Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Community Nursing 2(2,3,6) 6231901103

Community Nursing 2(2,3,6) 6231901103

Published by kanok k, 2021-11-25 13:49:04

Description: Community Nursing 2(2,3,6) 6231901103

Search

Read the Text Version

COMMUNITY NURSING 2 MISSKANOKWAN TONGTIP STUDENT ID 6231901103 MIDTERM EXAMINATION 2564 (TOPIC 1 - 6)

Community Nursing 2 เ พ ร า ะ สุ ข ภ า พ ดี เ ริ่ม ต้ น ที่ ชุ ม ช น

หน้าลิขสิทธิ์ ชื่อหนังสือ Community Nursing 2 จัดทำโดย Gam Chom Poo พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2564 ห้ามมิให้ผู้ใดนำส่วนใดส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดของหนังสือเล่มนี้ ไป ทำการคัดลอกเพื่อนำไปแจกจำหน่ายต่อ โดยขอสงวนสิทธิ์ตาม กฎหมาย

คำนำ หนังสือเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา Community Nursing 2 รหัสวิชา 1901321 จัดทำขึ้นเพื่อทบทวนและศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและหลักการพยาบาลชุม บทบาท ของพยาบาลชุมชน ระบบบริการสุขภาพในระดับปฐมภูมิ การพยาบาลอนามัยครอบครัว การ พยาบาลอนามัยสิ่งแวดล้อม การพยาบาลอนามัยโรงเรียน รวมถึงการพยาบาลชีวอนามัย เพื่อ ให้มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาและสามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยได้จัดทำการสรุป เนื้อหา ในหัวข้อที่ 2, 3, และ 6 ตามบทเรียนในรายวิชา หากหนังสือเล่มนี้ผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย ขอบคุณค่ะ กนกวรรณ ทองทิพย์ ผู้จัดทำ

ส า ร บั ญ STNETNOC 2 ร ะ บ บ บ ริ ก า ร สุ ข ภ า พ ใ น ร ะ ดั บ ป ฐ ม ภู มิ แ ล ะ ค ว า ม จำ เ ป็ น พื้ น ฐ า น ด้ า น สุ ข ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น 3 ก า ร พ ย า บ า ล อ น า มั ย ค ร อ บ ค รั ว แนวคิ ดและหลักการดูแลสุขภาพครอบครัว 6 ก า ร พ ย า บ า ล อ น า มั ย ค ร อ บ ค รั ว ห ลั ก ก า ร เ ยี่ ย ม แ ล ะ ส่ ง เ ส ริม สุ ข ภ า พ ค ร อ บ ค รัว

2 ร ะ บ บ บ ริ ก า ร สุ ข ภ า พ ใ น ร ะ ดั บ ป ฐ ม ภู มิ แ ล ะ ค ว า ม จำ เ ป็ น พื้ น ฐ า น ด้ า น สุ ข ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น

แนวคิดและหลักการของระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ \"บริการสุขภาพปฐมภูมิ\" หมายถึง บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่มุ่งดูแลสุขภาพ ของบุคคลในเขตพื้นที่รับผิดชอบในลักษณะองค์รวม ตั้งแต่แรก ต่อเนื่อง และผสมผสาน ครอบคลุม ทั้งการส่งเสริม สุขภาพ การควบคุมโรค การป้องกันโรค การตรวจวินิจฉัยโรค การ รักษาพยาบาล และการฟื้ นฟูสุขภาพ โดยหน่วยบริการปฐมภูมิหรือเครือข่ายหน่วยบริการปฐม ภูมิที่ประกอบด้วย แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวและคณะผู้ให้บริการสุขภาพปฐมภูมิ รวมทั้งเชื่อม โยงกับครอบครัว ชุมชน และบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ(สํา นักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2562) การบริการพยาบาลในระดับปฐมภูมิเน้นการจัดบริการในชุมชนเพื่อดูแล สุขภาพของประชาชนที่เบ็ดเสร็จ (COMPREHENSIVE CARE) ซึ่งเป็นการ ดูแลสุขภาพทุกมิติเป็นองค์รวม ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ด้วยการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล และฟื้ นฟูสุขภาพ ในคนทุก กลุ่มวัย ตั้งแต่เกิดจนเสียชีวิต ทุกเพศ ทุกวัย ทั้งรายบุคคล ครอบครัว และ ชุมชน ห น้ า 1 • ร ะ บ บ บ ริ ก า ร สุ ข ภ า พ ใ น ร ะ ดั บ ป ฐ ม ภู มิ แ ล ะ ค ว า ม จำ เ ป็ น พื้ น ฐ า น ด้ า น สุ ข ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น

COMMUNITY NURSING 2 ระบบบริการสุขภาพในระดับปฐมภูมิ ลักษณะที่สําคัญของบริการปฐมภูมิ บริการสุขภาพปฐมภูมิที่พึงประสงค์ หน่วยบริการปฐมภูมิเป็นหน่วยบริการ (สํานักงานโครงการปฏิรูประบบบริการสาธารณสุข, 2554) ดูแลสุขภาพที่มีลักษณะสําคัญในด้าน ต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. ยุติธรรม เท่าเทียม เข้าถึงได้ (Equity - Accessibility) 2. มีคุณภาพ (Quality) ทั้งด้านการแพทย์และการดูแลแบบองค์รวม 1. ให้บริการด้านสุขภาพที่ผสมผสานทั้งด้านการส่ง 3. มีประสิทธิภาพ (Efficiency) ใช้ทรัพยากรให้คุ้มค่า เสริมสุขภาพ ป้องกันโรคการรักษา และฟื้ นฟูสภาพ โดย 4. โปร่งใส ตรวจสอบได้ (Social Accountability) บริหารจัดการด้วยหลักธรรมมาภิบาล พิจารณาปัญหาอย่างเป็นองค์รวม 5. ตอบสนองความต้องการของประชาชน (Responsiveness) 2. บริการสุขภาพด่านแรกที่ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย ทั้งใน ด้านภูมิศาสตร์ จิตวิทยา และด้าน เศรษฐกิจ 3. เน้นบทบาทการให้บริการสุขภาพในเชิงรุกเพื่อการ สร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการเพิ่ม ศักยภาพการพึ่งตนเองของประชาชน 4. ร่วมดูแลสุขภาพกับประชาชนอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ ก่อนป่วย ขณะป่วย และช่วงฟื้ นฟูสภาพ พร้อมกับการจัดทําระบบข้อมูลของประชาชนตั้งแต่เกิด จนเสียชีวิต 5. ทําหน้าที่ประสานกับหน่วยบริการอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อ ให้บริการที่ต่อเนื่อง รอบด้าน อาทิ สถานพยาบาลเฉพาะด้านต่าง ๆ หน่วยงาน สังคมสงเคราะห์ และหน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่น การอภิบาลระบบสาธารณสุข (Health system governance)นายแพทย์ศุภกร ศรีแผ้ว, 2560 โครงสร้างระบบบริการสุขภาพในระดับปฐมภูมิ การจัดเครือข่ายบริการปฐมภูมิโดยให้หน่วยบริการปฐมภูมิเป็นหน่วยบริการประจํา (AUTONOMOUS CONTRACTING UNIT FOR PRIMARY CARE: CUP) หมายถึง หน่วยบริการปฐมภูมิที่มีศักยภาพ ผ่านเกณฑ์ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการประจํา ที่เป็นหน่วยงานทําสัญญากับสํานักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ เพื่อจัดบริการปฐมภูมิ ระบบสุขภาพระดับอําเภอ (District Health System : DHS) อยู่ภายใต้การกํากับของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอําเภอ (District Health Board) ระบบสุขภาพระดับอําเภอ หมายถึง ระบบการทํางานด้านสุขภาพระดับอําเภอร่วมกับทุกภาคส่วนด้วยการบูรณาการด้านทรัพยากรภายใต้บริบทของพื้นที่ผ่านกระบวนการ ชื่นชมและการจัดการความรู้แบบอิงบริบทของแต่ละพื้นที่ ส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนพึ่งตนเองได้และไม่ทอดทิ้งกัน โดยมีเป้าหมายร่วมเพื่อสุขภาวะของประชาชน (สํา นักบริหารการสาธารณสุข, 2557) หลักการดําเนินงานระบบสุขภาพระดับอําเภอ (District Health System) มีดังนี้ (สํานักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ, 2562) 1. การทํางานร่วมกันในระดับอําเภอ (Unity District Health Team) ของภาคส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้ความสําคัญกับ Working relationship 2. การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน (Community participation) เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในระดับอําเภอในทุกขั้นตอนของการพัฒนา ร่วมคิด ร่วมรับรู้ร่วมดําเนินการ และร่วมประเมินผลโดยมีเป้าหมายร่วมกันคือการทํางานด้านสุขภาพเพื่อยกระดับการพึ่งตนเอง ทําให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและไม่ทอดทิ้งกัน 3. การทํางานจนเกิดคุณค่า ทั้งกับผู้รับบริการและผู้ให้บริการเอง (Appreciation and Quality) เป็นคุณค่าที่เกิดขึ้นทั้งฝ่ายผู้ให้บริการและผู้รับบริการ โดยการ พัฒนาคุณภาพไม่เน้นที่เชิงปริมาณเพียงอย่างเดียวแต่เน้นที่เนื้อหาและคุณภาพบริการที่ประชาชนได้รับร่วมกัน หน่วยบริการปฐมภูมิ (Primary Care Unit) การบริการปฐมภูมิ (Primary Care) หมายถึง การบริการระดับแรกที่อยู่ใกลชิดชุมชนมากที่สุด โดยดูแลสุขภาพประชาชน ทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และ ชุมชนอย่างใกล้ชิด โดยดูแลตั้งแต่ กอนป่วย ไปจนถึงการดูแลเบื้องตน เมื่อเจ็บปวยและหลังเจ็บป่วยทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และ จิตวิญญาณ เพื่อใหเกิด ชุมชนเข้มแข็งต่อไป สําหรับหน่วยบริการปฐมภูมิหรือ Primary Care Unit นั้น หมายถึง หน่วยบริการที่มีองค์ประกอบทั้งทางด้านสถานที่ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ ระบบการทํางาน และ การจัดบริการทั้งในและนอกสถานที่ โดยมีกลุ่มเป้าหมายการให้บริการที่ชัดเจนตามความหมายของการบริการปฐมภูมิโดยหน่วย บริการปฐมภูมิ สามารถจัดบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ ได้อย่างเป็นองค์รวม ได้รับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขจากหน่วยบริการประจําหรือจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ตามที่กําหนด จะต้องดําเนินการตามเกณฑ์ ๔ หมวด ดังต่อไปนี้ หมวด 1 ศักยภาพในการจัดระบบบริการให้ประชาชนเข้าถึง หมวด 2 จัดบริการระดับปฐมภูมิได้ครบถ้วน ครอบคลุมประเภท และขอบเขตของบริการสาธารณสุข หมวด 3 บุคลากร หมวด 4 การบริหารจัดการ ห น้ า 2 • ร ะ บ บ บ ริ ก า ร สุ ข ภ า พ ใ น ร ะ ดั บ ป ฐ ม ภู มิ แ ล ะ ค ว า ม จำ เ ป็ น พื้ น ฐ า น ด้ า น สุ ข ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น

ทีมหมอครอบครัว Bangragum Primary Care Cluster, 2017 ทีมหมอครอบครัว หมายถึง ทีมที่ประกอบด้วยสหวิชาชีพทั้งด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ทั้งในหน่วยบริการใกล้ บ้านและในโรงพยาบาล รวมถึง อสม. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน ภาคประชาชน และ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแล สุขภาพของประชาชน เพื่อดูแลปัญหาด้านกาย ครอบคลุมทั้ง รักษา ส่งเสริม ป้องกัน และดูแลด้านจิตใจ สังคม บรรเทาทุกข์ พัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน อย่างใกล้ชิด เข้าถึงและเข้าใจ หมอครอบครัว หมายถึง บุคลากรสาธารณสุขที่สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรขึ้นไป ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับ ด้านสาธารณสุขในพื้นที่ที่รับผิดชอบของ รพ.สต. / ศสม / ท้องถิ่น และหน่วยบริการปฐมภูมิทุกสังกัด องค์ประกอบทีมหมอครอบครัว หรือ “3 หมอ” ในปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายขับเคลื่อนระบบบริการปฐมภูมิ โดยมีเป้าหมายให้คนไทย 25,000,000 คนมีหมอประจํา ตัวตามแนวทาง 3 หมอ ได้แก่ มี อสม. เป็นหมอประจําบ้าน หมอสาธารณสุข เป็นหมอประจําตําบล และ ทีมหมอครอบครัวเป็น หมอประจําอําเภอ ห น้ า 3 • ร ะ บ บ บ ริ ก า ร สุ ข ภ า พ ใ น ร ะ ดั บ ป ฐ ม ภู มิ แ ล ะ ค ว า ม จำ เ ป็ น พื้ น ฐ า น ด้ า น สุ ข ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น

บทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการดําเนินงานระบบสุขภาพระดับอําเภอ แยกเป็น 3 ส่วน (สํานักการพยาบาล, 2559) ดังนี้ ก1ร. รบมทกบาารทอํขาอเภงอพมยีบาบทาบลาวทิชดาัชงีพนี้ในฐานะทีมระดับอําเภอ เป็นคณะ 1.1 บปมในีรรสิพ่หะืว้สานนารทรนีจ่่ัวงดมากในนาชรก่วธายนรเาพหัคฒลาือรนอสุาปรนักะบบรสบณน์บุเนรพิืกก่อัาบสรทนสีัุมขบรภสะานดุัพนบรกตะําดาัรบบทลํอาํางเาภนอ 1.2 1.3 1.4 ชเุปม็นชผนู้จั(ดDทiํsาcแhผaนrกgาeรจpําlหaนn่า)ยผู้ป่วยจากโรงพยาบาลสู่ M2.AบNทบAาGทEขRองรพะดยับาบตําาลบวลิชทาํชาีบพทในบฐาาทนเปะ็นCผAู้ปSฏEิบัติ ดังนี้ ความ2ร.ั1บผจิัดดกชอารบข้อมูลสุขภาพที่เกี่ยวข้องทุกครอบครัวใน ตชิอดบเต2แีย.ล2งะตชิ่ดวยตเาหมลปือระสเนมัิบนสผนลุนในหคมรออคบรคอรบัวคที่รมัีวผใู้นป่คววยาตมิดรับบ้าผนิด เทรหพี่ืวม่มอมดอ2เูก22พแคัิ.บ.่5.ลม4ร3ทใอปีปนปปมบรรรรรระคะะะสะะสดสริสดััทาัวบาาบนธนในตินตกํภทํทาเีาีาาบขมมบรพตลสใสลกหตรห้นั้าคัใบอวํนบริาผชงใกสิปหากด้นรรชบุึาชีณกนพรรีอิษรสกจทบีะ่านาาดัสรกับ่บงทสีตตมํน่าุอรนบกะัใลดหบั้บรเท่พีอวืม่ํมอารเสดภะูดนแอัับบลเขอผสู้ํา้านปดุ่เูนภวแยอล 3ทํ.างบาทนบร่าวทมขกอับงทพีมยสาหบสาลาขวิาชวาิชชีาพชีใพนฐดัางนนะี้หมอครอบครัว สคไคตคหปเเผอุรตกป้รนิรีนิไ่นอดดอดยลอเี้สบ่/อช่บตวตยบกวคง3อข3คานาค3น้า3ไร.มอบม3.3รเรรด.ั12ั.วัร3้งทบ.วภฝ4.วีัแป5ใย้6ึตทดสงสราหีกใล่้ิร่ม้นยหบรใากนาาทมี/้ะะันัํีนงกรมบคหทมกสาบูาศํ้ีทแรัากาผลาหาากีสๆกัิรลรพมปนรางนดานิปยถ้ระเุใดรผจทราชปนึพน้ั่ดรภใก็ในัาทกูาชอีหนชะพฒา้่แนษนุ้ปปสษไบมพคพัลด์ลสีาํปาญรนั้สุ่ชาใค/เงิเขนะรนลปาทพแนีสอืหวภ้ะแท่ํกยรนธชัอาาาิาึาล์บกกางคนมะนดาใพะ้รนหนษชษใรงเาปํา้นดจคาพนจะอทนาาู็ืฏีกดบ้แิผนครโบม้นนบ่ัดาลาปอ้ัการคดนฐ่รนตยตน้วบอิาราปาสงัยตรๆนเคบนุนวฏทาขสใิรยเใครกส่นนุบคอันภังงวัตรางคแตงิโัคาตดรวิลนคู่พบเรกวแอแทงโมทอบ่าแาลลแลํามแบราเกยกลทป่ีกีดลรค่็ทะูัเนีาบะแป่ร็ผรัูลวน้ ห น้ า 4 • ร ะ บ บ บ ริ ก า ร สุ ข ภ า พ ใ น ร ะ ดั บ ป ฐ ม ภู มิ แ ล ะ ค ว า ม จำ เ ป็ น พื้ น ฐ า น ด้ า น สุ ข ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น

COMMUNITY NURSING 2 ความจําเป็นพื้ นฐานด้านสุขภาพของประชาชน ข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ข้อมูลในระดับครัวเรือนที่แสดงถึงสภาพความจําเป็นพื้นฐานของคนในครัวเรือน ในด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตที่ได้กําหนดมาตรฐานขั้นต่ําเอาไว้ว่า คนควรจะมี คุณภาพชีวิตในแต่ละเรื่องอย่างไรในช่วงระยะเวลาหนึ่งๆ ข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) เป็นข้อมูลที่แสดงถึงลักษณะของสังคมไทยที่พึง ประสงค์ตามเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ําของเครื่องชี้วัดว่า อย่างน้อยคนไทยควรจะมีระดับ ความเป็นอยู่ไม่ต่ํากว่าระดับไหนในช่วงระยะเวลาหนึ่งๆ และทําให้ประชาชนสามารถทราบ ได้ด้วยตนเองว่าในขณะนี้คุณภาพชีวิตของตนเอง ครอบครัว รวมไปถึงหมู่บ้าน/ชุมชน อยู่ในระดับใด มีปัญหาที่จะต้องแก้ไขในเรื่องใดบ้าง เป็นการส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามี ส่วนร่วมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม อันเป็นนโยบายสําคัญในการพัฒนา ประเทศ หลักการของข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน 1. ใช้เครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐานเป็นเครื่องมือของกระบวนการเรียนรู้ของประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อให้ ประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน ทราบถึงสภาพความเป็นอยู่ของตนเองและหมู่บ้าน/ชุมชนว่าบรรลุตามเกณฑ์ความจําเป็น พื้นฐานแล้วหรือไม่ 2. ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา โดยผ่านกระบวนการความจําเป็นพื้นฐาน นับตั้งแต่การกําหนด ปัญหาความต้องการที่แท้จริงของชุมชน ค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหา ตลอดจนการประเมินผลการดําเนินงานที่ผ่านมา 3. ใช้ข้อมูลความจําเป็นพื้นฐานเป็นแนวทางในการคัดเลือกโครงการ กิจกรรมต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับสภาพ ปัญหาที่แท้จริงของหมู่บ้าน/ชุมชน สามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจํากัดได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมี การประสานระหว่างสาขาในด้านการปฏิบัติมากขึ้น วัตถุประสงค์ของข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน เพื่อให้ประชาชนสามารถพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของตนเอง และครอบครัวให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างน้อยผ่าน เกณฑ์ความจําเป็นพื้นฐาน โดยมีเครื่องชี้วัดความจําเป็นพื้นฐานเป็นเครื่องมือ ประโยชน์ของข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน 1. ประชาชน จะได้ทราบข้อมูลสถานการณ์คุณภาพชีวิตของตนเอง และครัวเรือน และสามารถปรับปรุงคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นได้ ด้วยตนเอง ตัวอย่างเช่น การดูแลสุขภาพอนามัย ความเป็นอยู่ และความปลอดภัยของสมาชิกครัวเรือน ฯลฯ 2. ประชาชน สามารถเข้าถึงและได้รับสวัสดิการด้านต่าง ๆ จากรัฐ โดยเฉพาะการช่วยเหลือ สนับสนุนจากภาครัฐอย่างทันท่วงที เมื่อได้รับผลกระทบจากสาธารณภัยหรือภัยพิบัติ เพราะได้ให้ข้อมูลของตนเองไว้กับภาครัฐ 3. ชุมชน โดยคณะกรรมการหมู่บ้าน องค์กร หรือกลุ่มภายในหมู่บ้าน/ชุมชน จะได้ทราบและมีข้อมูลสถานการณ์คุณภาพชีวิต ของประชาชน ครัวเรือน และหมู่บ้าน/ชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อจะได้นําไปใช้ในการวางแผน กําหนดกิจกรรมพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน และ ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน 4. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือภาครัฐที่เกี่ยวข้อง จะได้ทราบและมีข้อมูลสถานการณ์คุณภาพชีวิตของประชาชน ครัวเรือน ชุมชน ตําบล อําเภอ จังหวัด ตลอดจนภาพรวมในระดับประเทศ เพื่อนําไปใช้กําหนดนโยบาย วางแผนปฏิบัติการ กําหนดกิจกรรม เพื่อแก้ไข ปัญหา และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน 5. ภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน กลุ่ม องค์กร หรือสถาบันที่เกี่ยวข้อง สามารถเข้าถึงประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย ตามสภาพปัญหาได้อย่างทั่วถึง ทุกพื้นที่ เขตชนบทหรือเขตเมือง ทั้งในกรณีปกติ และกรณีเร่งด่วน 6. ภาคเอกชน สามารถนําข้อมูลในภาพรวมระดับหมู่บ้าน/ชุมชนขึ้นไป ไปใช้ในการตัดสินใจ และวางแผนทางธุรกิจ ซึ่งจะมีส่วน สนับสนุน ส่งเสริมการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนอีกทางหนึ่ง ห น้ า 5 • ร ะ บ บ บ ริ ก า ร สุ ข ภ า พ ใ น ร ะ ดั บ ป ฐ ม ภู มิ แ ล ะ ค ว า ม จำ เ ป็ น พื้ น ฐ า น ด้ า น สุ ข ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น

เครื่องชี้วัดข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) เครื่องชี้วัดข้อมูลความจําเป็นพื้นฐาน ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 ( พ.ศ. 2560-2564 ) มี 5 หมวด 31 ตัวชี้วัด ดังนี้ หมวดที่ 1 สุขภาพ มี 7 ตัวชี้วัด หมวดที่ 2 สภาพแวดล้อม มี 7 ตัวชี้วัด หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด หมวดที่ 4 การมีงานทําและรายได้ มี 4 ตัวชี้วัด หมวดที่ 5 ค่านิยม มี 8 ตัวชี้วัด ห น้ า 6 • ร ะ บ บ บ ริ ก า ร สุ ข ภ า พ ใ น ร ะ ดั บ ป ฐ ม ภู มิ แ ล ะ ค ว า ม จำ เ ป็ น พื้ น ฐ า น ด้ า น สุ ข ภ า พ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น

3 เรื่อง การพยาบาลอนามัยครอบครัว : แนวคิดและหลักการดูแลสุขภาพครอบครัว

\"ครอบครัว\" ครอบครัว คือ กลุ่มคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปที่ อาศัยอยู่ร่วมกัน หรืออาจไม่ได้อาศัยอยู่ร่วมกันแต่คน เหล่านั้นมีความคิดว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว และมีการก่อตั้งขึ้นเป็นครอบครัว มีความเกี่ยวข้องใน การดําเนินชีวิตของกันและกัน มีเป้าหมายการดําเนิน ชีวิตร่วมกัน มีการพึ่งพิงกันทางสังคม เศรษฐกิจ และ มีการติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนความรู้สึกกันอย่างต่อ เนื่อง โดยกลุ่มคนเหล่านี้จะมีการรักษาวัฒนธรรมเดิม และอาจสร้างสรรค์วัฒนธรรมเพิ่มเติม ให้เหมาะสมกับ การดําเนินชีวิต ซึ่งกลุ่มคนเหล่านั้นอาจมีความสัมพันธ์ กันทางสายโลหิต การสมรส ทางกฎหมาย หรือมีความ ผูกพันการทางอารมณ์และจิตใจ โดยแต่ละครอบครัวมี โครงสร้าง รูปแบบ และลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกัน ตามการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรประเพณี เศรษฐกิจ และสังคม ประเภทของครอบครัว 1 ) ค ร อ บ ค รั ว ใ น อ ดี ต ค ร อ บ ค รั ว ใ น อ ดี ต นี้ ส า ม า ร ถ จํ า แ น ก ต า ม โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง ค ร อ บ ค รั ว ไ ด้ ดั ง นี้ - ครอบครัวเดี่ยว (NUCLEAR FAMILY) หมายถึ ง ครอบครัวที่ ประกอบ ด้วยสามี ภรรยาและบุ ตร - ครอบครัวขยาย (EXTENDED FAMILY) หมายถึ ง ครอบครัวที่ ประกอบ ด้วยเครือญาติ อาศั ยอยู่ร่วมกั นประกอบไปด้วยคน 3 รุ่น คื อ รุ่นปู่-ย่า ตา-ยาย รุ่นบิดา-มารดา และรุ่นบุ ตร อาศั ยอยู่ในครอบครัวเดียวกั น ห น้ า 7 • ก า ร พ ย า บ า ล อ น า มั ย ค ร อ บ ค รั ว : แ น ว คิ ด แ ล ะ ห ลั ก ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ ค ร อ บ ค รั ว

2 ) ค ร อ บ ค รัว ปั จ จุ บั น ผ ล จ า ก ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ ค ว า ม เ จ ริญ ก้ า ว ห น้ า ท า ง เ ท ค โ น โ ล ยี ทํ า ใ ห้ ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง ค ร อ บ ค รัว เ ป ลี่ ย น ป ล ง ไ ป จ า ก เ ดิ ม ไ ด้ แ ก่ ค ร อ บ ค รัว เ ลี้ ย ง เ ดี่ ย ว ที่ มี เ ฉ พ า ะ บิ ด า ห รือ ม า ร ด า ที่ เ ลี้ ย ง บุ ต ร ต า ม ลํ า พั ง ค ร อ บ ค รัว ที่ มี ส ม า ชิก ใ น ค ร อ บ ค รัว เ พี ย ง ค น เ ดี ย ว ค ร อ บ ค รัว ที่ อ ยู่ ร่ว ม กั น เ ฉ พ า ะ ญ า ติ พี่ น้ อ ง ค ร อ บ ค รัว ที่ คู่ ค ร อ ง เ ป็ น เ พ ศ เ ดี ย ว กั น ห รือ ค ร อ บ ค รัว ที่ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ส ม า ชิก ที่ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น เ ค รือ ญ า ติ ห รือ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น ส า ย เ ลื อ ด เ ดี ย ว กั น อ ยู่ ร่ว ม กั น เ ช่น ค ร อ บ ค รัว ที่ รับ เ ด็ ก เ ป็ น บุ ต ร บุ ญ ธ ร ร ม ค ร อ บ ค รัว ที่ เ ป็ น เ พื่ อ น กั น ส า มี ภ ร ร ย า ที่ อ ยู่ ร่ว ม กั น โ ด ย มิ ไ ด้ จ ด ท ะ เ บี ย น ส ม ร ส เ ป็ น ต้ น ห น้ า 8 • ก า ร พ ย า บ า ล อ น า มั ย ค ร อ บ ค รั ว : แ น ว คิ ด แ ล ะ ห ลั ก ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ ค ร อ บ ค รั ว

หน้าที่ของครอบครัว (FAMILY FUNCTIONS) 1. การผลิตสมาชิกใหม่ (REPRODUCTIVE FUNCTION) 2. การให้ความรักความเอาใจใส่ (AFFECTIVE FUNCTION) 3. การอบรมเลี้ยงดู (SOCIALIZATION FUNCTION) 4. การเผชิญปัญหาของครอบครัว (FAMILY COPING FUNCTION) 5. การดูแลทางด้านเศรษฐกิจ (ECONOMIC FUNCTION) 6. การดูแลสุขภาพครอบครัว (HEALTH CARE FUNCTION) 7. การจัดหาสิ่งจําเป็นพื้นฐานทางกายภาพสําหรับสมาชิก (PROVISION OF PHYSICAL NECESSITIES) ห น้ า 9 • ก า ร พ ย า บ า ล อ น า มั ย ค ร อ บ ค รั ว : แ น ว คิ ด แ ล ะ ห ลั ก ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ ค ร อ บ ค รั ว

แผนภูมิครอบครัว/ผังเครือญาติ (GENOGRAM) และแผนผังนิเวศครอบครัว (ECOMAP) 1 ) แ ผ น ภูมิค ร อ บ ค รัว ( G E N O G R A M ) เ ป็ น แ ผ น ภูมิแ ส ด ง ใ ห้เ ห็น ภ าพ ค ว าม ซับ ซ้อ น ขอ ง รูป แ บ บ ค ร อ บ ค รัว ใ น ช่ว ง เ ว ล า ที่ สํา คั ญ โ ด ย ม าก มัก จ ะ เ ขีย น ค ว าม สัม พัน ธ์ข อ ง ส ม าชิก 3 รุ่น ขึ้ น ไป แ ผน ภูมินี้ แ ส ด ง ร า ย ล ะ เ อี ย ด เ กี่ ย ว กั บ เ ห ตุก า ร ณ์ ต่ าง ๆ ข อ ง ชีวิต ไ ด้แ ก่ ก าร เ กิ ด ก า ร ต าย ก าร ส ม ร ส ก าร หย่า ร้า ง ก า ร เ จ็บ ป่ ว ย เ ป็ น ต้ น น อ ก จ า ก นี้ ยัง แ ส ด ง ใ ห้เ ห็น ถึ ง ลัก ษ ณ ะ ข อ ง ส ม าชิก ใ น ค ร อ บ ค รัว ได้แ ก่ เ ชื้ อ ช า ติ ศ า ส น า ฐ า น ะ ท า ง สัง ค ม อ า ชีพ เ ป็ น ต้ น ซึ่ ง เ ป็ น สิ่ง ที่ ช่ว ย ใ ห้ม อ ง เ ห็น พ ฤ ติ ก ร ร ม ขอ ง ส ม าชิก แ ล ะ ปั ญ ห า ข อ ง ค ร อ บ ค รัว ไ ด้ 2 ) แ ผ น ผั ง นิ เ ว ศ ค ร อ บ ค รัว / แ ผ น ที่ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ ( E C O M A P ) เ ป็ น แ ผ น ภู มิ แ ส ด ง ค ว า ม เ กี่ ย ว ข้ อ ง ร ะ ห ว่ า ง ค ร อ บ ค รัว แ ล ะ ร ะ บ บ อื่ น ๆ ใ น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ด้ า น นิ เ ว ศ วิ ท ย า ข อ ง ค ร อ บ ค รัว ซึ่ ง แ ส ด ง ต า ม คํ า บ อ ก เ ล่ า ข อ ง ส ม า ชิ ก ใ น ค ร อ บ ค รัว โ ด ย ว ง ก ล ม ต ร ง ก ล า ง แ ท น ค ร อ บ ค รัว ที่ ศึ ก ษ า ว ง ก ล ม เ ล็ ก ร อ บ ด้ า น จ ะ แ ท น ป ร ะ ช า ก ร แ ล ะ ร ะ บ บ อื่ น เ ช่ น โ ร ง เ รีย น ห รือ ส ถ า น ที่ ทํ า ง า น แ ผ น ผั ง นิ เ ว ศ ค ร อ บ ค รัว เ ป็ น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ เ ค รือ ข่ า ย ค ร อ บ ค รัว ค ร อ บ ค รัว เ ป็ น ร ะ บ บ นิ เ ว ศ น์ ห นึ่ ง ที่ รัก ษ า ส ม ดุ ล ร ะ ห ว่ า ง สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ภ า ย ใ น แ ล ะ ภ า ย น อ ก ค ร อ บ ค รัว บ า ง ค รั้ง ค ร อ บ ค รัว ต้ อ ง ป รับ ตั ว ใ ห้ เ ป็ น ร ะ บ บ เ ปิ ด เ พื่ อ รับ ก า ร ช่ ว ย เ ห ลื อ จ า ก สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ภ า ย น อ ก ค ร อ บ ค รัว ไ ด้ แ ก่ ชุ ม ช น เ พื่ อ น บ้ า น เ พื่ อ น ร่ว ม ง า น เ ป็ น ต้ น ซึ่ ง ต้ อ ง พิ จ า ร ณ า ใ น 3 ป ร ะ เ ด็ น คื อ 1 ) ก า ร รับ รู้ค ว า ม รู้สึ ก ใ ก ล้ ชิ ด ข อ ง ค ร อ บ ค รัว กั บ บุ ค ค ล / ก ลุ่ ม ค น ต่ า ง ๆ ภ า ย น อ ก ค ร อ บ ค รัว 2 ) แ ห ล่ ง ป ร ะ โ ย ช น์ ที่ พึ่ ง พ า ไ ด้ ใ น ก ร ณี ที่ ค ร อ บ ค รัว ป ร ะ ส บ ปั ญ ห า 3 ) แ ห ล่ ง ป ร ะ โ ย ช น์ นั้ น ง่ า ย ต่ อ ก า ร ติ ด ต่ อ แ ล ะ ก า ร เ ข้ า ถึ ง ห รือ ไ ม่ ห น้ า 1 0 • ก า ร พ ย า บ า ล อ น า มั ย ค ร อ บ ค รั ว : แ น ว คิ ด แ ล ะ ห ลั ก ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ ค ร อ บ ค รั ว

แนวคิดการพยาบาลครอบครัว รีส | ห น้ า 2 การพยาบาลครอบครัว เป็นการปฏิบัติการพยาบาลโดยอาศัยแนวคิดการดูแลสุขภาพแบบองค์ รวมและการมีส่วนร่วมของสมาชิกทุกคนในครอบครัวในทุกขั้นตอนของการดูแลตั้งแต่การประเมิน ภาวะสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว การกําหนดปัญหา วางแผนการพยาบาล การลงมือปฏิบัติ และ การประเมินผล เพื่อให้ครอบครัวสามารถดูแลตนเองได้อย่างต่อเนื่อง จนสามารถยกระดับภาวะ สุขภาพของตนเองให้เข้าสู่ภาวะปกติหรืออยู่ในภาวะที่ดีที่สุด สามารถดําเนินชีวิตอย่างมีความสุขตาม อัตภาพ และตายอย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ความหมายการพยาบาลครอบครัวและพยาบาลครอบครัว การพยาบาลครอบครัว หมายถึง การพยาบาลที่ให้กับครอบครัวและสมาชิกครอบครัว ทั้ง ในภาวะสุขภาพดีและเจ็บป่วย เพื่ อส่งเสริมสุขภาพและลดความทุกข์ทรมานจากการเจ็บป่วยของ ครอบครัวและสมาชิกครอบครัว ช่วยให้สมาชิกและครอบครัวปรับเข้าสู่ภาวะสมดุลและปฏิบัติ บทบาทหน้าที่ครอบครัวได้อย่างเหมาะสม และคงไว้ซึ่งความมีศักดิ์ศรีของครอบครัว (จินตนา วัชรสินธุ์, 2555) พยาบาลครอบครัว หมายถึง พยาบาลวิชาชีพที่ให้การดูแลองค์รวมที่มุ่งให้สมาชิกและ ครอบครัวสามารถจัดการดูแลส่งเสริมสุขภาพในทุกภาวะสุขภาพ และเผชิญความเจ็บป่วยหรือภาวะ วิกฤตได้ และเน้นการทํางานร่วมกันกับผู้ป่วยและครอบครัว โดยอาจปฏิบัติงานทั้งที่บ้านของผู้ป่วย กับครอบครัวและที่สถานบริการสุขภาพ หลั กสําคั ญการพยาบาลครอบครัว 1. การพยาบาลครอบครัวต้องคํานึงถึงประสบการณ์การป่วยของครอบครัวทั้งในอดีต ปัจจุบัน และ อนาคต 2. การพยาบาลครอบครัวต้องให้ความสําคัญกับสัมพันธภาพระหว่างสมาชิกในครอบครัว 3. การพยาบาลครอบครัวครอบคลุมทั้งสมาชิกที่เจ็บป่วยและแข็งแรง 4. พยาบาลครอบครัวต้องสื่อสาร ให้ข้อมูลแก่สมาชิกในครอบครัวอย่างครอบคลุมไม่เบี่ยงเบนข้อมูล ซึ่งข้อมูล ข่าวสารที่ให้ต้องเป็นจริงและมีประโยชน์ต่อสมาชิกที่ป่วยและครอบครัว 5. การมีส่วนร่วมของครอบครัวในการดูแลสุขภาพเป็นสิ่งสําคัญในการพยาบาลครอบครัว 6. การเสริมสร้างพลังอํานาจให้สมาชิกในครอบครัวมีความสําคัญต่อสมาชิกที่ป่วย พยาบาลจึงควร เน้นการเสริมสร้างพลังอํานาจครอบครัวให้เป็นเป้าหมายหลักของการพยาบาลครอบครัว 7. การพยาบาลครอบครัวต้องคํานึงถึงวัฒนธรรมของชุมชนและของครอบครัว พยาบาลต้องให้การ พยาบาลครอบครัวที่มีวัฒนธรรม ความเชื่อ ค่านิยม และการปฏิบัติในการดูแลสุขภาพที่แตกต่างกัน 8. การพัฒนาการประสานงานระหว่างครอบครัว พยาบาล และทีมสุขภาพเป็นสิ่งสําคัญสําหรับการ พยาบาลครอบครัว ทําให้ครอบครัวเกิดผลลัพธ์การดูแลที่ดีเกิดประสบการณ์ด้านบวก และก่อให้เกิดความพึง พอใจในการพยาบาลครอบครัว ห น้ า 1 1 • ก า ร พ ย า บ า ล อ น า มั ย ค ร อ บ ค รั ว : แ น ว คิ ด แ ล ะ ห ลั ก ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ ค ร อ บ ค รั ว

บทบาทพยาบาลครอบครัว 1. ผู้ให้การดูแลสุขภาพ (Health care provider) 2. ผู้ค้นหาผู้ป่วย (Case finder) 3. ผู้ให้ความรู้ด้านสุขภาพ (health educator) 4. ผู้ให้คําปรึกษา (Counselor) 5. ผู้ร่วมงาน (Collaborator) 6. ผู้ประสานงาน (Coordinator) 7. ผู้จัดการดูแล (Care Manager) 8. ผู้รักษาประโยชน์หรือพิทักษ์สิทธิ์ของผู้รับบริการ (Client advocate) 9. ผู้นํา/ผู้นําการเปลี่ยนแปลง (leader/change agent) 10. ผู้วิจัยและนวตกร (researcher/innovator) ห น้ า 1 2 • ก า ร พ ย า บ า ล อ น า มั ย ค ร อ บ ค รั ว : แ น ว คิ ด แ ล ะ ห ลั ก ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ ค ร อ บ ค รั ว

แนวทางที่ใช้ในการ พยาบาลครอบครัว 4.1 การดูแลครอบครัวในฐานะครอบครัวเป็นบริบท (Family as context) 4.2 การดูแลครอบครัวในฐานะครอบครัวเป็นผู้รับบริการ (Family as client) 4.3 การดูแลครอบครัวในฐานะครอบครัวเป็นระบบ (Family as a system) 4.4 การดูแลครอบครัวในฐานะองค์ประกอบของสังคม/ เป็นหน่วยหนึ่งของสังคม (Family as a component of society) ก า ร พ ย า บ า ล ค ร อ บ ค รั ว โดยใช้ชุ มชนเป็นฐาน ปรัชญาและแนวคิ ดของการพยาบาลครอบครัวโดย ใช้ชุ มชนเป็ นฐาน มีดังนี้ 1. การให้บริการดูแลและการรักษาพยาบาล ตั วอย่างต่ อเนื่ องในสถานที่ ที่ ผู้ป่วยมีความคุ้ นเคย ซึ่ ง มักจะเป็ นบ้านของผู้ป่วยหรือครอบครัว 2. ผู้ป่วยและครอบครัวเป็ นผู้รับผิดชอบ โดยตรง กั บการตั ดสินใจที่ เกี่ ยวข้องกั บการดูแล สุ ข ภ า พ ข อ ง ผู้ ป่ ว ย 3. ปฏิ บัติ การพยาบาลองค์ การดูแลผู้ป่วยให้ เป็ นไปตามแผนการรักษาที่ มีประสิทธิผล (EFFECTIVE TREATMENT) มากกว่าการใช้ เครื่ องมือหรือเทคโนโลยีที่ มีความซับซ้อนและยุ่ง ยาก เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง ก า ร พ ย า บ า ล ค ร อ บ ค รัว โ ด ย ใ ช้ ชุ มชนเป็ นฐาน คื อ การช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการดูแล และ รักษาพยาบาลอย่างเต็ มศั กยภาพในบ้านของผู้ ป่วยเอง การช่วยให้ผู้ป่วยและครอบครัวสามารถ จัดการกั บปั ญหาสุขภาพที่ เกิ ดขึ้ นอย่างฉั บพลันและ เรื้ อรัง การช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ ดีขึ้ นภายใต้ สภาพแวดล้อมที่ เหมาะสม และการลดความถี่ ใน การกลับเข้ารักษาในโรงพยาบาลโดยไม่จําเป็ น ห น้ า 1 3 • ก า ร พ ย า บ า ล อ น า มั ย ค ร อ บ ค รั ว : แ น ว คิ ด แ ล ะ ห ลั ก ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ ค ร อ บ ค รั ว

องค์ประกอบสําคัญของปฏิบัติการพยาบาลครอบครัวที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน มีดังนี้ 1. การดูแลตนเอง (SELF-CARE) การดูแลรักษาที่บ้าน ผู้ป่วยและครอบครัวเป็นผู้รับผิดชอบการดูแล ผู้ ป่วยโดยตรง การพยาบาลจึงเกี่ยวข้องกับการให้การดูแลผู้ป่วยเมื่ อมีการเยี่ยมบ้าน (HOME VISIT) ร่วมกับ การติดตามและประเมินผลการพยาบาล พยาบาลที่ให้การดูแลผู้ป่วยที่บ้านต้องสอนให้ผู้ป่วยและครอบครัว 2. การดูแลด้านป้องกัน (PREVENTIVE CARE) การพยาบาลที่ใช้ชุมชนเป็นฐานจะเน้นการป้องกันระดับ ทุ ติ ย ภู มิ แ ล ะ ต ติ ย ภู มิ เ ป็ น ห ลั ก 3. การดูแลและให้การพยาบาลอย่างต่อเนื่ อง (CONTINUITY CARE) ผู้ป่วยที่ต้องการดูแลรักษาที่บ้าน มักเป็นผู้ป่วยเรื้อรังที่ต้องใช้เวลาในการรักษาพยาบาลต่อเนื่ อง 4. การประสานความร่วมมือ (COLLABORATION) การพยาบาลโดยใช้ชุมชนเป็นฐานเป็นการปฏิบัติการ ดู แ ล ผู้ ป่ ว ย ร่ว ม กั บ ส ห ส า ข า วิ ช า ชี พ เริ่มจากการวางแผนร่วมกันในการจําหน่ายผู้ป่วยจากโรงพยาบาลเพื่ อ ให้การดูแลต่อที่บ้าน แพทย์เป็นผู้รับผิดชอบในการวางแผนการรักษา พยาบาลรับผิดชอบในการดูแลผู้ป่วยให้ เป็นไปตามแผนการรักษาพยาบาล นักกายภาพ โภชนากรหรือวิชาชีพอื่ นที่เกี่ยวข้องอย่างรับผิดชอบการดูแลผู้ ป่วยตามสายงานของตนเอง ห น้ า 1 4 • ก า ร พ ย า บ า ล อ น า มั ย ค ร อ บ ค รั ว : แ น ว คิ ด แ ล ะ ห ลั ก ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ ค ร อ บ ค รั ว

6 การพยาบาลอนามัยครอบครั ว : ห ลั ก ก า ร เ ยี่ย ม แ ล ะ ส่ ง เ ส ริม สุ ข ภ า พ ค ร อ บ ค รั ว

ความหมายของการ หน้ า 15 เ ยี่ ย ม ค ร อ บ ค รั ว เป้าหมายและวัตถุประสงค์ ก า ร พ ย า บ า ล ค ร อ บ ค รัว ห รือ ของการเยี่ยมครอบครัว ก า ร เ ยี่ ย ม ค ร อ บ ค รัว จึ ง ห ม า ย ถึง การให้บริการด้านสุขภาพ 1. เพื่อศึกษาและรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ของบุคคล ครอบครัว และชุมชน แล้วนํามา เ ชิ ง รุ ก ใ น พิจารณาวางแผน ก า ร ดู แ ล สุ ข ภ า พ ข อ ง บุ ค ค ล แ ล ะ ช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสมกับสภาพปัญหา ค ร อ บ ค รัว ใ น ทุ ก ก ลุ่ ม อ า ยุ แ ล ะ 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชนในการดูแลตนเอง จากการได้รับ สถานะสุขภาพ โดยการทํางาน ความรู้ ร่ว ม กั น ร ะ ห ว่ า ง คําแนะนํา และการปฏิบัติตัวเมื่อเจ็บป่วย โดยบุคลากรทีมสุขภาพ ทีมสหสาขาวิชาชีพ เพื่ อให้ผู้รับ 3. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคและอัตราการตายของประชากรในชุมชน จากการให้การดูแล บ ริก า ร ส า ม า ร ถ ดู แ ล ต น เ อ ง ไ ด้ อย่างต่อเนื่อง เมื่ อเกิดการเจ็บป่วย ปฏิบัติ และการให้คําแนะนําประชาชนให้สามารถพึ่งตนเองเมื่อเกิดปัญหาสุขภาพได้ ต า ม แ น ว ท า ง ก า ร รัก ษ า 4. เพื่อปรับปรุงสิ่งแวดล้อมที่บ้านให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว ได้อย่างถูกต้อง และดํารงไว้ซึ่ง 5. เพื่อพัฒนาบริการสาธารณสุขที่มุ่งเน้นให้บริการเชิงรุกไปสู่ครอบครัวและชุมชนอย่างมี ภ า ว ะ สุ ข ภ า พ ดี ต า ม ส ภ า พ ข อ ง ระบบ แ ต่ ล ะ บุ ค ค ล แ ล ะ ค ร อ บ ค รัว ห น้ า 1 5 • ก า ร พ ย า บ า ล อ น า มั ย ค ร อ บ ค รั ว : ห ลั ก ก า ร เ ยี่ ย ม แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ ค ร อ บ ค รั ว

thaihealth.or.th การแบ่งกลุ่มภาวะสุขภาพครอบครัว สามารถจําแนกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ 1) กลุ่มภาวะสุขภาพดี (Wellness condition) คือภาวะที่บุคคลหรือครอบครัวมี สุขภาพแข็งแรง มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม หรืออาจมีผู้ป่วยอาศัยอยู่ใน ครอบครัวแต่มีการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับโรคที่เหมาะสม 2) กลุ่มภาวะสุขภาพคุกคาม (Health threat) คือภาวะที่บุคคลหรือครอบครัวเสี่ยง ต่อการเกิดปัญหาสุขภาพหรือความเจ็บป่วยต่าง ๆ 3) กลุ่มภาวะสุขภาพบกพร่อง (Health deficit) คือภาวะที่ไม่ปกติทั้งทางร่างกาย และจิตใจของบุคคลหรือครอบครัว 4) กลุ่มภาวะวิกฤต (Crisis situation) คือภาวะที่บุคคลหรือครอบครัวเผชิญกับ ความเปลี่ยนแปลงและต้องการปรับตัว ห ลั ก ก า ร จั ด ลํ า ดั บ ก า ร เ ยี่ ย ม ค ร อ บ ค รัว หลักความเร่งด่วน หมายถึง ความต้องการหรือความจําเป็นที่ต้องให้การ ช่วยเหลือโดยเร็ว มิฉะนั้นจะเกิดผลเสียแก่ผู้รับบริการหรือครอบครัว หลักการป้องกันการแพร่กระจายเชื้ อ หมายถึง การป้องกันการแพร่กระจาย เชื้ อจากบุคคลหนึ่ งไปสู่อีกบุคคลหนึ่ ง หรือจากครอบครัวหนึ่ งไปสู่อีกครอบครัว หนึ่ ง ก า ร แ บ่ ง ร ะ ย ะ ก า ร เ ยี่ ย ม ค ร อ บ ค รัว ในการเยี่ยมครอบครัวสามารถแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะก่อนเยี่ยมครอบครัว เป็นระยะการเตรียมการก่อนการเยี่ยม ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย กิ จ ก ร ร ม ดั ง นี้ 1) การเตรียมข้อมูล 2) การเตรียมตัวผู้เยี่ยม 3) การเตรียมอุ ปกรณ์และเครื่องมือต่าง ๆ ที่จําเป็นสําหรับราย เยี่ยมหรือครอบครัวแต่ละครอบครัวและสมุดบันทึกเพื่ อทําการ บันทึกข้อมูลของครอบครัวโดยย่อ แล้วจึงนํามาบันทึกในแฟ้ม ค ร อ บ ค รัว ภ า ย ห ลั ง 4) การจัดลําดับการเยี่ยม 5) การติดต่อนัดหมายกับครอบครัวที่จะเข้าเยี่ยม รวมถึง ป ร ะ ส า น ง า น กั บ ผู้ นํ า ชุ ม ช น แ ล ะ ห น่ ว ย ง า น ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ร ะ ย ะ เ ยี่ ย ม ค ร อ บ ค รัว 1) สร้างสัมพันธภาพกับครอบครัว 2) เก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม 3) การร่วมกับครอบครัวในการระบุข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล วางแผนการพยาบาล และลงมือการ ป ฏิ บั ติ ก า ร พ ย า บ า ล ร ะ ย ะ ห ลั ง เ ยี่ ย ม ค ร อ บ ค รัว 1) ทําความสะอาดอุ ปกรณ์และตรวจเช็คความเรียบร้อยของกระเป๋าเยี่ยม เพื่ อความสะดวกพร้อมใช้สําหรับการเยี่ยมครั้งต่อไป 2) บันทึกรายงานการเยี่ยมครอบครัว ห น้ า 1 6 • ก า ร พ ย า บ า ล อ น า มั ย ค ร อ บ ค รั ว : ห ลั ก ก า ร เ ยี่ ย ม แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ ค ร อ บ ค รั ว

หน้ า 21 เครื่องมือและอุปกรณ์การเยี่ยมครอบครัว 4.1 กระเป๋าเยี่ยมบ้าน ในกระเป๋าเยี่ยมบ้านประกอบด้วยอุปกรณ์ดัง ต่อไปนี้ อุปกรณ์สําหรับล้างมืออาจเป็นสบู่หรือน้ํายาทําความสะอาด มือ 75% Alcohol ผ้าเช็ดมือ ชามรูปไต อุปกรณ์สําหรับทําแผล และ อุปกรณ์สําหรับตรวจร่างกายเบื้องต้น 4.2 เครื่องมือที่ต้องเตรียมเฉพาะรายเยี่ยม หมายถึงเครื่องมืออื่น ๆ ที่มีความจําเป็นต่อการให้บริการสมาชิกครอบครัวเฉพาะราย เช่น อุปกรณ์และแบบบันทึกการประเมินพัฒนาการเด็ก (Denver Developmental Screening test record) แบบประเมินการ เจริญเติบโต แบบประเมินความสามารถในการดําเนินชีวิตประจําวัน ของผู้สูงอายุ (Barthel ADL index) แบบประเมินความเครียด แบบประเมินความเสี่ยงต่อการหกล้ม เป็นต้น 4.3 อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น เครื่องชั่งน้ําหนัก หรือสื่อการสอนต่าง ๆ เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคําแนะนําใน การดูแลสุขภาพได้ถูกต้อง เช่น แบบจําลองฟัน โปสเตอร์หรือคลิป วิดีโอสาธิตวิธีการออกกําลังกาย เป็นต้น บ้านมีสุขเวชภัณฑ์ ห น้ า 1 7 • ก า ร พ ย า บ า ล อ น า มั ย ค ร อ บ ค รั ว : ห ลั ก ก า ร เ ยี่ ย ม แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ ค ร อ บ ค รั ว

กระบวนการพยาบาล ใ น ก า ร เ ยี่ ย ม ค ร อ บ ค รั ว การประเมินครอบครัว การประเมินครอบครัว คือ การศึกษาครอบครัวในฐานะผู้รับบริการ มีเป้าหมาย เพื่ อรวบรวมข้อมูล โดยพยาบาลและครอบครัวร่วม กั น จํ า แ น ก ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร แ ล ะ ร่ว ม กั น ว า ง แ ผ น ก า ร ดู แ ล ที่ จ ะ ทํ า ใ ห้ ส ม า ชิ ก แ ล ะ ค ร อ บ ค รัว โ ด ย ร ว ม บ ร ร ลุ ศั ก ย ภ า พ สู ง สุ ด การวินิจฉัยปัญหาสุขภาพครอบครัว หลังจากการ เก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เพิ่มเติมจะทําให้พยาบาล ส า ม า ร ถ ม อ ง เ ห็ น ปั ญ ห า ห รือ ก า ร ต้ อ ง ก า ร ค ว า ม ช่ ว ย เหลือของครอบครัว และมีข้อมูลเพียงพอสําหรับ นํ า ม า ร ะ บุ ข้ อ วิ นิ จ ฉั ย ท า ง ก า ร พ ย า บ า ล ค ร อ บ ค รัว ไ ด้ อย่างครอบคลุม ซึ่งข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลจะ เป็นพื้ นฐานของการเลือกวิธีให้การพยาบาล เพื่ อ บ ร ร ลุ ผ ล ลั พ ธ์ แ ล ะ อ ยู่ ใ น ข อ บ เ ข ต ค ว า ม รับ ผิ ด ช อ บ ของพยาบาล(RALPH & TAYLOR, 2011) ก า ร กํ า ห น ด ข้ อ วิ นิ จ ฉั ย ท า ง ก า ร พ ย า บ า ล ค ร อ บ ค รัว แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ (วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย, 2554: 295) 1) การวินิจฉัยการพยาบาลในระดับบุคคล (INDIVIDUAL NURSING DIAGNOSES) เป็นการให้ความสําคัญเฉพาะบุคคลใดบุคคลหนึ่ งที่ ประเมินแล้วว่าเป็นเป้าหมายของการดูแล โดย วินิจฉัยเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพ เช่น ปัญหาการเจ็บ ป่วย การพักผ่อนนอนหลับ การออกกําลังกายหรือ การขับถ่าย เป็นต้น 2) การวินิจฉัยการพยาบาลปฏิสัมพันธ์ระหว่าง บุคคล (INTERPERSONAL NURSING DIAGNOSES) เป็นการค้นหาความต้องการหรือ ประสิทธิภาพของปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เช่น การ ปรับตัว การแก้ปัญหา บทบาทการเป็นบิดามารดา การแยกตัวและการสื่ อสาร เป็นต้น 3) การวินิจฉัยการพยาบาลครอบครัว (FAMILY NURSING DIAGNOSSIS) ห น้ า 1 8 • ก า ร พ ย า บ า ล อ น า มั ย ค ร อ บ ค รั ว : ห ลั ก ก า ร เ ยี่ ย ม แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ ค ร อ บ ค รั ว WANDERING THE WORLD

ห น้ า 1 • ก า ร เ ดิ น ท า ง ก า ร ว า ง แ ผ น ดู แ ล สุ ข ภ า พ ค ร อ บ ค รั ว ก า ร ป ฏิ บั ติ ก า ร 1 ) ก า ร จั ด ลํ า ดั บ ค ว า ม สํ า คั ญ ข อ ง ปั ญ ห า พ ย า บ า ล ค ร อ บ ค รั ว เ ก ณ ฑ์ ที่ นํ า ม า พิ จ า ร ณ า จั ด ลํ า ดั บ ค ว า ม สํ า คั ญ ไ ด้ แ ก่ เป็นการนําแผนการพยาบาลที่วางไว้ไปปฏิบัติ ซึ่งพยาบาล ควรตระหนักถึงการมีส่วนร่วมของครอบครัว โดยเปิดโอกาสให้ - ค ว า ม ส น ใ จ ข อ ง ค ร อ บ ค รัว ผู้ป่วยและผู้ดูแลผู้ป่วยที่บ้าน (caregiver) ได้แสดงความรู้สึก - ค ว า ม รุ น แ ร ง ข อ ง ปั ญ ห า หรือความต้องการการช่วยเหลือ และพยาบาลควรคํานึงถึงการ - ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า เสริมสร้างพลังอํานาจ ให้สมาชิกในครอบครัวเกิดความมั่นใจและ สามารถปฏิบัติการดูแลตนเองและผู้ป่วยในครอบครัวได้ 2 ) ก า ร กํ า ห น ด วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ แ ล ะ เ ก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร กํ า ห น ด เ ก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล แ บ่ ง เ ป็ น 2 ร ะ ย ะ คื อ - เ ก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ร ะ ย ะ ย า ว ห รือ เ ป้ า ห ม า ย ขั้ น สู ง สุ ด คื อ ค ว า ม มี สุ ข ภ า พ ดี ที่ สุ ด - เ ก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ร ะ ย ะ สั้ น ตั้ ง ไ ว้ เ พื่ อ ชี้ใ ห้เ ห็น ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ข อ ง ก า ร พ ย า บ า ล ที่ ว า ง ไ ว้ 3 ) ก า ร กํ า ห น ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร พ ย า บ า ล ค ว ร มี ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม กั บ บ ริบ ท ข อ ง ค ร อ บ ค รัว ห น้ า 1 9 • ก า ร พ ย า บ า ล อ น า มั ย ค ร อ บ ค รั ว : ห ลั ก ก า ร เ ยี่ ย ม แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ ค ร อ บ ค รั ว

ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล 1) การประเมินรายครั้ง (FORMATIVE EVALUATION) เป็นการประเมินขณะเยี่ยมครอบครัว ผลจากการประเมินรายครั้ง จะนํามาใช้ปรับเปลี่ยนเป้าหมายการพยาบาล วัตถุประสงค์ วิธีการปฏิบัติการพยาบาล และลําดับความสําคัญของการพยาบาล 2) การประเมินสุดท้าย (SUMMATIVE EVALUATION) เป็นการประเมินเมื่ อต้องการสิ้นสุดการเยี่ยมครอบครัวและใช้สรุปผล ของการประเมินที่เกิดขึ้ นว่าบรรลุเป้าหมายตามที่วางไว้หรือไม่และยังมีสิ่งที่ครอบครัวต้องการความช่วยเหลืออีกหรือไม่เพื่ อการ ส่งต่อที่ถูกต้อง สิ่งที่ควรประเมินผลการเยี่ยมครอบครัว มีดังนี้ (วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย, 2554: 300) - ตรวจสอบเป้าหมายที่พยาบาลและครอบครัววางไว้ร่วมกัน - ตรวจสอบผลที่เกิดขึ้ นกับสมาชิกที่มีปัญหาสุขภาพ โดยพิจารณาว่าผลของการพยาบาลที่ได้รับเป็นอย่างไร ปัญหาสุขภาพดีขึ้ นหรือไม่ สมาชิกที่มีปัญหาสุขภาพมีความพึงพอใจต่อการเยี่ยมครอบครัวมากน้อยเพียงใด - ตรวจสอบผลที่เกิดขึ้ นกับระบบย่อยในครอบครัว การพยาบาลที่ครอบครัวได้รับก่อให้เกิดประโยชน์ ความพึงพอใจ แ ล ะ ส ร้า ง ค ว า ม ส ม ดุ ล แ ก่ ร ะ บ บ ย่ อ ย ใ น ค ร อ บ ค รัว ห รือ ไ ม่ - ตรวจสอบผลที่เกิดขึ้ นกับภาพรวมของครอบครัว ประเมินว่าครอบครัวโดยรวมได้รับประโยชน์จาก การเยี่ยมครอบครัว สามารถจัดการหรือแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเองอย่างไร - ตรวจสอบปฏิสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวกับสิ่งแวดล้อม ประเมินว่าปฏิสัมพันธ์ระหว่างครอบครัวกับ สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร การเปลี่ยนแปลงนั้นมีประโยชน์ต่อครอบครัวและชุมชนหรือไม่ - ตรวจสอบการปฏิบัติตามบทบาทของพยาบาล การเยี่ยมครอบครัวแต่ละครั้งพยาบาลมีการเตรียมความพร้อมอย่างไร ความรู้ที่ต้องเตรียมเพิ่มเติมในการเยี่ยมแต่ละครั้งคืออะไร มีการใช้ทักษะทางการพยาบาลหรือทักษะอื่ นที่นอกเหนือจาก ทักษะการพยาบาลหรือไม่ พยาบาลพึงพอใจกับปฏิสัมพันธ์ที่มีต่อครอบครัวหรือไม่ มีการใช้การสื่ อสารและการประสาน ง า น ร ะ ห ว่ า ง ที ม สุ ข ภ า พ อ ย่ า ง ไ ร การบันทึ กรายงานการเยี่ยม ค ร อ บ ค รั ว วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ฆ์ ก า ร บั น ทึ ก ร า ย ง า น ก า ร เ ยี่ ย ม ค ร อ บ ค รัว 1) เก็บไว้เป็นหลักฐาน 2) เพื่ อความต่อเนื่ องของงาน 3) เพื่ อรายงานความก้าวหน้า 4) เพื่ อประเมินคุณภาพของการพยาบาล 5) เพื่ อประโยชน์ในการศึกษาวิจัย หลักการบันทึกรายงานการเยี่ยมครอบครัว การบันทึกรายงานการเยี่ยมครอบครัวที่ดีต้องมีความครบถ้วนตาม กระบวนการพยาบาล สะท้อนการใช้กระบวนการพยาบาล ซึ่งเป็นกระบวนการที่ใช้ในการแก้ปัญหาอย่างมีระบบด้วย วิธีการทางวิทยาศาสตร์ จึงมีการนําหลัก 4Cมาเป็นแนวทางในการบันทึกรายงานการเยี่ยมครอบครัว ประกอบด้วย 1) ความถูกต้อง (CORRECT) หมายถึง การบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับผู้รับบริการหรือครอบครัวมีความถูกต้อง เป็นจริง เชื่ อถือได้ตามสภาพที่เป็นจริงของผู้รับบริการ และถูกต้องตามเกณฑ์การบันทึก 2) ความครบถ้วน (COMPLETE) หมายถึง การบันทึกข้อมูลครบถ้วนลงในเวชระเบียน ครอบคุลมหัวข้อตาม แ บ บ ต ร ว จ ส อ บ ก า ร บั น ทึ ก เ ว ช ร ะ เ บี ย น 3) ความชัดเจน (CLEAR) หมายถึง การบันทึกข้อมูลด้วยตัวอักษร ตัวเลข ชัดเจน อ่านง่าย ใช้ตัวย่อที่เป็น สากล 4) การได้ใจความ (CONCISE) หมายถึง ข้อความที่บันทึกมีความกระทัดรัด สั้น ตรงประเด็นตามสภาพที่เป็น จริงของผู้ใช้บริการ อ่านแล้วได้ใจความ ห น้ า 2 0 • ก า ร พ ย า บ า ล อ น า มั ย ค ร อ บ ค รั ว : ห ลั ก ก า ร เ ยี่ ย ม แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ ค ร อ บ ค รั ว

Community Nursing 2 EVERYTHING YOU WANT


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook