยปจจัย) ๗.วปิ ปยตุ ตปจ จัย (สหชาตวปิ ปยุตตปจ จยั ) ๘. อตั ถปิ จจัย (สหชาตตั ถิปจ จยั ) ๙. อวิคตปจ จัย (สหชาตอวิคตปจจัย) [P57] ๔. ข. นาม คอื วริ ยิ ะ สติ ปญญา ท่ปี ระกอบกบั โลกียวบิ าก เปนปจ จยั ชว ยอุปการะแกม นายตน ไดแ ก โลกยี วิบากทเี่ กดิ พรอ มกนั กับตนนั้น ไดอ าํ นาจปจ จยั ๙ คอื [P61(7)] ๑. สหชาตปจจัย ๒. อัญญมัญญปจจัย ๓. นิสสยปจ จยั ๔. วปิ ากปจ จัย ๕. สหชาตินทรยิ ปจจัย ๖. มัคคปจจัย ๗. สัมปยุตตปจ จัย ๘. อัตถิปจจัย ๙. อวคิ ตปจจัย ๔. ก. นามคอื เอกัคคตาท่ีประกอบกบั โลกยี วิบาก เปนปจจยั ชวยอปุ การะแกม นายตนะ ซง่ึ ไดแกโ ลกียวิบากทีเ่ กิดพรอมกนั กับตน ไดอํานาจปจ จัย ๑๐ คอื [P61(8)] ๑. สหชาตปจจยั ๒. อญั ญมญั ญปจ จัย ๓. สหชาตนิสสยปจจยั ๔. วปิ ากปจ จยั ๕. สหชาตนิ ทรยิ ปจ จยั ๖. ฌานปจจยั ๗. มัคคปจจัย ๘. สัมปยตุ ตปจจยั ๙. สหชาตตั ถปิ จจัย ๑๐. สหชาตอวิคตปจจยั ๔. ข. นามคอื เจตสิกขันธ ๓ ทป่ี ระกอบกบั ปญจโวการวบิ ากเปนปจ จยั ชวยอปุ การะแกป ญจายตนะ ใน ปวัตติกาลแหง ปญ จโวการภูมินั้น ไดอ าํ นาจปจ จัย ๔ [P61(10)] คือ ๑. ปจ ฉาชาตปจจยั ๒. ปจฉาชาตวปิ ปยตุ ตปจจยั ๓. ปจฉาชาตตั ถิปจจัย ๔. ปจ ฉาชาตอวิคตปจจัย ๔. ค. รูป คอื หทยวตั ถทุ เี่ กิดกอนและกําลังต้งั อยู เปนปจจยั ชวยอปุ การะแกม นายตนะซงึ่ ไดแก ปญจโวการวบิ าก ๑๘ (เวนทวิ ๑๐) ในปวตั ติกาลแหงปญ จโวการภูมิ [P62(12)] 49, 57(4ค/ค) ไดอาํ นาจปจ จยั ๕ คอื ๑. วัตถปุ ุเรชาตนิสสยปจจยั ๒. วัตถุปุเรชาตปจ จยั ๓ วัตถุปุเรชาตวปิ ปยุตตปจจยั ๔ วตั ถปุ เุ รชาตตั ถิปจ จยั ๕ วัตถปุ ุเรชาตอวิคตปจ จัย ๔. ข. รูป คอื จักขายตนะ ท่ีเกดิ กอนและหลังตง้ั อยู เปนปจจยั ชวยอปุ การะแกมนายตนะ ซ่งึ ไดแก จกั ขวุ ญิ ญาณจติ ๒ ในปวตั ติกาล แหงปญ จโวการภูมิน้นั ? [P62(13)] ๔. ข. รูป คอื ปญ จายตนะ ทีเ่ กดิ กอนและกาํ ลังตั้งอยู เปน ปจ จยั ชวยอปุ การะแกมนายตนะ ซง่ึ ไดแกท วปิ ญจวญิ ญาณจิต ๑๐ ในปวัตติกาลแหง ปญจโวการภูมิ ? [P62(13)] ๔. ค. จกั ขายตนะ เปน ปจ จัยชว ยอุปาการแก จักขุสัมผัสสะ ? [P62(13)] ๓. ก. โสตายตนะ เปนปจ จยั ชว ยอุปการะแก โสตสัมผัสสะ ? [P] ตอบ ข./ค. ไดอาํ นาจปจจยั ๖ คอื ๑. วตั ถปุ เุ รชาตนสิ สยปจ จัย ๒. วัตถุปุเรชาตปจ จัย ๓. ปเุ รชาตนิ ทริยปจ จัย ๔. วตั ถปุ เุ รชาตวิปปยุตตปจ จยั ๕.อตั ถิปจ จยั (วัตถุปเุ รชาตตั ถิปจจยั ) ๖.อวิคตปจ จยั (วตั ถุปุเรชาตอวคิ ตปจจัย) ๔. ข. กมั มชโอชา เปนปจจัยชว ยอปุ การะแก ปญจายตนะ ไดอํานาจปจ จัย ๓ คอื [P63(16)] ๑. รูปอาหารปจจัย ๒. อัตถปิ จจยั (อาหารัตถิปจ จัย) ๓. อวิคตปจจยั (อาหารอวิคตปจ จัย) ๓. ก./ข. จําแนกผสั สะ ๖ โดยภมู ิ / จาํ แนกได ดงั น้ี [P67] ในกามภมู ิ ๑๑ ผสั สะ ๖ ยอมเกดิ ข้ึนได ในรปู ภมู ิ ๑๕ (เวนอสญั ญสตั ตภูมิ) ผสั สะยอ มเกดิ ได ๓ คือ จกั ขสุ มั ผสั สะ โสตสมั ผสั สะ มโนสมั ผัสสะ ในอรูปภูมิ ๔ ผสั สะยอ มเกดิ ได ๑ คอื มโนสมั ผัสสะ 57(3ข) สวนในอสัญญสตั ตภูมินน้ั ผสั สะท้ังหมดยอ มเกดิ ไมได เพราะไมม อี ชั ฌัตติกายตนะ ๖ เกิดในภูมนิ ้ี ๓. ข. จักขสุ ัมผสั สะจะเกิดขึ้นไดตองอาศยั อายตนะ ๔ อยาง คอื [P] ๑. จักขายตนะ ไดแ ก จักขุปสาท ๓. มนายตนะ ไดแก จักขวุ ญิ ญาณ  ดาวนโหลดขอมลู และไฟลต า งๆไดจาก Post ทหี่ นา fb/Line ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแี่ ปะไว)

มชั ฌมิ อาภิธรรมกิ ะโท 8 ปฏจิ จสมปุ บาท ปฏ ฐาน บญั ญตั ิ : สมถ+วปิ สสนา กรรมฐาน ๒. รปู ายตนะ ไดแก รปู ารมณ ๔. ธมั มายตนะ ไดแ ก สพั พจิตตสาธารณเจตสกิ ๖ (เวน ผสั สะ) ๓. ก. ผสั สะท้งั ๖ เปน ปจ จัยชว ยอุปการะแกเวทนาทัง้ ๖ นนั้ ไดอํานาจปจจัย ๘ คือ [P72] ข. จักขุสัมผสั สะ เปนปจจยั ชวยอปุ การะแกจ กั ขสุ มั ผัสสชาเวทนา ไดอํานาจปจจยั ๘ คือ ค. กายสมั ผสั สะ เปน ปจจัยชว ยอุปการะแก กายสัมผัสสชาเวทนา ไดอาํ นาจปจจัย ๘ คอื [P72-ประยกุ ต] ๑. สหชาตปจจยั ๒. อัญญมญั ญปจจัย ๓. สหชาตนสิ สยปจ จัย ๔. วิปากปจจยั ๕. นามอาหารปจจยั ๖. สมั ปยตุ ตปจจัย ๗. สหชาตตั ถปิ จจัย ๘. สหชาตอวิคตปจจัย ๒. ตณั หาทชี่ อ่ื วา ธัมมตัณหา นน้ั มุงหมายเอาในขณะมีความยินดีพอใจ หรือในขณะนึกถึง โลภะ โทสะ โมหะ มานะ ทฏิ ฐิ เปน ตัน ทีเ่ ปน ฝา ยอกศุ ล และนกึ ถงึ ศรทั ธา วริ ิยะ สติ สมาธิ ปญ ญา ฌาน อภญิ ญา เปน ตน ที่เปน ฝายโลกียกศุ ลและกรยิ า หรือนึกถึง การเห็น การไดยิน การไดกลิน่ การรูรส การถกู ตอ ง การนอน หลับ ทเี่ ปน ฝา ยกามวิบาก หรอื นึกถึง ปสาทรปู สขุ มุ รูป และบัญญตั ิตา งๆเหลาน้ีแลว มคี วามยนิ ดีพอใจเกิดขึ้น เรยี กวา ธัมมตัณหา [P75] ๔.ง. เวทนา เปนปจ จัยชว ยอปุ การะแก ตณั หาไดอ ํานาจปจจัย ๑ คอื ปกตปู นิสสยปจ จัย [P80] ๓. ถา มผี ูกลาววา รูปตณั หาน้ี เปน กามตณั หาก็ได เปน ภวตัณหากไ็ ด เปน วิภวตณั หาก็ไดดังนี้ [P] ทา นจะคดั คา น หรอื เห็นดว ยประการใด ใหแ สดงมาตามความเปนจริง ขาพเจา เห็นดว ยทุกประการ เพราะวา รปู ตัณหา กเ็ ปน กามตัณหาสวนหนงึ่ ในกามตณั หาทั้งหลาย หมายถึงวา กามตณั หา ก็ไดแ ก ความยินดตี ิดใจในรูป หรือรปู ารมณ ทเี่ กีย่ วกบั กามคณุ อยางหน่ึงในกามคุณทง้ั ๕ แตไมป ระกอบดวยสสั สตทฏิ ฐิ และอุจเฉททฏิ ฐิ รปู ตณั หานแ้ี หละ ก็เปน ภวตัณหาสวนหนึง่ ในภวตัณหาทง้ั หมด หมายถงึ วา ภวตณั หา ก็ไดแ ก ตณั หาท่ี เกิดพรอ มดว ย สัสสสตทฏิ ฐิ โดยอาศัยรปู หรอื รปู ารมณ กลา วคือ ผทู ่มี คี วามเห็นวา รปู หรอื รูปารมณท ่ีตนกําลัง ไดร บั อยูนี้ ตั้งอยเู ปนนิจ ไมเ ขาใจวามกี ารเกดิ ดับ รูปตัณหานีแ้ หละ ก็เปนวภิ วตณั หาสว นหนึง่ ในวภิ วตณั หาทัง้ หมด หมายถงึ วา วิภวตัณหา ก็ตณั หาท่เี กดิ พรอมกันกับอุจเฉททิฏฐิ โดยอาศัยรูป หรือรปู ารมณ กลาวคือ ผูท มี่ ีความเหน็ วา รปู หรือรปู ารมณ ซง่ึ ไดแก สงิ่ ที่มี ชีวติ และไมมีชีวติ ทั้งหลายในโลกนี้ มีตัวมตี นอยู และตัวตนนี้ไมส ามารถต้ังอยูไดต ลอด ยอมสูญหายไป แลว มี ความยนิ ดีติดใจในรูปารมณน นั้ ๓. อปุ ปตตภิ วะ ๘/๙ เมอ่ื ยอลงแลว ได ๓ คือ ๑. กามภวะ ๒. รูปภวะ ๓. อรปู ภวะ [P115] และกมั มภวะกบั อุปปต ตภิ วะทงั้ ๒ นี้ เปน เหตเุ ปน ผลซงึ่ กันและกนั ไดน ั้น กลาวคอื ถา กลา วถงึ กาลที่เปน อนาคตแลว กมั มภวะเปนเหตุ อุปปปตติภวะเปนผล หมายความวา สัตวทั้งหลายที่เปน อปุ ปต ตภิ วะนนั้ จะ ปรากฏขึ้นไดก ็เพราะอาศัยการกระทาํ ตางๆ ดว ยกาย วาจา ใจ ซ่ึงเปนอกุศลกัมมภวะ และโลกยี กุศลกัมมภวะ เปนเหตุ นจี้ ดั เปน ชนกเหตุ ถา กลา วถงึ กาลทีเ่ ปน ปจจุบันแลว อุปปตตภิ วะเปนเหตุ กมั มภวะเปนผล เพราะการงานทั้งหลายทเี่ กย่ี ว ดวยกาย วาจา ใจ (กมั มภวะ) จะปรากฏขึ้นได กต็ องอาศัยสตั วท ง้ั หลาย ซึ่งเปนอปุ ปตติภวะเปน เหตุ ๕. ข. กามุปาทาน เปน ปจ จยั ชวยอุปการะแก กัมมภวะที่ประกอบกบั ตนนัน้ ไดอ ํานาจปจ จัย ๗ ปจ จัย คือ ๑. เหตุปจ จัย ๒. สหชาตปจ จยั ๓. อญั ญมญั ญปจจยั ๔. นิสสยปจ จัย (สหชาตนิสสยปจ จัย) ๕. สัมปยตุ ตปจจยั ๖. อัตถปิ จจยั (สหชาตตั ถิปจ จัย) ๗. อวิคตปจจัย (สหชาตอวิคตปจจยั ) [P122(1)] ๔. ก. อปุ าทานทั้ง ๔ เปน ปจ จัยชว ยอปุ การะแกกมั มภวะ ท่เี กิดขึ้นตดิ ตอกันกับตน โดยไมม ีระหวา งคั่น ? ไดอาํ นาจปจ จัย ๖ คอื ๑) อนนั ตรปจจัย ๒) สมนันตรปจ จยั ๓) อนนั ตรูปนสิ สยปจ จัย ๔) อาเสวนปจจยั ๕) นตั ถปิ จจยั ๖) วิคตปจจัย [P122(3)] ๔. ข. อปุ าทาน ๔ อยา งใดอยางหนงึ่ เปน อารมณอ ยางเอาใจใสเปน พเิ ศษ เปนปจ จัยชว ยอุปการะแกกุศลอกศุ ล  ดาวนโหลดขอมลู และไฟลต า งๆไดจาก Post ทห่ี นา fb/Line ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ที่แปะไว)

มชั ฌิมอาภิธรรมิกะโท 9 ปฏิจจสมุปบาท ปฏฐาน บญั ญตั ิ : สมถ+วปิ สสนา กรรมฐาน กัมมภวะ ไดอํานาจปจจัย ๓ คอื [P123(6)] ๑. อารัมมณปจจยั ๒. อารมั มณาธิปติปจจัย ๓. อารมั มณูปนิสสยปจจัย ๔. ง. ตัณหาทเ่ี กิดกอ น ๆ เปนปจจยั อุปการะแกกามุปาทานที่เกิดหลงั ๆ [P111(1)] ไดอ ํานาจปจ จยั ๑ คือ ปกตปู นิสสยปจจยั ขอ ๔ ๔. ภวะมอี ยู ๒ อยาง คือ (ท้ังธัมมาธิษฐานและปุคคลาธษิ ฐาน) [P112] กัมมภวะ ไดแ ก การกระทาํ ดว ย กาย วาจา ใจ ในส่งิ ท่ดี แี ละไมดี ของบคุ คลทว่ั ไป (ยกเวนพระอรหนั ต) อปุ ปต ติภวะ ไดแ ก สัตวทัง้ หลายทีอ่ ยูใน ๓๑ ภูมิ พรอ มท้ังการเห็น การไดย ิน การไดก ลน่ิ การรูร ส การสมั ผัส การนอนหลบั ๕. ข. ภวะมอี ยู ๒ อยา ง คือ ๑. กมั มภวะ การปรุงแตง ทท่ี ําใหผ ลเกิดขึ้น [P112] วาโดยธมั มาธิษฐาน ไดแ ก อกศุ ลเจตนา ๑๒ โลกยี กุศลเจตนา ๑๗ รวมเจตนา ๒๙ ๒. อปุ ปตติภวะ ผลท่เี กิดข้ึนในภพนั้นๆ โดยอาศัยกัมมภวะ วาโดยธมั มาธษิ ฐาน ไดแก โลกียวิปากจติ ๓๒ เจตสกิ ๓๕ กัมมชรปู ๒๐ ๔. ชาติในบทภวปจจยาชาติ นี้ มุงหมายเอาปฏิสนธชิ าตเิ ทานน้ั เม่ือวาโดยกาํ เนดิ มี ๔ คอื [P125] ๑. ชลาพุชชาติ = การเกดิ ข้ึนในมดลกู ๓. สงั เสทชชาติ = การเกิดขนึ้ ในทที่ มี่ ียาง ๒. อัณฑชชาติ = การเกิดขึน้ ในฟอง ๔. โอปปาติกชาติ = การเกิดผดุ โตข้นึ ทนั ที วาโดยขนั ธมี ๓ คอื ๑. ปญ จโวการชาติ = การเกดิ ขนึ้ ของขนั ธ ๕ ๒. จตโุ วการชาติ = การเกดิ ขึน้ ของนามขันธ ๔ ๓. เอกโวการชาติ = การเกิดขึ้นของรูปขันธอยา งเดียว และคําวา ชาติ นคี้ อื การเกิดข้นึ ของสัตวท ง้ั หลายใน ๓๑ ภูมิ โดยประการตา งๆ มีพวกอบายสตั ว มนษุ ย เทวดา พรหม เหลาน้ี กโ็ ดยเน่อื งมาจากกัมมภวะ คือ การกระทําดว ยกายวาจาใจ ที่เปน กศุ ลบางอกุศลบางน้ันเอง ฉะนัน้ จงึ เห็นไดวา สัตวทงั้ หลายในโลกน้ี ไมม ีใครเปนผสู รา ง นอกจาก กุศลกรรม อกุศลกรรม เทานน้ั ๔. ง. กัมมภวะ เปนปจ จัยชว ยอุปการะแก ชาติ ไดอ ํานาจปจ จัย ๒ คือ ๑. ปกตปู นสิ สยปจจัย ๒. นานักขณกิ กัมมปจ จยั [P126] ๔. ก. ปฏจิ จสมุปบาท เมือ่ วาโดยภวจักรแลว มี ๒ อยาง คอื [P160-161] ตง้ั แตอดตี เหตุเปนตน จนถึงปจจบุ นั ผลเปนภวจกั รอันหน่ึง ชื่อวา ปุพพันตภวจักร เปนภวจกั รแรก ต้งั แตป จ จุบันเหตเุ ปน ตน จนถงึ อนาคตผล เปนภวจักรอันหนึ่ง ช่ือวา อปรนั ตภวจักร เปน ภวจักรหลัง (50, 57) ในปพุ พันตภวจกั ร มีองคป ฏิจจสมุปบาท ๗ องค คือ อวิชชา สังขาร วิญญาณ นามรปู สฬายตนะ ผสั สะ เวทนา ในองคท ้งั ๗ เหลาน้ี อวชิ ชาเปนตน เหตุ หรือ เปน ทต่ี ัง้ นาํ ใหถึงเวทนา ในอปรนั ตภวจักร มอี งค ๕ คอื ตัณหา อปุ าทาน กมั มภวะ ชาติ ชรามณะ ในองค ๕ เหลานี้ ตัณหาเปนตน เหตุ หรือ เปน ทต่ี ้ังนาํ ใหถงึ ชรามรณะ (57) ในปุพพนั ตภวจักรทีม่ ีองค ๗ นนั้ มงุ หมายเอาเฉพาะองคท ปี่ รากฏออกหนา แตใ นขณะทอ่ี งค ๗ หมนุ เวียน อยนู ้ัน ตณั หา อปุ าทาน กัมมภวะ ชาติ ชรามรณะ องคท้งั ๕ เหลา นี้ (ท่เี ปน อปรนั ตภวจกั ร) กห็ มนุ ตามไปดว ย ในอปรันตภวจักรท่มี อี งค ๕ นน้ั มงุ หมายเอาแตเฉพาะองคที่ปรากฏออกหนา เชนเดยี วกนั แตในขณะที่ องค ๕ หมนุ เวยี นอยูน้นั อวชิ ชา สังขาร วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผสั สะ เวทนา องคท ัง้ ๗ เหลานี้ (ที่เปน ปพุ พนั ตภวจกั ร) ก็หมุนตามไปดว ย [P160-161] ๔. จงอธบิ ายในเหตุท่ีทําใหว ฏั ฏะทั้ง ๓ ขาดลง = ตามธรรมดาตนไมยอมงอกงามเจริญไดกโ็ ดยอาศัยรากแกว ถา รากแกว ถูกทําลายเสยี แลว ตนไมนน้ั ก็จะเกิดอาการอับเฉาลงทันที และผลสดุ ทายก็ตาย ขอน้ฉี ันใด รูปนาม  ดาวนโหลดขอมูลและไฟลต า งๆไดจ าก Post ทหี่ นา fb/Line ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ที่แปะไว)

มชั ฌิมอาภิธรรมกิ ะโท 10 ปฏจิ จสมุปบาท ปฏ ฐาน บญั ญตั ิ : สมถ+วปิ ส สนา กรรมฐาน คอื สตั วท งั้ หลายทีเ่ จรญิ อยูในสังสารวฏั โดยไมมที ่ีสน้ิ สดุ น้ัน กเ็ พราะอาํ นาจแหง อวชิ ชาและตัณหา เมอ่ื ใดอวิชชา และตณั หาทง้ั ๒ นถี้ กู ทําลายลงดวยอาํ นาจแหง อรหัตตมรรคแลว ความเจริญของรปู นาม อนั ไดแ กการเวียนวา ย ของสัตวท ง้ั หลายน้ัน ก็เปน อันสิ้นสุดลง ดังน้ันพระอนรุ ทุ ธาจารยจงึ แสดงวา “เตสเมว จ มูลานํ นโิ รเธน นิรุชฺฌติ” ซึ่งแปลวา เมือ่ วัฏฏมลู ทั้ง ๒ นนั้ ดับส้ินลงไมมีเหลือ ดวยอํานาจแหงอรหตั มรรคแลว การหมนุ เวยี น แหงปฏิจจสมปุ บาท คือ วัฏฏะทง้ั ๓ ก็ยอมดบั ลงทันที (ฉนั นน้ั ) [P165] ขอ ๕ ๕. ก. วญิ ญาณที่เปน เหตุใหเ กิดนามรปู มี ๒ อยาง คือ [P53] ๑. วิปากวญิ ญาณ องคธ รรมไดแก โลกียวิปากจติ ๓๒ ๒. กมั มวิญญาณ องคธ รรมไดแก อกุศลจิต มหากุศลจิต รปู าวจรกุศลจิต ท่ปี ระกอบกบั กุศลและ อกศุ ลเจตนาที่ในอดีตภพ และคาํ วา นามรปู  น้ัน นาม ไดแ ก เจตสกิ ๓๕ ทปี่ ระกอบกบั โลกียวิปากจติ ๓๒ รูป ไดแก ปฏิสนธิกมั มชรปู ปวตั ติกัมมชรูป จิตตชรปู ๕. ข. โสตสัมผัสสะจะเกิดขึ้นไดตองอาศยั อายตนะ ๔ อยาง คือ ๑. โสตายตนะ ไดแ ก โสตปสาท [P ] ๒. สัททายตนะ ไดแ ก สัททารมณ ๓. มนายตนะ ไดแ ก โสตวญิ ญาณ ๔. ธัมมายตนะ ไดแ ก สพั พจติ ตสาธารณเจตสิก ๖ (เวนผัสสะ) ๕. ก. การแสดงปฏจิ จสมปุ บาทของพระสมั มาสมั พุทธเจาในสังยุตตนิกายนนั้ [P ] มีประเภทแหงการแสดงเปน ๔ นัย คอื ๑. แสดงจากตน ไปถงึ ปลาย คือ ต้ังแตเวทนาไปตามลาํ ดับจนถงึ ชรามรณะเปนทีส่ ุด เรียกวา อาทิปรโิ ยสานอนโุ ลมเทศนา ๒. แสดงจากกลางไปถึงปลาย คือ ต้งั แตเวทนาไปตามลาํ ดับจนถงึ ชรามรณะเปน ทส่ี ุด เรียกวา มชั ฌปรโิ ยสานอนโุ ลมเทศนา ๓. แสดงจากปลายไปถึงตน คือ ตง้ั แตช รามรณะถอยหลงั ไปตามลาํ ดับจนถงึ อวชิ ชาเปนที่สดุ เรยี กวา ปริโยสานอาทิปฏิโลมเทศนา ๔. แสดงจากกลางไปถึงตน คือ ต้งั แตตณั หาถอยหลังไปตามลําดับจนถงึ อวชิ ชาเปนที่สดุ เรียกวา มัชฌอาทปิ ฏโิ ลมเทศนา ๒.ข. จงจาํ แนกองคปฏิจจสมุปปาทโดยสจั จะ (ตามอภิธรรมภาชนยี นยั ) ดังน้ี [P172] อวิชชา สังขาร จดั เปน สมทุ ยสจั จะ วิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ เวทนา จัดเปน ทกุ ขสัจจะ ตณั หา อุปทาน กมั มภวะ จัดเปน สมุทยสัจจะ อุปปต ตภิ วะ ชาติ ชรา มรณะ จดั เปน ทกุ ขสัจจะ ๕. ก. การแสดงปฏิจจสมุปบาทธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจา มอี ยู ๒ นยั คอื สุตตันตภาชนยี นยั และอภธิ รรม ภาชนยี นยั การแสดงโดยสุตตนั ตภาชนียนัย ไดแ สดงถึงความเปน ไปแหง ปฏจิ จสมุปบาท ในจิตหลายๆ ดวง ชื่อวา นานาจติ ตักขณิกปฏจิ จสมุปบาท สว นการแสดงโดยอภิธรรมภาชนียนัย ไดแ สดงถึงความ เปนไปแหง ปฏจิ จสมปุ บาท ในจิตดวงหน่งึ ๆ ชอ่ื วา เอกจิตตักขณกิ ปฏิจจสมปุ บาท [P180] ๕. ก. การแสดงปฏจิ จสมปุ บาทโดยสุตตันตภาชนยี นยั ไดแสดงถึงความเปน ไปแหงปฏิจจสมปุ บาทในจิตหลายๆ ดวง ช่ือวา “นานาจิตตกั ขณิกปฏิจจสมุปบาท” สวนการแสดงโดยอภิธรรมภาชนียนยั นน้ั ไดแ สดงถึงความเปน ไป แหงปฏิจจสมุปบาทในจิตดวงหนึง่ ๆ ชอื่ วา “เอกจติ ตักขณิกปกจิ จสมุปบาท” [P180]  ดาวนโหลดขอ มูลและไฟลต างๆไดจาก Post ที่หนา fb/Line ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแ่ี ปะไว)

มชั ฌิมอาภิธรรมกิ ะโท 11 ปฏจิ จสมุปบาท ปฏฐาน บญั ญตั ิ : สมถ+วปิ ส สนา กรรมฐาน ในอภธิ รรมภาชนยี นัย แบง การแสดงออกเปน ๓ พวก คือ อภิธรรมภาชนียนัย ในจิต ๘๙ เจตสกิ ๕๒ แบงการแสดงออกเปน ๓ พวก คือ [P180] ๑.อกศุ ลบท ๒.กศุ ลบท ๓. อพยากตบท ๖. ข. การแสดงความเปนไปแหงปฏิจจสมปุ บาทในจติ ดวงหน่ึงๆ มีชื่อวา “เอกจิตตักขณิกปฏจิ จสมปุ บาท” มี การแสดง ๓ บท คือ อกุศลบท กศุ ลบท อพั ยากตบท และในกุศลบทท้ังหมดมีการแสดงองคป ฏิจจฯ ได ๑๒ องค ดังนี้ ๑. กุศลมูล ๒. สงั ขาร ๓. วิญญาณ ๔. นาม ๕.ฉฏั ฐายตนะ ๖. ผัสสะ ๗.เวทนา ๘.ปสาทะ ๙.อธิโมกข ๑๐.ภวะ ๑๑.ชาติ ๑๒.ชรา มรณะ [P18..] ๕. ก. จงแปลปฏจิ จสมปุ บาทโดยอภิธรรมภาชนยี นัยในจติ ตุปบาททั้งหมด ดังน้ี วิ ฺ าณปจฺจยา นามํ นามปจจฺ ยา ฉฎายตนํ ฉฎายตนปจจฺ ยา ผสโฺ ส ผสฺสปจฺจยา เวทนา ? ตอบ ก. แปลดังน้ี เพราะจติ 89 เปน เหตุ เจตสิกขนั ธ 3 ที่ประกอบกับจติ 89 จงึ เกิด เพราะเจตสิกขันธ 3 ทปี่ ระกอบกับจติ 89 เปน เหตุ มนายตนะ คือ จิต 89 จงึ เกิดข้ึน เพราะมนายตนะคอื จิต 89 เปน เหตุ ผสั สะ ทป่ี ระกอบกับจิต 89 จงึ เกิดขน้ึ เพราะผสั สะท่ปี ระกอบกบั จิต 89 เปน เหตุ เวทนา ท่ปี ระกอบกบั จิต 89 จึงเกดิ ขนึ้ ๕. ก.จงแสดงถงึ ความเปน ไปแหง ปฏจิ จสมปุ บาทเฉพาะภาษาไทย ใน ทฏิ ฐคิ ตสัมปยตุ ตจิต เฉพาะคทู ี่ ๑ และคสู ดุ ทาย พรอมทงั้ บทสดุ ทายมาดู ? [P181-182] 49, 54(5ก) ตอบ ก. คูท่ี ๑ เพราะอวชิ ชาเปน เหตุ อปุญญาภิสงั ขาร คือ ทิฏฐคิ ตสมั ปยุตตอกศุ ลเจตนา ที่เปนไปพรอมดวย อวชิ ชา จงึ เกิดขึ้น, คสู ุดทา ย เพราะนามชาติ คือ อาการที่เกิดข้ึนของทฏิ ฐิคตสัมปยตุ ตจิตตุปบาท เปนเหตุ นามชรา นาม มรณะ คือ ขณะตั้งและขณะดบั ของทิฏฐิคตสัมปยตุ ตจิตตปุ บาท จงึ เกิดข้นึ , บทสุดทา ย ความเกิดขน้ึ แหงกองทกุ ขแทๆ ท้ังปวงนี้ เพราะอาศัยปจ จยั ตา งๆ มอี วิชชาเปนตน ดังท่ไี ดกลาวมาแลวน้ี ๖. แสดงความเปนไปของปฏจิ จสมปุ บาทในทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ เจตสิก ๒๑ เฉพาะภาษาไทย ? (เวน ๓ องค คือ ฉัฏฐายตนะ ผัสสะ เวทนา) [P] ตอบ เพราะอวิชชาเปน เหตุ อปญุ ญาภิสังขาร คือทฏิ ฐิคตวปิ ปยุตตอกศุ ลเจตนา ทเี่ ปนไปพรอมดว ยอวิชชานัน้ จงึ เกดิ ขน้ึ เพราะอปญุ ญาภสิ ังขาร คอื ทิฏฐคิ ตวิปปยตุ ตอกุศลเจตนาเปน เหตุ ทฏิ ฐิคตวปิ ปยุตตจิต จึงเกดิ ขึ้น เพราะทฏิ ฐิคตวิปปยตุ ตจิต เปนเหตุ เจตสกิ ขนั ธ ๓ ท่ีประกอบกับทฏิ ฐคิ ตวปิ ปยตุ ตจิต จงึ เกิดข้นึ เพราะตณั หา ทป่ี ระกอบกบั ทฏิ ฐคิ ตวปิ ปยุตตจติ เปนเหตุ อธิโมกข ท่ีประกอบกบั ทฏิ ฐคิ ตวิปปยตุ ตตจิต จงึ เกิดขนึ้ เพราะอธโิ มกข ท่ีประกอบกับทฏิ ฐิคตวปิ ปยตุ ตจิตเปน เหตุ ภวะ คือ ทิฏฐคิ ตวิปปยตุ ตจติ ตปุ บาท (เวนอธิโมกข) จึงเกดิ ขึน้ เพราะภวะ คอื ทิฏฐิคตวิปปยตุ ตจติ ตุปบาท (เวนอธิโมกข) เปนเหตุ นามชาติ คอื อาการทเ่ี กิดข้นึ ของทฏิ ฐคิ ตวปิ ปยตุ ตตจติ จึงเกิดขึ้น เพราะนามชาติ คือ อาการที่เกดิ ขึ้นของทิฏฐิคตวิปปยุตตจติ ตุปบาทเปน เหตุ นามชรา นามมรณะ คอื ขณะต้ังและขณะดบั ของทิฏฐคิ ตวิปปยุตตจติ ตุปบาท จึงเกิดข้นึ ความเกิดขึ้นแหง กองทุกขแ ทๆ ทง้ั ปวงนี้ เพราะอาศยั ปจจัยตางๆ มีอวิชชา เปน ตน ดังทไ่ี ดกลา วมาแลวนี้ ๕. ข. ในการที่อภิธรรมภาชนียนัย พระพุทธองคไมทรงแสดง โสก ปรเิ ทวะ เปน ตน ซงึ่ เปนผลของชาติน้ันเพราะ ในจิตตกั ขณะดวงหน่งึ ๆ นนั้ โสกะ ปริเทวะ เปน ตน เหลา น้ี ยอ มเกิดขนึ้ ไมได และอีกประการหนึง่ โสกะ ปริเทวะ เปนตน เหลา น้ี กไ็ มไ ดเกดิ ในภูมทิ ว่ั ไป เชน ในรูปภูมิ อรูปภูมิ ดว ยเหตนุ ี้ พระพทุ ธองคจ งึ ไมทรงแสดง โสกะ ปริเทวะ เปน ตน ใหเ ปน ผลของชาติ [P182]  ดาวนโหลดขอ มูลและไฟลต า งๆไดจาก Post ท่ีหนา fb/Line ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทแี่ ปะไว)

มัชฌิมอาภิธรรมกิ ะโท 12 ปฏจิ จสมปุ บาท ปฏ ฐาน บญั ญตั ิ : สมถ+วปิ ส สนา กรรมฐาน ๖. ก. แสดงความเปนไปแหง ปฏิจจสมปุ บาท ในอภิธรรมภาชนียนยั ในมหากุศลญาณสมั ปยตุ ตจิต ๔ ดงั นี้ [“ภวปจฺจยา ชาติ ชาติปจฺจยา ชรามรณํ เอวเมตสฺส เกวลสสฺ ทกุ ขฺ กขฺ นธฺ สฺส สมทุ โย โหติ ฯ”] [P181-182] เพราะ ภวะ คอื มหากศุ ลญาณสมั ปยตุ จิตตปุ บาท (เวน อธิโมกข) เปน เหตุ นามชาติ คอื อาการเกดิ ขน้ึ ของมหากุศลญาณสัมปยตุ ตจิตตุปบาท จึงเกดิ ข้ึน เพราะ นามชาติ คือ อาการเกดิ ข้นึ ของมหากศุ ลญาณสัมปยุตตจิตตุปบาทเปนเหตุ นามชรา นามมรณะ คอื ขณะตั้ง และขณะดบั ของมหากศุ ลญาณสมั ปยุตจิตตุปบาท จึงเกิดข้ึน ความเกิดขนึ้ แหงกองทุกขแทๆ ทัง้ ปวงน้ี เพราะอาศยั ปจจยั ตา งๆ มีกุศลมลู เปนตนดังท่ีไดกลา วมาแลว น้ี ๕. ข. ในมหากศุ ลญาณสมั ปยุตตจติ ตปุ บาท ๔ นนั้ ความเปนไปขององคป ฏิจจสมุปบาท มจี าํ นวน ๑๒ คอื ๑. กุศลมลู ๓ ๒. สังขาร ๓. วิญญาณ ๔. นาม ๕. ฉัฏฐายตนะ ๖. ผัสสะ [P18..] ๗. เวทนา ๘. ปสาทะ ๙. อธโิ มกข ๑๐. ภวะ ๑๑. ชาติ ๑๒. ชรามรณะ ๖. ค. ในวิจิกิจฉาสมั ปยตุ ตจิตตปุ บาท มีองคปฏิจจสมุปบาท ๑๑ คอื ๑. อวิชชา ๒. สงั ขาร ๓. วิญญาณ ๔. นาม ๕. ฉฏั ฐายตนะ ๖. ผัสสะ ๗. เวทนา ๘. วจิ ิกจิ ฉา ๙. ภวะ ๑๐. ชาติ ๑๑. ชรามรณะ อรูปาวจรกศุ ลจิตตปุ บาท มอี งคป ฏจิ จสมุปบาท ๑๒ คอื ๑. กศุ ลมูล ๒. สงั ขาร ๓. วญิ ญาณ ๔. นาม ๕. ฉัฏฐายตนะ ๖. ผสั สะ ๗. เวทนา ๘. ปสาท ๙. อธิโมกข ๑๐. ภวะ ๑๑. ชาติ ๑๒. ชรามรณะ ๕. ก. แสดงเปนบาลี ดังน้ี (ความเปน ไปของปฏจิ จสมปุ บาทในโลกุตตรกศุ ลจิต ๓ คู [P183] คอื คูท่ี ๑ คทู ่ี ๒ และ คูสดุ ทาย พรอ มดวยบทสุดทา ย คือ ) กุสลมูลปจฺจยา สงฺขาโร, สงฺขารปจจฺ ยา วิ ฺานํ ฯลฯ ชาตปิ จจฺ ยา ชรามรณํ เอวเมเตสํ ธมฺมานํ สมุทโย โหติ แปล เพราะกุศลมูล ๓ เปน เหตุ ปุญญาภิสงั ขาร คือ โลกตุ ตรกุศลเจตนา ท่ีเปน ไปพรอมดวยกุศลมูล ๓ จึงเกิดขึ้น เพราะปญุ ญาภสิ ังขาร คอื โลกุตตรกศุ ลเจตนา เปน เหตุ โลกตุ ตรกศุ ลจิตจึงเกดิ ขนึ้ เพราะนามชาติ คอื อาการเกิดขึน้ ของโลกตุ ตรกศุ ลจิตตุปบาท เปน เหตุ นามชรา นามมรณะ คอื ขณะตง้ั และ ขณะดบั ของโลกุตตรกุศลจิตตปุ บาท จงึ เกดิ ข้ึน ความเกิดข้นึ แหง โลกุตตรกศุ ลธรรม ยอมเปนไปดงั นี้ ๖. ก. ความเปน ไปของปฏจิ จสมปุ บาทในโลกุตตรกศุ ลจิตนนั้ แปลวา [กุสลมูลปจฺจยา สงขฺ าโร ฯลฯ ชาตปิ จจฺ ยา ชรามรณํ เอวเมเตสํ ธมฺมานํ สมทุ โย โหติ.] [P18..] เพราะกุศลมูล ๓ เปนเหตุ ปุญญาภิสังขาร คอื โลกตุ ตรกุศลเจตนา ที่เปนไปพรอ มดวยกุศลมลู ๓ จึงเกดิ ข้ึน ฯลฯ เพราะนามชาติ คอื อาการทเี่ กดิ ขน้ึ ของโลกตุ ตรกุศลจิตตปุ บาท เปน เหตุ นามชรา นามมรณะ คือ ขณะต้ังและ ขณะดบั ของโลกุตตรกุศลจิตตปุ บาทจงึ เกิดขึ้น ความเกิดข้นึ ของโลกตุ ตรกศุ ลธรรม ยอมเปนไปดังนี้ ๖. ก. โลกตุ ตรวปิ ากจิต ๔ เจตสกิ ๓๖ นน้ั วา มอี งคป ฏจิ จสมปุ บาท ๑๑ องค คือ ๑. สงั ขาร ๒ วิญญาณ ๓. นาม ๔.ฉฏั ฐายตนะ ๕. ผสั สะ ๖.เวทนา ๗. ปสาทะ ๘. อธิโมกข ๙. ภวะ ๑๐.ชาติ ๑๑.ชรา มรณะ [P18..] ๕. แปลเปน ไทยในปฏจิ จสมุปบาทโดยอภิธรรมภาชนยี นัย เฉพาะในทวปิ ญ จวญิ ญาณจติ ๑๐ [P185-186] ก. สงขารปจจฺ ยา วิาณํ, วิ าณปจจฺ ยา นาม ฯ ? [P185] ข. ภวปจจฺ ยา ชาติ, ชาตปิ จฺจยา ชรามรณํ เอวเมตสสฺ เกวลสสฺ ทุกฺขกฺขนธฺ สสฺ สมทุ โย โหติ ฯ ? [P186] ตอบ ก. เพราะปญุ ญาภสิ ังขาร อปุญญาภสิ ังขาร คือ มหากุศลเจตนา ๘ อกุศลเจตนา ๑๒ เปน เหตุ ทวิปญจวญิ ญาณจติ ๑๐ จึงเกิดข้ึน เพราะทวิปญจวญิ ญาณจิต ๑๐ เปน เหตุ เจตสกิ ขันธ ๓ ที่ประกอบกบั ทวิปญ จวิญญาณจิต ๑๐ จึงเกดิ ขน้ึ ข. เพราะภวะ คือ ทวปิ ญ จวญิ ญาณจิตตปุ บาท (เวน เวทนา) เปนเหตุ นามชาติ คอื อาการทเี่ กดิ ขนึ้ ของ ทวิปญ จวิญญาณจิตตุปบาท จึงเกิดข้นึ เพราะนามชาติ คอื อาการทเ่ี กิดขน้ึ ของทวิปญจวิญญาณจิตตุปบาท เปน เหตุ นามชรา นามมรณะ คือ ขณะต้งั และขณะดบั ของทวปิ ญ จวิญญาณจติ ตปุ บาท จงึ เกดิ ขนึ้ ความเกิดขน้ึ แหง  ดาวนโหลดขอ มูลและไฟลต า งๆไดจ าก Post ท่หี นา fb/Line ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ท่ีแปะไว)

มชั ฌิมอาภิธรรมิกะโท 13 ปฏิจจสมปุ บาท ปฏ ฐาน บญั ญตั ิ : สมถ+วปิ ส สนา กรรมฐาน กองทุกขแทๆ ท้ังปวงนี้ เพราะอาศัยปจ จัยตา งๆ มปี ญุ ญาภิสังขาร อปุญญาภิสังขาร เปน ตน ดังท่ไี ดกลาวมาแลว น้ี ๕. ข. ในทวิปญจวญิ ญาณจติ ๑๐ สพั พจติ ตสาธารณเจตสกิ ๗ ดวงนั้น มีองคป ฏิจจสมุปบาท ๙ องค ค[Pือ18..] ๕. ข. ปฏิจจสมุปบาททเ่ี ปน ทางตา (จกั ขุวิญญาณ) เมอื่ วา โดยองคแลว มี ๙ องค คือ [P18..] ๑) สังขาร ๒) วิญญาณ ๓) นาม ๔) ฉฏั ฐายตนะ ๕) ผัสสะ ๖) เวทนา ๗) ภวะ ๘) ชาติ ๙) ชรามรณะ ๕. ค. อัพยากตบท ไดแสดงถงึ ความเปน ไปแหงปฏิจจสมปุ บาทในจติ ๕๖ ดวง [P185-186] คือ วปิ ากจิต ๓๖ กิรยิ าจติ ๒๐ เจตสิก ๓๘ ขอ ๖ ๒๔ ปจจยั -> ๔๗ ปจ จยั ๖. ก. แสดงช่ือ-คําแปลตามลําดบั ๕ ปจ จยั ดังนี้ [P188] สหชาตาธิปต1ิ -4 อารมั ณาธปิ ต5ิ ๑. เหตปุ จ จโย ธรรมท่ชี วยอปุ การะโดยความเปนเหตุ เห อา๘ ธิ๒๕ น๑ํ ๘ สน๑ํ ๘ สห๖ ๒. อารมั มณปจ จโย ธรรมทช่ี วยอปุ การะโดยความเปน สหวัตชาถตุปนเุ รสิ ชสายต1น-5ิส6-10ออนารนั 1ัมต3มร4ณูป6นปู-ิส9น1สิ 1สวยตั ะถ1-ุป3เุ,ร4ช, า7-ต91-5 12 13 อารมณ วตั ถารมั ณปเุ ร11ปกตปู นสิ 1-12 อารมั ณปเุ รชาต6-11 13 ๓. อธปิ ติปจ จโย ธรรมที่ชว ยอปุ การะโดยความเปน อธิบดี อัญ๓ นสิ ๓๑๑ อุป๓๑๒ ปุ๒๑๓ ฉา เส๓ ๔. อนันตรปจจโย ธรรมทชี่ ว ยอุปการะโดยความ สหชาตนิ ทริย7 ติดตอกันไมมีระหวางค่นั รปู อาหาร1 วตั ถปุ เุ รชาตนิ ทรยิ 1-5 สหชาตกมั ม2 นามอาหาร2 รูปชีวิตนิ ทริย6 ๕. สมนนั ตรปจ จโย ธรรมทช่ี วยอุปการะโดยความ นานกั ขณกิ กมั ม1 ตดิ ตอกันไมมีระหวางคน่ั ทีเดียว กมั ๒๒ ปา หา๒๒ อนิ ๓๗ ฌา มคั ๖. ข. แสดงความหมายของปจจยั ดังน้ี คอื [P188] 46 อุปนสิ ฺสยปจจฺ โย ธรรมท่ีชวยอุปการะโดยความเปนที่ สหชาตตั ถ1ิ -5 สหชาตอวคิ ต1-5 วตั ถุปุเรชาตตั ถ6ิ -10 17 วตั ถุปุเรชาตอวคิ ต6-10 17 อาศยั ท่มี กี าํ ลังมาก สหชาตวิปปยตุ ต2 อารัมมณปเุ รชาตตั ถ1ิ 1-16, 17 อารมั มณปุเรชาต1ั 1-16, 17 ปเุ รชาตปจจฺ โย ธรรมท่ชี วยอุปการะโดยความเกิดกอ น วตั ถุปุเรชาตวปิ 1 ปจฉาชาตตั ถิ วตั ถารมั มณปเุ ร1 ปจฉาชาตอวคิ ต ปจฺฉาชาตปจฺจโย ธรรมทชี่ ว ยอุปการะโดยความเกิดทีหลัง อาหารตั ถิ กมฺมปจฺจโย ธรรมที่ชวยอุปการะโดยความปรุงแตง อาหารอวคิ ต สัม ปจ ฉาชาตวิป2 อนิ ทริยตั ถิ วิ อนิ ทรยิ ิวคิ ต เพอื่ ใหก จิ ตา งๆ สําเร็จลง วิปากปจจฺ โย ธรรมท่ีชว ยอุปการะโดยความเปนวิปาก วิป๔๒ ถิ๖๑๗ นตั ถิ อ๖๑๗ คอื เขา ถงึ ความสุกงอมและหมดกําลังลง ปจ จยั ทม่ี ี ๑(๑๔), ๒(๔), ๓(๓), ๔(๑), ๖(๒) ปจจยั (สัมภาษณ) ๕. ข. ปจ จยั ท่ี ๑๐ คือ ปุเรชาตปจจฺ โย = ธรรมที่ชว ยอปุ การะโดยความเกิดกอน [P188] ปจ จัยที่ ๑๑ คอื ปจฉฺ าชาตปจจฺ โย = ธรรมที่ชว ยอปุ การะโดยความเกดิ ทหี ลงั ปจจยั ท่ี ๑๒ คือ อาเสวนปจฺจโย = ธรรมทชี่ ว ยอปุ การะโดยความเสพบอ ย ๆ ๕. ก. แสดงความหมายของปจ จัยดงั ตอไปนี้ [P189] ๑) วปิ ฺปยตุ ฺตปจฺจโย หมายความวา ธรรมท่ีชวยอุปการะโดยความเปน ผูไ มประกอบ ๒) อตฺถปิ จจฺ โย หมายความวา ธรรมทชี่ วยอปุ การะโดยความเปนผยู งั มีอยู ๓) นตถฺ ปิ จฺจโย หมายความวา ธรรมที่ชว ยอปุ การะโดยความเปน ผูไมม ี ๔) วคิ ตปจฺจโย หมายความวา ธรรมทช่ี ว ยอปุ การะโดยความเปน ผูปราศจากไป ๕) อวคิ ตปจฺจโย หมายความวา ธรรมทีช่ ว ยอุปการะโดยความเปน ผยู ังไมปราศจากไป ๖. ก. ปจจัยโดยยอ ๒๔ ปจจยั นั้น ปจจยั ทเี่ ปน คกู นั มี ๗ คู คอื (แสดงเฉพาะช่ือ) [P ] 47 คูท่ี ๑ ไดแก อนนั ตรปจจยั กบั สมนนั ตรปจ จัย คูท่ี ๒ ไดแก นสิ สยปจ จยั กับ อุปนสิ สยปจจยั  ดาวนโหลดขอ มลู และไฟลต า งๆไดจาก Post ท่ีหนา fb/Line ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ท่แี ปะไว)

มชั ฌมิ อาภิธรรมิกะโท 14 ปฏจิ จสมปุ บาท ปฏฐาน บญั ญตั ิ : สมถ+วปิ ส สนา กรรมฐาน คทู ี่ ๓ ไดแก ปุเรชาตปจจยั กับ ปจฉาชาตปจ จัย คทู ี่ ๔ ไดแ ก กัมมปจจยั กับ วิปากปจจยั คทู ี่ ๕ ไดแ ก สมั ปยตุ ตปจจยั กับ วิปปยุตตปจ จัย คทู ่ี ๖ ไดแ ก อัตถปิ จจยั กบั นตั ถปิ จ จยั คทู ี่ ๗ ไดแ ก วคิ ตปจ จยั กบั อวิคตปจ จัย ๖. ข. ในปจจยั ๒๔ นัน้ ปจ จยั ทีป่ ระชุมแหงปจ จยั ทั้งปวง ไดแ ก (มี ๔ ปจ จัย คอื ) [P ] ๑. อารัมมณปจจยั ๒. อปุ นิสสยปจ จัย ๓. กัมมปจ จัย ๔. อตั ถิปจจัย และในปจจัยเหลา นี้ แตล ะปจ จยั มีดังนี้ [P ] ๑. อารมั มณปจ จัย มี ๑ ปจจัย คือ อารัมมณปจ จยั ๒. อุปนสิ สยปจ จัย มี ๓ ปจจัย คอื ๑. อารัมมณูปนสิ สยปจ จัย ๒. อนันตรปู นิสสยปจจยั ๓. ปกตปู นิสสยปจ จัย ๓. กมั มปจ จัย มี ๒ ปจ จยั คอื ๑. สหชาตกัมมปจจยั ๒. นานกั ขณกิ กัมมปจจยั ๔. อัตถิปจจัย มี ๖ ปจ จัย คอื ๑. สหชาตัตถิปจ จัย ๒. วัตถปุ เุ รชาตตั ถปิ จจยั ๓. อารมั มณปเุ รชาตัตถิปจจยั ๔. ปจ ฉาชาตัตถิปจจยั ๕. อาหารตั ถิปจจยั ๖. อินทริยตั ถิปจ จัย ๕. ก. ... แสดงรูปทชี่ ือ่ วา “สหชาตรูป” ในสหชาตชาตทิ ั่วไปทง้ั หมดน้นั แบง ออกเปน ๒ อยาง คือ [P] ๑. จิตตชรปู ท่ีเกดิ ใน ปวัตตกิ าล อยา งหนึง่ ๒. กัมมชรูป ที่เกดิ ใน ปฏิสนธิกาล อยางหน่ึง ๖. ก. ปจจัยโดยยอ มี ๒๔ เม่ือแสดงโดยพสิ ดารแลว มี ๔๗ ปจจยั พิสดารอยทู ีป่ จจยั ๑๐ ปจ จัย คอื [P ] 36, 50 ๖./๓. ก. / ข. ปจจัยทม่ี ีมากกวาหน่งึ ปจจัยนน้ั มีจํานวน ๑๐ ปจจัย คอื [P ] ๑. อธิปตปิ จจยั ๒. นิสสยปจจัย ๓. อุปนสิ สยปจ จัย ๔. ปุเรชาตปิ จจัย ๕. กัมมปจ จยั ๖. อาหารปจจัย ๗. อินทรยิ ปจ จัย ๘. วปิ ปยตุ ตปจ จัย ๙. อตั ถิปจจยั ๑๐. อวคิ ตปจ จยั ๓. ข. ปจจยั ท่ีมี ๒ ปจจัย มี ๔ ปจจยั คือ ๑ อธปิ ตปิ จ จยั ๒ ปเุ รชาตปจ จัย ๓ กมั มปจจยั ๔ อาหารปจจยั 53 อธิปตปิ จจัย มี ๒ ปจจัย คอื ๑ สหชาตาธิปตปิ จจัย ๒ อารัมมณาธิปตปิ จ จัย ปุเรชาตปจจยั มี ๒ ปจ จัย คอื ๑ วตั ถุปุเรชาตปจจัย ๒ อารัมมณปเุ รชาตปจ จยั กัมมปจจัย มี ๒ ปจ จยั คือ ๑ สหชาตกมั มปจ จัย ๒ นานักขณกิ กัมมปจจัย อาหารปจจยั มี ๒ ปจ จัย คือ ๑ รูปอาหารปจจยั ๒ นามอาหารปจ จยั ปจ จัยทีม่ ี ๓ ปจจยั มี ๓ ปจจยั คือ ๑. นสิ สยปจจัย ๒. อุปนิสสยปจจยั ๓. อนิ ทรยิ ปจจัย นิสสยปจจยั มี ๓ ปจ จัย คอื ๑. สหชาตนสิ สยปจจยั ๒. วัตถุปุเรชาตนิสสยปจจัย ๓. วัตถารมั มณปเุ รชาตนิสสยปจ จัย อปุ นิสสยปจจยั มี ๓ ปจ จยั คือ ๑. อารมั มณูปนสิ สยปจ จัย ๒. อนนั ตรปู นิสสยปจจยั ๓. ปกตปู นสิ สยปจ จยั อนิ ทริยปจจัย มี ๓ ปจจัย คอื ๑. สหชาตินทริยปจจยั ๒. ปเุ รชาตนิ ทรยิ ปจ จยั ๓. รปู ชวี ิตนิ ทรยิ ปจจยั ปจ จยั ที่มี ๔ ปจจัย มี ๑ ปจจัย คือ วิปปยตุ ตปจจยั วปิ ปยุตตปจจัย มี ๔ ปจ จัย คือ ๑. สหชาตวิปปยตุ ตปจ จยั ๒. วัตถุปเุ รชาตวิปปยุตตปจ จัย ๓. วตั ถารัมมณปเุ รชาตวปิ ปยตุ ตปจ จยั ๔. ปจฉาชาตวปิ ปยุตตปจจัย ค. ในปจจยั เหลา นปี้ จจัยทอี่ ยูในจาํ พวกนามรูปเปน ปจจยั นามรปู เปน ปจจยุปบันมี ๗ ปจ จยั คือ ๑. อธปิ ติ ปจ จัย ๒. นสิ สยปจจยั ๓. อาหารปจ จยั ๔. อนิ ทริยปจจยั ๕. วปิ ปยุตตปจ จัย ๖. อัตถิปจจยั ๗. อวิคตปจ จยั ๗. ก. อินทรยิ ปจ จยั มี ๓ ปจ จยั คอื ๑ สหชาตนิ ทริยปจจัย .๒. ปุเรชาตนิ ทรยิ ปจจัย ๓. รูปชวี ิตินทรยิ ปจ จยั อัตถปิ จจยั มี ๖ ปจจัยคอื ๑ สหชาตตั ถิปจ จัย ๒. วตั ถปุ ุเรชาตตั ถิปจจัย ๓. อารัมมณปเุ รชาตัตถิปจ จัย ๔. ปจฉาชาตตั ถิปจ จัย ๕.อาหารตั ถปิ จ จัย ๖ อินทรยิ ตั ถิปจจัย [P] 43, 55(6ข)  ดาวนโหลดขอมลู และไฟลต างๆไดจาก Post ทีห่ นา fb/Line ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ท่ีแปะไว)

มชั ฌมิ อาภิธรรมิกะโท 15 ปฏจิ จสมุปบาท ปฏฐาน บัญญตั ิ : สมถ+วปิ สสนา กรรมฐาน ๕. ข. / ๗. ก. ในปจจยั ๒๔ นัน้ เม่อื แบงออกเปนหมวดๆ แลว มี ๖ หมวด คอื [P189(2)] (37) จาํ แนกปจจัย ๒๔ ออกเปนพวกๆ คอื นาม เปน ปจจยั ชว ยอปุ การแกนาม มี ๖ ปจ จัย นาม เปน ปจจยั ชวยอปุ การแกน ามรูป มี ๕ ปจ จัย นาม เปน ปจจัยชวยอปุ การแกรูป มี ๑ ปจ จยั รปู เปนปจจัยชว ยอปุ การแกน าม มี ๑ ปจจัย บญั ญตั นิ ามรปู ท้งั ๓ เปน ปจจัยชวยอุปการะแกนาม มี ๒ ปจ จัย นามรปู ทั้ง ๒ เปนปจจัยชว ยอุปการะนามรปู ท้ัง ๒ มี ๙ ปจจยั ๕. ข. นาม เปน ปจ จัยชว ยอปุ การะแกนาม ๖ ปจ จัย คือ [P190(3)] จิตและเจตสกิ ธรรม ท่เี กดิ ข้ึนและดับไปโดยไมม รี ะหวางคน่ั เหลานนั้ เปน ปจ จยั ชวยอุปการะแก จติ เจตสิก ที่ เกิดขึ้นใหมติดตอ กัน ดวยอํานาจ อนนั ตรปจ จยั สมนนั ตรปจจัย นตั ถิปจจยั วคิ ตปจ จัย ชวนะทเี่ กิดขึ้นกอนๆ เหลา นี้ เปนปจ จัยชวยอุปการะแกชวนะทีเ่ กิดหลงั ๆ ดวยอาํ นาจอาเสวนปจจัย จิต เจตสิกธรรม ท่ีเกิดพรอมกันเหลานี้ เปนปจ จัยชวยอุปการะแกกนั และกัน ดวยอํานาจสัมปยตุ ตปจจยั ๖. / ๕.ค. นามรปู เปน ปจจยั นามรูป (เปนปจ จยุปบัน) มี ๙ ปจจยั คอื [P189] ๑. อธิปตปิ จจัย ๒. สหชาตปจจัย ๓. อัญญมัญญปจ จยั ๔. นสิ สยปจจยั ๕. อาหารปจจยั ๖. อินทริยปจจยั ๗. วิปปยตุ ตปจ จัย ๘. อัตถปิ จจยั ๙. อวคิ ตปจจัย (56) และในปจจัยเหลานี้ แตละปจ จยั มี ๑ ปจจยั บา ง ๒ ปจ จัยบา ง เปนตน ดงั นี้ คือ อธปิ ติปจจยั มี ๒ ปจ จยั คอื ๑. สหชาตาธิปติปจจยั ๒. อารมั มณาธิปตปิ จ จยั สหชาตปจ จยั มี ๑ ปจ จยั คอื สหชาตปจ จยั อญั ญมัญญปจ จยั มี ๑ ปจจัย คอื อัญญมัญญปจจัย นิสสยปจจัย มี ๓ ปจจัย คอื ๑. สหชาตนสิ สยปจ จัย ๒. วัตถปุ ุเรชาตนสิ สยปจจยั ๓. วัตถารัมมณปเุ รชาตนิสสยปจจัย อาหารปจ จยั มี ๒ ปจจยั คือ ๑. รูปอาหารปจ จยั ๒. นามอาหารปจจยั อินทรยิ ปจ จยั มี ๓ ปจจยั คือ ๑. สหชาตินทรยิ ปจ จยั ๒. ปเุ รชาตนิ ทริยปจจัย ๓. รปู ชวี ิตนิ ทริยปจ จยั วิปปยุตตปจจยั มี ๔ ปจจัย คอื ๑. สหชาตวปิ ปยุตตปจ จัย ๒. วัตถปุ ุเรชาตวิปปยุตตปจจยั ๓. วัตถารัมมณปเุ รชาตวปิ ปยุตตปจ จยั ๔. ปจ ฉาชาตวิปปยุตตปจจยั อตั ถิปจ จัย มี ๖ ปจ จยั คอื ๑. สหชาตตั ถิปจจัย ๒.วัตถุปุเรชาตัตถิปจ จยั ๓. อารัมมณปเุ รชาตัตถิปจจัย ๔. ปจฉาชาตัตถิปจจยั ๕. อาหารตั ถปิ จจัย ๖. อนิ ทรยิ ตั ถิปจจัย อวิคตปจ จยั มี ๖ ปจ จัย คอื ๑. สหชาตอวคิ ตปจจยั ๒. วตั ถุปเุ รชาตอวคิ ตปจจัย ๓. อารัมมณปเุ รชาตอวคิ ตปจ จยั ๔. ปจ ฉาชาตอวคิ ตปจ จยั ๕. อาหารอวคิ ตปจจัย ๖. อินทรยิ อวิคตปจ จัย ๖. ค. สหชาตรปู แปลวา รปู ที่เกิดพรอมกนั กบั จิต มี ๒ อยางคอื [P196] ๑. จิตตชรปู ทเ่ี กิดในปวัตตกิ าล ๒. กัมมชรูป ทเ่ี กิดในปฏสิ นธกิ าล ๖. ก. ปจจยุปบนั ธรรมของ อญั ญมญั ญปจจัย คอื [P193] ๑. จิต เจตสิก เปน อญั ญมัญญปจจัย คอื จติ เจตสิก เปนอญั ญมัญญปจจยุปบันธรรม ๒. มหาภตู รูป ๔ เปน อญั ญมญั ญปจ จยั คอื มหาภูตรูป ๔ เปนอญั ญมญั ญปจจยปุ บนั ธรรม ๓. ปฏิสนธนิ ามขนั ธ ๔ เปน อัญญมัญญปจจัย คอื ปฏิสนธหิ ทยวัตถุ เปน อัญญมัญญปจจยุปบันธรรม ๔. ปฏิสนธิทหยวัตถุ เปน อัญญมญั ญปจ จัย คือ ปฏิสนธนิ ามขันธ ๔ เปน อญั ญมัญญปจ จยปุ บันธรรม ๔. ก. แสดงปจ จยุปปน ธรรมของ นามอนิ ทรีย องคธ รรม ๘ เปน อนิ ทรยิ ปจจัย คอื นามอินทรีย องคธรรม ๘ เปนอินทรยิ ปจจัย นามรปู คือ จิต ๘๙ เจตสิก ๕๒ และ จติ ตชรูป ปฏิสนธิกัมมชรปู เปน อนิ ทรยิ ปจ จยปุ ปน  ดาวนโหลดขอมลู และไฟลต า งๆไดจาก Post ท่หี นา fb/Line ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ท่ีแปะไว)

มชั ฌมิ อาภิธรรมิกะโท 16 ปฏิจจสมปุ บาท ปฏ ฐาน บญั ญตั ิ : สมถ+วปิ ส สนา กรรมฐาน แสดงปจจยปุ ปนธรรมของ รปู ชีวิตนิ ทรีย เปนอนิ ทริยปจ จัย คอื รูปชีวติ ินทรีย เปนอินทริยปจ จัย อปุ าทินนรปู คอื กัมมชรูป เปนอนิ ทรยิ ปจจยุปปน [P] 51 ๖. ก. แสดงปจ จยั ธรรมของอินทริยปจ จยปุ บนั ธรรม ดังน้ี [P ] ๑. ทวิปญจวิญญาณจิต ๑๐ เปน อนิ ทริยปจจยปุ บนั ธรรม คือ ๑. ปสาทรปู ๕ เปนอนิ ทรยิ ปจ จัยธรรม ๒. อุปาทินนรูป คอื กมั มชรปู เปนอนิ ทริยปจจยปุ บันธรรม คือ ๒. รูปชวี ติ ินทรยี  เปนอนิ ทริยปจ จยั ธรรม ๓. นามรูป จติ เจตสิก จิตตชรปู ปฏิสนธิกมั มชรูป เปน อินทรยิ ปจ จยุปบนั ธรรม คอื ๓. นามอินทรยี องคธ รรม ๘ มชี ีวิตนิ ทรยี เ จตสกิ เปนตน เปน อนิ ทรยิ ปจ จยั ธรรม ๖. ข. แสดงปจ จยปุ บันธรรมของนสิ สยปจ จัยธรรม ดังนี้ [P ] ๑. จิต เจตสกิ เปน นสิ สยปจจยั ธรรม คือ ๑. จิต เจตสกิ จติ ตชรปู ปฏสิ นธิกมั มชรูป เปนนสิ สยปจ จยุปบนั ธรรม ๒. มหาภตู รปู ๔ เปน นสิ สยปจจัยธรรม คอื ๒. มหาภูตรปู ๔ และอุปาทายรูป ๒๔ เปนนิสสยปจจยุปบนั ธรรม ๓. วตั ถุรปู ๖ เปนนิสสยปจ จยั ธรรม คือ ๓. วิญญาณธาตุ ๗ เปน นสิ สยปจจยุปบนั ธรรม ๖. ก. จติ และเจตสิกธรรม เปนนิสสยปจจัย คอื จติ เจตสกิ และจิตตชรปู ปฏิสนธิกมั มชรูป เปน นสิ สยปจจยุปบนั ข. มหาภตู รูป ๔ เปนนสิ สยปจจัย คอื มหาภตู รูป ๔ และอุปาทายรูป ๒๔ เปน นสิ สยปจ จยปุ บัน ค. ปสาทรปู ๕ เปนอนิ ทรยิ ปจจัย คือ ทวปิ ญ จวญิ ญาณจิต ๑๐ เปนอนิ ทรยิ ปจ จยปุ บนั ง. รูปชีวติ ินทรีย เปน อนิ ทรยิ ปจ จัย คือ อุปาทินนรปู คอื กัมมชรูป เปนอินทริยปจ จยุปบนั จ. นามอนิ ทรยี อ งคธรรม ๘ มชี ีวิตินทรยี เ จตสิกเปน ตน เปนอนิ ทรยิ ปจจยั คือ นามรปู คอื จิต เจตสกิ จิตตช รปู ปฏิสนธิกมั มชรปู เปน อินทรยิ ปจจยุปบนั ขอ ๗ ๗. คาํ วา บญั ญตั ิ หมายความวา เนือ้ ความ คอื วตั ถุ สง่ิ ของ เร่ืองราวตางๆ ที่พึงใหถกู รไู ด [P202-203] ชนิดน้เี รยี กวา อตั ถบญั ญตั ิ ดงั แสดงวจนัตถะวา “ปฺาปย ตตฺ า = ปฺตฺติ” เนื้อความ คือ วัตถสุ ิ่งของเรื่องราวตา งๆ ท่ีพึงใหถกู รูได ช่อื วา บญั ญัติ ไดแ ก อัตถบัญญัติ “ปกาเรน าเปตีติ = ปฺตฺติ” เสยี ง คอื คาํ พดู ยอมทําใหรเู นอื้ ความ คือวัตถสุ ่ิงของเร่ืองราว และ สภาพปรมตั ถไดดวยประการตา งๆ ฉะนัน้ ชือ่ วา บัญญตั ิ ไดแก สทั ทบัญญัติ ๗. ก. ข. วจนัตถะตอ ไปนี้ แปลดังนี้ [P202-203] ๑. ปกาเรน าปยตตี ิ = ปฺตฺติ แปลวา วัตถสุ ิ่งของเร่อื งราวตา งๆ ชอื่ วา บญั ญตั ิ เพราะพึงใหถกู รูได โดย ประการตา งๆ ไดแ ก อัตถบัญญัติ ๒. ปกาเรน าเปตตี ิ = ปฺตตฺ ิ แปลวา เสียงคือคําพูด ยอ มทําใหร ูเ นื้อความ คือ วตั ถุสิง่ ของเร่อื งราว และ สภาพปรมตั ถไ ดด วยประการตา งๆ ไดแก สัททบญั ญตั ิ ๗. ก. ใหแ ปลคาํ บาลีดังตอไปนี้ ? [P202-3] 45 ปฺาปย ตฺตา = ปฺตตฺ ิ ปฺาปนโต = ปฺตฺติ ตอบ ก. แปลคําบาลีดังน้ี อัตถบัญญัติ เพราะเปน บญั ญัตทิ พี่ ึงใหถูกรูไดโดยประการตา ง ๆ สัททบญั ญัติ เพราะเปนบญั ญตั ทิ ่พี ึงใหร ูเ นอ้ื ความไดโดยประการตาง ๆ ๗. ก. บัญญตั ิเม่ือกลาวโดยประเภทใหญแลว มี ๒ ประเภท (อยาง) คอื [P202-203] ๗. ก. เนอ้ื ความท่เี หลือจากรปู นามนนั้ เรียกวา บญั ญตั ิ แบง ออกเปน ๒ อยาง คือ [197, P202-203] ๑. อตั ถบัญญตั ิ เพราะเปนบญั ญตั ทิ ี่พงึ ใหถูกรูไดโ ดยประการตา งๆ ตัวอยา ง เชน แผนดิน บาน บุคคล ทิศตะวันออก ถ้าํ บรกิ รรมนมิ ิต เปน ตน ๒. สัททบญั ญตั ิ เพราะเปนบญั ญตั ทิ ี่พงึ ใหรูเน้ือความไดโ ดยประการตา งๆ  ดาวนโหลดขอมลู และไฟลต างๆไดจ าก Post ท่หี นา fb/Line ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ที่แปะไว)

มัชฌิมอาภิธรรมกิ ะโท 17 ปฏจิ จสมปุ บาท ปฏฐาน บัญญตั ิ : สมถ+วปิ ส สนา กรรมฐาน ตัวอยา งเชน รูป เวทนา ภูเขา ตนไม ฉฬภิญโญบคุ คล เตวชิ โชบคุ คล เปนตน ๗. ยกตวั อยางในสิ่งมชี วี ิต เชน งู ทช่ี ือ่ วางู เปน สทั ทบญั ญตั ิ รูปรา งของงูมตี ัวยาวกลมเปน ตน เปนอตั ถบัญญัติ สีของงทู ําใหเราเห็นได ถา งูนั้นทําเสยี งขู เราก็ไดย นิ เสียงได ถาจับตัวดู ก็รสู ึกวาออน งูนัน้ กม็ กี ารมองเหน็ ส่ิงตางๆ ได ไดย ินเสยี งได ถาถูกคนตี กม็ ีความรสู กึ เจบ็ และมีความกลัวโกรธได สี เสียง ออ น เปน ตน เหลา นี้ เปน รปู ปรมัตถ การเห็นการไดยิน การรูสกึ เจ็บ การกลวั การโกรธของงูเหลานี้ เปน จิตและเจตสิกปรมัตถ สรุปความวา ช่ือตา งๆ ภาพตางๆ และคาํ พดู ตางๆ เปนสัททบญั ญัติ วัตถุส่ิงของเรื่องราวตา งๆ เปนอตั ถบญั ญัติ สภาวลักษณะของช่อื ท่เี กย่ี วกับรปู นาม และสภาวลกั ษณะที่อยูในส่ิงของตางๆ เปนปรมัตถ [P204] ๗. คาํ ตอไปน้ี หมายความวา ดังนี้ [P202, 211-212] ก. อตั ถบัญญตั ิ = เนอื้ ความคือวตั ถสุ ิ่งของเร่ืองราวตาง ๆ ท่ีพึงใหถ กู รูได ข. สทั ทบญั ญัติ = เสยี งคือคําพูด ยอมทาํ ใหรูเ น้อื ความ คอื วตั ถุสิ่งของเรอื่ งราว และ สภาพปรมัตถไ ด ดว ยประการตา ง ๆ ค. วชิ ชมานบัญญัติ = เปน สัททบญั ญตั ิ ที่มีสภาวปรมตั ถป รากฏอยู ฆ. วิชชมาเนนวิชชมานบญั ญตั ิ = เปน สัททบัญญตั ิ ท่ีกลา วถงึ ธรรมท่มี สี ภาวปรมตั ถป รากฏ กับธรรมที่ มีสภาวปรมตั ถปรากฏรวมกันอยู ง. อวิชชมาเนนอวชิ ชมานบญั ญัติ = เปนสทั ทบญั ญตั ิ ท่ีกลา วถึงธรรมท่ไี มมีสภาวปรมตั ถปรากฏ กับ ธรรมที่ไมมีสภาวปรมตั ถปรากฏรวมกันอยู ๗. ก. ข. ค. อัตถบัญญัติทเ่ี ก่ียวกับโรงเรยี น มีชอ่ื วา สมหู บัญญตั ิ [P205] อัตถบัญญัตทิ ่ีเกี่ยวกบั สัตว มีชอ่ื วา สตั วบัญญัติ [P206] อัตถบัญญัตทิ ่ีเก่ยี วกับเดอื น มชี ื่อวา มาสบัญญตั ิ [P207] อัตถบญั ญัติทีเ่ กี่ยวกบั ป มชี อ่ื วา สงั วัจฉรปญญัติ [P207] [P207] อตั ถบญั ญัติที่เก่ียวกับวนั มีช่อื วา วารบัญญัติ ๗. สัททบัญญัติ เรียกชื่อได ๖ อยาง คือ [P208-210] ๑. นามะ ไดแ ก ช่ือตา งๆท่ีมสี ภาพนอมเขา สูเ นื้อความ คอื อตั ถบัญญตั ิ [P] และทาํ ใหเนอ้ื ความนน้ั นอ มเขา สตู น คือ ช่อื ตางๆ น้นั ดวย ๒. นามกมั มะ ไดแ ก นามบัญญตั ิทีน่ ักปราชญทั้งหลายในสมัยโบราณ เรยี กขานกนั มา [P] เชน เรยี กวา แผน ดนิ ภเู ขา เปนตน ๓. นามเธยยะ ไดแก นามบญั ญัตทิ นี่ กั ปราชญทั้งหลายในสมยั โบราณ สมมุติตั้งช่อื ไวจ นถงึ ทุกวันนี้ [P] เชน เรียกวา แผนดนิ ภูเขาเปน ตน ๔. นิรตุ ติ ไดแ ก นามบัญญัติที่นักปราชญท้งั หลาย คิดนึกพจิ ารณาแลวตงั้ ช่อื ส่ิงตา งๆ ใหปรากฏข้ึน [P] ๕. พยัญชนะ ไดแก นามบัญญัติทีส่ ามารถแสดงเน้ือความ คือ อตั ถบัญญตั ใิ หป รากฏ [P] ๖. อภิลาปะ ไดแ ก นามบัญญัตทิ ี่ผกู ลาวเรียก ยอ มมุงสูตรงเนื้อความ แลวก็กลาวเรียกขน้ึ [P] ๗. ข. สทั ทบญั ญตั ิอยา งเดียวเรยี กชอื่ ได ๖ อยา ง (มนี ามะ นามกมั มะเปน ตน) นนั้ เมื่อสรุปแลว ไดความวา คาํ วา ภมู หิ รือแผนดนิ นี้ มชี อื่ ได ๖ อยางดังท่ีกลา วมาน้ี แมใ นชือ่ อืน่ ๆ มี ภเู ขา ตนไม ชาย หญงิ เปนตน และภาษาตางๆ ทีใ่ ชกนั อยูในโลกนีค้ าํ หนงึ่ ๆ กม็ ชี อ่ื ได ๖ อยา งมี นามะ นามกัมมะ เปน ตน เชน เดียวกนั เพราะคาํ พูดและภาษา ตางๆ เหลานี้ก็เปนสทั ทบัญญัติดวยกนั ท้งั น้นั อุปมาเหมือนคนคนเดยี วมีชอ่ื ๖ อยางดว ยกนั ฉนั นัน้ และสัทท บญั ญัตเิ หลาน้ี เรียกวา นามบัญญตั กิ ็ได [P210] ๗. ข. แปล สา วชิ ฺชมานปฺตฺติ ฯลฯ อวชิ ชฺ มานเนน อวชิ ชฺ มานปฺตฺติ เจติ ฉพฺพิธา โหติ. ? [P200] ตอบ ข. บาลนี ี้ แปลวา สทั ทบัญญตั ิน้มี ี ๖ ประเภท คอื  ดาวนโหลดขอ มูลและไฟลต า งๆไดจ าก Post ท่ีหนา fb/Line ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ท่ีแปะไว)

มัชฌมิ อาภิธรรมกิ ะโท 18 ปฏจิ จสมุปบาท ปฏ ฐาน บญั ญตั ิ : สมถ+วปิ ส สนา กรรมฐาน ๑. วิชชมานบัญญตั ิ ๒. อวิชชมานบัญญัติ ๓. วิชชมาเนนอวชิ ชมานบัญญัติ ๔. อวชิ ชมาเนนวชิ ชมานบัญญตั ิ ๕. วิชชมาเนนวัชชมานบัญญัติ ๖. อวิชชมาเนนอวชิ ชมานบญั ญตั ิ ๗. ก./ข. สทั ทบัญญัติ มี ๖ ประเภท คอื [P211-212] ๑. วิชชมานบัญญัติ เปน สทั ทบญั ญตั ทิ ี่มสี ภาวปรมตั ถปรากฏอยู เชน รูป เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณ นพิ พาน เปน ตน ๒. อวชิ ชมานบัญญัติ เปน สทั ทบญั ญัติท่ีไมมสี ภาวปรมัตถปรากฏอยู เชน แผนดิน ภูเขา ตน ไม แมน าํ้ มหาสมทุ ร บาน ชาย หญงิ เปน ตน ๓. วชิ ชมาเนนอวชิ ชมานบัญญัติ เปน สัททบญั ญัตทิ ี่กลาวถงึ ธรรมทีม่ สี ภาวปรมตั ถปรากฏ กับธรรมที่ไมมี สภาวปรมัตถป รากฏ รวมกนั อยู เชน ฉฬภิฺโ เตวชิ โฺ ช ปฏิสมภฺ ทิ ปปฺ ตฺโต โสตาปนฺโน เปนตน ๔. อวิชชมาเนนวชิ ชมานบัญญตั ิ เปน สัททบญั ญัติทีก่ ลาวถึงธรรมท่ีไมมีสภาวปรมัตถป รากฏ กับธรรมท่มี ี สภาวปรมตั ถป รากฏ รวมกนั อยู เชน อติ ฺถิสทฺโท เสียงหญงิ สวุ ณฺณวณโฺ ณ สีทอง ปปุ ฺผคนฺโธ กลิ่นดอกไม เปน ตน ๕. วิชชมาเนนวิชชมานบัญญตั ิ เปนสทั ทบญั ญัตทิ ่กี ลา วถึงธรรมที่มีสภาวปรมัตถป รากฏ กบั ธรรมทีม่ ีสภาว- ปรมัตถปรากฏ รวมกันอยู เชน จกฺขุวิฺ าณํ วิญญาณท่ีอาศัยจักขุวัตถุเกิด, จกฺขุสมฺผสฺโส การกระทบทางตา เปน ตน ๖. อวิชชมาเนนอวชิ ชมานบญั ญัติ เปน สทั ทบัญญตั ทิ ่กี ลา วถึงธรรมที่ไมม สี ภาวปรมตั ถปรากฏ กบั ธรรม ทไี่ มมีสภาวปรมตั ถป รากฏ รวมกนั อยู เชน ราชปุตฺโต = บุตรของพระราชา, ราชนตตฺ า = หลานของพระราชา, เสฏภรยิ า = ภรรยาเศรษฐ,ี เชฏ ภคนิ ี = พีส่ าว เปนตน คนใจบญุ เปน อวิชชมาเนนวิชชมานบัญญตั ิ ผลของกรรม เปนวชิ ชมาเนนวิชชมานบญั ญตั ิ ๗. วชิ ชมานบัญญัติ หมายความวา เปน สทั ทบัญญตั ทิ ่ีมีสภาวปรมตั ถปรากฏอยู [P211] เชน คาํ วา รปู เวทนา สัญญา สังขาร วิญาณ นิพพาน เปน ตน หรอื เม่อื กลาวโดยสรุปแลว ก็ไดแ กคาํ พดู ท่ีเก่ียวกับจิต เจตสกิ รูป นพิ พาน นน้ั เอง ดงั แสดงวจนตั ถะวา “วิชชฺ ามานสสฺ ปฺตฺติ = วชิ ฺชมานปฺตตฺ ิ” คาํ สมมตุ ิของธรรมทม่ี ีสภาวปรมตั ถปรากฏอยชู ื่อวา วิชชมานบัญญัติ อวิชมานบัญญัติ หมายความวา เปน สทั ทบัญญัตทิ ีไ่ มม ีสภาวปรมตั ถปรากฏอยู เชน คาํ วา แผน ดนิ ภูเขา ตนไม แมน้ํา มหาสมทุ ร บาน ชาย หญงิ เปน ตน ดงั แสดงวจนตั ถะวา “อวชิ ฺชมานสสฺ ปฺตฺติ = อวิชชฺ มานปฺตฺติ” คําสมมตุ ขิ องธรรมทีไ่ มม ีสภาวปรมัตถป รากฏอยูชือ่ วา อวิชชมานบัญญตั ิ ๗. ข. ชือ่ วา วชิ ชมาเนนอวิชชมานบัญญัติ หมายความวา เปนสัททบญั ญตั ิทกี่ ลาวถงึ ธรรมที่มีสภาวปรมตั ถ ปรากฏกบั ธรรมทไี่ มม สี ภาวปรมัตถปรากฏ รวมกนั อยู ตวั อยางของประเภทท่ี ๓ น้ี ถาแปลเปน ภาษาไทยแลว ก็ จะกลับเปน ตัวอยา งของสัททบญั ญัตปิ ระเภทท่ี ๔ ช่อื วา อวชิ ชมาเนนวิชชมานบญั ญัติ หมายความวา เปนสัทท บญั ญตั ิท่ีกลาวถงึ ธรรมท่ไี มมสี ภาวปรมัตถปรากฏกับธรรมท่มี สี ภาวปรมัตถป รากฏรวมกนั อยู และตวั อยา งที่ยก มานี้ แปลวา บุคคลทีไ่ ดอภญิ ญา ๖ บคุ คลทีไ่ ดวิชชา ๓ บุคคลที่ไดบรรลปุ ฏิสมั ภิทาญาณ [P211] ๗.ข. อาจารย เปนอัตถบัญญัติ ประเภทสตั วบญั ญตั ิ เปนสทั ทบัญญตั ิ ประเภทอวิชชมานบัญญัติ วันอาทิตย เปนอัตถบญั ญัติ ประเภทวารบัญญตั ิ เปนสทั ทบัญญตั ิ ประเภทอวิชชมานบญั ญัติ นกั ศึกษาปรมตั ถธรรม เปนสทั ทบญั ญัติ ประเภทอวชิ ชมาเนนวชิ ชมานบัญญัติ โสดาบนั บคุ คล เปนอัตถบัญญัติ ประเภทสตั วบญั ญตั ิ เปนสัททบัญญตั ิ ประเภทวชิ ชมาเนนอวชิ ชมานบญั ญตั ิ [P206-213] ***************************  ดาวนโหลดขอ มูลและไฟลต างๆไดจาก Post ทห่ี นา fb/Line ID: Kanrasi Sengking (ตาม link ทีแ่ ปะไว)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook