Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สามัคคีเภทคำฉันท์2

สามัคคีเภทคำฉันท์2

Published by nongyok357, 2021-07-04 08:05:40

Description: สามัคคีเภทคำฉันท์2

Search

Read the Text Version

สามคั คีเภทคําฉนั ท์

รายงาน เรอื่ ง สามัคคีเภทคาํ ฉนั ท คณะผจู ดั ทํา นายคฑาวธุ ลอ มเล็ก เลขที่ ๓ นางสาวปาณิสรา ทองเทพ เลขที่ ๒๑ นางสาวพรชนิตว อปุ สรรค เลขท่ี ๒๒ นางสาวสุชัญญา ชังจอหอ เลขที่ ๓๓ นางสาวสุธาสนิ ี แซลอ เลขที่ ๓๔ เสนอ คุณครณู ัฐยา อาจมงั กร รายงานนน้ีเปน สวนหนง่ึ ของรายวิชาภาษาไทย (ท๓๓๑๐๑) ภาคเรยี นท่ี ๑ ปการศกึ ษา ๒๕๖๔ โรงเรียนมธั ยมวัดหนองแขม

ก คํานํา รายงานเลมนี้จัดทาํ ขึ้นเพื่อเปนสวนหน่ึงของวิชาภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที่ ๖ เพ่ือศึกษาวรรณคดีเรื่องสามัคคีเภทคาํ ฉันท รายงานเลมนี้มีเนื้อหาความรูเก่ียวกับการวิเคราะหเน้ือหาคาํ ประพันธ คําศัพทและคุณคาดานตาง ๆ ของวรรณคดีเร่ืองสามัคคีเภทคําฉันท คณะผูจัดทําหวังวารายงานเลมน้ีจะเปนประโยชนแกผูอานและ ผูศึกษา หากมีขอผิดพลาดประการใด ผูจัดทําขออภัย ณ ที่นี้ดวย คณะผจู ดั ทํา

สารบญั ข หวั ขอ หนา คาํ นํา ก สารบญั ข เนือ้ หา ๑ - ผแู ตง ๒ - จดุ ประสงคใ นการแตง ๒ - ท่ีมาของเร่ือง ๓ - ลักษณะคําประพันธ ๕-๖ - ขอ บงั คบั ของคาํ ประพันธ ๗ - เรอ่ื งยอ กอ นบทเรยี น ๘ - ๓๑ - ถอดคําประพนั ธ ๓๒ - ๓๔ - อธิบายคาํ ศพั ทย าก ๓๕ - ๓๙ - คณุ คา วรรณคดี ๔๐ บรรณานุกรรม

สารบัญ คํานํา ก สารบญั ข ผูแตง ๑ จดุ ประสงคใ นการแตง ท่มี า ๒ ลักษณะคําประพันธ ๓ ขอบังคบั ของคําประพันธ ๕-๗ เรอ่ื งยอกอ นบทเรียน ๘ ถอดคาํ ประพันธ ๙-๓๕ อธิบายคาํ ศพั ทยาก ๓๖-๓๘ คุณคาวรรณคดี ๓๙-๔๓ บรรณานุกรม ๔๔-๔๕

สารบัญ คํานํา ก สารบญั ข ผูแ ตง ๑ จุดประสงคในการแตง ทีม่ า ๒ ลักษณะคําประพันธ ๓ ขอ บังคบั ของคาํ ประพนั ธ ๕-๗ เรอื่ งยอ กอ นบทเรียน ๘ ถอดคําประพันธ ๙-๓๕ อธิบายคาํ ศัพทย าก ๓๖-๓๘ คุณคา วรรณคดี ๓๙-๔๓ บรรณานุกรม ๔๔-๔๕

๑ ผูแ้ ต่ง นายชิต บุรทตั (๖ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๕ - ๒๗ เมษายน ๒๔๘๕) นายชติ มคี วามสนใจการอา นเขยี นและ มีความเช่ียวชาญในภาษาไทย มคี วามรภู าษาบาลี และยังเปน ผมู คี วามสามารถในการแตง คาํ ประพนั ธ รอ ยกรองโดยเฉพาะฉนั ทแ ละเริ่มการประพนั ธเมอื่ อายไุ ด ๑๘ ปน ายชติ ไดเขียนงานประพันธครั้งแรก ในฐานะเปน ศษิ ยส มเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ตอนบวชสามเณร ณ วดั บวรนเิ วศวหิ าร โดยใชน ามปากกา \"เอกชน\" จนเปน ทรี่ จู กั กนั ดใี นเวลานนั้ ขณะบวชนนั้ สามเณรชติ ไดร บั อาราธนาจาก องคส ภานายกหอพระสมดุ วชริ ญาณใหเ ขา รว มแตง ฉนั ทส มโภชพระมหาเศวตฉตั ร ในงานพระราชพธิ ฉี ตั รมงคลรชั กาลท่ี ๖ เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๕๔ ดว ยครนั้ เมอื่ พ.ศ. ๒๔๕๘ นายชติ บรุ ทตั ซงึ่ ลาสกิ ขาแลว ไดส ง บทประพนั ธเ ปน กาพยป ลกุ ใจ ลงตพี มิ พใ น หนงั สอื พมิ พส มทุ สาร เมอ่ื พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา เจา อยหู วั ไดท อดพระเนตร กพ็ อพระราชหฤทยั เปน อยา งมากโปรดฯ ใหเ จา หนา ทข่ี องภาพถา ยเจา ของบท ประพนั ธน น้ั ดว ย นายชติ บรุ ทตั ไดส รา งผลงานรอ ยกรองทม่ี ชี อื่ เสยี งมากมาย โดยเฉพาะ สามคั คเี ภทคําฉนั ท (พ.ศ. ๒๔๕๗) มบี ทรอ ยกรองตพี มิ พใ นหนงั สอื พมิ พ และนติ ยสาร ขอ ความโฆษณาเปน รอ ยกรอง และทา นยงั มชี อ่ื เสยี งในการแตง รอ ย แกว ซงึ่ สามารถอา นอยา งรอ ยกรองไวใ นบทเดยี วกนั ขณะทคี่ าํ ฉนั ทน น้ั กย็ งั สามารถ ใชค าํ งา ยๆ มาลงครลุ หไุ ดอ ยา งเหมาะสม ไดร บั การยกยอ งเปน หนง่ึ ในนกั แตง ฉนั ท ฝม อื เยยี่ มคนหนง่ึ ของไทยจนถงึ ปจ จบุ นั น้ี

๒ จุดประสงค์ในการแตง่ เพ่ือมงุ ช้ีความสําคัญของการรวมเปน หมคู ณะเปน นํ้าหน่งึ ใจเดยี วกนั เพอ่ื ปอ งกนั รกั ษาบา นเมืองใหม คี วามเปน ปกแผน สามคั คีเภทคําฉนั ท เปนกวนี ิทานสุภาษิต วาดว ย “โทษแหง การแตกสามคั ค”ี ภายหลงั ไดร บั การยกยองเปนตําราเรยี นวรรณกรรมไทยท่สี าํ คญั เลม หน่งึ ท้งั ในอดตี และปจ จบุ ัน ทมี าของเรือง ในสมัยรัชกาลที่ ๖ เกดิ เหตกุ ารณต างๆ เชน สงครามโลกครงั้ ที่ ๑ กบฏ ร.ศ.๑๓๐ ประกอบกบั คนไทยในสมยั นน้ั ที่ไดร บั การศึกษามากขนึ้ จึงทาํ ใหเ กดิ ความตื่นตัวทางความคดิ มคี วามเหน็ เก่ยี วกบั การดําเนินการ บานเมอื งแตกตางกันเปนหลายฝาย ซ่ึงทําใหสง ผลกระทบตอ ความไมมั่นคง ของบานเมือง ในภาวะดังกลาวจึงมกี ารแตง วรรณคดีปลุกใจใหมีการรกั ษาข้ึน โดยเรือ่ งสามัคคีเภทแตงข้นึ ในป พ.ศ ๒๔๕๗ โดยมุงเนนความสําคญั ของ ความสามัคคีเพ่อื รักษาบานเมืองสามัคคเี ภทคําฉนั ท เปน กวนี ทิ านสภุ าษิต วาดว ย “โทษแหง การแตกสามัคค”ี โดยมุง ชี้ความสาํ คญั ของการรวมเปน หมูคณะ เปน นา้ํ หนงึ่ ใจเดยี วกัน เพื่อปองกันและรักษาบานเมืองใหเ ปนปกแผน ภายหลงั ไดรบั การยกยอ งเปนตําราเรยี นวรรณกรรมไทยทสี่ ําคัญเลมหนึง่ ทงั้ ในอดตี และปจ จบุ นั

๓ ลกั ษณะคาํ ประพันธ์ ๑. สัททุลวิกกฬี ติ ฉนั ท ๑๙ เปนฉันทท ม่ี ีลีลาการอา นสงา งาม เครง ขรึม มีอํานาจดุจเสือผยอง ใชแ ตง สําหรบั บทไหวค รู บทสดดุ ี ยอพระเกยี รติ ๒. วสนั ตดิลกฉนั ท ๑๔ เปน ฉนั ทท ีม่ ลี ลี าไพเราะ งดงาม เยอื กเย็น ดุจเมด็ ฝน ใชสําหรับบรรยายหรือพรรณนาชืน่ ชมส่ิงที่สวยงาม ๓. อปุ ชาตฉิ ันท ๑๑ นยิ มแตงสาํ หรับบทเจรจาหรอื บรรยายความเรยี บๆ ๔. อีทสิ งั ฉนั ท ๒๑ เปน ฉนั ทท่ีมจี ังหวะกระแทกกระทนั้ เกร้ยี วกราด โกรธแคน และอารมณร ุนแรง เชน รกั มาก โกรธมาก ตื่นเตน คึกคะนอง หรือพรรณนาความสับสน ๕. อนิ ทรวิเชยี รฉนั ท ๑๑ เปนฉนั ทท ม่ี ีลีลาสวยงามดจุ สายฟาพระอินทร มลี ีลาออนหวาน ใชบรรยายความหรือพรรณนาเพ่อื โนมนา วใจ ใหอ อ นโยน เมตตาสงสาร เอน็ ดู ใหอารมณเหงาและเศรา ๖. วชิ ชุมมาลาฉันท ๘ หมายถงึ ระเบยี บแหงสายฟา เปนฉันทท ใ่ี ชใน การบรรยายความ ๗. อนิ ทรวงศฉ ันท ๑๒ เปน ฉนั ทท ่ีมลี ลี าตอนทายไมร าบเรยี บคลายกล บทสะบัดสะบิง้ ใชใ นการบรรยายความหรือพรรณนาความ ๘. วงั สฏั ฐฉันท ๑๒ เปนฉนั ทท ่มี สี ําเนียงอันไพเราะเหมือนเสยี งป ๙. มาลนิ ฉี ันท ๑๕ เปนฉันทท ใี่ ชใ นการแตง กลบทหรือบรรยายความที่ เครงขรมึ เปนสงา ๑๐.ภุชงคประยาตฉันท ๑๒ เปนฉนั ทท่มี ีลลี างามสงา ดุจงูเลอื้ ย นิยมใช แตงบททีด่ าํ เนนิ

๔ ๑๑. มาณวกฉนั ท ๘ เปนฉันทท ม่ี ีลลี าผาดโผน สนกุ สนาน รา เรงิ และตืน่ เตน ดุจชายหนุม ๑๒. อเุ ปนทรวเิ ชียรฉันท ๑๑ เปนฉันทท ่มี ีความไพเราะใชใ นการ บรรยายบทเรียบๆ ๑๓. สัทธราฉนั ท ๒๑มีความหมายวา ฉนั ทย ังความเลื่อมใสใหเกิด แกผ ฟู ง จงึ เหมาะเปนฉนั ทท ใี่ ชสาํ หรับแตง คาํ นมสั การ อธิษฐาน ยอพระเกยี รติ หรอื อัญเชญิ เทวดา ใชแ ตงบทสน้ั ๆ ๑๔. สาลนิ ีฉนั ท ๑๑ เปน บทท่มี ีคําครุมาก ใชบรรยายบททเ่ี ปนเนือ้ หา สาระเรยี บๆ ๑๕. อปุ ฏฐติ าฉันท ๑๑ เปน ฉนั ทท ่เี หมาะสําหรบั ใชบ รรยายบทเรียบๆ แตไมใครมคี นนิยมแตงมากนัก ๑๖. โตฏกฉนั ท ๑๒ เปน ฉันททม่ี ลี ีลาสะบดั สะบ้งิ เหมือนประตกั แทงโค ใชแ ตง กบั บทที่แสดงความโกรธเคอื ง รอ นรน หรือสนุกสนาน คึกคะนอง ตนื่ เตน และเราใจ ๑๗. กมลฉันท ๑๒ หมายถงึ ฉันทีม่ ีความไพเราะเหมือนดังดอกบวั ใช กบั บทท่ีมีความตนื่ เตนเล็กนอ ยและใชบรรยายเร่อื ง ๑๘. จิตรปทาฉนั ท ๘ เปนฉนั ทท ี่เหมาะสําหรับบทท่ีนา กลวั เอะอะ เกรี้ยวกราด ตื่นเตน ตกใจและกลัว ๑๙. สรุ างคนางคฉ นั ท ๒๘ มีลกั ษณะการแตง คลา ยกาพยส รุ างคนางค ๒๘ แตต างกันทมี่ ขี อ บังคับ ครุลหุ เพิ่มขึ้นมา ทําใหเ กิดความไพเราะ มากยงิ่ ข้ึน เหมาะสําหรับขอความท่ีคกึ คักสนุกสนาน โลดโผน ต่ืนเตน ๒๐. กาพยฉ บงั ๑๖เปนกาพยทม่ี ลี ลี าสงา งาม ใชส าํ หรับบรรยายความ งามหรอื ดําเนินเรอื่ งอยา งรวดเร็ว

๕ ขอ้ บังคบั ของคาํ ประพันธ์ อินทรวิเชียรฉนั ท ๑๑ ๑. บทหน่ึงมี ๒ บาท บาทหน่งึ มี ๒ วรรค วรรคหนามี ๕ คํา วรรคหลังมี ๖ คาํ รวมบาทหนงึ่ มี ๑๑ คาํ จึงเรียกวา ฉันท ๑๑ ๒. ครุ-ลหุ : คําท่ี ๓ ของวรรคหนา กบั คาํ ท่ี ๑ ท่ี ๒ และท่ี ๔ ของวรรคหลงั เปน ลหุ นอกนั้นเปน ครุ ๓. สงสมั ผัสแบบกาพย คําสดุ ทา ยของวรรคที่ ๑ สมั ผสั กบั คําท่สี ามของ วรรคท่ี ๒ (เปน สมั ผัสไมบ ังคบั แตถา มีจะทาํ ใหฉ ันทบ ทน้ันไพเราะยงิ่ ขน้ึ ) และ คําสดุ ทายของวรรคที่ ๒ สัมผัสกับคําสุดทา ยของวรรคท่ี ๓ สมั ผสั ระหวางบท คือคําสุดทา ยของวรรคที่ ๔ ของบทแรก จะตอ ง สมั ผัสกับ คาํ สุดทา ยของวรรคที่ ๒ ในบทถดั ไป ๔. ความนยิ ม อินทรวิเชยี รฉนั ท นยิ มใชแ ตงขอความท่เี ปนบทชมหรอื บท คร่ําครวญนอกจากนี้ยังแตงเปน บทสวด หรอื พากยโ ขนดว ย

๖ คําครุ ไดแกค าํ ที่ประสมดว ยสระเสยี งยาวในแม ก กา เชน กา ตี งู กบั คาํ ท่ี ประสมดวยสระเสียงส้นั หรอื ยาวกไ็ ดทีม่ ีตัวสะกด เชน นก บิน จาก รัง นอน และคําทป่ี ระสมดวยสระ อาํ ไอ ใอ เอา ซึง่ ถึอวา เปน เสียงมีตวั สะกด คําลหุ ไดแกค ําท่ีประสมดว ยสระเสียงส้ันในแม ก กา เชน จะ ติ มุ เตะ และ คําทีใ่ ชพ ยัญชนะคําเดียว เชน ก็ บ ณ ธ นอกจากนี้คําที่ประสมดว ย สระอาํ บางทีกอ็ นโุ ลมใหเ ปนคาํ ลหุได เชน ลํา คาํ ลหุ เวลาเขยี นเปน สญั ลักษณ ใช เครื่องหมายเหมือนสระอุ แทน

๗ ขอ้ บังคบั ของคาํ ประพันธ์ วิชชมุ มาลาฉนั ท ๑ บท ประกอบดว ยคณะและพยางค ดงั น้ี มี ๔ บาท บาทละ ๒ วรรค วรรคละ ๔ คาํ ๑ บาท นบั จํานวนคาํ ได ๘ คาํ /พยางค ดงั นนั้ จงึ เขียนเลข ๘ หลงั ช่อื วิชชุมมาลาฉันทนเี่ อง ทงั้ บทมีจาํ นวนคาํ ทง้ั สนิ้ ๓๒ คํา สมั ผัส พบวา สัมผัสวิชชมุ มาลาฉันท มสี มั ผสั นอก (ทเี่ ปน สัมผัสภายในบท) จํานวน ๕ แหง ไดแก ๑. คําสุดทายของวรรคท่ี ๑ สงสมั ผัสกบั คาํ ท่ี ๒ ของวรรคที่ ๒ ๒. คําสดุ ทา ยของวรรคที่ ๒ สง สมั ผสั กับคาํ สุดทาย ของวรรคท่ี ๓ ๓. คาํ สดุ ทายของวรรคที่ ๔ สง สัมผัสกบั คําสดุ ทา ย ของวรรคที่ ๖ ๔. คําสดุ ทายของวรรคที่ ๕ สงสมั ผัสกบั คาํ ท่ี ๒ ของวรรคที่ ๖ ๕. คาํ สดุ ทา ยของวรรคท่ี ๖ สง สมั ผัสกบั คําสดุ ทา ย ของวรรคท่ี ๗ สมั ผสั ระหวางบท พบวา คําสุดทา ยของบท สง สมั ผัสกับคาํ สุดทายของวรรค วรรคที่ ๔ ในบทตอ ไป

๘ เรืองยอ่ กอ่ นบทเรียน สามคั คเี ภทคาํ ฉนั ทดําเนนิ เร่ืองโดยอิงประวตั ศิ าสตรค รัง้ พทุ ธกาล วา ดว ยการใชเ ลหอุบายทาํ ลายความสามคั คี ของเหลากษตั ริยลิจฉวี กรงุ เวสาลีแหงแควนวัชชี เน้ือความนี้มีปรากฏในมหาปรนิ พิ พานสูตร แหงพระไตรปฎ ก และอรรถกถาสุมงั คลวิสาสนิ ี โดยเลา ถึงกษตั รยิ  ในสมยั โบราณ ทรงพระนามวา พระเจา อชาตศัตรู แหง แควนมคธ ทรงมีอาํ มาตยค นสนิทชื่อ วสั สการพราหมณ ทรงมีดํารจิ ะปราบแควน วชั ชี ซ่งึ มีกษัตริยล จิ ฉวีครอบครอง แตแควนวัชชมี คี วามเปน ปก แผน และปกครองกนั ดวยความสามคั คี พระเจาอชาตศตั รูปรึกษากับ วัสสการพราหมณเ พือ่ หาอบุ ายทําลายความสามัคคขี องเหลากษตั รยิ ล ิจฉวี โดยการเนรเทศวสั สการพราหมณอ อกจากแควนมคธเดินทางไปเมืองเวสาลี แลวทําอบุ ายจนไดเขาเฝา กษัตรยิ ล จิ ฉวี และในทส่ี ดุ ไดเปนครู สอนศลิ ปวิทยาแกร าชกมุ ารท้ังหลาย คร้นั ไดโ อกาส ก็ทําอบุ ายใหศ ิษยแตก รา วจนเกิดการวิวาทและเปน เหตใุ หความสามัคคใี นหมูก ษัตรยิ ลจิ ฉวี ถกู ทาํ ลายลง เมือ่ นั้น พระเจา อชาตศัตรูจึงไดกรธี าทัพสเู มอื งเวสาลีสามารถ ปราบแควนวชั ชีลงไดอ ยางงายดาย

๙ ถอดคาํ ประพันธ์ คะเนกลคะนึงการ ระวังเหือดระแวงหาย ภุชงคประยาต ฉันทฯ ปวตั นว ญั จโนบาย สมัครสนธิส์ โมสร ทิชงคชาตฉิ ลาดยล ลศึกษาพิชากร กษตั รยิ ลจิ ฉวีวาร เสดจ็ พรอมประชุมกนั สถานราชเรียนพลัน เหมาะแกการณจะเสกสรร สนทิ หน่งึ พระองคไ ป มลางเหตพุ เิ ฉทสาย ก็ถามการณ ณ ทนั ใด กถาเชน ธ ปุจฉา ณ วนั หนง่ึ ลถุ ึงกา มนษุ ยผ ูกระทํานา กมุ ารลจิ ฉววี ร ประเทียบไถมใิ ชหรือ กร็ ับอรรถอออือ ตระบดั วัสสการมา ประดจุ คาํ พระอาจารย ธแกลง เชิญกุมารฉนั นิวตั ในมิชานาน สมัยเลิกลุเวลา ลุหองหับรโหฐาน พชวนกนั เสดจ็ มา มิล้ลี บั อะไรใน ชองคน ั้นจะเอาความ ณ ขางใน ธ ไตถ าม จะถูกผิดกระไรอยู วจสี ตั ยกะส่ําเรา และคโู คกจ็ ูงมา กุมารลิจฉวขี ตั ตยิ  กสิกเขากระทําคอื กเ็ ทาน้นั ธ เชิญให ประสทิ ธิ์ศิลปประศาสนสาร อรุ สลจิ ฉวีสรร และตางซักกุมารรา พระอาจารยส เิ รยี กไป อะไรเธอเสนอตาม

กุมารน้นั สนองสา ๑๐ เฉลยพจนก ะครเู สา รวากยว าทตามเลา กุมารอืน่ ก็สงสยั วภาพโดยคดีมา สหายราช ธ พรรณนา มิเชื่อในพระวาจา และตางองคก็พาที ไฉนเลยพระครูเรา จะพดู เปลา ประโยชนมี เลอะเหลวนกั ละลวนนี รผลเห็น บ เปนไป ธ พดู แทก ็ทําไม เถอะถงึ ถาจะจรงิ แม จะถามนอก บ ยากเยน็ แนะชวนเขา ณ ขางใน ธ คิดอา นกะทา นเปน ละแนช ดั ถนดั ความ ชะรอยวา ทิชาจารย มกิ ลา อาจจะบอกตา รหสั เหตุประเภทเห็น ไถลแสรงแถลงสาร กส็ อดคลองและแคลงดาล และทา นมามสุ าวาท อบุ ัตขิ น้ึ เพราะขนุ เคือง พจีจริงพยายาม ประดามีนิรนั ดรเ นือง มลายปลาตพินาศปลง ฯ กุมารราชมิตรผอง พโิ รธกาจววิ าทการณ พิพธิ พันธไมตรี กะองคน น้ั กพ็ ลันเปลอื ง

๑๑ ถอดความ ภุชงคประยาต ฉนั ทฯ พราหมณผูฉลาดคาดคะเนวากษัตริยลิจฉวีวางใจคลายควาหวาดระแวง เปนโอกาสเหมาะท่ีจะเริ่มดาํ เนินการตามกลอุบายทาํ ลายความสามัคคี วันหน่ึงเมื่อถึงโอกาสที่จะสอนวิชากุมารลิจฉวีก็เสด็จมาโดยพรอมเพรียง กัน ทันใดวัสสการพราหมณ ก็มาถึงและแกลงเชิญพระกุมารพระองคที่สนิท เขาไปพบในหองสวนตัว แลวก็ทูลถามเร่ืองที่ไมใชความลับแตประการใด ดังเชนถามวา ชาวนาจูงโคมาคูหนึ่งเพื่อเทียมไถใชหรือไม พระกุมารลิจฉวี ก็รับสั่งเห็นดวยวา ชาวนาก็คงจะกระทําดังคําของพระอาจารย ถามเพียง เทาน้ันพราหมณก็เชิญใหเสด็จกลับออกไป ครั้นถึงเวลาเลิกเรียน เหลาโอรส ลิจฉวีก็พากันมาซักไซพระกุมารวา พระอาจารยเรียกเขาไปขางในไดไตถาม อะไรบางขอใหบอกตามความจริง พระกุมารพระองคนั้น ก็เลาเรื่อง ที่พระอาจารยเรียกไปถามแตเหลากุมารสงสัยไมเช่ือคําพูดของพระสหาย ตางองคก็วิจารณวา พระอาจารยจะพูดเร่ืองเหลวไหลไรสาระเชนน้ี เปนไปไมได หากวาจะพูดจริงเหตุใดจะตองเรียกเขาไปถาม ขางในหอง ถามขางนอกหองก็ได สงสัยวาทานอาจารยกับพระกุมารตองมีความลับ อยางแนนอน แลวก็มาพูดโกหก ไมกลาบอกตามความเปนจริง แกลงพูดไป ตาง ๆ นานา กุมารลิจฉวีท้ังหลาย เห็นสอดคลองกันก็เกิดความโกรธเคือง การทะเลาะวิวาทก็เกิดข้ึน เพราะความขุนเคืองใจ ความสัมพันธอันดี ที่เคยมีมาตลอดก็ถูกทําลายยอยยับลง

มาณวก ฉันทฯ ๑๒ ลวงลุประมาณ กาลอนุกรม หน่งึ ณ นิยม ทา นทวิชงค เมือ่ จะประสทิ ธิ์ วิทยะยง เชญิ วรองค เอกกมุ าร พราหมณไป เธอจรตาม หองรหุฐาน โดยเฉพาะใน ความพสิ ดา จึง่ พฤฒิถาม โทษะและไข ขอ ธ ประทาน ครูจะเฉลย ภตั กะอะไร อยาติและหลู ดี ฤ ไฉน เธอนะ เสวย ยิ่งละกระมัง ในทินน่ี เคา ณ ประโยค พอหฤทยั แลว ขณะหลงั เรื่องสิประทัง ราช ธ ก็เลา สกิ ขสภา ตนบริโภค ราชอรุ ส วาทะประเทือง ตา ง ธ กม็ า อาคมยัง ทานพฤฒอิ า รภกระไร เสร็จอนุศาสน แจง ระบมุ วล ลิจฉวิหมด จริงหฤทัย ถามนยมาน เม่ือตรไิ ฉน จารยปรา เหตุ บ มสิ ม เรอ่ื งนฤสาร เธอก็แถลง กอนก็ระดม ความเฉพาะลวน แตกคณะกล ตา ง บ มิเชื่อ คบดจุ เดิม จงึ่ ผลใน ขนุ มนเคือง เชนกะกมุ าร เลิกสละแยก เกลยี ว บ นยิ ม

๑๓ ถอดความ มาณวก ฉันท เวลาผานไปตามลาํ ดับเม่ือถึงคราวท่ีจะสอนวิชาก็จะเชิญพระกุมาร พระองคหน่ึง พระกุมารก็ตามพราหมณเขาไปในหองเฉพาะ พราหมณ จึงถามเนื้อความแปลก ๆ วาขออภัย ชวยตอบดวย อยาหาวาตาํ หนิ หรือลบหลู ครูขอถามวา วันนี้พระกุมารเสวยพระกระยาหารอะไร รสชาติดีหรือไมพอพระทัยมากหรือไม พระกุมารก็เลาเร่ืองเก่ียวกับ พระกระยาหารท่ีเสวย หลังจากนั้น ก็สนทนาเร่ืองท่ัวไป แลวก็เสด็จ กลับออกมายังหองเรียนเมื่อเสร็จส้ินการสอนราชกุมารลิจฉวีท้ังหมด ก็มาถามเร่ืองราวที่มีมาวาทานอาจารยไดพูดเรื่องอะไรบาง พระกุมาร ก็ตอบตามความจริง แตเหลากุมารตางไมเช่ือ เพราะคิดแลว ไมสมเหตุสมผล ตางขุนเคืองใจดวยเร่ืองไรสาระ เชนเดียวกับ พระกุมารพระองคกอน และเกิดความแตกแยกไมคบกันอยาง กลมเกลียวเหมือนเดิม

อเุ ปนทรวิเชียร ฉนั ท ฯ ๑๔ ทชิ งคเจาะจงเจตน กลหเหตุยุยงเสรมิ กระหนํ่าและซ้าํ เติม นฤพัทธกอ การณ ทินวารนานนาน ละครง้ั ระหวางครา ธ ก็เชญิ เสดจ็ ไป เหมาะทา ทชิ าจารย รฤหาประโยชนไร เสาะแสดงธแสรงถาม บ หอนจะมสี า นะแนะขาสดับตาม กระนนั้ เสมอนัย พจแจงกระจายมา ก็เพราะทานสแิ สนสา และบางกพ็ ดู วา วและสดุ จะขัดสน ยบุ ลระบลิ ความ พิเคราะหเช่อื เพราะยากยล ธ ก็ควรขยายความ ละเมิดตเิ ตยี นทา นะแนะขาจะขอถาม รพัดทลทิ ภา วจลอื ระบอื มา ก็เพราะทานสแิ สนสา จะแนมิแนเ หลอื ยพิลึกประหลาดเปน ณ ท่ี บ มีคน มนเชอื่ เพราะไปเ หน็ ธ กค็ วรขยายความ และบา งกก็ ลา ววา วนเคาคดตี าม เพราะทราบคดีตาม นยสดุ จะสงสยั ครุ ุทา นจะถามไย ติฉินเยาะหมิ่นทาน ระบแุ จง กะอาจารย รพนั พิกลกา จะจริงมิจรงิ เหลอื ผขิ อ บ ลําเค็ญ กุมารองคเ สา กระทูพระครูถาม ก็คํามิควรการณ ธ ซักเสาะสบื ใคร

๑๕ ทวชิ แถลงวา พระกุมารโน บลกะตูกาล เฉพาะอยูกะกนั สอง ธ มทิ ันจะไตรต รอง กมุ ารพระองคน นั้ พฤฒิครูและวูวาม ก็เช่อื ณคําของ เหมาะเจาะจงพยายาม บ มดิ ปี ระเดตน พโิ รธกมุ ารองค ทรุ ทิฐิมานจน ยคุ รเู พราะเอาความ ธพิ ิพาทเสมอมา ทชิ ครูมเิ รยี กหา กพ็ อและตอ พิษ ชกุมารทชิ งคเชิญ ลุโทสะสืบสน ฉวมิ ติ รจิตเมิน คณะหางก็ตางถือ และฝา ยกุมารผู พลลน เถลิงลอื ก็แหนงประดารา มนฮกึ บ นึกขาม ฯ พระราชบุตรลจิ ณ กนั และกนั เหิน ทะนงชนกตน กห็ าญกระเหมิ ฮอื

๑๖ ถอดความ อเุ ปนทรวเิ ชียร ฉนั ท ฯ พราหมณเจตนาหาเหตุยุแหยซํา้ เติมอยูเสมอ ๆ แตละคร้ัง แตละวัน นานนานคร้ัง เห็นโอกาสเหมาะก็จะเชิญพระกุมารเสด็จไปโดยไมมี สารประโยชนอันใด แลวก็แกลงทูลถาม บางคร้ังก็พูดวา น่ีแนะขาพระองคไดยินขาวเลาลือกันทั่วไป เขานินทาพระกุมารวาพระองค แสนจะยากจนและขัดสน จะเปนเชนน้ันแนหรือ พิเคราะหแลวไมนาเช่ือ ณ ท่ีนี้ไมมีผูใด ขอใหทรงเลามาเถิด บางคร้ังก็พูดวาขาพระองคขอทูล ถามพระกุมาร เพราะไดยินเขาเลาลือกันท่ัวไปเยาะเยยดูหม่ินทาน วาทาน น้ีมีรางกายผิดประหลาดตาง ๆ นานาจะเปนจริงหรือไม ใจไมอยากเช่ือ เลยเพราะไมเห็น ถาหากมีสิ่งใดท่ีลาํ บากยากแคนก็ตรัสมาเถิด พระกุมาร ไดทรงฟงเร่ืองที่พระอาจารยถาม ก็ตรัสถามกลับวา สงสัยเหลือเกินเร่ือง ไมสมควรเชนน้ีทานอาจารยจะถามทําไม แลวก็ซักไซวาใครเปนผูมาบอก กับอาจารย พราหมณก็ตอบวา พระกุมารพระองคโนนตรัสบอก เม่ืออยูกันเพียงสองตอสอง กุมารพระองคน้ันไมทันไดไตรตรอง ก็ทรงเช่ือในคําพูดของอาจารย ดวยความวูวามก็กริ้ว พระกุมารที่ยุ พระอาจารยใสความตน จึงตัดพอตอวากันขึ้น เกิดความโกรธเคือง ทะเลาะวิวาทกันอยูเสมอ ฝายพระกุมารท่ีพราหมณไมเคยเรียกเขาไปหา ก็ไมพอพระทัยพระกุมารที่พราหมณเชิญไปพบ พระกุมารลิจฉวีหมางใจ และเหินหางกัน ตางองคทะนงวาพระบิดาของตนมีอาํ นาจลนเหลือ จึงมีใจกาํ เริบไมเกรงกลัวกัน

สทั ธรา ฉนั ทฯ ๑๗ ลําดับนน้ั วสั สการพราหมณ ธ ก็ยศุ ิษยตาม แตงอุบายงาม ฉงนงํา ริณวิรธุ ก็สาํ ปวงโอรสลิจฉวีดาํ ธ เสกสรร คญั ประดุจคํา มิละปยะสหฉันท ก็อาดรู ไปเหลอื เลยสักพระองคอนั พระชนกอดศิ รู ขาดสมคั รพนั ธ ปวัตตคิ์ วาม ลวุ รบดิ รลาม ตางองคนาํ ความมิงามทลู ณ เหตผุ ล แหง ธ โดยมูล นฤวเิ คราะหเสาะสน เพราะหมายใด แตกราวกาวรายกป็ า ยปาม กษณะตริเหมาะไฉน ทลี ะนอ ยตาม สะดวกดาย พจนยปุ รยิ าย ฟนเฝอ เชือ่ นัยดนยั ตน บ เวนครา สบื จะหมองมล สหกรณประดา ชทงั้ หลาย แททานวัสสการใน มิตรภทิ นะกระจาย เสรมิ เสมอไป กเ็ ปน ไป พระราชหฤทยวสิ ยั หลายอยา งตางกล ธ ขวนขวาย ระวงั กัน ฯ วัญจโนบาย ครนั้ ลว งสามปประมาณมา ลิจฉวีรา สามัคคีธรรมทาํ ลาย สรรพเส่ือมหายน ตางองคท รงแคลงระแวงใน ผพู โิ รธใจ

๑๘ ถอดความ สทั ธรา ฉันท ฯ ในขณะน้ันวัสสการพราหมณก็คอยยุลูกศิษย แตงกลอุบายใหเกิด ความแคลงในพระโอรสกษัตริยลิจฉวีท้ังหลาย ไตรตรองในอาการ นาสงสัยก็เขาใจวาเปนจริงดังถอยคําที่อาจารยปนเร่ืองข้ึนไมมีเหลือ เลยสักพระองคเดียวที่มีความรักใครกลมเกลียวตางขาด ความสัมพันธเกิดความเดือดรอนใจ แตละองคนําเรื่องไมดีที่เกิดขึ้น ไปทูลพระบิดาของตนความแตกแยกก็คอยลุกลามไปสูพระบิดา เนื่องจากความหลงเช่ือโอรสของตนปราศจากกาใครครวญเกิด ความผิดพองหมองใจกันขึ้น ฝายวัสสการพราหมณครั้นเห็นโอกาส เหมาะสมก็คอยยุแหยอยางงายดาย ทาํ กลอุบายตาง ๆ พูดยุยง ตามกลอุบายตลอดเวลา ผานไปประมาณ ๓ ป ความรวมมือกัน ระหวางกษัตริยลิจฉวีทั้งหลายและความสามัคคีถูกทาํ ลายลงส้ิน ความเปนมิตรแตกแยกความเสื่อมความหายนะก็บังเกิดขึ้นกษัตริย ตางองคระแวงแคลงใจมีความขุนเคืองใจซึ่งกันและกัน

สาลนิ ี ฉนั ท ฯ ๑๙ พราหมณค รรู ูส ังเกต ตระหนักเหตุถนัดครนั ราชาวัชชีสรร พจกั สพู ินาศสม จะสัมฤทธิม์ นารมณ ยนิ ดบี ดั นี้กิจ และอุตสาหแหงตน เริม่ มาดว ยปรากรม ประชุมขตั ตยิ มณฑล กษตั ริยสูสภาคาร ใหล องตีกลองนัด สดับกลองกระหมึ ขาน เชิญซึง่ สํา่ สากล ณ กิจเพือ่ เสดจ็ ไป จะเรียกหาประชมุ ไย วชั ชภี มู ผี อง ก็ขลาดกลวั บ กลาหาญ ทกุ ไทไ ปเอาภาร และกลา ใครมิเปรยี บปาน ประชุมชอบก็เชญิ เขา ตางทรงรับสั่งวา ไฉนนั้นก็ทําเนา เราใชเปน ใหญใ จ บ แลเห็นประโยชนเ ลย และทุกองค ธ เพิกเฉย ทา นใดทีเ่ ปนใหญ สมคั รเขา สมาคม ฯ พอใจใครในการ ปรกึ ษาหารือกัน จกั เรยี กประชมุ เรา รบั สัง่ ผลักไสสง ไปไดไ ปดัง่ เคย

๒๐ ถอดความ สาลนิ ี ฉันท ฯ พราหมณผูเปนครูสังเกตเห็นดังน้ัน ก็รูวาเหลากษัตริยลิจฉวี กําลังจะประสบความพินาศ จึงยินดีมากท่ีภารกิจประสบผลสาํ เร็จ สมดังใจ หลังจากเริ่มตนดวยความบากบั่นและความอดทนของตน จึงใหลองตีกลองนัดประชุมกษัตริยฉวี เชิญทุกพระองคเสด็จมายัง ที่ประชุม ฝายกษัตริยวัชชีทั้งหลายทรงสดับเสียงกลองดังกึกกอง ทุกพระองคไมทรงเปนธุระในการเสด็จไป ตางองครับสั่งวาจะเรียก ประชุมดวยเหตุใด เราไมไดเปนใหญ ใจก็ขลาด ไมกลาหาญ ผูใดเปนใหญ มีความกลาหาญไมมีผูใดเปรียบได พอใจจะเสด็จไปรวมประชุมก็เชิญเขา เถิด จะปรึกษาหารือกันประการใดก็ชางเถิด จะเรียกเราไปประชุมมอง ไมเห็นประโยชนประการใดเลย รับส่ังใหพนตัวไป และทุกพระองค ก็ทรงเพิกเฉยไมเสด็จไปเขารวมการประชุมเหมือนเคย

อปุ ฎฐติ า ฉนั ท ฯ ๒๑ เห็นเชงิ พเิ คราะหชอ ง ชนะคลอ งประสบสม พราหมณเวทอุดม ธ ก็ลอบแถลงการณ คมดลประเทศฐาน ใหวลั ลภชน อภิเผามคธไกร กราบทูลนฤบาล สนวา กษัตริยใ น วลหลาตลอดกัน แจงลกั ษณสา คณะแผกและแยกพรรค วชั ชบี รุ ไก ทเสมอื นเสมอมา ขณะไหนประหนึง่ ครา บัดน้ีสิก็แตก ก็ บ ไดสะดวกดี ไปเปนสหฉนั พยุหยาตรเสด็จกรี รยิ ยุทธโดยไว ฯ โอกาสเหมาะสมัย นห้ี ากผจิ ะหา ขอเชญิ วรบาท ธาทพั พลพี ถอดความ อุปฎ ฐิตา ฉันท ฯ เม่ือพิจารณาเห็นชองทางท่ีจะไดชัยชนะอยางงายดาย พราหมณผูรอบรู พระเวทก็ลอบสงขาว ใหคนสนิทเดินทาง กลับไปยังบานเมือง กราบทูล กษัตริยแหงแควนมคธอันยิ่งใหญ ในสาสนแจงวากษัตริยวัชชีทุกพระองค ขณะนี้เกิดความแตกแยก แบงพรรคแบงพวก ไมสามัคคีกันเหมือนแตเดิม จะหาโอกาสอันเหมาะสมคร้ังใด เหมือนดังคร้ังน้ีคงจะไมมีอีกแลว ขอทูลเชิญพระองคยกกองทัพอันยิ่งใหญมาทําสงครามโดยเร็วเถิด

วชิ ชุมมาลา ฉันทฯ ๒๒ ขาวเศกิ เอิกองึ ทราบถงึ บัดดล ในหมผู คู น ชาวเวสาลี แทบทุกถน่ิ หมด ชนบทบรู ี อกสน่ั ขวัญหนี หวาดกลัวทวั่ ไป หมดเลือดส่นั กาย ตืน่ ตาหนาเผอื ด วนุ หวั่นพรนั่ ใจ หลบลีห้ นีตาย ซอ นตัวแตกภัย ซุกครอกซอกครัว ทงิ้ ยา นบานตน เขา ดงพงไพร ชาวคามลาลาด ขนุ ดา นตําบล เหลือจักหา มปราม คดิ ผันผอ นปรน พนั หวั หนา ราษฎร มาคธขามมา หารือแกกนั ปาวรอ งทันที จักไมใหพ ล รกุ เบียนบีฑา วัชชอี าณา จึง่ ใหตกี ลอง ปอ งกันฉนั ใด แจง ขาวไพรี ไปมสี กั องค เพือ่ หมภู ูมี เพ่อื จกั เสด็จไป ชุมนุมบญั ชา เรยี กนดั ทําไม กลาหาญเหน็ ดี ราชาลจิ ฉวี อนั นกึ จํานง ตางองคดํารสั ใครเปน ใหญใ คร

๒๓ เชญิ เทอญทานตอง ขดั ขอ งขอไหน ปรกึ ษาปราศรยั ตามเรอื่ งตามที สวนเราเลา ใช เปน ใหญยังมี ใจอยา งผูภ ี รกุ ปราศอาจหาญ ความแขงอาํ นาจ ตางทรงสาํ แดง แกง แยง โดยมาน สามคั คขี าด วัชชรี ฐั บาล ภูมศิ ลิจฉวี แมแ ตส กั องค ฯ บ ชุมนมุ สมาน

๒๔ ถอดความ วชิ ชุมมาลา ฉันทฯ ขาวศึกแพรไปจนรูถึงชาวเมืองเวสาลี แทบทุกคนในเมืองตางตกใจ และหวาดกลัวกันไปทั่ว หนาตาต่ืน หนาซีดไมมีสีเลือด ตัวสั่น พากันหนี ตายวุนวาย พากันอพยพครอบครัวหนีภัย ท้ิงบานเรือนไปซุมซอน ตัวเสียในปา ไมสามารถหามปรามชาวบานได หัวหนาราษฎรและ นายดานตาํ บลตาง ๆปรึกษากันคิดจะยับยั้งไมใหกองทัพมคธขามมาได จึงตีกลองปาวรองแจงขาวขาศึกเขารุกรานเพ่ือใหเหลากษัตริยแหงวัชชี เสด็จมาประชุมหาหนทางปองกันประการใด ไมมีกษัตริยลิจฉวีแมแต พระองคเดียวคิดจะเสด็จไปแตละพระองคทรงดํารัสวาจะเรียกประชุม ดวยเหตุใด ผูใดเปนใหญ ผูใดกลาหาญ เห็นดีประการใดก็เชิญเถิด จะปรึกษาหารืออยางไรก็ตามแตใจ ตัวของเรานั้นไมไดมีอาํ นาจยิ่งใหญ จิตใจก็ขี้ขลาด ไมองอาจกลาหาญ แตละพระองคตางแสดงอาการ เพิกเฉย ปราศจาก ความสามัคคีปรองดองในจิตใจ กษัตริยลิจฉวี แหงวัชชีไมเสด็จมาประชุมกันแมแตพระองคเดียว

อนิ ทรวิเชียร ฉันท ฯ ๒๕ ปนเขตมคธขตั ตยิ รัชธํารง ย้งั ทพั ประทบั ตรง นคเรศวิสาลี พเิ คราะหเหตุ ณ ธานี ภธู ร ธ สงั เกต ขณะเศิกประชดิ แดน แหง ราชวชั ชี และมนิ ึกจะเกรงแกลน รณทัพระงบั ภยั เฉยดู บ รสู ึก บ มทิ ําประการใด ฤๅคิดจะตอบแทน บุรวา งและรางคน สยคงกระทบกล นงิ่ เงียบสงบงํา ลกุ ระนีถ้ นดั ตา ปรากฏประหนง่ึ ใน คิยพรรคพระราชา รจะพองอนัตถภยั แนโดยมิพักสง รกกาลขวา งไป ทา นวัสสการจน ดุจกนั ฉะนน้ั หนอ กลแหยยดุ พี อ ภินทพ ัทธสามคั จะมิราวมริ านกัน ชาวลจิ ฉววี า ธรุ ะจบ ธ จ่ึงบญั พทแกลว ทหารหาญ ลกู ขางประดาทา ฬุคะเนกะเกณฑก าร หมุนเลน สนกุ ไฉน จรเขา นครบร ครวู สั สการแส ปน ปว น บ เหลือหลอ คร้นั ทรงพระปรารภ ชานายนิกายสรร เรงทาํ อฬุ มุ ปเว เพอื่ ขา มนทีธาร

๒๖ เขารบั พระบัณฑูร อดศิ รู บดีศร ภาโรปกรณต อน ทิวรงุ สฤษฎพ ลนั พยุหาธิทัพขันธ จอมนาถพระยาตรา พลขาม ณ คงคา โดยแพและพว งปน พศิ เนอื งขนัดคลา ลิบุเรศสะดวกดาย ฯ จนหมดพหลเน่อื ง ขน้ึ ฝง ลุเวสา

๒๗ ถอดความ อนิ ทรวิเชียร ฉนั ท ฯ จอมกษัตริยแหงแควนมคธหยุดทัพตรงหนาเมืองเวสาลี พระองคทรง สังเกตวิเคราะหเหตุการณทางเมืองวัชชีในขณะที่ขาศึกมาประชิดเมือง ดูนิ่งเฉยไมรูสึกเกรงกลัวหรือคิดจะทาํ สิ่งใดโตตอบระงับเหตุราย กลับอยูอยางสงบเงียบไมทําการส่ิงใด มองดูราวกับเปนเมืองราง ปราศจากผูคน แนนอนไมตองสงสัยเลยวา คงจะถูกกลอุบาย ของวัสสการพราหมณจนเปนเชนน้ีความสามัคคีผูกพันแหงกษัตริยลิจฉวี ถูกทําลายลง และจะประสบกับภัยพิบัติ ลูกขางท่ีเด็กขวางเลนไดสนุก ฉันใด วัสสการพราหมณก็สามารถยุแหยใหเหลากษัตริยลิจฉวี แตกความสามัคคี ไดตามใจชอบและคิดที่จะสนุกฉันน้ัน ครั้นทรงคิดได ดังนั้นจึงมีพระราชบัญชาแกเหลาทหารใหรีบสรางแพไมไผ เพื่อขาม แมนํ้าจะเขาเมืองของฝายศัตรู พวกทหารรับราชโองการแลวก็ ปฏิบัติภารกิจท่ีไดรับ ในตอนเชางานน้ันก็เสร็จทันทีจอมกษัตริย เคล่ือนกองทัพอันมีกาํ ลังพลมากมายลงในแพท่ีติดกันนํากําลังขามแมนํ้า จนกองทัพหมดส้ิน มองดูแนนขนัดข้ึนฝงเมืองเวสาลีอยางสะดวกสบาย

๒๘ จิตรปทา ฉันท ฯ นิวิสาลี พลมากมาย นาครธา ก็ลุพน หมาย เห็นรปิ ุมี พระนครตน ขามตริ ชล มนอกเตน มุง จะทลาย ตะละผคู น มจลาจล ตา งก็ตระหนก อลเวงไป ตืน่ บ มิเวน มุขมนตรี ทว่ั บรุ คา รกุ เภทภยั เสียงอลวน ทรปราศรยั ขณะนห้ี นอ สรรพสกล พระทวารมั่น ตรอมมนภี อรกิ อนพอ บางคณะอา ชสภารอ ยังมิกระไร วรโองการ กจ็ ะไดทํา ควรบรบิ าล รสั ภูบาล ตา นปะทะกนั ก็เคาะกลองขาน ขัตตยิ รา ดจุ กลองพัง ดํารจิ ะขอ ทรงตรไิ ฉน โดยนยดํา เสวกผอง อาณตั ิปาน

๒๙ ศพั ทอโุ ฆษ ประลโุ สตทาว ลิจฉวีดา ว ขณะทรงฟง ตา ง ธ ก็เฉย และละเลยดัง ไทมอิ ินงั ธุระกับใคร ณ สภาคา ตางก็ บ คลา บุรทว่ั ไป แมพ ระทวาร และทวารใด รอบทิศดา น สจิ ะปดมี ฯ เหน็ นรไหน

๓๐ ถอดความ จติ รปทา ฉันท ฯ ฝายเมืองเวสาลมี องเห็นขา ศกึ จาํ นวนมากขามแมนํา้ มาเพอ่ื จะทําลายลาง บานเมืองของตน ตา งก็ตระหนกตกใจกันถวนหนา ในเมอื งเกดิ จลาจล วุน วายไปท่ัวเมือง ขาราชการชั้นผใู หญตางหวาดกลัวภยั บางพวกก็พูดวา ขณะนย้ี ังไมเปนไรควรจะปองกนั ประตูเมอื งเอาไวใ หม น่ั คง ตา นทานขา ศกึ เอา ไวก อ น รอใหที่ประชุมเหลา กษตั ริยม คี วามเหน็ วา จะทรงทําประการใด ก็จะไดด ําเนินการตามพระบัญชาของพระองค เหลา ขา ราชการทง้ั หลาย กต็ ีกลองสัญญาณขน้ึ ราวกับกลองจะพัง เสียงดังกกึ กองไปถงึ พระกรรณ กษัตรยิ ลจิ ฉวี ตา งองคทรงเพกิ เฉยราวกบั ไมเ อาใจใสในเรอื่ งราวของผใู ด ตางองคไ มเสดจ็ ไปท่ีประชุม แมแ ตป ระตูเมืองรอบทิศทกุ บานกไ็ มม ผี ูใดปด

๓๑ สัททลุ วกิ กีฬติ ฉันท ฯ นคร จอมทพั มาคธราษฎร ธ ยาตรพยหุ กรี ธาสูวสิ าลี โดยทางอนั พระทวารเปด นรนิกร อะไร ฤๅรอตอรอน เบอ้ื งน้ันทานครุ ุวสั สการทชิ กไ็ ป มคธ นาํ ทัพชเนนทรไท เขาปราบลิจฉวิขตั ติยร ัฐชนบท และโดย สเู งอื้ มพระหัตถห มด ไปพ ักตอ งจะกะเกณฑน กิ ายพหลโรย แรงเปลืองระดมโปรย ประยุทธ ราบคาบเสร็จ ธ เสด็จลรุ าชคฤหอตุ ณ เดิม คมเขตบเุ รศดุจ เรอ่ื งตนยุกติก็แตจะตอพจนเติม ประสงค ภาษติ ลขิ ติ เสริม ปรงุ โสตเปน คติสุนทราภรณจง ตริดู ฯ จบั ขอประโยชนตรง

๓๑ ถอดความ สทั ทลุ วกิ กฬี ติ ฉันท ฯ จอมทัพแหงแควนมคธกรีธาทัพเขาเมืองเวสาลีทางประตูเมืองท่ีเปดอยูโดย ไมมีผูคนหรือทหารตอสูประการใด ขณะนั้นวัสสการพราหมณผูเปนอาจารย ก็ไปนําทัพของกษัตริยแหงมคธเขามาปราบกษัตริยลิจฉวีอาณาจักรท้ังหมด ก็ตกอยูในเงื้อมพระหัตถ โดยท่ีกองทัพไมตองเปลืองแรงในการตอสู ปราบราบคาบแลวเสด็จยังราชคฤหเมืองยิ่งใหญดังเดิมเน้ือเร่ืองแตเดิมจบ ลงเพียงนี้แตประสงคจะแตงสุภาษิตเพ่ิมเติมใหไดรับฟงเพ่ือเปนคติอันทรง คุณคานาํ ไปคิดไตรตรอง

๓๒ อินทรวิเชยี รฉนั ท ฯ ชอชาตศตั รู วประเทศสะดวกดี อันภูบดีรา วรราชวัชชี ไดล จิ ฉวีภู ฑอนตั ถพ นิ าศหนา คณะแตกและตางมา แลสรรพบรรดา หสโทษพโิ รธจอง ถงึ ซง่ึ พิบัติบี ทนส้นิ บ ปรองดอง ตริมลกั ประจักษเจอื เหย้ี มนน้ั เพราะผนั แผก รสเลากง็ า ยเหลือ ถอื ทิฐิมานสา คตโิ มหเปน มูล ยนภาวอาดรู แยกพรรคสมรรคภนิ ยศศักดเิ ส่ือมนาม ขาดญาณพิจารณต รอง ครุ วุ สั สการพราหมณ กลงํากระทํามา เช่อื อรรถยุบลเอา พเิ คราะหคดิ พนิ ิจปรา เหตุหาก ธ มากเมอื ธสุ มัครภาพผล สุกภาวมาดล จึง่ ดาลประการหา บ นิราศนิรนั ดร เสยี แดนไผทสูญ คยพรรคสโมสร คณุ ไรไ ฉนดล ควรชมนิยมจัด เพราะฉะนน้ั แหละบุคคล เปนเอกอุบายงาม ธรุ ะเก่ียวกะหมูเขา มขุ เปน ประธานเอา พุทธาทบิ ณั ฑิต บ มเิ ห็น ณ ฝายเดียว รภสรรเสริญสา นรอื่นก็แลเหลียว มิตรภาพผดงุ ครอง วา อาจจะอวยผา ดีสู ณ หมตู น หมูใดผิสามัค ไปปราศนิราศรอน พรอ มเพรียงประเสรฐิ ครนั ผูหวงั เจริญตน พงึ หมายสมคั รเปน ธูรท่ัว ณ ตัวเรา ควรยกประโยชนย ืน่ ดูบา งและกลมเกลยี ว

ยั้งทิฐิมานหยอ น ทมผอ นผจงจอง ๓๓ อารมี ิมหี มอง มนเมื่อจะทําใด ลกุ ็ปนก็แบง ไป ลาภผลสกลบรร สุจรติ นยิ มธรรม ตามนอยและมากใจ สุประพฤตสิ งวนพรรค อุปเฉทไมตรี พึงมรรยาทยึด ผิ บ ไรสมัครมี รอ้ื รษิ ยาอนั รววิ าทระแวงกัน สยคงประสบพลนั ดง่ั นนั้ ณ หมูใด หติ ะกอบทวิการ พรอมเพรยี งนพิ ทั ธน ี มนอาจระรานหาญ กเ็ พราะพรอมเพราะเพรยี งกนั หวังเทอญมติ อ งสง นรสงู ประเสริฐครัน ซึ่งสขุ เกษมสนั ต เฉพาะมชี วี ีครอง ผวิ ใครจะใครล อง ใครเลา จะสามารถ พลหกั กเ็ ตม็ ทน หักลา ง บ แหลกลาญ สละล้ี ณ หมูต น บ มิพรอมมิเพรยี งกัน ปวยกลา วอะไรฝูง สุขทั้งเจริญอัน ฤๅสรรพสตั วอ ัน ลไุ ฉน บ ไดมี พภยันตรายกลี แมมากผิกิ่งไม ตปิ ระสงคก ็คงสม มัดกาํ กระนนั้ ปอง คณะเปนสมาคม ภนิพทั ธรําพึง เหลาไหนผไิ มตรี ผวิ มกี ็คํานึง กจิ ใดจะขวายขวน จะประสบสขุ าลัย ฯ อยาปรารถนาหวงั มวลมาอุบัตบิ รร ปวงทกุ ขพบิ ตั สิ รร แมปราศนิยมปรี ควรชนประชมุ เชน สามัคคปิ รารม ไปม ีกใ็ หมี เนื่องเพอื่ ภิยโยจงึ

๓๔ ถอดความ อินทรวิเชียรฉนั ท ฯ พระเจาอชาตศัตรูไดแผนดินวัชชีอยางสะดวก และกษัตริยลิจฉวี ทั้งหลายก็ถึงซ่ึงความพินาศลมจม เหตุเพราะความแตกแยกกันตางก็มี ความยึดมั่นในความคิดของตน ผูกโกรธซึ่งกันและกัน ตางแยกพรรค แตกสามัคคีกัน ไมปรองดองกัน ขาดปญญาที่จะพิจารณาไตรตรอง เช่ือถอยความของบรรดาพระโอรสอยางงายดายเหตุที่เปนเชนนั้นเพราะ กษัตริยแตละพระองคทรงมากไปดวยความหลง จึงทําใหถึงซึ่งความ ฉิบหาย มีภาวะความเปนอยูอันทุกขระทม เสียท้ังแผนดิน เกียรติยศ และชื่อเสียงที่เคยมีอยู สวนวัสสการพราหมณน้ันนาช่ืนชมอยางย่ิงเพราะ เปนเลิศในการกระทํากลอุบายผูรูทั้งหลายมีพระพุทธเจาเปนตน ไดใครครวญพิจารณากลาวสรรเสริญ วาชอบแลวในเร่ืองผลแหงความ พรอมเพรียงกัน ความสามัคคีอาจอํานวยใหถึงซ่ึงสภาพแหงความผาสุก ณ หมูของตนไมเส่ือมคลายตลอดไปหากหมูใดมีความสามัคคีรวมชุมนุม กัน ไมหางเหิน ส่ิงที่ไรประโยชนจะมาสูไดอยางไร ความพรอมเพรียงน้ัน ประเสริฐยิ่งนัก เพราะฉะนั้นบุคคลใดหวังท่ีจะไดรับความเจริญแหงตน และมีกิจธุระอันเปนสวนรวม ก็พึงตั้งใจเปนหัวหนาเอาเปนธุระดวย ตัวของเราเองโดยมิเห็นประโยชนตนแตฝายเดียว ควรยกประโยชนให บุคคลอ่ืนบางนึกถึงผูอ่ืนบาง ตองกลมเกลียวมีความเปนมิตรกันไว ตองลดทิฐิมานะ รูจักขมใจจะทําสิ่งใดก็เอ้ือเฟอกันไมมีความบาดหมางใจ ผลประโยชนทั้งหลายท่ีเกิดข้ึนก็แบงปนกันไป มากบางนอยบางอยาง เปนธรรมควรยึดม่ันในมารยาทและความประพฤติท่ีดีงามรักษาหมูคณะ โดยไมมีความริษยากันอันจะตัดรอนไมตรี

๓๕ ดังนั้น ถาหมูคณะใดไมขาดซึ่งความสามัคคี มีความพรอมเพรียงกัน อยูเสมอ ไมมีการวิวาทและระแวงกัน ก็หวังไดโดยไมตองสงสัยวา คงจะพบซ่ึงความสุข ความสงบ และประกอบดวยประโยชนมากมาย ใครเลาจะมีใจกลาคิดทาํ สงครามดวย หวังจะทําลายลางก็ไมได ท้ังนี้ เพราะความพรอมเพรียงกันน่ันเอง กลาวไปไยกับมนุษยผูประเสริฐ หรือสรรพสัตวท่ีมีชีวิต แมแตก่ิงไมหากใครจะใครลองเอามามัดเปน กํา ต้ังใจใชกาํ ลังหักก็ยากเต็มทน หากหมูใดไมมีความสามัคคีในหมู คณะของตน และกิจการอันใดที่จะตองขวนขวายทาํ ก็มิพรอมเพรียง กัน ก็อยาไดหวังเลยความสุขความเจริญจะเกิดข้ึนไดอยางไร ความทุกขพิบัติอันตรายและความช่ัวรายท้ังปวง ถึงแมจะไมตองการ ก็จะตองไดรับเปนแนแผูที่อยูรวมกันเปนหมูคณะหรือสมาคมควร คาํ นึงถึงความสามัคคีอยูเปนนิจ ถายังไมมีก็ควรจะมีขึ้นถามีอยูแลว ก็ควรใหเจริญรุงเรืองยิ่งข้ึนไปจึงจะถึงซึ่งความสุขความสบาย

๓๖ อธิบายคาํ ศัพท์และข้อความ กถา ถอ ยคาํ กลหเหตุ เหตแุ หงการทะเลาะ กสกิ ชาวนา ไกวล ทว่ั ไป ขัตตยิ  พระเจาแผน ดนี คดี เรอ่ื ง คม ไป ชเนนทร (ชน+อนิ ทร) ผเู ปนใหญใ นหมูชน ทม ความขมใจ ทลิทภาว ยากจน ทว่ั บุรคาม ทั่วบานท่วั เมือง ทิช บางทีก็ใชวา ทวชิ ทชิ งค ทชิ าจารย ทวิชงค หมายถึง ผเู กดิ สองครัง้ คือ พราหมณ กลาวคือ เกดิ เปนคน ทนิ โดยท่ัวไปคร้งั หนึง่ และเกิดเปน พราหมณโดย นครบร ตาํ แหนง อกี คร้ังหน่ึง นย, นยั วนั นยมาน นรนิกร เมืองของขาศกึ นฤพทั ธ, นพิ ทั ธ นฤสาร เคา ความ ความหมาย นวิ ตั นรี ผล ใจความสําคญั (มาน = หวั ใจ) ประเค ฝูงชน เนืองๆ เสมอ เนอ่ื งกัน ไมมสี าระ กลับ ไมเปน ผล มอบใหหมด

๓๗ ประศาสน การสัง่ สอน ปรากรม ปรงุ โสต ความเพยี ร ปลาต ปวัตน ตกแตงใหไ พเราะนา ฟง พฤฒิ พิเฉท หายไป พิชากร พทุ ธาทิบณั ฑิต บางทีใชว า ปวัตติ์ หมายถงึ ความเปนไป ภต ภาโรปกรณ ผเู ฒา หมายถงึ วัสสการพราหมณ ภนิ ทพัทธสามัคคยิ ทําลาย การตัดขาด ภยิ โย กรี ุก วชิ าความรู ภมู ิศ มน ผูรู มีพระพุทธเจา เปน ตน มนารมณ มาน ขาว ยกุ ติ รหุฐาน (จดั ทาํ ) เคร่ืองมอื ตามทีไ่ ดร ับมอบหมาย ลกั ษณสาสน เลา การแตกสามคั คี กินท แปลวา แตกแยก วัญจโนบาย วลั ลภชน พัทธ แปลวา ผูกพัน สามดั คิย แปลวา สามคั คี วริ ุธ ยงิ่ ข้ึนไป ขลาด กลัว พระราชา ใจ สมดังที่คิดหรือสมดงั ใจ ความถือตัว ในความวา \"แกงแยง โดยมาน\" ยตุ ิ จบส้ิน รโหฐาน หมายถงึ ท่ีสงดั ที่ลบั คอื ลักษณแ ละสาสน หมายถึง จดหมาย รูปความ ขอความ เคา อบุ ายหลอกลวง คนสนทิ ผิดปกติ

๓๘ สมรรคภินทน การแตกสามดั คี สมคั รภาพ ความสมคั รสมานสามคั คี สหกรณ หมเู หลา สํ่า หมู พวก สกิ ขสภา หองเรยี น สุขาลยั ทีท่ มี่ ีความสขุ เสาวน ฟง เสาวภาพ สุภาพ ละมนุ ละมอ ม หายน, หายน ความเส่อื ม หิตะ ประโยชน เหีย้ มนน้ั เหตุนน้ั อนตั ถ ไมเปน ประโยชน อนุกรม ตามลําดับ อภิเผา ผูเปน ใหญ อาคม มา มาถึง อุปเฉทไมตรี ตดั ไมตรี อรุ ส โอรส ลกู ชาย อหุ มุ ปเวฬุ แพไมไ ผ เอาธูร เอาใจใสเ ปนธุระ เอาภาร รบั ภาระ รับผิดชอบ

วิเคราะห์คณุ ค่าวรรณคดี ๓๙ คุณคา ดานวรรณศลิ ป การเลอื กสรรคาํ วรรณคดีประเภทฉันทแมจะนิยมใชคาํ บาลีสนั สกฤตกต็ าม เพราะตองการ บังคบั ครุ ลหุ แตผูแตง สามคั คีเภทคาํ ฉนั ทกเ็ ลอื กสรรคาํ ไดอยา งไพเราะเหมาะ สมทั้งเสียงและความ เชน ๑. ใชคาํ งา ย ๆ ในบางตอน ทาํ ใหผ อู า นเขา ใจไดไ มยากนกั เชน ตอนวัสสการพราหมณเขา เมอื งเวสาลซี ึง่ เปนเมอื งหลวงของ แควนวชั ชี “ผกู ไมตรจี ติ เชิงชิดชอบเชอ่ื ง กับหมูชาวเมือง ฉนั ทอัชฌาสยั เลาเรื่องเคอื งขนุ วา วนุ วายใจ จําเปน มาใน ดา วตา งแดนตน” ๒. การใชค ําที่มเี สียงเสนาะ เสียงเสนาะเกดิ จากการใชคาํ เลยี น เสียง ธรรมชาติ มกี ารย้ําคาํ ใชค ําที่กอใหเกดิ ความรูสึก เชน ตอนชมกระบวนชาง “แพรวแพรวพรายพรายขา ยกรอง กอ งสกาวดาวทองท้ัง พสู ุพรรณ สรรถกล” คาํ แพรวแพรว และพรายพราย กอ ใหเ กิดความรูส ึกในดาน ความโออ า งดงามไดอยา งดี “ยาบยอยหอ ยพดู ูดี ขลุมสวมกรวมสีสะคาดกนกแนมเกลา” คํา ยาบยอย เสียงของคําไพเราะทาํ ใหผอู านเหน็ ความงาม ๓. ใชค าํ ที่กอใหเ กิดความรูส ึก เชน ตอนพรรณนากองทพั ของพระเจาอชาต ศตั รู “แรงหตั ถกวัดแกวง ซ่ึงสรรพ ศสั ตราวธุ อนั วะวาบ วะวาวขาวคม” คํา วะวาบวะวาว กอ ความรสู กึ ใหผ อู า นนึกเกรงขามไดด มี าก

๔๐ ๔. ใชคาํ ที่มคี วามหมายกระชับ คาํ บางคําผูอ า นอา นแลว เขาใจได ทันทีโดยไม ตองใชถ อยคําอื่นมาขยายความอีกเลย เชน “แรมทางกลางเถอ่ื น หางเพอ่ื นหาผู หนึ่งใดนกึ ดู เหน็ ใครไปม”ี ซงึ่ อานแลวผอู า นกเ็ ขาใจไดทันทวี าวัสสการพราหมณเดินทาง อยางเดียว ดาย ๕. การหลากคาํ กวจี ําเปน ตอ งรจู ักคาํ มากเพ่ือหลีกเลย่ี งการใช คาํ ซ้าํ กัน ทําใหผ ู อา นเห็นความเปนอจั ฉรยิ ะของกวี เชน “ขนุ คอคชคมุ กุมอัง กุสกรายทา ยยงั ขุนควาญประจาํ ดาํ รี” และ “ขุนคชขึ้นคชชินชาญ คุมพลคชสารละตัวกําแหงแขง็ ขัน” คาํ วา คช ดํารีและคชสาร หมายถงึ ชา งทั้งสน้ิ ๖. การเพ่มิ สัมผัส คําประพันธไทยนยิ มสมั ผสั มากแมว าฉนั ทจ ะเปนคํา ประพันธท ีไ่ ทยรบั มาจากอนิ เดียซ่งึ แตเดมิ ไมม สี มั ผสั เรากเ็ พ่ิมสัมผัสนอกเขาไป เพือ่ ใหไพเราะยิ่งขึ้น ๗. การใชโวหารภาพพจน คอื ถอ ยคาํ ทก่ี วีเรยี บเรยี งอยา งใชโ วหารไมกลาว อยางตรงไปตรงมา เพราะตองการใหผ อู า นมีสว นรวมในการคิด เขา ใจและรสู ึก อยางลกึ ซง้ึ ตามผแู ตง ไปดว ย โวหารภาพพจนในสามัคคเี ภทคาํ ฉันท ๗.๑ การเปรยี บเทยี บแบบอปุ มาอปุ ไมย ไดแ ก การนําของ สองส่ิงที่มลี กั ษณะ คลายกันมาเปรยี บเทยี บกันโดยมีคาํ วา ดจุ เหมือน คลาย ปานประหนง่ึ เปน คํา เชอ่ื ม สง่ิ ทีน่ าํ มาเปรยี บเทยี บเรยี กวา อุปมา ส่งิ ทรี่ บั เปรยี บเทียบเรยี กวา อปุ ไมย

๔๑ ๗.๒ การเปรียบเทยี บแบบอุปลกั ษณ ไดแ กการเปรยี บเทยี บโดยนยั ไมกลาวเปรียบเทยี บตรง ๆ อยางอปุ มาอุปไมยแตผอู านก็พอจะจบั เคา ไดจากคําทผี่ แู ตง ใช เชน ตอนวสั สการพราหมณกลาวเปรียบเทียบทหารของแควนวชั ชีกับ ทหารของแควน มคธ วา “หิง่ หอยสแิ ขง สรุ ยิ ะไหน จะมินา ชวิ าลาญ” ผูอานยอมจะเขา ใจไดวา ห่งิ หอ ยนนั้ หมายถงึ กองทัพมคธ สวนสรุ ยิ ะ นัน้ หมายถึง กองทัพวชั ชี ตอนพระเจาอชาตศัตรทู รงเปรียบเทียบการแตกสามคั คีของ กษัตริยล จิ ฉวี วา “ลูกขางประดาทา รกกาลขวา งไป หมนุ เลนสนุกไฉน ดจุ กนั ฉะนัน้ หนอ”

๔๒ คุณคาดา นสังคม สะทอ นวัฒนธรรมของคนในสงั คม ➢ สะทอนภาพการปกครองโดยระบอบสามคั คธี รรม เนน โทษของการ แตกความสามคั คี ในหมคู ณะ และเนนถึงหลักธรรม อปริหานิยธรรม ๗ ประการ ซ่งึ เปน หลกั ธรรมท่สี งผล ใหเ กดิ ความเจรญิ ของหมคู ณะ ปราศจากความเส่ือม ไดแก - ไมเ บอื่ หนายการประชุม เมอ่ื มีภารกจิ ก็ประชมุ ปรึกษาหารือกัน เพอ่ื ชวยกนั คดิ หาทางแกไ ขปญหา - เขา ประชุมพรอ มกนั เลกิ ประชุมพรอ มกนั รวมกนั ประกอบกจิ อันควรกระทาํ - มคี วามสามคั คีกัน - ยดึ มัน่ ในจารีตประเพณอี นั ดีงาม และประพฤตดิ ปี ฏบิ ตั ติ ามสง่ิ ท่ี บญั ญตั ไิ ว แสดงใหเห็นถงึ โทษของการแตกความสามัคคใี นหมคู ณะ ➢ ถา ไมส ามัคคีเปน อันหนง่ึ อนั เดียวกนั กจ็ ะนาํ บานเมอื งไปสูความ หายนะได (ฝา ยตรงขา มสามารถใชจดุ ออนในเร่ืองน้ีเพือ่ โจมตีไดง า ย) เนน การใชสติปญญาไตรต รองในการแกไ ขปญหามากกวา การใชก ําลัง

๔๓ คณุ คาดา นการนาํ ไปใช ๑. การใชวจิ ารณญาณไตรต รองกอนทาํ การใด ๆ การขาดการพจิ ารณา ไตรตรอง นาํ ไปซ่งึ ความสญู เสยี ดังเชน เหลา กษัตรยิ ลิจฉวี “ขาดการพจิ ารณาไตรต รอง” คือ ขาด ความสามารถในการใชปญญา ตริตรองพจิ ารณาสอบสวน และใช เหตุผลท่ีถูกตอ ง จึงหลงกลของวัสสกา รพราหมณ ถูกยแุ หยใ หแตก ความสามคั คี จนเสียบานเสยี เมือง ๒. มุงชี้ใหเ หน็ ความสาํ คัญของ ความสามคั คี เพอื บานเมอื งเปน ปกแผน ม่นั คง ๓. สอนใหเ ห็นโทษของการแตกความสามคั คี และแสดงใหเหน็ ความ สาํ คัญของการใชส ตปิ ญ ญาใหเ กิดผลโดยไมต อ งใชกําลัง ๔. การถอื ความคิดของตนเปน ใหญและทะนงตนวาดีกวาผอู ื่น ยอมทําใหเ กิดความเสียหายแกส วนรวม ๕. การเลอื กใชบ ุคคลใหเหมาะสมกับงานจะทาํ ใหงานสาํ เร็จไดด ว ยดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook