88 หลักสูตรบาลีไวยากรณแ์ ละหลกั สัมพันธ์ ปัจจยั ทง้ั หลาย คอื ตฺร ตฺถ ห ธ ธิ หึ หํ หิ จ นํ ว เป็นเครื่องหมายสัตตมวี ิภัตติ แปล ตามสัตตมี ดังน้ี :- สพพฺ ตรฺ ใน - ทงั้ ปวง อตถฺ ใน - น้ี สพพฺ ตถฺ ใน - ทงั้ ปวง เอกตรฺ ใน - เดยี ว สพพฺ ธิ ใน - ทงั้ ปวง เอกตถฺ ใน - เดยี ว อฺตรฺ ใน - อน่ื อภุ ยตรฺ ใน - ทงั้ สอง อฺ ตถฺ ใน - อน่ื อภุ ยตถฺ ใน - ทงั้ สอง ยตรฺ ใน - ใด เอตถฺ ใน - น้ี ยตถฺ ใน - ใด อิธ ใน - น้ี ยหึ ใน - ใด อิห ใน - น้ี ยหํ ใน - ใด กตุ รฺ ใน - ไหน ตตรฺ ใน - นนั้ กตถฺ ใน - ไหน ตตถฺ ใน - นนั้ กหุ ึ ใน - ไหน ตหึ ใน - นนั้ กหํ ใน - ไหน ตหํ ใน - นนั้ กหุ ิฺจนํ ใน - ไหน อตรฺ ใน - น้ี กวฺ ใน - ไหน www.kalyanamitra.org
พระเทพปรยิ ัติโมลี (สุทัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรียง 89 ปจั จยั ท้ังหลาย คือ ทา ทานิ รหิ ธนุ า ทาจนํ ชฺช ชชฺ ุ เปน็ เคร่ืองหมายสัตตมวี ภิ ัตติ ลงในกาล ดงั นี้ :- สพพฺ ทา ในกาลทงั้ ปวง สทา ในกาลทกุ เมอ่ื เอกทา ในกาลหน่ึง, บางท ี ยทา ในกาลใด, เมอ่ื ใด ตทา ในกาลนนั้ , เมอ่ื นนั้ กทา ในกาลไร, เมอ่ื ไร กทาจิ ในกาลไหน, ในกาลบางคราว อิทานิ ในกาลน้ี, เดยี๋ วน้ี เอตรหิ ในกาลน้ี, เดยี๋ วน้ี กรหจิ ในกาลไหนๆ, บางครงั้ อธนุ า ในกาลน้ี, เมอ่ื ก้ี กทุ าจนํ ในกาลไหน อชชฺ ในวนั น้ี สชชฺ ุ ในวนั มอี ย,ู่ วนั น้ี ปรชชฺ ุ ในวนั อน่ื อปรชชฺ ุ ในวนั อน่ื อกี www.kalyanamitra.org
90 หลักสตู รบาลไี วยากรณแ์ ละหลักสัมพันธ์ ปจ จยั ทเ่ี ป็นกริ ยิ ากติ ก ์ ๕ ตวั คอื ตเว ตุํ ตนู ตวฺ า ตวฺ าน กบั ทงั้ ปจ จยั ทอ่ี าเทศออกจาก ตวฺ า เป็น อพั ยยะ แจกดว้ ยวภิ ตั ตไิ มไ่ ด ้ มอี ทุ าหรณ์ ดงั น้ี :- กาตเว เพอ่ื อนั ทำ� กาตุํ ความทำ� , เพอ่ื อนั ทำ� กาตนู ทำ� แลว้ กตวฺ า ทำ� แลว้ กตวฺ าน ทำ� แลว้ จบนามและอพั ยยศพั ท์ www.kalyanamitra.org
พระเทพปรยิ ัติโมลี (สุทัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรียบเรียง 91 อาขยาต ศพั ทก์ ล่าวกิริยา คือ ความทำ� เป็นต้นว่า ยืน เดิน นัง่ นอน กิน ดื่ม ทำ� พดู คิด ชื่อว่า อาขยาต. ในอาขยาตนัน้ ท่านประกอบ วิภตั ติ กาล บท วจนะ บรุ ษุ ธาตุ วาจก ปัจจยั เพอ่ื เป็นเครอ่ื งหมายเน้ือความใหช้ ดั เจน วิภัตติ วภิ ตั ตนิ นั้ ทา่ นจำ� แนกไวเ้ พอ่ื เป็นเครอ่ื งหมาย ใหร้ ู้ กาล บท วจนะ บรุ ษุ จดั เป็น ๘ หมวด ในหมวดหน่ึงๆ ม ี ๑๒ วภิ ตั ต ิ อยา่ งน้ี www.kalyanamitra.org
92 หลกั สตู รบาลไี วยากรณ์และหลักสมั พันธ์ ๑. วตฺตมานา บอกปจั จุบนั กาล แปลวา่ -อย,ู่ ย่อม-, จะ- ปรสั สบท อตั ตโนบท ปรุ สิ . เอก. พห.ุ ป. ติ อนฺติ เอก. พห.ุ ม. สิ ถ เต อนฺเต อุ. มิ ม เส วเฺ ห เอ มเฺ ห ข้อควรจำ� :- แปลง อนฺติ เป็น เร เชน่ วจุ ฺจเร บา้ ง, ใช ้ เต แทน ต ิ เชน่ ชายเต บา้ ง, ใช ้ อนฺเต แทน อนฺต ิ เชน่ ปจุ ฺฉนฺเต บา้ ง, ใช ้ เอ แทน มิ เชน่ อจิ ฺเฉ บา้ ง www.kalyanamitra.org
พระเทพปริยัตโิ มลี (สทุ ศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรียบเรยี ง 93 ๒. ปญจฺ มี บอกความบังคบั แปลวา่ จง- บอกความ หวงั แปลวา่ -เถดิ , บอกความออ้ นวอน แปลวา่ ขอจง- ปรสั สบท อตั ตโนบท ปรุ สิ . เอก. พห.ุ เอก. พห.ุ ป. ตุ อนฺตุ ตํ อนฺตํ ม. หิ ถ สสฺ ุ วโฺ ห อุ. มิ ม เอ อามหฺ เส ข้อควรจำ� :- ใช ้ ตํ แทน ต ุ เชน่ ชยตํ บา้ ง, ลง หิ ลบ หิ ได ้ เชน่ คจฺฉ บา้ ง, ใช ้ สสฺ ุ แทน หิ เชน่ กรสฺส ุ บา้ ง, หิ มิ ม ทฆี ะทา้ ยธาตุ ทงั้ ปวง www.kalyanamitra.org
94 หลกั สตู รบาลีไวยากรณ์และหลักสมั พนั ธ์ ๓. สตตฺ มี บอกความยอมตาม แปลวา่ ควร- บอก ความก�ำหนด แปลวา่ พึง- บอกความร�ำพงึ แปลว่า พึง- ปรสั สบท อตั ตโนบท ปรุ สิ . เอก. พห.ุ เอก. พห.ุ ป. เอยยฺ เอยยฺ ุํ เอถ เอรํ ม. เอยยฺ าสิ เอยยฺ าถ เอโถ เอยยฺ วโฺ ห อุ. เอยยฺ ามิ เอยยฺ าม เอยยฺ ํ เอยยฺ ามเฺ ห ข้อควรจำ� :- ลบ ยยฺ คงไวแ้ ต ่ เอ เชน่ กเร บา้ ง, ใช ้ เอถ แทน เอยยฺ เชน่ ลเภถ บา้ ง, แปลง เอยยฺ เป็น อา เชน่ กยริ า (ยริ ปจจยั ) บ้าง, ใช้ เอยฺยํ แทน เอยยฺ าม ิ เชน่ ปจุ ฺเฉยฺยํ บา้ ง, แปลง เอยยฺ าม เป็น เอม ุ เชน่ ทกฺเขม ุ บา้ ง www.kalyanamitra.org
พระเทพปรยิ ตั ิโมลี (สทุ ศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรยี ง 95 ๔. ปโรกขฺ า บอกอดตี กาลไมม่ กี �ำหนด แปลวา่ -แลว้ ปรสั สบท พห.ุ อตั ตโนบท อุ ปรุ สิ . เอก. ตถฺ เอก. พห.ุ ป. อ มหฺ ตถฺ เร ม. เอ ตโฺ ถ วโฺ ห อุ. อํ อึ มเฺ ห ข้อควรจำ� :- วภิ ตั ตนิ ้ีมใี ชเ้ พยี ง อาห, อาหุ อาห = พฺร ู ธาตุในความกลา่ ว + อ ปจ จยั + อ ปโรกขาวิภตั ติ แปลง พฺร ู เป็น อาห อาหุ = พฺรู ธาตุ + อ ปจจยั + อุ ปโรกขาวิภตั ติ แปลง พฺร ู เป็น อาห อาหสํ ุ = พฺรู ธาตุ + อ ปจจยั + อุํ อชั ชตั ตนีวิภตั ติ แปลง พฺรู เป็น อาห แปลง อุ ํ เป็น อสํ ุ www.kalyanamitra.org
96 หลกั สตู รบาลไี วยากรณแ์ ละหลกั สัมพันธ์ ๕. หิยตตฺ นี บอกอดตี กาลตง้ั แตว่ านน้ี แปลว่า -แลว้ ถ้ามี อ อยหู่ นา้ แปลวา่ ได้ - แล้ว ปรสั สบท อตั ตโนบท ปรุ สิ . เอก. พห.ุ เอก. พห.ุ ป. อา อู ตถฺ ตถฺ ํุ ม. โอ ตถฺ เส วหฺ ํ อุ. อํ มหฺ อึ มหฺ เส ข้อควรจำ� :- อา วิภตั ต ิ รสั สะ เป็น อ ในหมวดธาตุ ทงั้ ปวง เชน่ อโวจ, อวจ, อทฺทส เป็นตน้ หรอื คง อา วิภตั ติ ไว ้ เชน่ อทฺทสา เป็นตน้ www.kalyanamitra.org
พระเทพปรยิ ตั โิ มลี (สุทัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรียบเรียง 97 ๖. อชชฺ ตฺตนี บอกอดีตกาลต้ังแต่วันน้ี แปลว่า -แล้ว, ถา้ มี อ อยหู่ น้า แปลวา่ ได้ - แล้ว ปรสั สบท อตั ตโนบท ปรุ สิ . เอก. พห.ุ เอก. พห.ุ ป. อี อุํ อา อู ม. โอ ตถฺ เส วหฺ ํ อุ. อึ มหฺ า อํ มเฺ ห ข้อควรจำ� :- วภิ ตั ตหิ มวดน้ีลง อ, อิ และ ส อาคม อี วิภตั ต ิ เมอ่ื ประกอบกบั ธาต ุ รสั สะ เป็น อ ิ เชน่ กร ิ เป็นตน้ ลง อ และ ส อาคม เชน่ อกาส ิ เป็นตน้ , อุํ วิภตั ต ิ แปลงเป็น อสึ ุ เชน่ กรสึ ุ แปลงเป็น อสํ ุ ลง ส อาคม เชน่ อกสํ ุ อคมสํ ุ เป็นตน้ , โอ มธั ยม- บรุ ษุ เอกวจนะ ใช ้ อี วิภตั ต ิ แทน, ตถฺ และ มหฺ า ลง อ ิ อาคมทา้ ยธาตุ เสมอ เชน่ กรติ ถฺ กรมิ หฺ า เป็นตน้ เฉพาะ ลภฺ ธาตุ แปลง อ ี เป็น ตฺถ คอื อลตถฺ แปลง อ ึ เป็น ตฺถํ คอื อลตถฺ ํ ไดบ้ า้ ง www.kalyanamitra.org
98 หลกั สูตรบาลีไวยากรณแ์ ละหลักสมั พนั ธ์ ๗. ภวิสสฺ นฺติ บอกอนาคตกาลแหง่ ปจั จุบนั แปลว่า จกั - ปรสั สบท อตั ตโนบท ปรุ สิ . เอก. พห.ุ เอก. พห.ุ ป. สสฺ ติ สสฺ นฺติ สสฺ เต สสฺ นฺเต ม. สสฺ สิ สสฺ ถ สสฺ เส สสฺ วเฺ ห อุ. สสฺ ามิ สสฺ าม สสฺ ํ สสฺ ามเฺ ห ข้อควรจำ� :- • ลง อิ อาคม ทา้ ยธาตุเสยี งสนั้ ก่อน ประกอบวภิ ตั ตหิ มวดน้ี ใช ้ สสฺ ํ แทน สสฺ ามิ เชน่ กรสิ ฺสํ ลภสิ ฺสํ เป็นตน้ • วภิ ตั ตฝิ ายปรสั สบท ลบ สฺส เหลอื ไวเ้ พยี ง ติ อนฺติ สิ ถ มิ ม ลงหลงั ธาตุ ๕ ตวั คอื วสฺ ธาตุ แปลงเป็น วจฉฺ ๑, วจฺ ธาตุ แปลงเป็น วกขฺ ๑, ลภฺ ธาตุ แปลงเป็น ลจฉฺ ๑, ทิสฺ ธาตุ แปลงเป็น ทกขฺ ๑, กรฺ ธาตุ แปลงเป็น กาห ๑. www.kalyanamitra.org
พระเทพปรยิ ัตโิ มลี (สุทศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรยี ง 99 ๘. กาลาติปตฺติ บอกอนาคตกาลแหง่ อดตี แปลวา่ จกั - แลว้ , ถ้ามี อ อยหู่ น้า แปลว่า จักได้ - แลว้ ปรสั สบท อตั ตโนบท ปรุ สิ . เอก. พห.ุ เอก. พห.ุ ป. สสฺ า สสฺ สํ ุ สสฺ ถ สสฺ ึสุ ม. สเฺ ส สสฺ ถ สสฺ เส สสฺ วเฺ ห อุ. สสฺ ํ สสฺ ามหฺ า สสฺ ํ สสฺ ามหฺ เส ข้อควรจำ� :- ลง อิ อาคม ท้ายธาตุเสยี งสนั้ ก่อน ประกอบวภิ ตั ตหิ มวดน้ี สสฺ า รสั สะเสมอ เชน่ กรสิ ฺส, อภวสิ ฺส เป็นตน้ www.kalyanamitra.org
100 หลักสตู รบาลีไวยากรณแ์ ละหลักสมั พันธ์ อาคมในอาขยาต ในอาขยาตมอี าคม ๕ ตวั คอื อ อิ ส ห อํ ลงในหมวดธาตุ ดงั น้ี อ อาคม ลงหน้าธาตุทป่ี ระกอบวภิ ตั ตหิ มวด หิยตตฺ นี อชชฺ ตตฺ นี กาลาติปตตฺ ิ อิ อาคม ลงหลงั ธาตุและปจจยั ทป่ี ระกอบ วภิ ตั ตหิ มวด อชชฺ ตตฺ นี ภวิสสฺ นฺติ กาลาติปตตฺ ิ ส อาคม ลงหลงั ธาตุทป่ี ระกอบวภิ ตั ตหิ มวด อชชฺ ตตฺ นี ห อาคม ประจำ� า ธาต ุ (แปลงเป็น ตฏิ ฺ) ใชล้ งไดไ้ มน่ ิยมวภิ ตั ติ อํ อาคม ลงตน้ ธาตุทล่ี งในหมวด รธุ ฺ ธาตุ แลว้ แปลงเป็นพยญั ชนะทส่ี ดุ วรรคนนั้ ๆ www.kalyanamitra.org
พระเทพปรยิ ัตโิ มลี (สทุ ศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรียง 101 กาล ในอาขยาตแบ่งกาลท่เี ป็นประธานได้ ๓ คอื กาลทเ่ี กดิ ขน้ึ จำ� เพาะหน้า เรยี กว่า ปัจจบุ นั กาล ๑ กาลลว่ งแลว้ เรยี กวา่ อดตี กาล ๑ กาลยงั ไมม่ าถงึ เรยี กวา่ อนาคตกาล ๑. กาลทงั้ ๓ นนั้ แบง่ ใหล้ ะเอยี ดออกอกี ไดด้ งั น้ี ปัจจบุ นั กาล จดั เป็น ๓ คอื ปจจบุ นั แท้ ๑, ปจจบุ นั ใกลอ้ ดตี ๑, ปจ จบุ นั ใกลอ้ นาคต ๑. อดตี กาล จดั เป็น ๓ เหมอื นกนั คอื ลว่ งแลว้ - ไมม่ กี ำ� หนด ๑, ลว่ งแลว้ วานน้ี ๑, ลว่ งแลว้ วนั น้ี ๑. อนาคตกาล จดั เป็น ๒ คอื อนาคตของ- ปจ จบุ นั ๑, อนาคตของอดตี ๑. กาลทัง้ หมดนี้ ต้องหมายรู้ด้วยวิภัตติ ๘ หมวด ที่กล่าวแล้ว www.kalyanamitra.org
102 หลักสตู รบาลีไวยากรณ์และหลักสมั พนั ธ์ ๑. วตฺตมานา บอกปัจจบุ ันกาล ๑. ปัจจบุ นั แท้ แปลวา่ อยู่ อ.ุ ภกิ ขฺ ุ ธมมฺ ํ เทเสติ. ภกิ ษ ุ แสดงอย ู่ ซง่ึ ธรรม. ๒. ปัจจบุ นั ใกล้อดีต แปลวา่ ย่อม อุ. กุโต นุ ตฺวํ อาคจฉฺ สิ. ทา่ น ย่อมมา แต่ทไ่ี หนหนอ. ๓. ปัจจบุ นั ใกล้อนาคต แปลวา่ จะ อุ. ก ึ กโรมิ. (ขา้ ) จะทำ� ซง่ึ อะไร. ๒. ปญฺจมี บอกความบงั คบั , ความหวัง, และความอ้อนวอน ๑. บอกความบงั คบั แปลวา่ จง อุ. เอวํ วเทหิ. (เจา้ ) จงว่า อยา่ งน้ี. ๒. บอกความหวงั แปลวา่ เถิด อุ. สพฺเพ สตฺตา อเวรา โหนฺต.ุ สตั ว์ ท. ทงั้ ปวง เป็นผมู้ เี วรหามไิ ดเ้ ถิด. www.kalyanamitra.org
พระเทพปริยัติโมลี (สทุ ศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรียบเรียง 103 ๓. บอกความอ้อนวอน แปลวา่ ขอ - จง อุ. ปพพฺ าเชถ มํ ภนฺเต. ขา้ แต่ทา่ นผเู้ จรญิ ขอ (ทา่ น ท.) จงยงั ขา้ พเจา้ ใหบ้ วช. ๓. สตฺตมี บอกความยอมตาม, ความก�ำหนด และความร�ำพึง ๑. บอกความยอมตาม แปลวา่ ควร อุ. ภเชถ ปรุ สิ ตุ ฺตเม. (ชน) ควรคบ ซง่ึ บุรษุ สงู สดุ ท. ๒. บอกความกำ� หนด แปลวา่ พงึ อ.ุ ปญุ ฺญฺเจ ปรุ โิ ส กยิรา. ถา้ วา่ บุรษุ พึงทำ� ซง่ึ บญุ ไซร.้ ๓. บอกความรำ� พึง แปลวา่ พึง อุ. ยนฺนูนาหํ ปพพฺ เชยยฺ .ํ ไฉนหนอ เรา พึงบวช. ๔. ปโรกฺขา บอกอดตี กาล ไมม่ ีก�ำหนด แปลวา่ - แล้ว อ.ุ เตนา-ห ภควา. ดว้ ยเหตนุ นั้ พระผมู้ พี ระภาค ตรสั แลว้ (อยา่ งน)้ี . เตนา - ห ุ โปราณา. ดว้ ยเหตนุ นั้ อาจารยม์ ใี นปางกอ่ น ท. กล่าวแล้ว. www.kalyanamitra.org
104 หลักสูตรบาลีไวยากรณแ์ ละหลักสมั พนั ธ์ ๕. หิยตตฺ นี บอกอดีตกาล ต้ังแต่วานนี้ แปลวา่ - แลว้ ถ้ามี อ อยูห่ นา้ แปลว่า ได้ - แล้ว อุ. ขโณ โว มา อปุ จจฺ คา. ขณะ อย่าได้- เข้าไปล่วงแล้ว ซง่ึ ทา่ น ท. เอวํ อวจ.ํ (ขา้ ) ได้กล่าวแล้ว อยา่ งน้ี. ๖. อชฺชตตฺ นี บอกอดีตกาลตงั้ แต่วนั นี้ แปลว่า - แล้ว ถ้ามี อ อยู่หนา้ แปลว่า ได้ - แลว้ อุ. เถโร คามํ ปิณฺฑาย ปาวิสิ. พระเถระ เขา้ ไปแลว้ สบู่ า้ น เพอ่ื บณิ ฑะ. เอวรปู กมมฺ ํ อกาส.ึ (ขา้ ) ได้ทำ� แล้ว ซง่ึ กรรม มอี ยา่ งน้ีเป็นรปู . ๗. ภวิสฺสนฺติ บอกอนาคตกาลแห่งปัจจุบนั แปลวา่ จกั - อ.ุ ธมมฺ ํ สณุ ิสสฺ าม. (ขา้ ท.) จกั ฟัง ซง่ึ ธรรม. www.kalyanamitra.org
พระเทพปริยัตโิ มลี (สุทัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรยี ง 105 ๘. กาลาตปิ ตตฺ ิ บอกอนาคตกาลแห่งอดตี แปลว่า จกั - แล้ว ถา้ มี อ อย่หู น้า แปลวา่ จกั ได้ - แลว้ อุ. โส เจ ยานํ ลภิสสฺ า, อคจฉฺ ิสสฺ า. ถา้ วา่ เขา จกั ไดแ้ ลว้ ซง่ึ ยานไซร,้ (เขา) จกั ไดไ้ ปแลว้ . บท วภิ ตั ตนิ นั้ แบง่ เป็น ๒ บท คอื ปรสั สบท บทเพอ่ื ผอู้ น่ื ๑, อตั ตโนบท บทเพอ่ื ตน ๑. ปรสั สบท เป็นเคร่ืองหมายให้รู้กิริยาท่ีเป็น กตั ตวุ าจก และเหตกุ ตั ตวุ าจก อตั ตโนบท เป็นเคร่อื งหมายให้รู้กริ ยิ าท่เี ป็น กมั มวาจก เหตกุ มั มวาจก และภาววาจก www.kalyanamitra.org
106 หลักสูตรบาลีไวยากรณแ์ ละหลกั สัมพนั ธ์ วจนะ วภิ ตั ตนิ ัน้ มี ๒ วจนะ คอื เอกวจนะ ๑, พหวุ จนะ ๑, เหมอื นวภิ ตั ตนิ าม ถา้ ศพั ทน์ ามท ่ี เป็นประธานเป็นเอกวจนะ ตอ้ งประกอบกริ ยิ าศพั ท ์ เป็นเอกวจนะตาม ถา้ นามศพั ทเ์ ป็นพหวุ จนะ กต็ อ้ ง ประกอบกริ ยิ าศพั ทใ์ หเ้ ป็นพหวุ จนะตาม ใหม้ วี จนะ เป็นอนั เดยี วกนั อยา่ งน้ี :- โส คจฉฺ ติ. เขา ไปอย.ู่ เต คจฉฺ นฺติ. เขาทงั้ หลาย ไปอย.ู่ บุรษุ วภิ ตั ตนิ นั้ จดั เป็น ๓ บรุ ษุ คอื ประถมบรุ ษุ ๑ มธั ยมบรุ ษุ ๑ อตุ ตมบรุ ษุ ๑ เหมอื นปรุ สิ สพั พนาม, ถา้ ปรุ สิ สพั พนามใดเป็นประธาน ตอ้ งใชก้ ริ ยิ าประกอบ วภิ ตั ตใิ หถ้ กู ตอ้ งตามปรุ สิ สพั พนามนนั้ อยา่ งน้ี :- โส ยาติ. เขา ไปอย.ู่ ตวฺ ํ ยาสิ. เจา้ ไปอย.ู่ อหํ ยามิ. ขา้ ไปอย.ู่ www.kalyanamitra.org
พระเทพปริยตั ิโมลี (สุทัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรยี ง 107 ธาตุ ธาตุ คือ กิริยาศพั ทท์ ี่เป็นมลู ราก แบง่ เป็น ๘ หมวด ดงั น้ี :- ๑. หมวด ภู ธาตุ (ลง อ, เอ ปัจจยั ) ภ ู เป็นไปในความม,ี ในความเป็น (ภู + อ = ภว + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น ภวติ ยอ่ มม,ี ยอ่ มเป็น. หุ เป็นไปในความม,ี ในความเป็น (หุ + อ = โห + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น โหต ิ ยอ่ มม,ี ยอ่ มเป็น. สี เป็นไปในความนอน (สี + อ = เส หรือ สย + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น เสติ, สยติ ยอ่ มนอน. มร เป็นไปในความตาย (มรฺ + อ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น มรต ิ ยอ่ มตาย. ปจ เป็นไปในความหงุ , ในความตม้ (ปจฺ + อ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น ปจต ิ ยอ่ มหงุ , ยอ่ มตม้ . อิกขฺ เป็นไปในความเหน็ (อิกฺขฺ + อ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น อิกขฺ ติ ยอ่ มเหน็ . ลภ เป็นไปในความได้ (ลภฺ + อ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น ลภติ ยอ่ มได้ www.kalyanamitra.org
108 หลกั สตู รบาลไี วยากรณแ์ ละหลักสมั พันธ์ คม ฺ เป็นไปในความไป, ความถงึ (คมฺ + อ = คจฉฺ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น คจฉฺ ติ ยอ่ มไป, ยอ่ มถงึ . ๒. หมวด รธุ ฺ ธาตุ (ลง อ, เอ ปัจจยั ) รธุ เป็นไปในความกนั้ , ในความปิด (รธุํ ฺ + อ หรือ เอ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น รนุ ฺธติ, รนุ ฺเธติ ยอ่ มกนั้ , ยอ่ มปิด. มจุ ฺ เป็นไปในความปลอ่ ย (มจุํ ฺ + อ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น มญุ จฺ ติ, ยอ่ มปลอ่ ย. (ถา้ ลง ย ปจ จยั ในหมวด ทวิ ฺ ธาต ุ เป็นอกมั มธาตุ เป็นไปในความหลุด, ในความพน้ มจุ ฺ + ย = จจฺ + ติ สำ� เรจ็ รปู เป็น มจุ จฺ ต ิ ยอ่ มหลดุ , ยอ่ มพน้ ). ภชุ เป็นไปในความกนิ (ภชุํ ฺ + อ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น ภญุ ชฺ ติ ยอ่ มกนิ . ภิท เป็นไปในความต่อย, ทำ� ลาย (ภึทฺ + อ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น ภินฺทต ิ ยอ่ มต่อย, ยอ่ มทำ� ลาย (ถา้ ลง ย ปจ จยั ในหมวด ทวิ ฺ ธาต ุ เป็นอกมั มธาตุ เป็นไปในความแตก ภิทฺ + ย = ชชฺ + ติ สำ� เรจ็ รปู เป็น ภิชชฺ ติ ยอ่ มแตก) www.kalyanamitra.org
พระเทพปริยัติโมลี (สุทศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรียบเรียง 109 ลิป เป็นไปในความฉาบ (ลึปฺ + อ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น ลิมปฺ ติ ยอ่ มฉาบ. ๓. หมวด ทิวฺ ธาตุ (ลง ย ปัจจยั ) ทิว ฺ เป็นไปในความเลน่ (ทิวฺ + ย = พพฺ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น ทิพพฺ ติ ยอ่ มเลน่ . สิว เป็นไปในความเยบ็ (สิวฺ + ย = พพฺ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น สิพพฺ ต ิ ยอ่ มเยบ็ . พธุ เป็นไปในความตรสั ร ู้ (พธุ ฺ + ย = ชฌฺ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น พชุ ฌฺ ติ ยอ่ มตรสั ร.ู้ ขี เป็นไปในความสน้ิ (ขี + ย + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น ขียติ ยอ่ มสน้ิ . มหุ ฺ เป็นไปในความหลง (มหุ +ฺ ย = ยหฺ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น มยุ หฺ ติ ยอ่ มหลง. มสุ ฺ เป็นไปในความลมื (มสุ ฺ + ย = สสฺ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น มสุ สฺ ติ ยอ่ มลมื . รช ฺ เป็นไปในความยอ้ ม (รชฺ + ย = ชชฺ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น รชชฺ ติ ยอ่ มยอ้ ม. www.kalyanamitra.org
110 หลักสูตรบาลีไวยากรณ์และหลกั สัมพนั ธ์ ๔. หมวด สุ ธาตุ (ลง ณุ, ณา ปัจจยั ) ส ุ เป็นไปในความฟง (สุ + ณา + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น สณุ าติ ยอ่ มฟง . ว ุ เป็นไปในความรอ้ ย (วุ + ณา + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น วณุ าติ ยอ่ มรอ้ ย สิ เป็นไปในความผกู (สิ + ณุ = โณ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น สิโณติ ยอ่ มผกู . ๕. หมวด กี ธาตุ (ลง นา ปัจจยั ) กี เป็นไปในความซอ้ื (กี + นา + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น กีนาติ ยอ่ มซอ้ื . ช ิ เป็นไปในความชนะ (ชิ + นา + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น ชินาต ิ ยอ่ มชนะ. ธ ุ เป็นไปในความกำ� จดั (ธุ + นา + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น ธนุ าติ ยอ่ มกำ� จดั . จิ เป็นไปในความก่อ, ในความสงั่ สม (จิ +นา + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น จินาติ ยอ่ มก่อ, ยอ่ มสงั่ สม. ล ุ เป็นไปในความเกย่ี ว, ในความตดั (ลุ + นา + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น ลนุ าต ิ ยอ่ มเกย่ี ว, ยอ่ มตดั . www.kalyanamitra.org
พระเทพปรยิ ัตโิ มลี (สุทศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรยี ง 111 า เป็นไปในความรู้ (า = ชา + นา + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น ชานาต ิ ยอ่ มร.ู้ ผ ุ เป็นไปในความฝด, ในความโปรย (ผุ +นา + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น ผนุ าติ ยอ่ มฝด , ยอ่ มโปรย. ๖. หมวด คหฺ ธาตุ (ลง ณฺหา ปัจจยั ) คห เป็นไปในความถอื เอา (คหฺ + ณฺหา + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น คณฺหาต ิ ยอ่ มถอื เอา. ๗. หมวด ตนฺ ธาตุ (ลง โอ ปัจจยั ) ตนฺ เป็นไปในความแผไ่ ป (ตนฺ + โอ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น ตโนติ ยอ่ มแผไ่ ป. กร ฺ เป็นไปในความทำ� (กรฺ + โอ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น กโรติ ยอ่ มทำ� . สกฺก เป็นไปในความอาจ (สกกฺ ฺ + โอ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น สกฺโกติ ยอ่ มอาจ. ชาครฺ เป็นไปในความตน่ื (ชาครฺ + โอ + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น ชาคโรติ ยอ่ มตน่ื . www.kalyanamitra.org
112 หลกั สตู รบาลไี วยากรณ์และหลักสัมพนั ธ์ ๘. หมวด จรุ ฺ ธาตุ (ลง เณ, ณย ปัจจยั ) จรุ ฺ เป็นไปในความลกั (จรุ ฺ + เณ หรอื ณย + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น โจเรติ, โจรยติ ยอ่ มลกั . ตกกฺ ฺ เป็นไปในความตรกึ (ตกกฺ ฺ + เณ หรอื ณย + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น ตกฺเกติ, ตกกฺ ยติ ยอ่ มตรกึ . ลกฺข ฺ เป็นไปในความกำ� หนด (ลกฺขฺ + เณ หรอื ณย + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น ลกเฺ ขติ, ลกขฺ ยติ ยอ่ มกำ� หนด. มนฺต เป็นไปในความปรกึ ษา (มนฺตฺ + เณ หรอื ณย + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น มนฺเตติ, มนฺตยติ ยอ่ มปรกึ ษา. จินฺต ฺ เป็นไปในความคดิ (จินฺตฺ + เณ หรอื ณย + ติ) สำ� เรจ็ รปู เป็น จินฺเตติ, จินฺตยติ ยอ่ มคดิ . ธาตุ ๒ ประเภท ธาตุเหลา่ ใด ไมต่ อ้ งเรยี กหากรรม คอื สง่ิ อนั บุคคลพงึ ท�ำ ธาตุเหล่านัน้ เรยี กว่า อกมั มธาตุ ธาตุไม่มกี รรม, ธาตุเหล่าใดเรยี กหากรรม ธาตุ เหลา่ นนั้ เรยี กวา่ สกมั มธาต ุ ธาตุมกี รรม www.kalyanamitra.org
พระเทพปรยิ ัติโมลี (สทุ ศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรียบเรยี ง 113 อกมั มธาต ุ เป็นได ้ ๓ วาจก คอื กตั ตุวาจก เหตุกตั ตุวาจก และภาววาจก สกมั มธาต ุ เป็นได ้ ๔ วาจก คอื กตั ตุวาจก กมั มวาจก เหตุกตั ตุวาจก เหตุกมั มวาจก เวน้ ภาววาจก วาจก กริ ยิ าศพั ท์ทป่ี ระกอบดว้ ยวภิ ตั ต ิ กาล บท วจนะ บรุ ษุ ธาต ุ ดงั น้ ี จดั เป็นวาจก คอื กลา่ วบทท่ี เป็นประธานของกริ ยิ า ๕ อยา่ ง คอื กตั ตวุ าจก ๑ กมั มวาจก ๑ ภาววาจก ๑ เหตกุ ตั ตวุ าจก ๑ เหตกุ มั มวาจก ๑. ๑. กตั ตวุ าจก กริ ยิ าศพั ท์ใดกล่าวผูท้ �ำคอื แสดงว่าเป็นกริ ยิ า ของผทู้ ำ� นนั้ เอง กริ ยิ าศพั ทน์ นั้ ชอ่ื วา่ กตั ตวุ าจก มอี ุทาหรณ์วา่ สโู ท โอทนํ ปจต ิ พอ่ ครวั หงุ อย ู่ ซง่ึ ขา้ วสกุ . www.kalyanamitra.org
114 หลกั สตู รบาลีไวยากรณ์และหลกั สัมพันธ์ ๒. กมั มวาจก กริ ยิ าศพั ทใ์ ดกลา่ วกรรม สงิ่ ทบ่ี คุ คลพงึ ทำ� คอื แสดงวา่ เป็นกริ ยิ าของกรรมนนั้ เอง กริ ยิ าศพั ทน์ นั้ ชอ่ื วา่ กมั มวาจก มอี ุทาหรณ์วา่ สเู ทน โอทโน ปจิยเต ขา้ วสกุ อนั พอ่ ครวั หงุ อย.ู่ ๓. ภาววาจก กริ ยิ าศพั ทใ์ ดกลา่ วแตส่ กั วา่ ความม ี ความเป็น เท่านัน้ ไม่กล่าวกตั ตาและกรรม กริ ยิ าศพั ทน์ ัน้ ชอ่ื วา่ ภาววาจก มอี ทุ าหรณว์ า่ เตน ภยู เต อนั เขา เป็นอย.ู่ ๔. เหตกุ ัตตวุ าจก กริ ยิ าศพั ทใ์ ดกลา่ วผใู้ ชใ้ หค้ นอน่ื ทำ� คอื แสดงวา่ เป็นกริ ยิ าของผใู้ ชใ้ หผ้ อู้ น่ื ทำ� นนั้ กริ ยิ าศพั ทน์ นั้ ชอ่ื วา่ เหตกุ ตั ตวุ าจก มอี ุทาหรณ์วา่ สามิโก สทู ํ โอทนํ ปาเจติ นาย ยงั พอ่ ครวั ใหห้ งุ อย ู่ ซง่ึ ขา้ วสกุ . www.kalyanamitra.org
พระเทพปริยตั ิโมลี (สุทศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรียบเรยี ง 115 ๕. เหตกุ มั มวาจก กริ ยิ าศพั ทใ์ ด กลา่ วสง่ิ ทเ่ี ขาใชใ้ หบ้ คุ คลทำ� คอื แสดงวา่ เป็นกริ ยิ าของสง่ิ นนั้ กริ ยิ าศพั ทน์ นั้ ชอ่ื วา่ เหตกุ มั มวาจก มอี ทุ าหรณ์วา่ สามิเกน สเู ทน (สูท)ํ โอทโน ปาจาปิ ยเต ข้าวสุก อนั นาย ยงั พอ่ ครวั ใหห้ งุ อย.ู่ ปจั จัย วาจกทงั้ ๕ น้ีจะกำ� หนดไดแ้ มน่ ยำ� ตอ้ งอาศยั ปัจจยั ปจ จยั นนั้ จดั เป็น ๕ หมวดตามวาจก ดงั น้ี :- ๑. กตั ตวุ าจก ลงปัจจยั ๑๐ ตวั คือ อ, เอ, ย, ณุ, ณา, นา, ณฺหา, โอ, เณ, ณย. ปจจยั ทงั้ ๑๐ ตวั น้ี แบง่ ลงในธาตุ ๘ หมวด อยา่ งน้ี :- อ, เอ ปจ จยั ลงในหมวด ภ ู ธาตุและในหมวด รธุ ฺ ธาตุ แต่ในหมวด รธุ ฺ ธาตุ ลงนิคคหติ อาคม หน้าพยญั ชนะทส่ี ดุ ธาตุดว้ ย. ย ปจจยั ลงในหมวด ทิว ฺ ธาตุ. ณุ, ณา ปจจยั ลงในหมวด ส ุ ธาตุ. www.kalyanamitra.org
116 หลกั สตู รบาลไี วยากรณ์และหลักสมั พันธ์ นา ปจ จยั ลงในหมวด กี ธาตุ. ณฺหา ปจจยั ลงในหมวด คห ฺ ธาตุ. โอ ปจจยั ลงในหมวด ตนฺ ธาตุ. เณ, ณย ปจจยั ลงในหมวด จรุ ฺ ธาตุ. ๒. กมั มวาจก ลง ย ปัจจยั กบั ทงั้ อิ อาคม หน้า ย ด้วย อุทาหรณ์ดงั น้ี :- ปจิยเต, สิวิยเต เป็นตน้ . ๓. ภาววาจก ลง ย ปจจยั อุทาหรณ์ดงั น้ี :- ภยู เต เป็นตน้ . ๔. เหตกุ ตั ตวุ าจก ลงปจ จยั ๔ ตวั คอื เณ, ณย, ณาเป, ณาปย. ตวั ใดตวั หน่ึง. อุทาหรณ์ดงั น้ี :- เณ = ปาเจต,ิ สพิ ฺเพต.ิ ณย = ปาจยต,ิ สพิ ฺพยต.ิ ณาเป = ปาจาเปต,ิ สพิ พฺ าเปต.ิ ณาปย = ปาจาปยต,ิ สพิ ฺพาปยต ิ เป็นตน้ . ๕. เหตกุ มั มวาจก ลงปัจจยั ๑๐ ตวั นัน้ ด้วย, ลงเหตปุ ัจจยั คือ ณาเป ด้วย, ลง ย ปัจจยั กบั ทงั้ อิ อาคม หน้า ย ด้วย อุทาหรณ์ดงั น้ี :- ปาจาปิ ยเต, สิพพฺ าปิ ยเต เป็นตน้ . www.kalyanamitra.org
พระเทพปรยิ ตั โิ มลี (สุทัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรียบเรยี ง 117 ปัจจยั พเิ ศษ ๑. ปจ จยั ทส่ี ำ� หรบั ประกอบกบั ธาตอุ กี ๓ ตวั คอื ข, ฉ, ส, เป็นไปในความปรารถนา อทุ าหรณด์ งั น้ี :- ภชุ ฺ ธาตุ เป็นไปในความกนิ ข ปจจยั (ภุชฺ + ข = พภุ ุกฺข + ต)ิ สำ� เรจ็ รปู เป็น พภุ กุ ฺขต ิ ยอ่ มปรารถนาจะกนิ . ฆสฺ ธาตุ เป็นไปในความกนิ ฉ ปจจยั (ฆสฺ + ฉ = ชฆิ จฺฉ + ต)ิ สำ� เรจ็ รปู เป็น ชิฆจฉฺ ติ ยอ่ มปรารถนาจะกนิ . หรฺ ธาต ุ เป็นไปในความน�ำไป ส ปจจยั (หรฺ + ส = ชคิ สึ + ต)ิ ส�ำเรจ็ รูปเป็น ชิคึสติ ยอ่ มปรารถนาจะน�ำไป. ๒. ปจจยั ทส่ี ำ� หรบั ประกอบกบั นามศพั ทใ์ หเ้ ป็น กริ ยิ าศพั ท ์ ๒ ตวั คอื อาย, อิย เป็นไปในความ- ประพฤติ. อุทาหรณ์ดงั น้ี :- จิรายต ิ ประพฤตชิ า้ อย.ู่ ปตุ ตฺ ิยติ ยอ่ มประพฤต-ิ ใหเ้ ป็นเพยี งดงั บตุ ร เป็นตน้ . www.kalyanamitra.org
118 หลกั สตู รบาลไี วยากรณ์และหลักสัมพนั ธ์ ขอ้ ควรจำ� :- ถา้ ประกอบกบั คณุ นาม แปลวา่ ประพฤต ิ เชน่ จิรายต ิ ประพฤตชิ า้ อย ู่ ปิ ยายติ ยอ่ มประพฤตริ กั ถา้ ประกอบกบั นามนาม แปลวา่ ประพฤตใิ หเ้ ป็นเพยี งดงั ... ประพฤตเิ พยี งดงั ...เชน่ ปตุ ตฺ ิยต ิ ยอ่ มประพฤตใิ หเ้ ป็นเพยี งดงั บตุ ร ธมู ายติ ยอ่ มประพฤตเิ พยี งดงั ควนั เป็นตน้ อสฺ ธาตุ อสฺ ธาต ุ เป็นไปในความม,ี ความเป็น อยหู่ นา้ แปลงวภิ ตั ตทิ งั้ หลายแลว้ ลบพยญั ชนะตน้ ธาตุบา้ ง ทส่ี ดุ ธาตุบา้ ง อยา่ งน้ี :- ติ เป็น ตถฺ ิ ลบทส่ี ดุ ธาตุ สำ� เรจ็ รปู เป็น อตถฺ ิ. อนฺติ คงรปู ลบตน้ ธาตุ สำ� เรจ็ รปู เป็น สนฺติ. สิ คงรปู ลบทส่ี ดุ ธาตุ สำ� เรจ็ รปู เป็น อสิ. ถ เป็น ตถฺ ลบทส่ี ดุ ธาตุ สำ� เรจ็ รปู เป็น อตถฺ . ม ิ เป็น มหฺ ิ ลบทส่ี ดุ ธาตุ สำ� เรจ็ รปู เป็น อมหฺ ิ. ม เป็น มหฺ ลบทส่ี ดุ ธาตุ สำ� เรจ็ รปู เป็น อมหฺ . ต ุ เป็น ตถฺ ุ ลบทส่ี ดุ ธาตุ สำ� เรจ็ รปู เป็น อตถฺ .ุ www.kalyanamitra.org
พระเทพปริยัตโิ มลี (สุทศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรยี ง 119 เอยยฺ เป็น อิยา ลบตน้ ธาตุ สำ� เรจ็ รปู เป็น สิยา. เอยยฺ กบั ทงั้ ธาตุ สำ� เรจ็ รปู เป็น อสสฺ . เอยยฺ ุ ํ กบั ทงั้ ธาตุ สำ� เรจ็ รปู เป็น อสสฺ .ุํ เอยยฺ ุํ เป็น อิย ุํ ลบตน้ ธาตุ สำ� เรจ็ รปู เป็น สิย.ุํ เอยยฺ าส ิ กบั ทงั้ ธาตุ สำ� เรจ็ รปู เป็น อสสฺ . เอยยฺ าถ กบั ทงั้ ธาตุ สำ� เรจ็ รปู เป็น อสสฺ ถ. เอยยฺ ามิ กบั ทงั้ ธาตุ สำ� เรจ็ รปู เป็น อสสฺ .ํ เอยยฺ าม กบั ทงั้ ธาต ุ สำ� เรจ็ รปู เป็น อสสฺ าม. อ ิ คงรปู ทฆี ะตน้ ธาตุ สำ� เรจ็ รปู เป็น อาสิ. อ ุํ คงรปู ทฆี ะตน้ ธาตุ สำ� เรจ็ รปู เป็น อาส.ุํ ตถฺ คงรปู ทฆี ะตน้ ธาต ุ สำ� เรจ็ รปู เป็น อาสิตถฺ . อึ คงรปู ทฆี ะตน้ ธาตุ สำ� เรจ็ รปู เป็น อาสึ. มหฺ า คงรปู ทฆี ะตน้ ธาต ุ สำ� เรจ็ รปู เป็น อาสมิ หฺ า. จบอาขยาต www.kalyanamitra.org
แด่....ลูกเณรที่รัก ..... พ่อแม่เจ้า ขาดเงินทอง มากองให้ จงตั้งใจ ใฝ่เพียร เรียนหนังสือ จงฝึกตน ค้นความรู้ เป็นคู่มือ เพื่อยึดถือ เอาไว้ ใช้เลี้ยงกาย พ่อกับแม่ มีแต่ จะแก่เฒ่า จะเลี้ยงเจ้า เรื่อยไป นั้นอย่าหมาย หาวิชา เลี้ยงตน ไปจนตาย เจ้าสบาย แม่กับพ่อ ก็ชื่นใจ. พระเทพปริยตั ิโมลี (สทุ ศั น์) วดั โมลโี ลกยาราม ราชวรวหิ าร www.kalyanamitra.org
พระเทพปริยตั โิ มลี (สทุ ศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรียง 121 กิตก์ (นามกติ กแ์ ละกริ ิยากติ ก์) กติ กน์ นั้ เป็นชอ่ื ของศพั ทท์ ท่ี า่ นประกอบปจจยั หมหู่ น่ึง ซง่ึ เป็นเครอ่ื งกำ� หนดหมายเน้ือความของ นามศพั ท ์ และกริ ยิ าศพั ทท์ ต่ี า่ งๆ กนั กติ กน์ นั้ แบง่ ออกเป็น ๒ คอื นามกิตก ์ กติ กท์ เ่ี ป็นนามศพั ทอ์ ยา่ ง ๑ กิริยากิตก ์ กติ กท์ เ่ี ป็น กริ ยิ าศพั ทอ์ ยา่ ง ๑, กิตกท์ งั้ ๒ อย่างนี้ ล้วนมี ธาตเุ ป็นท่ีตงั้ ทงั้ สิ้น. นามกติ ก์ กิตก์ท่ีเป็ นนามนามกด็ ี เป็ นคุณนามกด็ ี เรียกว่า นามกิตก์ นามกิตก์น้ีจดั เป็นสาธนะ มปี จจยั เป็นเคร่อื งหมายว่าศพั ท์น้ีเป็นสาธนะนัน้ ๆ เพอ่ื จะใหม้ เี น้ือความแปลกกนั www.kalyanamitra.org
122 หลักสตู รบาลีไวยากรณแ์ ละหลักสมั พนั ธ์ สาธนะ ศพั ทท์ ี่ท่านให้สำ� เรจ็ มาแต่รปู วิเคราะห์ ชื่อ สาธนะ สาธนะนนั้ แบง่ เป็น ๗ คอื กตั ตสุ าธนะ, กมั มสาธนะ, ภาวสาธนะ, กรณสาธนะ, สมั ปทาน- สาธนะ, อปาทานสาธนะ, อธิกรณสาธนะ. รปู วเิ คราะหแ์ หง่ สาธนะ จดั เป็น ๓ คอื กตั ตรุ ปู , กมั มรปู , ภาวรปู . กตั ตสุ าธนะ ศพั ทใ์ ดเป็นชอ่ื ของผทู้ ำ� คอื ผปู้ ระกอบกริ ยิ านนั้ เป็นตน้ วา่ กมุ ภฺ กาโร ผทู้ ำ� ซง่ึ หมอ้ , ทายโก ผใู้ ห,้ โอวาทโก ผกู้ ลา่ วสอน, สาวโก ผฟู้ ง. ศพั ทน์ นั้ ชอ่ื กตั ตสุ าธนะ แปลวา่ ผ-ู้ , ถา้ ลงในอรรถคอื ตสั สลี ะ แปลวา่ ผ้-ู โดยปกติ กมั มสาธนะ ผู้ท�ำท�ำซ่ึงส่ิงใด ศัพท์ท่ีเป็นช่ือของสิ่งนัน้ เป็นตน้ วา่ ปิ โย เป็นทร่ี กั , รโส วสิ ยั เป็นทย่ี นิ ด ี www.kalyanamitra.org
พระเทพปรยิ ัติโมลี (สุทัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรียบเรยี ง 123 กด็ ,ี ศพั ทท์ เ่ี ป็นชอ่ื ของสงิ่ ของทเ่ี ขาทำ� เป็นตน้ วา่ กิจจฺ ํ กรรมอนั เขาพงึ ทำ� , ทานํ สง่ิ ของอนั เขาพงึ - ใหก้ ด็ ี ชอ่ื วา่ กมั มสาธนะ ทเ่ี ป็นกตั ตุรปู แปลวา่ เป็นที่-, ทเ่ี ป็นกมั มรปู แปลวา่ เป็นท่ีอนั เขา-. ภาวสาธนะ ศพั ทบ์ อกกริ ยิ า คอื ความทำ� ของผทู้ ำ� เป็นตน้ วา่ คมนํ ความไป, านํ ความยนื , นิสชชฺ า ความนงั่ , สยนํ ความนอน. ชอ่ื วา่ ภาวสาธนะ เป็นภาวรูปอย่างเดียว แปลว่า ความ- ก็ได ้ การ- กไ็ ด ้ อนั - กไ็ ด.้ กรณสาธนะ ผูท้ �ำท�ำด้วยสง่ิ ใด ศพั ท์ท่เี ป็นช่อื ของสง่ิ นัน้ เป็นตน้ วา่ พนฺธนํ วตั ถเุ ป็นเครอ่ื งผกู , ปหรณ ํ วตั ถุ เป็นเครอ่ื งประหาร, วิชฌฺ นํ วตั ถเุ ป็นเครอ่ื งไช ชอ่ื วา่ กรณสาธนะ ทเ่ี ป็นกตั ตุรปู แปลวา่ เป็นเครอ่ื ง- ก็ได้ เป็ นเหตุ- ก็ได้ ท่ีเป็ นกัมมรูป แปลว่า เป็นเครอ่ื งอนั เขา- กไ็ ด้ เป็นเหตอุ นั เขา- กไ็ ด.้ www.kalyanamitra.org
124 หลักสตู รบาลีไวยากรณ์และหลักสมั พนั ธ์ สมั ปทานสาธนะ ผทู้ ำ� ใหแ้ กผ่ ใู้ ดหรอื แกส่ ง่ิ ใด ศพั ทท์ เ่ี ป็นชอ่ื ของ ผนู้ นั้ หรอื ของสง่ิ นนั้ เป็นตน้ วา่ สมปฺ ทานํ วตั ถุ เป็นทม่ี อบให ้ ช่อื ว่า สมั ปทานสาธนะ ทเ่ี ป็น กตั ตุรปู แปลวา่ เป็นท่ี-, ทเ่ี ป็นกมั มรปู แปลวา่ เป็นท่ีอนั เขา-. อปาทานสาธนะ ผทู้ ำ� ไปปราศจากสงิ่ ใด ศพั ทท์ เ่ี ป็นชอ่ื ของสงิ่ นนั้ เป็นตน้ วา่ ปภสสฺ โร แดนสรา้ นออกแหง่ รศั ม ี ปภโว แดนเกดิ กอ่ น ภีโม แดนกลวั (ยกั ษ)์ ชอ่ื วา่ อปาทานสาธนะ แปลวา่ เป็นแดน-. อธิกรณสาธนะ ผทู้ ำ� ทำ� ในทใ่ี ด ศพั ทท์ เ่ี ป็นชอ่ื ของทน่ี นั้ เป็นตน้ วา่ านํ ทต่ี งั้ , ทย่ี นื , อาสนํ ทน่ี งั่ , สยนํ ทน่ี อน, ชอ่ื วา่ อธิกรณสาธนะ ทเ่ี ปน็ กตั ตรุ ปู แปลวา่ เป็นท-ี่ , ทเ่ี ป็นกมั มรปู แปลวา่ เป็นที่อนั เขา-. www.kalyanamitra.org
พระเทพปริยตั โิ มลี (สทุ ัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรียบเรียง 125 รปู วเิ คราะห์แห่งสาธนะ จดั เป็น ๓ คือ กตั ตรุ ปู , กมั มรปู , ภาวรปู . รปู วเิ คราะหแ์ หง่ สาธนะใด เป็นกตั ตุวาจกกด็ ,ี เป็นเหตุกตั ตุวาจกกด็ ,ี สาธนะนนั้ เป็น กตั ตรุ ปู . รปู วเิ คราะหแ์ หง่ สาธนะใด เป็นกมั มวาจกกด็ ี เป็นเหตุกมั มวาจกกด็ ี สาธนะนนั้ เป็น กมั มรปู . รปู วเิ คราะหแ์ หง่ สาธนะใด เป็นภาววาจก สาธนะ นนั้ เป็น ภาวรปู . ปัจจัยแห่งนามกติ ก์ ปจ จยั ทส่ี ำ� หรบั ประกอบนามกติ กน์ นั้ ม ี ๓ พวก คอื กิตปัจจยั ส�ำหรบั ประกอบกับศพั ท์ท่ีเป็น กตั ตุรปู อยา่ งเดยี ว ๑. กิจจปัจจยั ส�ำหรบั ประกอบกบั ศพั ท์ท่เี ป็น กมั มรปู และภาวรปู ๑. กิตกิจจปัจจยั สำ� หรบั ประกอบกบั ศพั ทแ์ มท้ งั้ ๓ เหลา่ ๑. www.kalyanamitra.org
126 หลกั สูตรบาลีไวยากรณ์และหลกั สมั พันธ์ ๑. กิตปัจจยั อยา่ งน้ี :- กฺวิ, ณี, ณฺว,ุ ต,ุ ร.ู ๒. กิจจปัจจยั อยา่ งน้ี :- ข, ณฺย. ๓. กิตกิจจปัจจยั อยา่ งน้ี :- อ, อิ, ณ, ตเว, ติ, ต,ุํ ย.ุ วเิ คราะห์ในกติ ปจั จยั กวฺ ิ, ณี, ณฺว,ุ ต,ุ รู (เป็นกตั ตรุ ปุ กตั ตสุ าธนะ, เป็นกตั ตรุ ปู กตั ตสุ าธนะ ลงในอรรถแหง่ ตสั สลี ะ และเป็นสมาสรปู ตสั สลี สาธนะ) กวฺ ิ ปัจจัย (ลบ กวฺ ิ ปจั จยั และธาตสุ องตัว ลบที่สดุ ธาต)ุ สยํ ภวตีติ สยมภฺ .ู (ผูใ้ ด) ย่อมเป็นเอง เหตุนนั้ (ผนู้ นั้ ) ชอ่ื วา่ ผเู้ ป็นเอง. สย ํ เป็นบทหน้า ภู ธาต ุ ในความเป็น, เป็นกตั ตุรปู กตั ตุสาธนะ. อเุ รน คจฉฺ ตีติ อรุ โค. (สตั วใ์ ด) ยอ่ มไป ดว้ ยอก เหตุนนั้ (สตั วน์ นั้ ) ชอ่ื วา่ ผไู้ ปดว้ ยอก. อรุ เป็นบทหน้า คม ฺ ธาตุ ในความไป. www.kalyanamitra.org
พระเทพปริยัตโิ มลี (สทุ ศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรียง 127 สํ สฏุ ฺฐุ ขนตีติ สงฺโข. (สตั วใ์ ด) ยอ่ มขดุ (ซง่ึ แผน่ ดนิ ) ด ี คอื วา่ ดว้ ยด ี เหตุนนั้ (สตั วน์ นั้ ) ชอ่ื วา่ ผขู้ ดุ ด.ี ส ํ เป็นบทหนา้ ขนฺ ธาต ุ ในความขดุ . ณี ปจั จัย (ลบ ณ เหลือ อี ทีฆะตน้ ธาต,ุ พฤทธต์ิ ้นธาตุ หรอื วกิ ารตน้ ธาตุ ถา้ เปน็ อติ ถลี งิ คแ์ ปลงเปน็ อนิ ี เวน้ ธาตุ ๓ ตวั หรอื ต้นธาตเุ ปน็ ทีฆะ) ธมมฺ ํ วทติ สีเลนาติ ธมมฺ วาที. (ผใู้ ด) ยอ่ ม- กลา่ ว ซง่ึ ธรรม โดยปกต ิ เหตุนนั้ (ผนู้ นั้ ) ชอ่ื วา่ ผกู้ ลา่ วซง่ึ ธรรมโดยปกต,ิ เป็นกตั ตุรปู กตั ตุสาธนะ ลงในอรรถแหง่ ตสั สลี ะ, ธมมฺ ํ วตตฺ ุํ สีลมสสฺ าติ ธมมฺ วาที. ความกลา่ ว ซง่ึ ธรรม เป็นปกต ิ ของเขา เหตุนนั้ (เขา) ชอ่ื วา่ ผู้มคี วามกล่าวซ่ึงธรรมเป็นปกติ, เป็นสมาสรูป ตสั สลี สาธนะ. ธมมฺ เป็นบทหนา้ วท ฺ ธาต ุ ในความ กลา่ ว ถา้ เป็นอติ ถลี งิ ค ์ เป็น ธมมฺ วาทินี. ถา้ เป็น นปํสุ กลงิ คเ์ ป็น ธมมฺ วาทิ. www.kalyanamitra.org
128 หลักสูตรบาลีไวยากรณแ์ ละหลกั สัมพนั ธ์ ปาปํ กโรติ สเี ลนาติ ปาปการ.ี (ผใู้ ด) ยอ่ มทำ� ซง่ึ บาป โดยปกต ิ เหตนุ นั้ ผนู้ นั้ ชอ่ื วา่ ผทู้ ำ� ซง่ึ บาป- โดยปกต.ิ ปาป เป็นบทหนา้ กรฺ ธาต ุ ในความทำ� . ธมฺมํ จรติ สีเลนาติ ธมฺมจารี (ผู้ใด) ยอ่ มประพฤต ิ ซง่ึ ธรรม โดยปกต ิ เหตนุ นั้ (ผนู้ นั้ ) ชอ่ื วา่ ผปู้ ระพฤตซิ ง่ึ ธรรมโดยปกต.ิ ธมมฺ เป็นบท หน้า จรฺ ธาต ุ ในความประพฤต,ิ ในความเทย่ี ว. ณวฺ ุ ปจั จยั (แปลง ณวฺ ุ เปน็ อก ถา้ เปน็ อติ ถลี งิ คเ์ ปน็ อกิ า ทีฆะตน้ ธาตุ, พฤทธิต์ น้ ธาตุ หรือวกิ ารต้นธาตุ เวน้ ธาตุ ๓ ตวั หรอื ตน้ ธาตเุ ปน็ ทฆี ะ) เทตีติ ทายโก. (ผใู้ ด) ยอ่ มให เหตนุ นั้ (ผนู้ นั้ ) ชอ่ื วา่ ผใู้ ห. ทา ธาต ุ ในความให เป็นกตั ตุรปู กตั ตุสาธนะ ถา้ อติ ถลี งิ คเ์ ป็น ทายิกา. เนตีติ นายโก. (ผใู้ ด) ยอ่ มน�ำไป เหตุนนั้ ผนู้ นั้ ชอ่ื วา่ ผนู้ �ำไป นี ธาต ุ ในความน�ำไป. www.kalyanamitra.org
พระเทพปรยิ ตั ิโมลี (สุทศั น์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรียง 129 อนุสาสตีติ อนุสาสโก. (ผใู้ ด) ยอ่ มตามสอน เหตนุ นั้ (ผนู้ นั้ ) ชอ่ื วา่ ผตู้ ามสอน. อน ุ เป็นบทหนา้ สาสฺ ธาต ุ ในความสอน. สณุ าตีติ สาวโก. (ผใู้ ด) ยอ่ มฟง เหตุนนั้ (ผนู้ นั้ ) ชอ่ื วา่ ผฟู้ ง . สุ ธาตุ ในความฟง ตุ ปจั จัย (แจกอยา่ ง สตฺถุ ผสู้ อน) กโรตีติ กตฺตา. (ผใู้ ด) ย่อมท�ำ เหตุนัน้ (ผนู้ นั้ ) ชอ่ื วา่ ผทู้ ำ� , เป็นกตั ตุรปู กตั ตุสาธนะ กโรติ สีเลนาติ กตฺตา. (ผูใ้ ด) ย่อมท�ำ โดยปกต ิ เหตุนนั้ (ผนู้ นั้ ) ชอ่ื วา่ ผทู้ ำ� โดยปกต.ิ กรฺ ธาต ุ ในความทำ� เป็นกตั ตุรปู กตั ตุสาธนะ ลงในอรรถแหง่ ตสั สลี ะ. วทตีติ วตตฺ า. (ผใู้ ด) ยอ่ มกลา่ ว เหตุนนั้ (ผนู้ นั้ ) ชอ่ื วา่ ผกู้ ลา่ ว. วทฺ ธาต ุ ในความกลา่ ว. ชานาตีติ าตา. (ผใู้ ด) ยอ่ มร ู้ เหตุนนั้ (ผนู้ นั้ ) ชอ่ื วา่ ผรู้ .ู้ า ธาตุ ในความร.ู้ www.kalyanamitra.org
130 หลกั สูตรบาลไี วยากรณ์และหลักสัมพนั ธ์ ธาเรตีติ ธาตา. (ผใู้ ด) ยอ่ มทรงไว ้ เหตนุ นั้ (ผนู้ นั้ ) ชอ่ื วา่ ผทู้ รงไว.้ ธร-ฺ ธา ธาต ุ ในความทรง. รู ปจั จัย (ลบ ร เสีย ธาตุสองตัวขึ้นไปลบที่สุดธาตุ) ปารํ คจฉฺ ติ สีเลนาติ ปารค.ู (ผใู้ ด) ยอ่ มถงึ ซง่ึ ฝง โดยปกต ิ เหตนุ นั้ (ผนู้ นั้ ) ชอ่ื วา่ ผถู้ งึ ซง่ึ ฝง - โดยปกต.ิ ปาร เป็นบทหน้า คมฺ ธาต ุ ในความถงึ เป็นกตั ตุรปู กตั ตุสาธนะ ลงในอรรถแหง่ ตสั สลี ะ. วิชานาติ สีเลนาติ วิญญฺ .ู (ผใู้ ด) ยอ่ มรวู้ เิ ศษ โดยปกต ิ เหตุนนั้ (ผนู้ นั้ ) ชอ่ื วา่ ผรู้ วู้ เิ ศษโดยปกต.ิ วิ เป็นบทหน้า า ธาตุ ในความร,ู้ ซอ้ น ภิกฺขติ สีเลนาติ ภิกฺขุ. (ผู้ใด) ย่อมขอ โดยปกต ิ เหตุนนั้ (ผนู้ นั้ ) ชอ่ื วา่ ผขู้ อโดยปกต.ิ ภิกขฺ ธาต ุ ในความขอ. www.kalyanamitra.org
พระเทพปรยิ ตั โิ มลี (สุทัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรียบเรยี ง 131 วเิ คราะห์ในกิจจปจั จยั ข, ณฺย (เป็นกมั มรปู กมั มสาธนะทกุ รปู วิเคราะห)์ ข ปัจจยั (มี ทุ สุ อสี เป็นบทหน้า ลบ ข ปจั จยั ) ทกุ เฺ ขน กริยตีติ ทกุ กฺ ร.ํ (กรรมใด) อนั เขา ทำ� ไดโ้ ดยยาก เหตุนนั้ (กรรมนนั้ ) ชอ่ื วา่ อนั เขา- ทำ� ไดโ้ ดยยาก. ท ุ เป็นบทหนา้ กรฺ ธาต ุ ในความทำ� เป็นกมั มรปู กมั มสาธนะ. สเุ ขน ภริยตีติ สภุ โร. (ผใู้ ด) อนั เขาเลย้ี งได้ โดยงา่ ย เหตุนนั้ (ผนู้ นั้ ) ชอ่ื วา่ อนั เขาเลย้ี งได-้ โดยงา่ ย. ส ุ เป็นบทหน้า ภรฺ ธาต ุ ในความเลย้ี ง. ทกุ เฺ ขน รกขฺ ิยตีติ ทรุ กฺข.ํ (จติ ใด) อนั เขา รกั ษาไดโ้ ดยยาก เหตุนนั้ (จติ นนั้ ) ชอ่ื วา่ อนั เขา- รกั ษาไดโ้ ดยยาก. ทุ เป็นบทหน้า รกฺข ธาต ุ ในความรกั ษา. www.kalyanamitra.org
132 หลักสตู รบาลไี วยากรณแ์ ละหลกั สมั พนั ธ์ ณยฺ ปัจจยั (ลบ ณ เหลือ ย แล้วแปลง ย กบั ที่สดุ ธาตุ เปน็ รูปแบบต่างๆ) กาตพพฺ นฺติ การิย.ํ (กรรมใด) อนั เขาพงึ ทำ� เหตุนนั้ (กรรมนนั้ ) ชอ่ื วา่ อนั เขาพงึ ทำ� . กรฺ ธาตุ ในความทำ� เป็นกมั มรปู กมั มสาธนะ. เนตพพฺ นฺติ เนยยฺ .ํ (สง่ิ ใด) อนั เขาพงึ น�ำไป เหตุนนั้ (สง่ิ นนั้ ) ชอ่ื วา่ อนั เขาพงึ น�ำไป. นี ธาต ุ ในความน�ำไป. วตตฺ พพฺ นฺติ วชชฺ .ํ (คำ� ใด) อนั เขาพงึ กลา่ ว เหตุนนั้ (คำ� นนั้ ) ชอ่ื วา่ อนั เขาพงึ กลา่ ว. วทฺ ธาตุ ในความกลา่ ว. ทมิตพโฺ พติ ทมโฺ ม. (ผใู้ ด) อนั เขาพงึ ทรมานได ้ เหตนุ นั้ (ผนู้ นั้ ) ชอ่ื วา่ อนั เขาพงึ ทรมานได.้ ทมฺ ธาตุ ในความฝึก, ทรมาน. ยญุ ชฺ ิตพพฺ นฺติ โยคคฺ .ํ (สงิ่ ใด) อนั เขาพงึ ประกอบ เหตนุ นั้ (สงิ่ นนั้ ) ชอ่ื วา่ อนั เขาพงึ ประกอบ.ยชุ ฺ ธาตุ ในความประกอบ. www.kalyanamitra.org
พระเทพปริยตั ิโมลี (สุทัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรียบเรยี ง 133 ครหิตพพฺ นฺติ คารยหฺ .ํ (กรรมใด) อนั เขา พงึ ตเิ ตยี น เหตุนนั้ (กรรมนนั้ ) ชอ่ื วา่ อนั เขาพงึ - ตเิ ตยี น. ครหฺ ธาตุ ในความตเิ ตยี น. ทาตพพฺ นฺติ เทยยฺ .ํ (สง่ิ ใด) อนั เขาพงึ ให ้ เหตนุ นั้ (สงิ่ นนั้ ) ชอ่ื วา่ อนั เขาพงึ ให.้ ทา ธาตุ ในความให.้ ศพั ทท์ ป่ี ระกอบดว้ ยปจ จยั น้ี บางศพั ทก์ ใ็ ชเ้ ป็น กริ ยิ ากติ ก ์ คอื ใชค้ ุมพากยไ์ ดเ้ หมอื นกริ ยิ ากติ ก ์ อทุ าหรณ์วา่ เต จ ภิกขฺ ู คารยหฺ า. อน่งึ ภกิ ษุ ท. เหลา่ นนั้ อนั ทา่ น พงึ ตเิ ตยี น. วเิ คราะหใ์ นกิตกิจจปัจจยั อ, อิ, ณ, ตเว, ติ, ต,ุํ ย.ุ (เป็นได้ทกุ รปู ทกุ สาธนะ) อ ปจั จัย ปฏิ สํ ภิชชฺ ตีติ ปฏิสมภฺ ิทา. (ปญญาใด) ย่อมแตกฉานด ี โดยต่าง เหตุนัน้ (ปญญานัน้ ) ชอ่ื วา่ แตกฉานดโี ดยต่าง. ปฏิ + สํ เป็นบทหน้า www.kalyanamitra.org
134 หลักสูตรบาลไี วยากรณแ์ ละหลักสัมพันธ์ ภิทฺ ธาตุ ในความแตก เป็นอติ ถลี งิ ค ์ เป็นกตั ตุรปู กตั ตุสาธนะ หิตํ กโรตีติ หิตกฺกโร. (ผู้ใด) ย่อมท�ำ ซง่ึ ประโยชน์เกอ้ื กลู เหตุนนั้ (ผนู้ นั้ ) ชอ่ื วา่ ผทู้ ำ� - ซง่ึ ประโยชน์เกอ้ื กลู . หิต เป็นบทหน้า กรฺ ธาต ุ ในความทำ� . เป็นกตั ตุรปู กตั ตุสาธนะ นิสสฺ าย นํ วสตีติ นิสสฺ โย. (ศษิ ย)์ อาศยั ซง่ึ อาจารยน์ นั้ อย ู่ เหตุนนั้ (อาจารยน์ นั้ ) ชอ่ื วา่ เป็นทอ่ี าศยั อย ู่ (ของศษิ ย)์ . นิ เป็นบทหน้า สี ธาต ุ ในความอาศยั . เป็นกตั ตุรปู กมั มสาธนะ. สิกขฺ ิยตีติ สิกขฺ า. (ธรรมชาตใิ ด) อนั เขาศกึ ษา เหตุนัน้ (ธรรมชาตนิ ัน้ ) ช่อื ว่า อนั เขาศกึ ษา, เป็นกมั มรปู กมั มสาธนะ. สิกฺขนํ สิกขฺ า. ความศกึ ษา ชอ่ื วา่ สกิ ขา สิกขฺ ฺ ธาต ุ ในความศกึ ษา, สำ� เหนยี ก. เป็นภาวรปู ภาวสาธนะ. www.kalyanamitra.org
พระเทพปริยัตโิ มลี (สทุ ัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรยี ง 135 วิเนติ เตนาติ วินโย. (บณั ฑติ ) ยอ่ มแนะน�ำ ดว้ ยอบุ ายนนั้ เหตนุ นั้ (อบุ ายนนั้ ) ชอ่ื วา่ เป็นเครอ่ื ง- แนะน�ำ (ของบณั ฑติ ). วิ เป็นบทหน้า นี ธาตุ ในความน�ำไป, เป็นกตั ตุรปู กรณสาธนะ. ปมํ ภวติ เอตสฺมาติ ปภโว. (แม่น้�ำ) ยอ่ มเกดิ กอ่ น แตป่ ระเทศนนั่ เหตนุ นั้ (ประเทศนนั่ ) ชอ่ื วา่ เป็นแดนเกดิ กอ่ น (แหง่ แมน่ ้�ำ). ป เป็นบท หน้า ภู ธาตุ ในความม,ี ความเป็น เป็นกตั ตุรปู อปาทานสาธนะ. อิ ปัจจยั อทุ กํ ทธาตีติ อทุ ธิ. (ประเทศใด) ยอ่ มทรงไว้ ซง่ึ น้�ำ เหตุนนั้ (ประเทศนนั้ ) ชอ่ื วา่ ผทู้ รงไวซ้ ง่ึ น้�ำ (ทะเล). อทุ เป็นบทหน้า ธา ธาต ุ ในความทรง, เป็นกตั ตุรปู กตั ตุสาธนะ. สนฺธิยตีติ สนฺธิ. (วาจาใด) อนั เขาตอ่ เหตนุ นั้ (วาจานนั้ ) ชอ่ื วา่ อนั เขาตอ่ . ส ํ เป็นบทหนา้ ธา ธาต ุ ในความต่อ. เป็นกมั มรปู กมั มสาธนะ. www.kalyanamitra.org
136 หลกั สตู รบาลีไวยากรณแ์ ละหลกั สมั พนั ธ์ นิธิยตตี ิ นิธิ. (สมบตั ใิ ด) อนั เขาฝง ไว ้ เหตนุ นั้ (สมบตั นิ นั้ ) ชอ่ื วา่ อนั เขาฝง ไว.้ นิ เป็นบทหน้า ธา ธาตุ ในความฝง ไว.้ เป็นกมั มรปู กมั มสาธนะ. ณ ปัจจยั (ลบ ณ ทฆี ะต้นธาตุ พฤทธ์ิต้นธาตุ หรอื วกิ ารตน้ ธาตุ เวน้ ธาตุ ๓ ตวั หรอื ตน้ ธาตเุ ปน็ ทฆี ะ) กมมฺ ํ กโรตีติ กมมฺ กาโร. (ผใู้ ด) ยอ่ มทำ� ซง่ึ กรรม เหตุนนั้ (ผนู้ นั้ ) ชอ่ื วา่ ผทู้ ำ� ซง่ึ กรรม. กมมฺ เป็นบทหน้า กรฺ ธาต ุ ในความทำ� , เป็น กตั ตุรปู กตั ตุสาธนะ. รชุ ชฺ ตีติ โรโค. (อาพาธใด) ยอ่ มเสยี ดแทง เหตุนนั้ (อาพาธนนั้ ) ชอ่ื วา่ ผเู้ สยี ดแทง. รชุ ฺ ธาตุ ในความเสยี ดแทง, เป็นกตั ตุรปู กตั ตุสาธนะ. วหิตพโฺ พติ วาโห. (ภาระใด) อนั เขาพงึ - น�ำไป เหตุนนั้ (ภาระนนั้ ) ชอ่ื วา่ อนั เขาพงึ น�ำไป. วหฺ ธาต ุ ในความน�ำไป, เป็นกมั มรปู กมั มสาธนะ. www.kalyanamitra.org
พระเทพปริยตั ิโมลี (สทุ ัศน์ ป.ธ.๙) รวบรวมเรยี บเรียง 137 ปจนํ ปาโก. ความหงุ ชอ่ื วา่ ปากะ. ปจฺ ธาตุ ในความหงุ , ความตม้ . เป็นภาวรปู ภาวสาธนะ. ทสุ สฺ ติ เตนาติ โทโส. (ชน) ยอ่ มประทษุ รา้ ย ดว้ ยกเิ ลสนนั้ เหตุนนั้ (กเิ ลสนนั้ ) ชอ่ื วา่ เป็นเหตุ- ประทุษร้าย (แห่งชน). ทุสฺ ธาตุ ในความ- ประทษุ รา้ ย, เป็นกตั ตุรปู กรณสาธนะ. อาวสนฺติ เอตฺถาติ อาวาโส. (ภกิ ษุ ท.) ยอ่ มอาศยั อย ู่ ในประเทศนนั่ เหตุนนั้ (ประเทศนนั่ ) ชอ่ื วา่ เป็นทอ่ี าศยั อย ู่ (แหง่ ภกิ ษุ ท.) อา เป็นบทหนา้ วสฺ ธาต ุ ในความอย ู่ เป็นกตั ตุรปู อธกิ รณสาธนะ. ตเว ปจั จัย กาตเว เพอ่ื อนั ทำ� กรฺ ธาต ุ เป็น กา, คนฺตเว เพอ่ื อนั ไป คมฺ ธาต ุ เอาทส่ี ดุ ธาตเุ ป็น นฺ, ปจ จยั น้ี ลงในจตุตถวี ภิ ตั ตนิ าม. www.kalyanamitra.org
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275