Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือKidBrights

คู่มือKidBrights

Published by wsjh1989, 2020-05-20 06:18:24

Description: คู่มือKidBrights

Search

Read the Text Version

คำนำ คู่มือ “การพัฒนาครูด้านความรู้และทักษะในการจัดการเรียนรู้วิทยาการ คานวณ โดยใช้บอรด์ KidBright” เป็นเอกสารประกอบการอบรมครูโรงเรียน คุณภาพประจาตาบล สังกัดสานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 มีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นคู่มือการอบรมครูให้มีความรู้ (Knowledge) ทักษะ(Skill) และเจคติ (Attitude) ในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณ โดยใช้บอร์ด KidBright ซ่ึงการอบรมครูเป็นกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับ แนวนโยบายของรัฐบาลเก่ียวกับการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา การพัฒนาผูส้ อนให้มีความรู้ความสามารถเพียงพอในการนาเทคโนโลยีมาใช้ ในการพัฒนาส่ือการเรียนรู้และจัดกระบวนการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ เน้อื หาการอบรมทีพ่ ฒั นาขึน้ ประกอบด้วย 5 หน่วย ดงั นี้ หน่วยที่ 1 หลักสตู รวิชาวิทยาการคานวณ หนว่ ยท่ี 2 ร้จู กั สมองกลฝงั ตวั หน่วยท่ี 3 การแสดงผลผา่ นจอภาพและการทางานดว้ ยเสยี ง หนว่ ยที่ 4 การใชง้ านปมุ่ กด เซนเซอร์ พอรต์ USB และการเขียน CODE แบบมเี งื่อนไข หนว่ ยท่ี 5 การประยกุ ต์ใช้งานด้าน IoT และกิจกรรมการเรียนรู้ วชิ าวิทยาการคานวณ ผู้ จั ด ท า ห วั ง เ ป็ น อ ย่ า ง ย่ิ ง ว่ า คู่ มื อ เ ล่ ม นี้ จ ะ เ ป็ น เ ค ร่ื อ ง มื อ ช่ ว ย พั ฒ น า ค รู ด้านความรู้และทักษะในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณ โดยใช้บอร์ด KidBright” ใหบ้ รรลตุ ามวัตถปุ ระสงคต์ ่อไป (นายชัยวฒั น์ ต้ังพงษ์) ผูอ้ านวยการสานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 24

สำรบญั คานา ................................................................................................ ก สารบัญ ............................................................................................. ข บทนา................................................................................................ 1 หน่วยที่ 1 หลกั สูตรวิชาวิทยาการคานวณ....................................... 6 หน่วยที่ 2 ร้จู กั สมองกลฝงั ตัว........................................................... 8 หนว่ ยท่ี 3 การแสดงผลผ่านจอภาพและการทางานด้วยเสยี ง......... 11 หน่วยท่ี 4 การใช้งานปุม่ กด เซนเซอร์ พอรต์ USB และ การเขยี น CODE แบบมเี งอ่ื นไข ................................... 24 หนว่ ยที่ 5 การประยกุ ตใ์ ช้งานด้าน IoT และกิจกรรมการเรียนรู้ วชิ าวทิ ยาการคานวณ.................................................... 34 บรรณานกุ รม.................................................................................... 44 คณะผจู้ ดั ทา..................................................................................... 45

บทนำ 1. ควำมสำคัญ ตามที่สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จัดทา ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในการน้ี ได้กาหนดให้รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) อยู่ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ซึ่งมี เป้าหมายพัฒนาผู้เรียนให้ใช้ทักษะการคิดเชิงคานวณสามารถคิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา อย่างเป็นข้ันตอนและเป็นระบบ สามารถค้นหาข้อมูล หรือ สารสนเทศ ประเมนิ จัดการ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และนาสารสนเทศไปใช้ใน การแก้ปัญหาประยุกต์ใช้ความรู้ในการแก้ปัญหา ในชีวิตจริงและทางาน ร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารอย่าง ปลอดภัย รู้เท่าทัน มีความรับผิดชอบ มีจริยธรรม ดังนั้น“การพัฒนาครูด้าน ความรู้และทักษะในการจัดการเรียนรู้วิทยาการคานวณ โดยใช้บอร์ด KidBright” จึงเป็นการพฒั นาครผู ู้สอนในการจัดการเรียนการสอนวิทยาการ คานวณ ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ 2. คู่มอื กำรพฒั นำครู การพฒั นาครูจะใชเ้ วลา 1 วัน เป็นการเรียนแบบร่วมมือ Mentor-Think- Pair-Share โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP เนื้อหาท่ีพัฒนาขึ้น ประกอบดว้ ย 5 หนว่ ย ดงั น้ี หน่วยที่ 1 หลักสูตรวชิ าวิทยาการคานวณ หนว่ ยท่ี 2 ร้จู ักสมองกลฝังตัว หน่วยที่ 3 การแสดงผลผ่านจอภาพและการทางานดว้ ยเสียง หน่วยท่ี 4 การใช้งานปุ่มกด เซนเซอร์ พอร์ต USB และการเขยี น CODE แบบมีเง่ือนไข หนว่ ยท่ี 5 การประยุกตใ์ ชง้ านดา้ น IoT และกจิ กรรมการเรยี นรู้ วิชาวทิ ยาการคานวณ

3. กระบวนกำรพฒั นำครู กระบวนการพัฒนาครูเป็นการเรียนแบบร่วมมือ Mentor-Think- Pair-Share โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP Think Learning Process Motivation: M ICT Information: I Mentor 2 Application: A Progress: P Pair with Mentor Share (วญิ ญู อตุ ระ. 2562) สว่ นประกอบการเรียนแบบร่วมมือ Mentor-Think-Pair-Share โดย ใชก้ ระบวนการเรียนรแู้ บบ MIAP 3.1 Think เปน็ ขั้นตอนทีก่ ระตุ้นให้ผูเ้ ข้าอบรมได้คิดในประเด็น ปัญหาต่างๆ พร้อมกัน เพ่ือให้ผู้เข้าอบรมเกิดความคิดร่วมและ ประสานความคดิ ใหเ้ ปน็ ไปในทิศทางเดยี วกัน

3.2 Pair with Mentor เป็นข้ันตอนท่ีจัดให้ผู้เข้าอบรมจับกันเป็นคู่ๆ 3 โดยจัดให้มีพี่เลย้ี งคลู่ ะ 1 คน (รวมเป็น 3คน) เพ่ือให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษา บทเรียน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และสร้างสรรค์กิจกรรมการเรียนร่วมกัน โดยมีพเ่ี ล้ยี งซงึ่ เคยผ่านการเรียนรใู้ นเนื้อหาวิชาดังกล่าวมาก่อนแล้ว ทาหน้าท่ี เปน็ ที่ปรึกษาประจากลุ่มบทบาทในการเรียนรู้แบบร่วมมือส่วนใหญ่ จะยังคง อยู่ที่ผู้เข้าอบรมทั้งสอง เพียงแต่มีพ่ีเลี้ยงทาหน้าที่เปรียบเสมือนตัวแทนของ วิทยากร เพ่ือคอยชว่ ยเหลอื และแนะนาผู้เข้าอบรมให้สามารถศึกษาบทเรียน ได้สาเร็จลุล่วงและสามารถค้นหา คาตอบของประเด็นปัญหาที่ต้องการได้ ข้ันตอนนี้จึงเก่ียวข้องกับกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ซ่ึงประกอบด้วย 4 ข้ันตอนย่อยๆ ไดแ้ ก่ 3.2.1 Motivation: M ขัน้ ตอนการนาเข้าส่บู ทเรียน 3.2.2 Information: I ขน้ั ตอนการศกึ ษาเนอ้ื หาบทเรียน โดยใช้คมู่ อื ออนไลน์ 3.2.3 Application: A ข้ันตอนการทดสอบความสาเรจ็ ในการเรียนรู้ 3.2.4 Progress: P ข้ันตอนการประเมินผลความสาเร็จทางการเรียน ของผเู้ ขา้ อบรม 3.3 Share เป็นขั้นตอนสุดท้ายหลังจากการศึกษาบทเรียนแล้ว โดยทา การสลายกลุ่มผู้เข้าอบรมท่ีจับกันเป็นคู่แล้วสรุปผลการค้นหาคาตอบร่วมกัน ทั้งชนั้ อกี ครง้ั หน่ึงเพ่ือแลกเปล่ียนความรู้ สรุปผล และอภิปรายผลการค้นพบ จากการศึกษาบทเรียนในขั้นตอนที่ผ่านมา ในข้ันน้ีพี่เล้ียงสามารถให้ ข้อเสนอแนะต่าง ๆ ท่ีได้ร่วมสังเกตการณ์หรือท่ีได้ให้คาแนะนาต่าง ๆ ตอ่ ผู้เขา้ อบรมทงั้ ช้นั รวมทั้งใหข้ อ้ สรปุ หรอื เสนอแนะใด ๆ ตอ่ วิทยากรได้ 3.4 ICT เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นเคร่ืองมือสนับสนุนใน การแบ่งปันขอ้ มูล คน้ ควา้ สืบคน้ และนาเสนอผลงาน

4. กำรวดั ประเมินผล 4 กระบวนการพัฒนาครูเป็นการเรียนรู้แบบร่วมมือ Mentor- Think-Pair-Share โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรู้แบบ MIAP การวัดและ ประเมินผลจะวัดด้านความรู้ความเข้าใจ ทักษะการปฏิบัติงาน และ ความพึงพอใจ โดยเครอื่ งมือและเกณฑ์การวัดและประเมนิ ผล ดังนี้ 4.1 ด้านความรู้ความเข้าใจ เคร่ืองมือท่ีใช้เป็นแบบทดสอบ วัดผลการเรียนรู้ จานวน 15 ข้อ เป็นแบบทดสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ตรวจให้คะแนนข้อละ 1 คะแนน รวมท้ังหมด 15 คะแนน การผ่านเกณฑ์ด้านความรู้ความเข้าใจ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 คือ ได้คะแนนไม่น้อยกว่า 12 คะแนน จากคะแนนเต็ม 15 คะแนน 4.2 ด้านทักษะการปฏิบัติ เคร่ืองมือท่ีใช้เป็นใบงาน จานวน 9 ชุด ประเมินให้คะแนน ชุดละ 5 คะแนน รวมทั้งหมด 45 คะแนน การผ่านเกณฑ์ด้านทักษะการปฏิบัติ ได้คะแนนรวมโดยเฉล่ียไม่น้อย กว่าร้อยละ 70 เกณฑ์การใหค้ ะแนน ระดับคะแนน 5 หมายถึง ทาตามแบบอย่างวิทยากรได้ อย่างถูกตอ้ งและรวดเร็ว และสามารถอธิบายวิธีการตามที่ดาเนินการ ไดถ้ ูกตอ้ ง ระดับคะแนน 4 หมายถึง ทาตามแบบอย่างวิทยากรได้ อย่างถกู ตอ้ ง แต่ต้องอธบิ ายเพ่มิ เติม ระดบั คะแนน 3 หมายถงึ ทาตามแบบอย่างวิทยากรได้ แต่ ต้องใหค้ าแนะนา อธบิ าย วธิ ีการดาเนนิ การ ระดับคะแนน 2 หมายถึง ทาตามแบบอย่างวิทยากรได้ โดยตอ้ งฝกึ ปฏบิ ตั ิทาตามวิทยากรพรอ้ มการแนะนาขัน้ ตอนตามลาดับ ระดับคะแนน 1 หมายถึง ไม่สามารถทาตามแบบอย่าง หรือคาแนะนาของวิทยากรได้ และไม่ยอมรับการให้คาแนะนาและ การอธบิ ายจากวทิ ยากร

5. บทบำทวิทยำกร และพ่ีเล้ยี ง 5 กระบวนการพัฒนาครูเป็นการเรียนรู้แบบร่วมมือ Mentor- Think-Pair-Share โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ MIAP วิทยากร และพีเ่ ล้ียง มีบทบาทดงั น้ี 5.1 บทบาทวิทยากร 5.1.1 เตรียมหลักสตู รการพฒั นาครู 5.1.2 ถ่ายทอดความรู้ โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ Mentor-Think-Pair-Share โดยใช้กระบวนการเรยี นรู้แบบ MIAP 5.1.3 เปน็ ศนู ยก์ ลางแลกเปลี่ยนความคดิ เห็น 5.1.4 เสรมิ สรา้ งบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ 5.1.5 การแกป้ ัญหาท่เี กดิ ขึน้ เฉพาะหน้า 5.1.6 ประเมินผลการพัฒนาครู 5.2 บทบาทพี่เลีย้ ง 5.2.1 เตรียมความพร้อมพัฒนาครูโดยการศึกษาหลักสูตร เคร่อื งมอื อปุ กรณต์ ่าง ๆ ใหเ้ ข้าใจและสามารถใช้งานได้ 5.2.2 ศกึ ษาการใช้งานอุปกรณ์โปรแกรมการใช้งาน 5.2.3 คอยช่วยเหลือให้คาแนะนาผูเ้ ขา้ อบรมอยา่ งถูกต้อง 5.2.4 ประเมนิ ผลการปฏิบตั ติ ามใบงานที่กาหนด

หนว่ ยที่ 1 6 หลักสูตรวชิ ำวิทยำกำรคำนวณ 1. จุดประสงค์กำรเรยี นรู้ 1.1 บอกโครงสร้างหลกั สูตรวิชาวิทยาการคานวณได้ 1.2 เข้าใจแนวคิดเชงิ คานวณในการแกป้ ัญหาในชีวิตจรงิ 2. หลักสูตรวิชำวิทยำกำรคำนวณ วิทยาการคานวณ จัดอยู่ในมาตรฐาน ว 4.2 สาระท่ี 4 เทคโนโลยี ของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จะเรียนรู้เก่ียวกับ การคิดเชิงคานวณ การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหา เป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ใน การแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ สาระการเรียนรู้ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และมีทักษะการคิด เชิงคานวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยไดก้ าหนดสาระสาคญั ดงั นี้ 2.1 วิทยาการคอมพิวเตอร์ 2.2 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร 2.3 การรูด้ ิจิทัล 3. โครงสรำ้ งเวลำเรยี น สถานศึกษาสามารถนาหลักสูตรน้ีไปจัดการเรียนรู้ โดยกาหนดจานวน ชั่วโมงได้ตามความเหมาะสม และความพร้อมของสถานศึกษา ทั้งน้ีเพ่ือให้ ผู้เรียนได้มีเวลาในการศึกษาเนื้อหาฝึกทักษะและสร้างประสบการณ์ใน การเรียนร้อู ยา่ งเพยี งพอ จนสามารถบรรลุตัวชี้วัดตามเป้าหมายของหลักสูตร ควรจดั จานวนช่ัวโมงข้ันตา่ ดงั นี้ ชว่ งช้นั เวลาเรยี นจานวนชัว่ โมงต่อปี 3 40 4 40

4. คณุ ภำพผู้เรียน 7 จบชั้นมธั ยมศึกษำปที ่ี 3 นาข้อมูลปฐมภูมิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ประเมิน นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศได้ตามวัตถุประสงค์ ใช้ทักษะการคิด เชงิ คานวณในการแก้ปญั หาที่พบในชีวติ จรงิ และเขียนโปรแกรมอยา่ งง่าย เพื่อ ช่วยในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารอย่างรู้เท่าทัน และรับผิดชอบตอ่ สังคม จบชัน้ มธั ยมศึกษำปีที่ 6 ใช้ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวติ้ง สื่อดิจิทัล เทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสารเพื่อรวบรวมข้อมูลในชีวิตจริงจากแหล่งต่าง ๆ และความรู้จากศาสตร์อ่ืน มาประยุกต์ใช้สร้างความรู้ใหม่ เข้าใจ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีท่ีมีผลต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม วัฒนธรรม และใช้อยา่ งปลอดภยั มีจริยธรรม 5. ทกั ษะกำรคิดคำนวณ การคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking) เป็นทักษะการคิด รูปแบบหนึ่งที่ใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์หลากหลาย ลักษณะเพ่ือแก้ปัญหา (Problem-solving) อย่างมีเหตุผลและมีข้ันตอน การคิดเชิงคานวณ ประกอบดว้ ย 4 องคป์ ระกอบหลัก ดังนี้ 5.1 การแบง่ ปัญหาใหญอ่ อกเป็นปญั หา/งานย่อย (decomposition) 5.2 การพจิ ารณารปู แบบของปญั หาหรือวธิ กี ารแกป้ ญั หา (pattern recognition) 5.3 การพิจารณาสาระสาคญั ของปัญหา (abstraction) 5.4 การออกแบบอลั กอริทมึ (algorithms)

หน่วยท่ี 2 8 รู้จักสมองกลฝงั ตัว 1. จุดประสงคก์ ำรเรยี นรู้ 1.1 บอกความหมายสมองกลฝังตวั ได้ 1.2 บอกระบบปฏบิ ัติการและภาษาสาหรบั สมองกลฝังตวั ได้ 1.3 ตดิ ตง้ั โปรแกรม KidBright ได้ 2. สมองกลฝังตัวคืออะไร สมองกลฝังตวั (embedded system) คอื ระบบประมวลผล ท่ีใช้ชิป หรือไมโครโพรเซสเซอร์ที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ เป็นระบบคอมพิวเตอร์ ขนาดจ๋ิวที่ฝงั ไวใ้ นอุปกรณ์ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า และเครือ่ งเล่นอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ต่าง ๆ เพ่ือเพิ่มความฉลาด ความสามารถให้กับอุปกรณ์เหล่าน้ันผ่านซอฟต์แวร์ซึ่ง ต่างจากระบบประมวลผลที่เคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ัวไป ระบบฝังตัวถูกนามาใช้ กันอย่างแพร่หลายในยานพาหนะ เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านและสานักงาน อปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ เทคโนโลยซี อฟต์แวร์ เทคโนโลยีฮาร์ดแวร์ เทคโนโลยี เครือข่ายเน็ตเวิร์ก เทคโนโลยีด้านการสื่อสาร เทคโนโลยีเครื่องกลและของ เลน่ ต่าง ๆ ในปัจจุบันระบบสมองกลฝังตัวได้มีการพัฒนามากข้ึน โดยในระบบ สมองกลฝังตัวอาจจะประกอบไปด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ หรือ ไมโครโปรเซสเซอร์ อุปกรณ์ท่ีใช้ระบบสมองกลฝังตัวท่ีเห็นได้ชัด เช่น โทรศพั ทม์ ือถือ และในระบบสมองกลฝงั ตวั ยังมกี ารใส่ระบบปฏิบัติการต่าง ๆ แตกต่างกันไปอีกด้วย ดังนั้น ระบบสมองกลฝังตัวอาจจะทางานได้ต้ังแต่ ควบคมุ หลอดไฟจนไปถึงใชใ้ นยานอวกาศ ในการพัฒนาระบบสมองกลฝังตัวอาจจะมีการใช้ระบบปฏิบัติการเป็น แกนหลักในการพัฒนา หรือไม่มีการใช้ในการพัฒนาก็ได้ ระบบปฏิบัติการ สาหรบั ระบบสมองกลฝงั ตัวมหี ลายประเภทมากต้ังแต่ RTOS, ucOS-II จนไป ถึงระบบปฏิบัติการท่ีมีขนาดใหญ่ขึ้นมาเช่น Linux, Windows CE จนถึง ระบบปฏิบัติการสมัยใหม่ที่มีการพัฒนา เช่น MeeGo Android และ mac กับ ios

ในปัจจุบันมีภาษาโปรแกรมต่าง ๆ มากมายท่ีใช้ในการพัฒนาระบบ สมองกลฝังตัว เช่น ภาษา assembly ภาษา C ,C++ หรือภาษาระดับสูงที่ ถูกนามาใช้ในการพัฒนาระบบสมองกลฝังตัวท่ีมีระบบปฏิบัติการเช่น C++, JAVA หรือ Python โดยผู้ใช้สามารถเลือกใช้ภาษาในการพัฒนาระบบสมอง กลฝงั ตวั ไดต้ ามความเหมาะสมและความตอ้ งการ 5.1 Download โ ป ร แ ก ร ม ส า ห รั บ ติ ด ตั้ ง ไ ด้ ที่ เ ว็ บ ไ ซ ต์ www.kidbright.org/download/ ไฟล์สาหรับการติดตั้ง สามารถเลือกได้ ตามระบบปฏิบัตกิ ารทใ่ี ช้ 9 5.2 ทาการติดต้ัง KidBright IDE กรณีใชร้ ะบบปฏบิ ตั ิการ Windows เมือ่ download ไฟลม์ าแลว้ ให้ดับเบล้ิ คลิกไฟล์ KidBrightIDE-setup.exe กรณีใชร้ ะบบปฏบิ ัติการ MacOS ใหแ้ ตกไฟล์ KidBrightIDE.app.zip จากนั้น คัดลอก KidBrightIDE.app ไปวางที่แอปพลเิ คชนั folder

5.3 เมอ่ื โปรแกรมติดตัง้ สาเรจ็ จะแสดงหน้าต่าง KidBright IDE ดังรปู 10 กจิ กรรมท่ี 1 : ให้ผู้เขา้ อบรมติดตั้งโปรแกรม KidBright และ KidBright IDE ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………

หนว่ ยท่ี 3 11 กำรแสดงผลผ่ำนจอภำพและกำรทำงำนด้วยเสียง 1. จุดประสงคก์ ำรเรียนรู้ 1.1 ปฏิบัตกิ ารแสดงผลผ่านจอ LED ได้ 1.2 ปฏบิ ตั ิการทางานด้วยคาสั่งเสยี งได้ 2. กำรแสดงผลผ่ำนจอ LED คาสั่งบลอ็ กใน KidBright ID ทส่ี ร้างภาพนงิ่ และภาพเคล่ือนไหวบน LED 2.1 LED 16x8 หน้าที่กาหนดการแสดงผลบนจอแสดงผล ขนาด 16x8 จุด ตามตาแหนง่ จดุ ที่ตอ้ งการโดยการกดเลอื ก จะปรากฎจดุ สีแดงในตาแหน่ง ทเี่ ลอื กแสดง 2.2 Clear LED 16x8 ลบขอ้ ความบนจอแสดงผล 2.3 LED 16x8 2-chars แสดงตัวอักษร 2 ตัวบนจอแสดงผล

2.4 LED 16x8 Scroll แสดงตัวอักษรวง่ิ บนจอแสดงผล 12 2.5 LED 16x8 Scroll When Ready แสดงตัวอักษรว่ิงบนจอแสดงผล และวงิ่ จนครบตวั อกั ษรทกี่ าหนดก่อนจึงจะทาคาส่งั อ่ืน 2.6 Delay หนว่ งการทางานตามเวลาทก่ี าหนดเปน็ วนิ าที 2.7 Forever วนทางานซา้ ไปเรอ่ื ยๆ 2.8 Character แสดงข้อความทก่ี าหนดบนจอแสดงผล

3. ทดลองเขียนโปรแกรมเพอื่ แสดงภำพเลข 24 บนจอแสดงผล ของบอรด์ KidBright โดยใช้ LED 16x8 ข้ันตอนที่ 1 ในแถบเคร่ืองมอื ด้านซ้าย ลากบลอ็ ก LED 16x8 จากแถบ Basic และวางบนพน้ื ท่ีสรา้ งชุดคาสงั่ 13

ข้ันตอนที่ 2 เลือกช่องเล็กๆ ในบล็อก LED 16x8 ให้เป็นจุดสีแดงใน ตาแหน่งท่ีแสดงตัวเลข 24 จุดท่ีเลือกเป็นสีแดงบนบล็อก LED 16x8 เป็น การสงั่ ให้จอแสดงผลบนบอร์ด KidBright แสดงเปน็ สแี ดงด้วย ข้ันตอนท่ี 3 กดปุ่ม สร้างโปรแกรม ท่ีอยู่บริเวณมุมขวาบนของจอ 14 (ปมุ่ สญั ลกั ษณ์ลูกศรชี้ข้ึนสีมว่ ง) ข้ันตอนที่ 4 โปรแกรมสร้างชุดคาสั่งจาทาการแปลงบล็อกไปเป็นรหัส คาสัง่ เมือ่ เรียบร้อยแล้วจะส่งรหัสคาสั่งไปยังบอร์ด KidBright ผ่านสาย USB และจากปรากฏเลข 24 ที่จอแสดงผลของบอร์ด KidBright

ใบงำนท่ี 1 15 กำรแสดงผลบนหน้ำจอ คำช้แี จง: ให้เขยี นโปรแกรมเพื่อแสดงผลรูปหัวใจ บนหน้าจอแสดงผล ของ KidBright ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………

4. ทดลองเขียนโปรแกรมเพื่อแสดงภำพเลข 24 บนจอแสดงผล โดยใช้คำสั่ง LED 16x8-chars ขนั้ ตอนท่ี 1 ในแถบเครอ่ื งมือดา้ นซา้ ย ลากบล็อก 3 บล็อก ได้แก่ LED 16x8 2-chars และ Character จากแถบ Basic และวางบนพื้นที่สร้าง ชุดคาส่ัง 16

ขั้นตอนท่ี 2 นาบล็อกท้ัง 2 มาต่อกันตามภาพ จากนั้นแก้ไขข้อความ ในบล็อก Character ให้เป็นเลข 24 ขั้นตอนท่ี 3 กดปุ่ม สร้างโปรแกรม ที่อยู่บริเวณมุมขวาบนของจอ (ป่มุ สญั ลักษณล์ ูกศรชี้ขึน้ สีม่วง) 17 ขั้นตอนที่ 4 โปรแกรมสร้างชุดคาสั่งจาทาการแปลงบล็อกไปเป็นรหัส คาสั่ง เมือ่ เรยี บร้อยแล้วจะส่งรหัสคาสั่งไปยังบอร์ด KidBright ผ่านสาย USB และจากปรากฏเลข 24 ท่ีจอแสดงผลของบอรด์ KidBright

ใบงำนท่ี 2 18 กำรแสดงผลบนหน้ำจอ คำชี้แจง: ให้ทดลองแก้เลขในบล็อก Character เป็นเลข 1234 แล้วสังเกต บนหนา้ จอแสดงผลของ KidBright ว่าปรากฏเลขอะไรขน้ึ ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………

5. ทดลองเขียนโปรแกรมเพ่อื แสดงภำพตัวอักษรเคลอ่ื นไหว บนจอแสดงผลของบอร์ด KidBright ข้ันตอนท่ี 1 ในแถบเคร่ืองมือด้านซ้าย ลากบล็อก 3 บล็อก ได้แก่ LED 16x8 Scroll When Ready , Forever และ Character จากแถบ Basic และวางบนพืน้ ทีส่ รา้ งชุดคาสง่ั 19

ขั้นตอนที่ 2 นาบลอ็ กทง้ั 3 มาต่อกนั ตามภาพ ขน้ั ตอนท่ี 3 กดปุ่ม สรา้ งโปรแกรม ที่อยบู่ ริเวณมุมขวาบนของจอ (ปมุ่ สญั ลักษณล์ กู ศรชขี้ ้ึนสีมว่ ง) 20 ขั้นตอนท่ี 4 โปรแกรมสรา้ งชุดคาส่งั จาทาการแปลงบลอ็ กไปเป็นรหสั คาสั่ง เมอ่ื เรยี บรอ้ ยแลว้ จะส่งรหสั คาส่งั ไปยงั บอรด์ KidBright ผา่ นสาย USB และจากปรากฏข้อความคาว่า Hello World! วงิ่ จากขวาไปซา้ ยท่ีจอแสดงผล ของบอรด์ KidBright แสดงผลวนซา้ ไปเร่ือยๆ

ใบงำนท่ี 3 21 กำรแสดงผลบนหน้ำจอ คำชีแ้ จง: ให้ทดลองเขียนโปรแกรมเพ่ือแสดงภาพตัวอักษรเคลอ่ื นไหว บนจอแสดงผลของบอรด์ KidBright เปน็ คาวา่ I LOVE YOU …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………….

6. รจู้ กั บลอ๊ กมวิ สิก กลุ่มบล็อกมิวสิก เป็นกลุ่มบล๊อกท่ีทาให้ลาโพงของบอร์ด KidBright ส่งเสยี งตวั โน้ตได้ 1. Note บล็อกโนต๊ - ใชเ้ พอื่ ส่งเสียงตวั โนต๊ ดังตัวอย่าง 2. Rest บลอ็ กพักโน๊ต – ใช้พกั โน๊ตเพือ่ เงยี บเสียง 3. Scale บล็อกสง่ เสยี งตัวโนต๊ แบบระบบสเกล 4. Set Volume บล็อกต้ังค่าความดังเสยี ง 5. Get Volume บล็อกอา่ นคา่ ความดงั เสยี ง 22 ตวั อย่างเพลง ชา้ ง

ใบงำนท่ี 4 23 กำรสร้ำงเสียงเพลง คำชแ้ี จง: ให้ทดลองเขยี นโปรแกรมเพือ่ แสดงเสยี งเพลง Happy Birthday …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………….

หนว่ ยท่ี 4 24 กำรใชง้ ำนปุ่มกด เซนเซอร์ พอรต์ USB และ กำรเขียน CODE แบบมเี งื่อนไข 1. จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้ 1.1 ปฏบิ ตั กิ ารใช้งานปมุ่ กดได้ 1.2 ปฏบิ ตั ิการใชง้ านเซนเซอรไ์ ด้ 1.3 ปฏบิ ัติการใชง้ านพอรต์ USB ได้ 1.4 ปฏบิ ัติการเขียน CODE แบบมเี งือ่ นไขได้ 2. Logic Tab (ตรรกะ)

3. ทดสอบเขยี นโปรแกรม (ป่มุ กด กับกำรวำงเง่ือนไข) กาหนดโปรแกรม กดปมุ่ S1 ใหแ้ สดงผล เลข “1” ออกจอ LED ถา้ กด S2 ให้แสดงผล เลข “2” ออกจอ LED 25 คำอธบิ ำยโปรแกรม 1. กาหนดโปรแกรมแบบวนรอบ 2. ตรวจสอบเงื่อนไข ถา้ กดปุม่ S1 ใหจ้ อ LED แสดงตัวเลข “1” ถา้ กดปุม่ S2 ใหจ้ อ LED แสดงตัวเลข “2”

ใบงำนท่ี 5 26 กำรใช้งำนปมุ่ กด กับกำรเขียนโปรแกรมแบบมีเงอื่ นไข คำชแี้ จง: เขียนโปรแกรม ให้กดปุ่มS1 คา้ งไว้ใหจ้ อLED แสดงตวั เลข “1” ถา้ ปลอ่ ยให้จอLED แสดงตัวเลข “2” …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………….

ใบงำนท่ี 6 27 กำรใชง้ ำนปมุ่ กด กับกำรเขียนโปรแกรมแบบมีเงอ่ื นไข คำช้ีแจง: เขียนโปรแกรม ถา้ กดปมุ่ S1 ให้แสดงรูปหวั ใจ อยจู่ อฝ่งั ซา้ ย ถ้ากดปุ่ม S2 ใหแ้ สดงรูปหวั ใจ อยูจ่ อฝง่ั ขวา …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………….

4. Sensor Tab (เซนเซอร์) ทดลองเขยี นโปรแกรม อา่ นค่า เซนเซอร์วัดแสง ใหแ้ สดงผล 28 ออกจอ LED คำอธบิ ำยโปรแกรม 1. กาหนดโปรแกรมแบบวนรอบ 2. จอLED แสดงผลโดยรับคา่ จาก เซนเซอรว์ ัดแสง

กจิ กรรมท่ี 4 ทดลองเขียนโปรแกรม อา่ นคา่ เซนเซอรว์ ัดอุณหภมู ิ ให้ แสดงผล ออกจอ LED 29 คำอธบิ ำยโปรแกรม 1. กาหนดโปรแกรมแบบวนรอบ 2. จอLED แสดงผลโดยรบั คา่ จาก เซนเซอรว์ ดั อุณหภูมิ ทดลองเขยี นโปรแกรม อา่ นคา่ เซนเซอรว์ ดั อุณหภูมิ และเซนเซอร์วัดแสง โดย ถ้ากดปุ่ม S1 ใหแ้ สดงผล ค่าอณุ หภมู ิ ออกจอ LED ถ้ากดปุม่ S2 ให้แสดงผล คา่ แสง ออกจอ LED

คำอธิบำยโปรแกรม 1. กาหนดโปรแกรมแบบวนรอบ 2. ตรวจสอบเงอื่ นไข ถา้ กดปุ่ม S1 ให้จอLED แสดงผลจากเซนเซอรว์ ัดอณุ ภมู ิ ถ้ากดปุม่ S2 ให้จอLED แสดงผลจากเซนเซอรว์ ดั แสง 5. I/O Tab 30 ทดลองเขยี นโปรแกรม สั่งการ USB โดย ถา้ กดปุ่ม S1 ให้ เปิด การทางานของ USB ถา้ กดปมุ่ S2 ให้ ปดิ การทางานของ USB

คำอธบิ ำยโปรแกรม 1. กาหนดโปรแกรมแบบวนรอบ 2. ตรวจสอบเงอื่ นไข ถา้ กดปุ่ม S1 ให้ เปิด การทางานของ USB ถา้ กดปุม่ S2 ให้ ปดิ การทางานของ USB 31

ใบงำนที่ 7 32 กำรทำงำนเซนเซอร์และUSB คำชีแ้ จง: เขยี นโปรแกรมควบคุมหลอดไฟ USB ตามเซนเซอร์วัดค่าแสง ถ้า ค่าแสงน้อยให้หลอดไฟสว่างและมีเสียงแจ้งเตือนส้ันๆ ถ้าค่าแสงมากให้ หลอ ดไฟ ดับ (ก าร ก าหน ดเง่ือ น ไขค่าขอ งแ สงใ ห้ก าหน ดเอ ง ตาม ความเหมาะสม) …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………….

ใบงำนที่ 8 33 กำรทำงำนเซนเซอรแ์ ละUSB คำชีแ้ จง: เขียนโปรแกรมอ่านค่าอุณหภูมิแสดงบนจอ LED และกาหนดให้ ถ้าอุณหภูมิสูงกว่าค่าปกติ ให้เปิดพัดลม USB และมีเสียงแจ้งเตือน ถ้าอุณหภูมิกลับมาสู่ค่าปกติให้ปิดพัดลม (การกาหนดเง่ือนไขของอุณหภูมิ ใหก้ าหนดตามความเหมาะสม) …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………… ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………….………………………….

หนว่ ยที่ 5 34 กำรประยุกตใ์ ชง้ ำนดำ้ น IoT และกิจกรรมกำรเรยี นรู้ วชิ ำวิทยำกำรคำนวณ 1. จุดประสงคก์ ำรเรียนรู้ 1.1 ประยกุ ต์ใช้งานดา้ น IoT ได้ 1.2 ประยกุ ตใ์ ชก้ ิจกรรมการเรยี นรู้วิชาวิทยาการคานวณได้ 2. กำรประยกุ ต์ใช้งำน ประเดน็ ปัญหำ : หากลมื ปิดไฟท่ีบ้าน จะสามารถนาความสามารถด้าน IoT ของบอร์ด KidBright มาใชแ้ กป้ ัญหาได้อยา่ งไร สถำนกำรณ์ : จะใช้งานบอรด์ รับคา่ แสงแลว้ สามารถดูผา่ นสมาร์ทโฟน ซ่ึงเรา สามารถตรวจสอบได้ว่าขณะนี้ไฟเปดิ อย่หู รือเปล่า โดยดูจากค่าของแสง หาก คา่ ของแสงมากแสดงว่าไฟเปดิ อยู่ ก็กดปิดจากสมาร์ทโฟนได้เลย 2.1 เขยี นคาสงั่ ในKid Bright IDEท่ีใชต้ ามสถานการณ์ท่ีกาหนด

2.2 ต้ังค่า Wifi โดยคลิกท่ีไอคอนรูปสัญญาณ WIFI แล้วทาการกรอก SSID ( ช่ือ WIFI ) และ Password (รหัสผ่าน WIFI) หลังจากนั้นให้ติ๊ก เครอื่ งหมายถกู ที่คาวา่ Enable IoT และสุดทา้ ยให้กดทปี่ ุ่ม OK 35 2.3 หลงั จากต้ังค่า Wifi เสรจ็ ทาการอปั โหลดเข้าบอร์ด หากใชง้ านได้ จะปรากฏไฟทบี่ อรด์ สองดวงคอื ตรง Wifi (สีแดง) และ IoT (สีเขยี ว)

2.4 สแกน QR Code โดยคลิกที่มุมด้านขวาที่มีสัญลักษณ์ OR Code สมี ่วง 36 2.5 เปดิ App KidBright IOT แล้วถา่ ยภาพ QR Code ที่ได้มา หากยงั ไม่ตดิ ตัง้ ให้ไปทาการตดิ ตงั้ ท่ี Play Sore หรือ App store ก่อน แล้วเลือก ตามไอคอนดา้ นล่าง

2.6 หน้าจอ App KidBright แสดงค่าต่าง ๆ หากกดปุ่ม Switch 1 ใช้ ไฟ USB แสงจะมคี า่ ค่อนขา้ งสงู 37 2.7 หลงั จากน้นั กดปุ่ม Switch 2 เพือ่ ทาการปดิ ไฟ จะเหน็ วา่ คา่ แสง ตา่ ลง

3. กำรเขียนผังระบบทำงเทคโนโลยี 38 ตวั อย่ำง กรณศี กึ ษำกำรทำโครงงำน หัวข้อเรื่อง Smart NW School IoT 1. สถำนกำรณ์โปรแกรม 1.1 ระบบควบคมุ การเปดิ -ปิดไฟด้วยแสงบริเวณโรงเรียน 1.2 ระบบควบคุมการเปดิ -ปิดไฟด้วยเซนเซอร์ตรวจจับความ เคลอื่ นไหว 1.3 ระบบควบคมุ การเปดิ -ปิดพดั ลมในห้องเรียน 1.4 ระบบควบคมุ การรดนา้ ต้นไม้ 2. อปุ กรณ์ อปุ กรณ์ที่ใช้ในการสร้างออกแบบและการพัฒนาระบบ 2.1 บอรด์ KidBright 1.3 2.2 รเี ลย์ Relay 5V 1 Channel Isolation High And Low Trigger relay

2.3 Motion Sensor Arduino PIR HC-SR511 เซนเซอร์ตรวจจบั ความเคล่ือนไหว Infrared sensor arduino HC-SR511 2.4 ปลัก๊ ไฟ 2.5 สายไฟ 2.6 ชุดหลอดไฟ LED 2.7 ปมั้ น้า 2.8 พัดลม 3. กรอบแนวคดิ ในการประยุกตใ์ ช้ บอร์ดKidBright และโปรแกรมKidBright IDE โดยควบคุมการสงั่ งานผา่ นสมาร์ทโฟนดว้ ยระบบ IOT 39

4. กำรออกแบบเคร่อื งมอื 5. กำรเขยี นโปรแกรมเพื่อควบคุมอปุ กรณ์ 40 5.1 ระบบควบคมุ การรดนา้ ตน้ ไม้ดว้ ยมอื ถอื /ระบบควบคมุ การเปิด- ปิดไฟดว้ ยเซนเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหว/ระบบควบคุมการเปดิ -ปดิ ไฟ ด้วยแสงบริเวณโรงเรยี น

5.2 ระบบควบคมุ การเปดิ -ปดิ ไฟในโรงเรียนด้วยมือถอื / ระบบ ควบคุมการเปดิ -ปดิ พัดลมในห้องเรยี น 41 6. วธิ กี ำรใช้งำนระบบ ติดตง้ั แอพพลเิ คชัน KidBright IoT บนสมารท์ โฟน

ตัวอย่ำงกำรออกแบบระบบ 42 หวั ข้อเร่อื ง Smart NW School IoT : ประเดน็ ปญั หำ : ลืมปดิ ระบบไฟฟ้ำในห้องเรยี น ทำให้ส้ินเปลือง งบประมำณโดยสนิ้ เปลอื ง สถำนกำรณโ์ ปรแกรม : 1. ควบคุมการเปิด-ปิดไฟดว้ ยเซนเซอรต์ รวจจบั ความเคล่ือนไหว 2. ควบคมุ การเปิด-ปิดพัดลมในหอ้ งเรียน 3. ควบคมุ การเปิด-ปดิ ไฟด้วยแสงบรเิ วณโรงเรยี น 4. ควบคมุ การรดน้าต้นไม้

ใบงำนท่ี 9 43 คาชี้แจง : จงกาหนดปญั หาและกาหนดสถานการณใ์ นการแกป้ ญั หา โดย การนาบอรด์ Kid Bright มาประยุกตใ์ ชใ้ นการแก้ปญั หา พรอ้ มทั้งเขียน แผนผงั ระบบทางเทคโนโลยีที่ใชใ้ นการแก้ปัญหา หัวขอ้ เร่อื ง……………………………………………………………….. ประเดน็ ปัญหำ : .…………………………………………………………………………………….................................... .………………………………………………………………………………………................................. สถำนกำรณ์โปรแกรม : 1.…………………………………………………………………………………… 2.………………………………………………………………………………………. 3.………………………………………………………………………………………. 4.……………………………………………………………………………………….

บรรณำนกุ รม ศนู ย์เทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพิวเตอรแ์ หง่ ชาติ. (2561). สนกุ Kids สนกุ Code กบั KidBright ฉบับ Student Handbook. ปทุมธานี: สานักพิมพ์มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2560).คมู่ อื กำรใช้หลกั สตู ร รำยวิชำพื้นฐำนวทิ ยำศำสตรก์ ลมุ่ สำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตำมหลกั สตู รแกนกลำงกำรศึกษำ ข้นั พืน้ ฐำน พุทธศกั รำช 2551 สำระเทคโนโลยี (วิทยำกำรคำนวณ) ระดบั ประถมศึกษำและมัธยมศกึ ษำ. กรุงเทพมหานคร: สถาบันส่งเสริม การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน. (2560). ตัวชว้ี ดั และสำระ กำรเรยี นรู้แกนกลำงกลมุ่ สำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)ตำมหลักสตู รแกนกลำงกำรศกึ ษำขน้ั พืน้ ฐำน พทุ ธศักรำช 2551. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศ ไทย จากัด.

คณะผู้จดั ทำ ทป่ี รกึ ษำ 1. นายชัยวฒั น์ ตั้งพงษ์ ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 24 2. นายปรญิ ญา จุฑาสงฆ์ รองผ้อู านวยการสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา มธั ยมศกึ ษา เขต 24 3. นายรชต ภูพานเพชร รองผอู้ านวยการสานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา มัธยมศึกษา เขต 24 4. นายวทิ ยา ศรีชาติ ผู้อานวยการกล่มุ นเิ ทศติดตามและประเมนิ ผล การจดั การศึกษา คณะทำงำน 1. นายวิญญู อตุ ระ ศึกษานเิ ทศก์ 2. นางศริ พิ ร วรรรหอม ศกึ ษานเิ ทศก์ 3. นางสาวรศั มี ภกู ันดาน ศึกษานเิ ทศก์ 4. นางสาววราภรณ์ บงั วิเศษ ศกึ ษานิเทศก์ 5.นางเขมจิรา ผลประสาท นักวิเคราะหน์ โยบายและแผน 6.นายจตรุ งค์ กมลเลศิ ครโู รงเรยี นกมลาไสย 7.นายเทวญั ภพู านทอง ครโู รงเรียนนามนพทิ ยาคม 8.นายอานนท์ คาสา ครโู รงเรียนหนองกงุ ศรวี ิทยาคาร 9.นางสาวจริ นชุ ชา่ งหลอ่ ครูโรงเรยี นหนองกุงศรวี ทิ ยาคาร 10.นายวริ ตั น์ บษุ บงค์ ครูโรงเรยี นหว้ ยผ้ึงพิทยา 11.นายชวลิต แสงศิริทองไชย ครูโรงเรยี นกาฬสินธพ์ุ ทิ ยาสรรพ์ 12. นายสมศกั ด์ิ ศรีเครอื คง ครโู รงเรยี นสมเดจ็ พทิ ยาคม

คณะผู้จัดทำ (ตอ่ ) 13.นายพลกฤษณ์ รินทรึก ครโู รงเรยี นจาปาหลวงวิทยาคม 46 14.นายสรุ จติ ร โลหะมาศ ครูโรงเรียนกาฬสินธพุ์ ิทยาสรรพ์ 15.นายวทิ ลู ย์ ตอนพรทนั ครูโรงเรยี นอนกุ ูลนารี 16.นายภานุพงค์ แสงฤทธ์ิ ครโู รงเรียนหนองสอพิทยาคม 17. นายณฐั พล ไสยสาลี ครูโรงเรียนรอ่ งคา 18.นายศภุ วฒั น์ ทรพั ย์เกิด ครูโรงเรยี นกุฉินารายณ์ 19. นายพงศพล คาโสภา ครโู รงเรยี นดงกลางพฒั นศกึ ษา 20.นายศักดา ภูกองชนะ ครูโรงเรยี นมธั ยมภฮู ังพัฒนวทิ ย์ 21.นางเพชรมณยี า อุตระ ครโู รงเรยี นนาไครพ้ ิทยาสรรพ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook