Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บุคคลสำคัญ 2

บุคคลสำคัญ 2

Published by nongyok357, 2021-02-27 12:23:37

Description: บุคคลสำคัญ
จัดทำเพื่อการศึกษา

Search

Read the Text Version

บคุ คลสาํ คญั Group B1 M.5.2 เสนอ ครูวุฒิชยั เชอื่ มประไพ โรงเรยี นมัธยมวัดหนองแขม สาํ นกั งานพนื้ ท่กี ารศึกษาเขต ๑

บคุ คลสําคญั เสนอ คุณครูวฒุ ิชัย เชือมประไพ จดั ทาํ โดย นางสาวนิรดา ปลืมถนอม เลขที ๒๐ นางสาวปวันรัตน์ ปะวะโก เลขที ๒๑ นางสาวปาณิสรา ทองเทพ เลขที ๒๒ นางสาวพรชนิตว์ อปุ สรรค์ เลขที ๒๓ นางสาวพนู ทรัพย์ สขุ สมจติ เลขที ๒๗ นางสาววชิ ุฎา บญุ ทวี เลขที ๓๑ นางสาวสชุ ัญญา ชังจอหอ เลขที ๓๔ นางสาวสธุ าสนิ ี แซล่ อ้ เลขที ๓๕ ชันมัธยมศึกษาปที ๕.๒ โรงเรียนมธั ยมวดั หนองแขม สํานักงานพนื ทกี ารศึกษาเขต ๑

ก คาํ นํา รายงานฉบับนีเปนส่วนหนึงของวชิ าประวัตศิ าสตร์ (ส๓๒๑๐๔) ในระดบั ชนั มัธยมศกึ บาปที ๕ โดยมจี ดุ ปะสงค์ เพอื การศกึ ษาความรู้เกียวกับบคุ คล สําคัญในประเทศไทย ทงั นี ในรายงานฉบับนีมเี นือหาซึงประกอบด้วยความ ประวตั ิความเปนมา และ ความสําคญั ต่างๆเกียวกบั ประเทศไทย เพือศึกษา ทาํ ความเข้าใจ และเปนประโยชน์ต่อการเรียน คณะผ้จู ัดทาํ หวังวา่ หนังสือเลม่ นีจะเปนประโยชน์ตอ่ ผอู้ า่ นทีมาศกึ ษาหา ขอ้ มลู ในเรืองนี หากมขี อ้ มลู ผดิ พลาดประการใด คณะผู้จัดทําขออภัย ณ ทีนีดว้ ย คณะผู้จดั ทาํ ๒๕ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔

ข สารบญั

๑ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหต้ ราพระราชบัญญัตคิ ลังออมสิน เพอื ให้ประชาชนรจู้ ักออมทรัพย์และเพอื ความมันคงในดา้ นเศรษฐกิจ ของประเทศ อกี ทังยังทรงรเิ ริมกอ่ ตังบรษิ ทั ปูนซเิ มนต์ไทยขึนและทรงจดั ตังกองลูกเสือกองแรกขนึ ทโี รงเรยี นมหาดเล็กหลวง (วชริ าวธุ วิทยาลยั ในปจจบุ นั ) ด้านการฝกสอนระบอบประชาธิปไตย ทรงทดลองตงั \"เมืองมัง\" หลังพระตําหนักจิตรลดาเดมิ ทรงจดั ใหเ้ มอื งมงั มีระบอบ การปกครองของตนเองตามวถิ ีทางประชาธปิ ไตย รวมถึงเมืองจําลอง \"ดสุ ติ ธานี\" ในพระราชวงั ดสุ ิต

๒ พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ สนับสนุนให้สรา้ งโรงภาพยนตร์ที ทนั สมยั สาํ หรบั ฉายภาพยนตรเ์ สียงแห่งแรกของประเทศในวโรกาส เฉลิมฉลองพระนครครบรอบ ๑๕๐ ป พระราชทานนามว่า “ศาลา เฉลมิ กรงุ ” อีกทัง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอย่หู วั เสด็จออก ณ พระทนี ังอนันตสมาคม ประทับเหนือพระทนี ังพดุ ตานกาญ- จนสิงหาสน์บนพระราชบัลลังก์ภายใต้นพปฎลมหาเศวตฉัตร ทรง พระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรก แห่งราชอาณาจักรสยามแก่ปวงชนชาวไทย

๓ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอฐั มรามาธบิ ดินทร เสด็จพระราชดาํ เนินทอดพระเนตรกจิ การของหอสมุดแหง่ ชาติ รวมทงั เสด็จ พระราชดาํ เนินไปทรงเยยี มสถานศึกษาหลายแห่ง เชน่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั โรงเรียนเทพศิรนิ ทร์ ซงึ เปนโรงเรยี นทีทรงศึกษาขณะทรงพระเยาว์ นอกจากนี พระองคย์ ังไดเ้ สด็จพระราชดาํ เนินพระราชทานปริญญาบัตรเปนครังแรกของ พระองค์ ณ หอประชมุ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอีกครังที หอประชมุ ราชแพทยา- ลัย ศิรริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั แพทยศาสตร์ เมือวันที ๒๓ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๙ โดยในการพระราชทานปรญิ ญาบัตรครังนี มีพระราชปรารภใหม้ ีการผลติ แพทย์เพมิ มากขึน เพอื ใหเ้ พียงพอทจี ะชว่ ยเหลอื ประชาชน โรงเรยี นแพทย์แห่งที ๒ จงึ ไดถ้ อื กําเนิดขึนทีโรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ ซงึ ในปจจบุ นั คือ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย หลังจากนัน ในวันที ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ พระองค์ทรงหว่านขา้ ว ณ แปลง สาธติ ของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ซงึ ถอื เปนพระราชกรณียกิจสดุ ทา้ ย กอ่ นเสด็จ สวรรคต

๔ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมพิ ลอดุลยเดช รัชกาลที ๙ ทรง พระกรณุ าโปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ มพระราชทานพระราชทรพั ยส์ ่วน พระองค์จัดตงั มูลนิธิอานันทมหิดล ในป พ.ศ. ๒๕๐๒ เพอื ใหน้ ิสิตนักศกึ ษา ทีมผี ลการเรียนดีเด่น ได้มีโอกาสไปศกึ ษาหาความรชู้ ันสงู ในต่างประเทศ และนําองค์ความรทู้ ไี ดม้ าชว่ ยพัฒนาประเทศต่อไปและยังทรง พระราชทานแนวพระราชดาํ ริเรอื งเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยเปนตวั อย่างการ ใชห้ ลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งในขนั ต้น โดยการทําเกษตรทฤษฎใี หมน่ ี แบ่ง ออกเปน ๓ ขนั ไดแ้ ก่ ขนั ตน้ คอื การแบง่ พืนทีออกเปน ๔ ส่วน ตามอัตรา ๓๐-๓๐-๓๐-๑๐ เพือขดุ เปนสระกกั เก็บนํา ๓๐% ปลกู ขา้ วในฤดูฝน ๓๐% ปลูกไมผ้ ล ไมย้ ืนต้น พชื ผักสมุนไพร ๓๐% และเปนทีอยู่อาศัยอกี ๑๐%

๕ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ทรงรบั ราชการในกรมราชเลขา จนกระทัง พ.ศ. ๒๔๒๒ พระชนมายุ ๒๐ พรรษาบริบรู ณ์ทรงผนวชเปนพระภิกษุ และเมือทรง ผนวชได้ ๓ พรรษา ทรงเขา้ แปลพระปรยิ ตั ธิ รรมสนามหลวง ได้ ๕ ประโยคสมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ไดท้ รงรับ สถาปนาเฉลิมพระยศตามลาํ ดับ จนกระทงั พ.ศ. ๒๔๕๓ พระชนมายุ ๕๑ พรรษา ทรงรบั มหาสมณตุ มาภเิ ษก เปนสมเดจ็ พระมหาสมณะ

๖ พระเจา้ บรมวงศ์เธอกรมหลวงวงศาธริ าชสนิท ผลงานของพระเจา้ บรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธริ าชสนิท มดี ังนี ผลงานดา้ นวรรณกรรมและการศึกษา ได้แก่ นิราศพระประธม เพลงยาว สามชาย เพลงยาวกลบทสงิ โตเลน่ หาง พงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา ทที รงนิพนธ์ขึนตามพระราชบัญชาพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว หนังสือจนิ ดามณีฉบับพระนิพนธ์กรมหลวงวงษาธริ าชสนิท หรอื ประถม จินดามณี เลม่ ๒

๗ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาเทวะวงศว์ โรปการ ทรงมีบทบาทสาํ คญั ในการพฒั นาภารกิจดา้ นการตา่ งประเทศหลายประการ อาทิ ทรงจดั และปรบั ปรงุ รปู แบบกรมกองใหท้ นั สมัย ทรงขอพระราชทาน ทีทําการ เพือใหเ้ ปน “ศาลาว่าการต่างประเทศ” ซงึ นับวา่ เปนกระทรวงแรกที มีศาลาวา่ การกระทรวงเปนทที ําการแทนการใช้บ้านเสนาบดเี ปนทที าํ การ ทรงเปดสํานักงานผู้แทนทางการทูตของไทยในตา่ งประเทศ เชน่ สถานทูต ไทย ณ สํานักเซนต์ เจมส์ ซงึ ตังอยู่ ณ กรุงลอนดอน นอกจากการปรับปรงุ วิธีการทาํ งานและการบรหิ ารราชการ แลว้ สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยา เทวะวงศว์ โรปการทรงเอา พระทัยใส่ในคณุ ภาพของบุคลากร ทรงส่งเสรมิ การพัฒนาความรแู้ ละ ทกั ษะของขา้ ราชการกระทรวงการตา่ งประเทศอยา่ งจริงจงั

๘ สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ พระองค์ทรงงานในด้านตา่ งๆ อย่างเต็มที จนเปนทไี วว้ างพระ- ราชหฤทัยในพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที ๕ และทรงงานเพือช่วยพัฒนาประเทศให้เจรญิ กา้ วหน้ามาโดยตลอด กระทัง พ.ศ. ๒๔๗๒ ในรัชสมยั ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้า- อยู่หัว รชั กาลที ๗ ได้โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระอสิ รยิ ยศเปน “สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ” ซงึ นับว่า เปนตําแหน่งสูงทีสดุ สําหรับพระบรมวงศานุวงศ์

๙ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟากรมพระยานริศรานุวดั ติ สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจา้ ฟากรมพระยานริศรานุวัดตวิ งศ์ เปนเจ้าฟาผทู้ รงพระปรชี าสามารถในวิชาการหลายแขนง ทรงเปนปราชญ์ ทางอักษรศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ ดนตรี และงานชา่ ง พระองค์มีพระนาม เดิมว่า พระองคเ์ จา้ จติ รเจรญิ เปนพระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ - พระจอมเกล้าเจา้ อย่หู วั กบั หม่อมเจา้ หญงิ พรรณราย ประสูตทิ ีตาํ หนักใน พระบรมมหาราชวัง เมอื วันที ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๐๖ ทรงไดร้ บั การ ศึกษาขันต้นทโี รงเรยี นคะเดต็ ทหาร จากนันผนวชเปนสามเณรอยทู่ ีวัด บวรนิเวศวหิ าร หลงั จากนันทรงศึกษาวชิ าการตา่ ง ๆ และราชประเพณี

๑๐ สมเด็จพระศรีสวรินทริ าบรมราชเทวี พระพนั วสั สาอัยยิกาเจ้า พระองค์ ทรงรับอภบิ าลพระราชโอรสและพระราชธดิ าใน พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หัวทกี ําพรา้ พระมารดาอีก ๔ พระองค์ นันคอื พระเจา้ ลูกเธอ พระองคเ์ จา้ เยาวภาพงษ์สนิท พระเจา้ ลูกยาเธอ พระองคเ์ จ้ารงั สติ ประยรู ศักดิและพระองคท์ รง สนับสนุนศริ ิราชพยาบาล ในปพ.ศ. ๒๔๓๑ ตังแตเ่ รมิ ก่อตัง เรอื ยมา ตราบจนพระองค์เสด็จสวรรคต อีกทังพระองค์ไดพ้ ระราชทานทรพั ย์ เพือบาํ รงุ โรงเรยี นต่าง ๆ ทงั ในสว่ นกลางและส่วนภูมิภาค อาทิเช่น โรงเรียนราชนิ ี โรงเรยี นวรนารเี ฉลมิ จังหวัดสงขลา โรงเรยี นวฒั โน ทัยพายพั จังหวัดเชียงใหม่ โรงเรยี นเจา้ ฟาสรา้ ง จังหวัด พระนครศรอี ยธุ ยา เปนตน้

๑๑ เจ้าพระยาโกษาธบิ ดี (ปาน) ในปลายสมยั ของพระนารายณ์มคี วามรสู้ ึกต่อต้านชาวต่างชาติ (โดยเฉพาะอย่างยิงฝรงั เศส)ในหมู่ขุนนางไทยและพระสงฆ์ พระเพท- ราชา กรมเจา้ ชา้ ง (ซึงต่อมาเปนกษตั ริย์องค์ที ๒๙ ของอยุธยา) ทรง เปนผู้นําในการตอ่ ตา้ นครังนี โกษาปานได้เขา้ เปนฝายของพระเพทราชา เมอื พระเพทราชาปราบดาภิเษกขนึ เปนกษัตริย์ โกษาปานไดร้ ับหมอบ หมายใหเ้ ปนผ้เู จรจากบั นายพลฝรังเศสทีคุมปอมอยูท่ ี เมืองบางกอกให้ ถอนทหารออกไปจากอาณาจักรไทยได้สาํ เรจ็ ในสมัยของพระเพทราชาโกษาปานไดร้ ับเลอื นใหเ้ ปนเจา้ พระยาศรี ธรรมราช แตไ่ ดฆ้ า่ ตวั ตาย พ.ศ. 2243 เพราะถกู สงสัยว่าเปนผแู้ ยง่ ชิง ราชสมบัติ

๑๒ หม่อมราโชทยั (หมอ่ มราชวงศก์ ระต่าย อิศรางกรู ) หม่อมราโชทัย นามเดมิ หมอ่ มราชวงค์กระตา่ ย อิศรางกูร เปนบตุ ร ของกรมหมนื เทวานุรกั ษ์พระราชนิ ีในรชั กาลที ๒ เปนปนัดดาของสมเดจ็ - เจา้ ฟากรมพระศรีสดุ ารกั ษ์ ซึงเปนพระพนี างในพระบาทสมเดจ็ พระพุทธ- ยอดฟาจุฬาโลกมหาราชหมอ่ มราชวงศ์กระต่ายเกดิ เมือวันที ๑๒ มถิ ุนายน พุทธศักราช ๒๓๖๓ เมือเจรญิ วยั บิดาได้นําไปถวายตวั อยกู่ ับ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อย่หู ัวเมือครังยังดํารงพนะอิสริยยศเปน เจา้ ฟามงกฎุ สมมตุ เิ ทวาวงศ์พงศาอศิ วรกระษตั ริย์ขตั ติยราชกุมาร หม่อมราชวงคก์ ระต่ายได้อยรู่ ับใชใ้ นพระองคท์ า่ นตลอดมาด้วยเปนญาติ ใกลช้ ดิ ทางพระราชมารดาในเจา้ ฟามงกฎุ

๑๓ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุรยิ วงศ์ (ช่วง บนุ นาค) สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีวงศ์มีนามเดิมวา่ ช่วง บนุ นาค เปนบุตรชายคน ใหญข่ องสมเด็จเจา้ พระยาบรมมหาประยรู วงศ์ (ดศิ บุนนาค) กบั ทา่ นผหู้ ญิงจันทร์ เกิดเมอื ปมะโรง วันศุกร์ เดือนยี ขึน ๗ คํา ตรงกบั วนั ที ๒๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๓๕๑ มพี ี น้องรว่ มบิดามารดาเดยี วกนั ๙ คน แต่ในสดุ เหลอื ท่านกับน้องอกี ๔ คน คือ เจ้าคุณ- หญิงแข เจา้ คณุ หญิงปุก เจ้าคุณหญิงหร่นุ และพระยามนตรีสุริยวงศ์ (ชุ่ม) เทา่ นันที เติบโตเปนผู้ใหญม่ าดว้ ยกัน ตอนเยาวว์ ยั เด็กชายช่วง บุนนาค ไดร้ ับการศึกษาจากวัดพอประมาณ ไมไ่ ด้เลา่ เรียนอกั ขรสมัยอย่างลกึ ซึง แตไ่ ด้อา่ นและเรยี นตําราต่างๆ จากสมเด็จเจา้ พระยา- บรมมหาประยูรวงศ์ ซงึ มีตําแหน่งเปนทเี สนาบดกี ลาโหมและเสนาบดีกระทรวงตา่ ง ประเทศหรือกรมท่า ทาํ ให้ไดท้ ราบเรืองราวตา่ งๆ เกยี วกบั การเมอื งมากขนึ มีความ เฉลียวฉลาด ปฏิภาณไหวพรบิ ทวีขึนเปนลาํ ดับ โดยเฉพาะในกระบวนการเมืองและการ ติดต่อกับต่างประเทศ และภายหลังทีรับราชการในกรมมหาดเลก็ กศ็ กึ ษาภาษาองั กฤษ และวิชาช่างจากมิชชนั นารี จนสามารถตอ่ เรือรบ (เรือกาํ ปน) ใช้ในราชการได้

๑๔ ซมี ง เดอ ลา ลแู บร์ ซีมง เดอ ลา ลูแบร์ เปนราชทูตของพระเจา้ หลยุ สท์ ี ๑๔ แห่งฝรังเศส ไดเ้ ดินทางเขา้ มาในประเทศไทยในรชั สมยั สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เพือ เจรญิ สมั พนั ธไมตรกี บั ไทย โดยเดินทางมาทีกรุงศรอี ยุธยาพรอ้ มกับ เจา้ พระยาโกษาธิบดี (ปาน) และทหารของฝรงั เศสประมาณ ๖๐๐ คน ลา ลแู บร์ ได้รบั การแตง่ ตงั ให้เปนหัวหน้าคณะทตู ฝรงั เศสรว่ มกับ กล๊อด เซเบอเร็ต ดูว์ บูเล (Claude Céberet du Boullay) เดนิ ทางมา อยธุ ยาเพอื เจรจาเรืองศาสนาและการคา้ ของฝรงั เศสในอาณาจักรอยุธยา เมือ พ.ศ. ๒๒๓๐ ในการเจรจานันอยุธยาไมส่ จู้ กั ยินยอมรบั ข้อเสนอของ ฝรงั เศส ทําใหเ้ สียเวลาในการเจรจาหลายสปั ดาห์ ในทีสุดฝายไทยกย็ นิ ยอม รับข้อเสนอตามความประสงคข์ องฝรังเศสและทังสองฝายไดล้ งนามใน สญั ญาการคา้ ทีเมอื งลพบรุ เี มือวันที ๑๑ ธันวาคม

๑๕ พระสังฆราชปลเลอกวั ซ์ พระสงั ฆราชปลเลอกัวซเ์ กดิ เมือวันที ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๔๘ ที เมืองโกต-ดอร์ ประเทศฝรังเศส เมือท่านอายุได้ ๒๓ ป ทา่ นก็ไดต้ ัดสินใจ บวชเปนบาทหลวง เมอื วนั ที ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๓๗๑ ทีเซมนิ ารขี อง คณะมิสซงั ตา่ งประเทศแหง่ กรงุ ปารสี จากนันทา่ นกไ็ ด้รับมอบหมายใหไ้ ป เผยแผ่ศาสนาคริสต์ทอี าณาจักรสยาม ไดอ้ อกเดนิ ทางเมือวนั ที ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๓๗๑ ถงึ สยามเมอื วนั ที ๒๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๓๗๒ ในป พ.ศ. ๒๓๘๑ ทา่ นไดร้ ับตาํ แหน่งอธิการวดั คอนเซป็ ชญั ท่านได้ ปรับปรุงโบสถแ์ หง่ นี ซึงสร้างขนึ ตังแต่ พ.ศ. ๒๒๑๗ ในสมัยสมเด็จพระ นารายณ์มหาราช แลว้ จากถกู ทิงรา้ งมานานแลว้ ยา้ ยไปอยทู่ โี บสถ์อสั สัมชญั ในป พ.ศ. ๒๓๘๑

๑๖ หมอบรัดเลย์ หรือ แดน บชี แบรดลยี ์ เมือวนั ที ๑ กรกฎาคม ๒๓๗๗ หมอบรดั เลยอ์ อกเดินทางจากบอสตันมุ่งหน้าสู่ สยาม โดยเรือ \"แคชเมียร\"์ ใช้เวลารอนแรมในทะเลเปนเวลา ๖ เดือน หมอบรัดเลยก์ ็มา ถงึ สงิ คโปร์ในวันที ๑๒ มกราคม ๒๓๗๘ และแวะพกั อยู่ทสี ิงค์โปร์อีก ๖ เดอื น กอ่ นจะเดิน ทางเขา้ สสู่ ยามในวนั ที 18 กรกฎาคม ๒๓๗๘ ซงึ ตรงกบั วนั เกดิ ปที ๓๑ ปพอดี โดยมาถงึ พรอ้ มภรรยา เอมิลี เข้ามาทํางานในคณะกรรมธิการพันธกจิ ครสิ ตจักรโพ้นทะเล ตงั แต่ เดอื นกรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๗๙ ในสมัยรชั กาลที ๓ พกั อาศัยอยู่แถววัดเกาะ สาํ เพ็ง หรอื วัดสมั พนั ธวงศ์ ในสมยั นี โดยอาศัยพักรวมกบั ครอบครวั ของศาสนาจารย์สตเี ฟน จอห์นสัน หมอบรัดเลย์เปดโอสถศาลาขนึ เปนทีแรกในสยาม เพือทําการรกั ษา จา่ ยยา และหนังสือเกียวกบั ศาสนาใหก้ บั คนไข้ แต่เนืองจากในย่านนันมีชาวจนี อาศัยอยู่ กิจการนี จงึ ถูกเพ่งเล็งว่าอาจทําให้ชาวจนี กระดา้ งกระเดืองตอ่ รฐั บาลสยามได้ จึงกดดันให้ เจ้าของทีดินคอื นายกลิน ไมใ่ หม้ ิชชันนารเี ช่าอกี ตอ่ ไป ตอ่ มาจงึ ยา้ ยไปอยู่แถวกุฎีจนี ทเี ปนยา่ นของชาวโปรตุเกส เช่าบ้านทีปลกู ใหฝ้ รัง เชา่ ของเจ้าพระยาพระคลงั ซงึ ต่อมาคือสมเดจ็ พระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บนุ นาค) บรเิ วณหน้าวดั ประยรุ วงศาวาส โดยหมอบรัดเลยแ์ ละคณะมิชชันนารีดดั แปลงบ้านเชา่ ทพี ักแหง่ ใหม่นีเปน โอสถศาลา เปดทาํ การเมอื ๓๐ ตุลาคม ๒๓๗๘

๑๗ พระยารัษฎานุประดิษฐม์ หิศรภกั ดี (คอซิมบี ณ ระนอง) พระยารษั ฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซมิ บี ณ ระนอง) ๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๐๐ – ๑๐ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๖ เปนขา้ ราชการชาวไทย ระหวา่ งเปนเจา้ เมืองตรงั ได้พฒั นา เมืองใหเ้ จริญก้าวหน้าจนกลายเปนเมอื งเกษตรกรรม จึงได้เลือนตาํ แหน่งเปนสมุห- เทศาภิบาลสาํ เร็จราชการมณฑลภูเก็ต และเปนผไู้ ด้รบั พระราชทานนามสกลุ ณ ระนอง คอซมิ บี ณ ระนอง เกดิ ทจี ังหวัดระนองเมือวันพธุ เดอื นห้า ปมะเส็ง ตรงกับเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๐๐ เปนบตุ รคนสดุ ท้องของพระยาดาํ รงสจุ ริตมหศิ รภกั ดี (คอซเู จยี ง ณ ระนอง) ซงึ เปนชาวจีนฮกเกยี นทีอพยพมาอยู่เมอื งไทยตังแตร่ ัชกาลที ๓ และนางกิม ชอื \"ซิมบี\" เปนภาษาฮกเกียน แปลวา่ \"ผมู้ ีจิตใจดงี าม\" เมืออายไุ ด้ ๙ ป ไดต้ ดิ ตามบดิ า เดินทางกลบั ไปประเทศจีนและอาศยั อยู่ทีนันเปนเวลา ๒ ป ทําให้ไดเ้ รยี นร้สู ิงต่าง ๆ และได้ ดแู ลกิจการแทนบดิ า ทัง ๆ ทมี ไิ ด้เรยี นหนังสอื มีความรู้หนังสือเพยี งแคล่ งลายมอื ชือตน ไดเ้ ท่านัน แต่มีความสามารถพดู ไดถ้ งึ ๙ ภาษา บดิ าจึงหวังจะให้สืบทอดกิจการการค้า แทนตน มไิ ด้ประสงค์จะให้รับราชการเลย

๑๘ พระยากลั ยาณไมตรี (ฟรานซสิ บ.ี แซร)์ พระยากลั ยาณไมตรี เกดิ เมือ พ.ศ. ๒๔๒๘ ทมี ลรัฐเพนซลิ วาเนีย สหรฐั อเมรกิ า สําเร็จการศึกษาจากมหาวทิ ยาลยั ฮาร์วารด์ และไดเ้ ปน ศาสตราจารย์วชิ ากฎหมายของมหาวิทยาลัยแหง่ นี กอ่ นทีจะเขา้ มารบั ราชการ ในประเทศไทยในตําแหน่งทีปรกึ ษากระทรวงการตา่ งประเทศ ตังแต่ พ.ศ. ๒๔๖๖ ถึง พ.ศ. ๒๔๖๘ ดร.แซร์ มีบทบาทสาํ คญั ในการปลดเปลืองข้องผกู พนั ตามสนธสิ ญั ญาเบาว์ ริงทไี ทยทําไว้กับประเทศองั กฤษในสมยั รัชกาลที ๔ และสนธิสัญญาลกั ษณะ เดยี วกันทีไทยทาํ ไวก้ ับประเทศอืน ๆ ซงึ ฝายไทยเสยี เปรยี บมากในเรืองทคี นใน บงั คับตา่ งชาตไิ ม่ตอ้ งขึนศาลไทย และไทยจะเก็บภาษจี ากต่างประเทศเกินรอ้ ยละ ๓ ไม่ได้ ประเทศไทยพยายามหาทางแกไ้ ขสนธสิ ัญญาเสยี เปรยี บนีมาโดยตลอด ตังแตส่ มยั รัชกาลที ๕ มาจนถึงสมยั รัชกาลที ๖ ปรากฏวา่ มเี พียง ๒ ประเทศที ยอมแก้ไขให้โดยยงั มีข้อแม้บางประการ ไดแ้ ก่ สหรฐั อเมริกาเปนประเทศแรกที ยอมแก้ไขใน พ.ศ. ๒๔๓๖ และญปี ุนยอมแกไ้ ขใน พ.ศ. ๒๔๖๖

๑๙ ศิลป พีระศรี ศาสตราจารย์ศลิ ป พรี ะศรี เดิมชือ CORRADO FEROCI เกิดเมือวันที ๑๕ กนั ยายน พ.ศ.๒๔๓๕ ตาํ บลซานยโิ อวานนี เมอื งฟลอเรนซ์ ประเทศอติ าลี บิดาชอื นายอารท์ ูโด มารดาชอื นางซันตนิ า มอี าชีพทําธรุ กิจการค้า ท่านได้สมรสกับนาง FANNI VIVIANI มบี ุตรด้วยกนั ๒ คน บุตรหญิงชืออิซาเบลลา ปจจบุ นั เปนนัก ธุรกิจ บตุ รชายชือ โรมาโน เปนสถาปนิก ศาสตราจารย์ศลิ ป พีระศรี เปนชาวฟลอเรนซ์ เมอื งทีเต็มไปด้วยศลิ ปะ เมอื เยาว์วยั ทา่ นชืนชมผลงานศลิ ปกรรมของไมเคลิ แองเจโล ประติมากรเอกของโลก ชาวฟลอเรนซ์ เมอื โตขึนจงึ ได้เข้าศกึ ษาศลิ ปะทีราชวทิ ยาลยั ศลิ ปะแหง่ นคร ฟลอเรนซ์ จบการศกึ ษาตงั แตอ่ ายุยังน้อยเพยี ง ๒๓ ปเทา่ นัน ไดร้ บั ประกาศนียบัตร ชา่ งเขียนชา่ งปนและเขา้ สอบชิงตําแหน่งศาสตราจารย์ได้รับเกียรตนิ ิยมอันดบั หนึง ผลงานในวยั หนุ่มทีได้รับยกยอ่ งและมชี ือเสียงโดง่ ดังในฐานะของศลิ ปน คอื ได้รบั รางวัลชนะการประกวดออกแบบอนุสาวรีย์หลายครงั

๒๐ บรรณานุกรม - พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หัว รัชกาลที ๖. (ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . ไดจ้ าก: https://sites.google.com/site/rachkalthi6 [สบื คน้ เมอื ๒๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔]. - พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อยู่หัว พระราชประวตั ิพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจ้าอยหู่ วั . (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. ไดจ้ าก:https://library.stou.ac.th/odi/rama-7 [สืบคน้ เมอื ๒๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔]. - พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหดิ ล พระอัฐมรามาธบิ ดนิ ทร พระราชกรณียกิจของรชั กาลที ๘. (ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . ได้จาก: https://sites.google.com/site/biographyofkingbysung /rachkal-thi-8[สืบค้นเมือ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔]. - พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ๑๐ พระราชกรณยี กิจอนั โดดเดน่ ในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดช รชั กาลที ๙. (ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . ไดจ้ ากhttps://hilight.kapook.com/view/143392 [สืบค้นเมือ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔]. - สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส. (ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . ไดจ้ ากhttps://sites.google.com/site/jutapron1012/hnwy-thi-4 [สบื คน้ เมือ ๒๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔].

๒๑ บรรณานุกรม - พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงวงศาธิราชสนิท พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธริ าชสนิท. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. ได้จากhttps://sites.google.com/site/nunookty/phracea-brm-wngs- thex-krm-hl-wng-wngsathi-rach-snith? [สบื ค้นเมือ ๒๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔]. - สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงวงษาธริ าชสนทิ . (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. ไดจ้ ากhttps://dvifa.mfa.go.th/th/page/ประวตั ิสมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ [สบื ค้นเมือ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔]. - สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดาํ รงราชานุภาพ “กรมพระยาดํารงราชานุภาพ” บคุ คลสําคัญของโลก. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. ได้จากhttps://www.pineapplenewsagency.com/th/c302/“กรมพระยา ดํารงราชานุภาพ” +บุคคลสําคัญของโลก [สบื ค้นเมือ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔]. - สมเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอเจา้ ฟากรมพระยานริศรานุวัดติ เจ้าฟากรมพระยานรศิ รานุวดั ติวงศ์ (๒๕๕๙). [ออนไลน]์ . ได้จากhttps://kwankamonaon.blogspot.com/p/blog-page_2759. [สบื คน้ เมอื ๒๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔]. - สมเดจ็ พระศรสี วรนิ ทริ าบรมราชเทวี พระพันวัสสาอยั ยกิ าเจา้ สมเดจ็ พระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพนั วัสสาอัยยิกาเจา้ (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. ไดจ้ ากhttps://www.konruksriracha.in.th/15416001/ สมเด็จพระศรสี วริ นทิราบรมราชเทวี พระพนั วสั สาอัยยกิ าเจา้ [สบื คน้ เมอื ๒๒ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔].

๒๓ บรรณานุกรม - เจ้าพระยาโกษาธบิ ดี (ปาน) เจ้าพระยาโกษาธิบดี (ปาน) (ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . ไดจ้ ากhttp://www.oceansmile.com/K/Ayuttaya/Kosapan.htm [สืบคน้ เมอื ๒๓ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔]. - หมอ่ มราโชทัย(หมอ่ มราชวงศก์ ระต่าย อศิ รางกูร) หมอ่ มราโชทัย(หม่อมราชวงศก์ ระต่าย อศิ รางกูร) (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. ได้จากhttp://www.panyathai.or.th/ [สืบค้นเมอื ๒๓ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔]. - สมเด็จเจา้ พระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์(ชว่ ง บุนนาค) สมเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาศรสี ุรยิ วงศ(์ ชว่ ง บุนนาค)(ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. ไดจ้ ากhttps://www.baanjomyut.com/library_2/extension- 1/chung_boonnak/index.html [สบื ค้นเมือ ๒๓ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔. - ซีมง เดอ ลา ลูแบร์ ซีมง เดอ ลา ลูแบร์ (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. ได้จากhttps://historyofthailand1.blogspot.com/p/14-600-claude- ceberet-du-boullay.html[สบื ค้นเมือ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔. - พระสังฆราชปลเลอกวั ซ์ พระสงั ฆราชปลเลอกวั ซ์ (ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . ได้จากhttps://www.wikiwand.com/th/ฌอ็ ง-บาติสต์ ปาลกวั [สืบค้นเมอื ๒๔ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔.

๒๔ บรรณานุกรม - หมอบรัดเลย์ หรอื แดน บชี แบรดลีย์ หมอบรัดเลย์ หรือ แดน บีช แบรดลีย์(ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . ได้จากhttp://www.tnews.co.th/contents/338197 [สบื คน้ เมอื ๒๔ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔]. - พระยารัษฎานุประดษิ ฐ์มหศิ รภักดี(คอซมิ บี ณ ระนอง) พระยารัษฎานุประดษิ ฐม์ หศิ รภกั ด(ี คอซมิ บี ณ ระนอง)(ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. ได้จากhttps://th.wikipedia.org/wiki/พระยารัษฎานปุ ระดิษฐม์ หศิ ร ภักดี_(คอซิมบ_ี ณ_ระนอง)[สืบค้นเมือ ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔]. - พระยากลั ยาณไมตรี(ฟรานซสิ บี. แซร)์ พระยากัลยาณไมตร(ี ฟรานซสิ บี. แซร์)(ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. ได้จากhttp://www.thaigoodview.com/node/84545 [สืบค้นเมอื ๒๕ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔]. - ศลิ ป พีระศรี ศลิ ป พรี ะศรี(ม.ป.ป.). [ออนไลน]์ . ไดจ้ ากhttps://www.kroobannok.com/2448 [สืบคน้ เมอื ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔].


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook