Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการป้องกันภัยในสถานศึกษา(โรงเรียนประชาสามัคคี) ปีการศึกษา 2565

แผนปฏิบัติการป้องกันภัยในสถานศึกษา(โรงเรียนประชาสามัคคี) ปีการศึกษา 2565

Published by อิทธิฤทธิ์ มหิสยา, 2022-05-26 04:34:29

Description: แผนปฏิบัติการป้องกันภัยในสถานศึกษา(โรงเรียนประชาสามัคคี) ปีการศึกษา 2565

Search

Read the Text Version

แผนปฏบิ ัตกิ ารปอ้ งกันภยั ในสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565 โรงเรยี นประชาสามคั คี สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทรเ์ ขต 3 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

แผนปฏิบตั กิ ารปอ้ งกนั ภัยในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2565 โรงเรยี นประชาสามคั คี สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์เขต 3 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ เอกสารมาตรการรักษาความปลอดภัย การดูแลช่วยเหลือและคุมครองนักเรียน โรงเรียนประชา สามัคคี เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการดูแลความปลอดภัย นักเรียนทุกคนในโรงเรียน ด้านการ ป้องกันและแก้ไขอุบัติเหตุ เช่น 1) ภัยที่เกิดจากการใช้ความรุนแรงของมนุษย์ (Violence) การล่วงละเมิด ทางเพศ การทะเลาะวิวาท การกลั่นแกล้งรังแก การชุมนุมประท้วงและการจลาจล การล่อลวง ลักพาตัว 2) ภัยที่เกิดจากอุบัติเหตุ (Accident)ภัยธรรมชาติ ภัยจากอาคารเรียน สิ่งก่อสร้าง ภัยจากยานพาหนะ ภัยจากการจัดกิจกรรม ภัยจากเครื่องมืออุปกรณ์ 3) ภัยที่เกิดจากการถูกละเมิดสิทธิ์ (Right) การถูกปล่อย ปละ ละเลย ทอดทิ้ง การคุกคามทางเพศ 4) ภัยที่เกิดจากผลกระทบทางสุขภาวะทางกายและจิตใจ (Unhealthiness) ภาวะจติ เวช ติดเกม ยาเสพติด โรคระบาดในมนุษย์ การพนัน การดำเนินงาน อาศัยนโยบายตามคู่มือแนวทางปฏิบัติและมาตรการรักษาความปลอดภัย การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และคุ;มครองนักเรียนของสถานศึกษา ของสำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ ขอขอบพระคุณ ท่านผู้บรหิ าร คณะกรรมการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน คณะกรรมการ ส่งเสริมความประพฤตินักเรียน นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องที่ทำให้การจดั ทำมาตรการ รักษาความปลอดภัยในสถานศกึ ษา ของโรงเรียนประชาสามคั คี สำเรจ็ ลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดี โรงเรยี นประชาสามคั คี

สารบญั หน้า ก คำนำ ข สารบญั 1 บทที่ 1 ข้อมูลทวั่ ไป 3 บทท่ี 2 วิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ และเป้าประสงค์ ในการป้องกันภยั ในสถานศึกษา 6 บทที่ 3 แผนงานในการป้องกันความไม่ปลอดภัยในสถานศึกษา 6 9 1. ภัยทเ่ี กิดจากความรุนแรงของมนุษย์ (Violence) 13 2. ภยั ท่เี กดิ จากอุบัติเหตุ (Accident) 15 3. ภยั ท่ีเกดิ จากการถูกละเมดิ สิทธ์ิ (Right) 20 4. ภยั ที่เกดิ จากผลกระทบทางสุขภาวะทางกายและจิตใจ (Unhealthiness) 21 บทท่ี 4 การขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบัติ 22 บทท่ี 5 การตดิ ตามและประเมินผล 23 ภาคผนวก 25 - คำสัง่ แตง่ ต้ังคณะกรรมการความปลอดภยั โรงเรียนประชาสามคั คี 27 - คำสง่ั แตง่ ต้งั เจา้ หน้าท่ีดแู ลระบบ MOE Safety Center ของโรงเรียนประชาสามคั คี - แบบมอบหมายเจ้าหน้าทดี่ แู ลระบบ MOE Safety Center ของโรงเรยี นประชาสามัคคี

1 บทที่ 1 ขอ้ มูลทวั่ ไป 1. ท่ีตัง้ โรงเรียนประชาสามัคคี ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 56 หมู่ 4 บ้านปะคำ ตำบลแนงมุด อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ รหัสไปรษณีย์ 32210 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 เปิดสอนตั้งแตช่ ้ันอนบุ าลปที ่ี 2 ถงึ ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 2. แผนที่ โรงเรยี นประชาสามคั คี 3. เขตบรกิ าร โรงเรียนมเี ขตพ้ืนทบี่ ริการ 4 หมูบ่ ้าน ไดแ้ ก่ บ้านปะคำ บา้ นโพธิ์ศรี บา้ นโคกพยงุ และบ้านโคกสงา่ 4. สถานที่เสย่ี ง และไม่ปลอดภยั ในชุมชนและหมู่บา้ น 4.1 ประตดู า้ นหนา้ โรงเรยี น 4.2 สามแยกบา้ นปะคำ 4.3 สามแยกบา้ นโพธศ์ิ รี 4.4 ส่ีแยกบา้ นโคกพยุง 4.5 สระนำ้ หมู่บ้านโพธศิ์ รี

2 4.6 สระนำ้ หมบู่ ้านโคกสง่า 4.7 คลองน้ำบ้านโคกพยุง 5. ประวัติการเกิดภัยความไมป่ ลอดภยั พ.ศ. ประเภทของภยั จำนวน (ครัง้ ) พืน้ ที่เกดิ เหตุ ผลกระทบ 2561 - -- - 2562 อุบตั เิ หตจุ ากยานพาหนะ 1 หน้าโรงเรยี น ได้รบั บาดเจบ็ เล็กน้อย 2563 - -- - 2564 - -- - 2565 - -- -

3 บทที่ 2 วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ และเปา้ ประสงค์ ในการป้องกันภัยในสถานศึกษา 1. การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT analysis) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis) คือ การวิเคราะห์สำรวจสภาพแวดล้อมภายใน และ สภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร เพื่อนำมาสังเคราะห์ว่าองค์กรมี จุดแข็ง(Strengths) ,จุดอ่อน(Weaknesses), อุปสรรค (Threats) และโอกาส (Opportunities) อย่างไร ซึ่งสภาพแวดล้อมดังกล่าว ประกอบไปดัวยปัจจัย ดงั ต่อไปนี้ 1.1 ปจั จัยภายใน คือ สง่ิ ทเี่ ราควบคุมได้ ไดแ้ ก่ จดุ แขง็ หมายถึง ความสามารถและสถานการณ์ภายในองค์กรท่เี ป็นบวก ซงึ่ นำมาเปน็ ประโยชน์ในการ ทำงานเพอื่ บรรลุวตั ถุประสงค์ จุดอ่อน หมายถึง ความสามารถและสถานการณ์ภายในองค์กรที่เป็นลบและด้อยความสามารถ ซึ่งไม่ สามารถนำมาใชเ้ ปน็ ประโยชน์ในการทำงานเพอื่ บรรลุวตั ถุประสงค์ 1.2 ปจั จัยภายนอก คอื สงิ่ ท่เี ราควบคมุ ไมไ่ ด้ ไดแ้ ก่ อุปสรรคหรืออันตราย หมายถึง ปัจจัยและสถานการณ์ภายนอกที่ไม่เอื้ออำนวยให้การทำงาน ของ องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์หรือสภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นปัญหาต่อองค์กร ซึ่งในที่น้ี คือ อันตรายจาก สาธารณภยั ต่างๆ โอกาส หมายถึง ปัจจัยและสถานการณ์ภายนอกที่เอื้ออำนวยให้การทำงานขององค์กรบรรลุ วตั ถปุ ระสงค์หรือสภาพแวดลอ้ มภายนอกท่เี ปน็ ประโยชน์ตอ่ การดำเนินการขององค์กร จุดแขง็ จดุ ออ่ น โอกาส อุปสรรค/อันตราย 1. สถานศกึ ษาอยู่ 1. จำนวนบคุ ลากรใน 1.โรงเรยี นตงั้ อยู่ใน 1. ผู้ปกครองต้อง ระหว่างโรงพยาบาล สถานศึกษามจี ำนวน ชุมชน การคมนาคม ประกอบอาชีพ ไม่มีเวลา ส่งเสริมสุขภาพตำบล จำกัด สะดวก ดแู ลบุตรหลาน แนงมุดและโรงพยาบาล 2. สถานศึกษามีบรเิ วณ 2. โรงเรียนต้งั อยู่ใกล้ ส่งเสริมสขุ ภาพตำบล ทรี่ กร้างและมมุ อับหลาย แหล่งเรียนรู้และสถานท่ี บ้านสระทอง แห่ง ทางราชการ 2. สถานศึกษาอยู่ใน ชุมชนไม่ติดถนนเส้น 24 2. วสิ ัยทัศน์ (Vision) การกำหนดวสิ ัยทศั นใ์ นการป้องกนั ภยั ในสถานศึกษา ปรารถนาจะบรรลุในอนาคต ดงั น้นั การกำหนด วิสยั ทัศน์ การปอ้ งกันภยั ในสถานศึกษา จะเน้นเรือ่ งอะไรให้พจิ ารณาจากจดุ แข็ง จุดออ่ น โอกาส และอุปสรรค ทีเ่ กิดข้ึนในโรงเรยี น “โรงเรียนปลอดภัย ผ้ปู กครองวางใจ และนกั เรียนมคี วามสุข”

4 3. พนั ธกจิ (Mission) คือ กรอบ หรอื ขอบเขตการดำเนินงานของหน่วยงาน การกำหนดพนั ธกจิ สามารถทำไดโ้ ดยนำภารกิจ หรอื หนา้ ทีค่ วามรบั ผดิ ชอบ แตล่ ะข้อทหี่ นว่ ยงานไดร้ บั มอบหมายมาเป็นแนวทาง ทั้งน้ี ตอ้ งกำหนดให้ชดั เจนว่า พันธกิจแต่ละข้อมีความหมายครอบคลมุ ขอบเขตแค่ไหน และแต่ละข้อ มีความแตกต่างกันอยา่ งไร เพื่อให้การ จัดทำแผนยุทธศาสตร์ในขั้นตอนต่อไปเป็นไปอย่างสะดวกและถูกต้อง จึงนำพันธกิจทั้งหมด มาพิจารณาใน ภาพรวมว่าหน่วยงานจักต้องดำเนินการในเรื่องใดบ้าง และเพ่ือให้หน่วยงานสามารถบรรลุพันธกิจได้ครบถ้วน ทกุ ข้อ หนว่ ยงานต้องมคี วามเปน็ เลศิ ในด้านใด หรือควรมงุ่ เนน้ ไปในทศิ ทางใด เช่น 3.1 ดำเนินการจดั ทำนโยบายแนวทางและวางมาตรการในการป้องกนั ภัยในสถานศึกษา 3.2 สง่ เสรมิ การมีส่วนรว่ มของผปู้ กครองในการสรา้ งเครือขา่ ยปอ้ งกนั ภัย เผชญิ เหตุ และปอ้ งปราม 3.3 สร้างความตระหนักและเตรยี มความพร้อมของผู้ปกครองในการป้องกนั ภัย 3.4 ประสานความช่วยเหลอื ในการป้องกันภัย การช่วยเหลือ การบรรเทาและฟ้นื ฟูกบั เครือขา่ ยและ สหวชิ าชีพ 4. เป้าประสงค์ (Goals) คือ สิ่งที่หน่วยงานปรารถนาจะบรรลุ โดยต้องนำพันธกิจมาพิจารณาว่า หากสามารถดำเนินการจน ประสบความสำเร็จตามประเด็นแตล่ ะข้อแลว้ ใครเป็นผไู้ ดร้ บั ผลประโยชน์ และได้รับประโยชน์อย่างไร 4.1 เพื่อให้ผู้บรหิ ารโรงเรียน ครู มีความพรอ้ มในการป้องกันภัยในสถานศกึ ษา 4.3 เพื่อให้นักเรียน บุคลากรทางการศึกษาผู้ประสบภัยได้รับการช่วยเหลือ ฟื้นฟู และเยียวยา อยา่ งทนั ทว่ งที 5. ขอบข่ายความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา ขอบข่ายความปลอดภัยของสถานศึกษา 4 กลุ่มภัย ดังนี้ 1) ภัยที่เกิดจากการใช้ความรุนแรงของ มนุษย์ (Violence) 2) ภัยที่เกิดจากอุบัติเหตุ (Accident) 3) ภัยที่เกิดจากการถูกละเมิดสิทธิ์ (Right) 4) ภัยที่ เกดิ จากผลกระทบทางสขุ ภาวะทางกายและจติ ใจ (Unhealthiness) มอี งคป์ ระกอบดังนี้ 5.1 ภยั ท่เี กดิ จากการใชค้ วามรนุ แรงของมนุษย์ (Violence) 5.1.1. การล่วงละเมดิ ทางเพศ 5.1.2. การทะเลาะวิวาท 5.1.3. การกล่นั แกล้งรงั แก 5.1.4. การชุมนุมประทว้ งและการจลาจล 5.1.5 การกอ่ วินาศกรรม 5.1.6. การระเบิด 5.1.7. สารเคมแี ละวัตถุอนั ตราย 5.1.8. การลอ่ ลวง ลกั พาตวั

5 5.2 ภัยทเ่ี กิดจากอบุ ตั เิ หตุ (Accident) 5.2.1 ภยั ธรรมชาติ 5.2.2 ภยั จากอาคารเรยี น สงิ่ ก่อสร้าง 5.2.3 ภยั จากยานพาหนะ 5.2.4 ภัยจากการจัดกิจกรรม 5.2.5 ภยั จากเครื่องมืออปุ กรณ์ 5.3 ภยั ทเี่ กดิ จากการถูกละเมดิ สทิ ธ์ิ (Right) 5.3.1 การถูกปล่อยปละ ละเลย ทอดทง้ิ 5.3.2 การคกุ คามทางเพศ 5.3.3 การไม่ได้รบั ความเป็นธรรมในสังคม 5.4 ภยั ทเ่ี กิดจากผลกระทบทางสขุ ภาวะทางกายและจติ ใจ (Unhealthiness) 5.4.1 ภาวะจติ เวช 5.4.2 ตดิ เกม 5.4.3 ยาเสพติด 5.4.4 โรคระบาดในมนุษย์ 5.4.5 ภัยไซเบอร์ 5.4.6 การพนนั 5.4.7 มลภาวะเป็นพษิ 5.4.8 โรคระบาดเปน็ พิษ 5.4.9. ภาวะทุพโภชนาการ

6 บทท่ี 3 แผนงานในการป้องกันความไมป่ ลอดภยั ในสถานศกึ ษา 1. ภัยที่เกิดจากความรนุ แรงของมนุษย์ (Violence) 1.1 การลว่ งละเมิดทางเพศ แนวปฏิบตั ิ การป้องกัน 1. คัดกรองเด็กนักเรยี นกล่มุ เส่ยี ง และสำรวจพน้ื ท่ใี นโรงเรียน และในชุมชนท่ีมีความเสี่ยง 2. เฝ้าระวงั สงั เกต เด็กนักเรยี นทม่ี ีพฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ รวมทงั้ พฒั นาพน้ื ท่ใี นโรงเรยี น และ รว่ มมอื กับชุมชนในการสร้างพ้นื ที่ปลอดภยั 3. ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ผูน้ ำชมุ ชน เพ่ือรว่ มกันเฝา้ ระวังและสอดสอ่ งความ ประพฤติของนกั เรียนและพฤติกรรมของบุคลากรในชุมชน 4. มีระบบการสอื่ สารระหวา่ งผปู้ กครองกับโรงเรียน เพ่ือรับสง่ ข้อมูลดา้ นพฤตกิ รรมของนักเรยี น การปลกู ฝัง 1. จดั กจิ กรรมรักและเห็นคณุ ค่าในตวั เอง ในชั่วโมงโฮมรูม 2. บูรณาการกจิ กรรมทกั ษะชีวติ ร่วมกับกลมุ่ สาระการเรียนร้ใู นการสรา้ งภูมคิ มุ้ กนั ให้กบั นักเรียน 3. จัดกจิ กรรมด้านทักษะการเอาตวั รอด และการปฏเิ สธ การปราบปราม 1. แต่งต้งั คณะกรรมการเฉพาะกิจเพือ่ ให้การดูแลช่วยเหลือได้ทันเหตกุ ารณ์ 2. ประชาสมั พนั ธใ์ ห้ชมุ ชนได้รับทราบถึงการแจ้งเหตุ และการใหค้ วามช่วยเหลอื 3. ประสานหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการสง่ ต่อและดูแลช่วยเหลอื ได้อย่างทว่ งที 1.2 การทะเลาะวิวาท แนวปฏบิ ตั ิ การปอ้ งกนั 1. สร้างความตระหนักถงึ ความเสียหายท่จี ะเกดิ จากการทะเลาะววิ าท 2. เปิดโอกาสให้เด็กวยั รุ่นไดท้ ำกิจกรรมสร้างสรรค์ 3. การใช้หลกั ธรรมในการอบรมบ่มเพาะ 4. ความเป็นแบบอย่างของคณุ ครู 5. ความเสมอตนเสมอปลายของการทำกิจกรรมพัฒนาจติ ใจเด็กเยาวชน การปลกู ฝงั 1. นักเรียนนกั ศึกษาต้องฝึกการควบคมุ อารมณ์ของตนเองให้ได้ 2. เปล่ยี นทัศนะในการมองเพ่ือนใหม่รับฟงั เหตุผลให้มากข้นึ 3. เพ่ือนควรห้ามปรามเพือ่ น และแนะนำให้ใช้สติมากกว่าการใช้แรงในการ ตัดสนิ ปัญหา

7 4. โรงเรยี นควรจดั กิจกรรมเพ่ือละลายพฤติกรรม การปราบปราม 1. แตง่ ต้ังคณะกรรมการเฉพาะกิจเพอ่ื ให้การดแู ลช่วยเหลือได้ทนั เหตุการณ์ 2. มีมาตรการและบทลงโทษสำหรับนกั เรียนท่ที ะเลาะวิวาท 3. ประสานหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการส่งต่อและดูแลช่วยเหลือได้อย่างทนั ท้วงที 1.3 การกล่ันแกลง้ รงั แก แนวปฏิบตั ิ การปอ้ งกนั 1. การปรับปรงุ ความเข้าใจเรื่องการกลั่นแกล้งรงั แก 2. ให้คำปรกึ ษากบั เด็กนกั เรียน 3. การสนบั สนุนให้นักเรยี นช่วยแกป้ ญั หา 4. การจัดให้เด็กนักเรยี นได้มาพบปะพูดคยุ กัน 5. การสร้างความสมั พันธ์ท่ีเคารพซึง่ กนั และกันระหว่างครูกบั นกั เรยี น การปลกู ฝงั 1. สอนนักเรียนให้รู้ว่าการรังแกผู้อน่ื คอื พฤตกิ รรมรนุ แรงที่ไม่ได้รบั การยอมรับทั้งจากผู้ปกครอง และสงั คมภายนอก 2. สอนให้นักเรยี นเคารพสิทธิข์ องผู้อ่ืนและปฏิบตั ติ ่อผู้อืน่ อย่างเหมาะสม 3. หาขอ้ มูลเก่ยี วกบั เหตทุ ่ีทำให้นักเรยี นรังแกเพื่อนท้งั ในดา้ นครอบครัวและส่ิงแวดล้อมท่ี โรงเรยี น 4. ชมเชยหรือให้รางวัล เม่อื เด็กมพี ฤติกรรมทส่ี ามารถแก้ไขความขัดแยงโดยใช้วธิ ีทางบวกและ สร้างสรรค์ 5. เป็นตวั อย่างที่ดีให้เด็ก ไตร่ตรองให้ถี่ถว้ นก่อนทจี่ ะพดู หรือกระทำการใด ๆ การปราบปราม 1. ครอบครัว ต้องสร้างความรักและความเข้าใจต่อนักเรยี นให้เหมาะสมกับวยั 2. ครสู อดส่องดแู ลความประพฤตขิ องเดก็ 3. โรงเรียนต้องมมี าตรการในการป้องกันการรังแกกันอย่างเคร่งครดั 4. ชมุ ชนต้องช่วยกนั สอดส่องดูแลความประพฤติของสมาชิกในชุมชน 1.4 การชุมนมุ ประท้วงและการจลาจล แนวปฏบิ ัติ การปอ้ งกนั 1. ให้คุณครูทุกท่านที่รบั ผดิ ชอบในการป้องกนั ระงับการชมุ นุมประท้วงและก่อการจลาจล สบื เสาะแสวงหา ข้อมลู ขา่ วสาร ติดตามสถานการณ์ ตรวจสอบเงอ่ื นไขประเดน็ ปัญหาความ

8 เดอื ดร้อนความขัดแย้ง ท่ีมใี นพนื้ ท่ี เพ่ือเตรียมการป้องกนั การแก้ปัญหา รวมท้งั จดั เตรยี ม แผนปฏบิ ัตกิ ารป้องกนั ระงบั การชมุ นมุ ประท้วง และก่อการจลาจล 2. ฝ่ายอาคารสถานท่ดี ำเนนิ การจัดเตรียมกำลังเจ้าหน้าท่ีอุปกรณ์เครื่องมอื เคร่อื งใช้ระบบ การสือ่ สาร ยานพาหนะ และมอบหมายหน้าท่คี วามรับผิดชอบในการปฏบิ ตั กิ ารไว้ให้พร้อม 3. ให้มีการดำเนนิ การประชาสมั พันธ์อย่างต่อเน่ือง เพื่อเป็นการปฏบิ ัตกิ ารทางจติ วทิ ยาขจดั เง่ือนไขปญั หาความขัดแย้งระหว่างสถานศึกษากบั นักเรียน ผู้ปกครอง หรือประชาชนในพ้ืนท่ี 4. ทุกคนในสถาศึกษาทำการซักซ้อมความเข้าใจ เตรียมบุคลากรท่มี ีหน้าท่ีให้พร้อมรับเหตุการณ์ อยู่เสมอ การปลูกฝงั 1. สร้างความรัก ความเข้าใจอันดี ของนักเรียน ผู้ปกครองและชมุ ชนต่อสถานศกึ ษา 2. จัดกิจกรรมที่เป็นการสร้างความสมั พันธ์อันดรี ะหว่างนักเรียน ครู ผู้ปกครอง 3. ตดิ ต่อประสานงานกบั หน่วยงานภายนอกหากเกดิ สถานกการณ์รุนแรง เช่น หมู่บ้าน องค์การ บรหิ ารส่วนตำบลแนงมุด โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลแนงมุด และโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลบ้านสระทอง เป็นต้น การปราบปราม - เหตกุ ารณ์ไม่รนุ แรง สามารถปฏบิ ัตงิ านในหน่วยงานได้ 1. ให้ดำเนินการตรวจสอบข้อมูล แล้วรายงานผู้บังคบั บญั ชาให้ทราบตามลำดับ 2. ดำเนนิ การจัดเจ้าหน้าทค่ี อยดูสถานการณ์และเฝ้าระวัง 3. ตดิ ต่อประสานงานกบั หน่วยงานภายนอกหากเกิดสถานกการณ์รุนแรง เช่น หมู่บ้าน องค์การ บริหารสว่ นตำบลแนงมุด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแนงมุด และโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลบา้ นสระทอง เป็นต้น 4. หนงั สือเวียนแจ้งภายในสถานศกึ ษา ให้ทราบถึงสถานการณ์ - เหตุการณ์รุนแรง ไม่สามารถปฏบิ ัติงานในหน่วยงานได้ 1. ให้ตรวจสอบข้อมลู แล้วรายงานผู้บรหิ ารให้ทราบถึงเหตุการณ์ ขอ้ เรยี กรอ้ ง วตั ถุประสงค์ความ ต้องการของการเรยี กร้อง ผู้ชุมนมุ เรยี กร้อง จำนวน แนวโน;มแลว้ รายงานผู้บงั คับบญั ชาให้ ทราบตามลำดบั ชั้น 2. ผู้บงั คบั บญั ชาประชุม/หารือ เพอื่ พิจารณาแก้ไขปัญหา 3. ดำเนินการจัดเจ้าหนา้ ทีค่ อยดูสถานการณ์และเฝ้าระวัง 4. ตดิ ตอ่ ประสานงานขอรับการสนบั สนุนจากหน่วยงานภานนอก เชน่ ตำรวจ ทหาร และส่วน ราชการอืน่ ๆ เพ่ือจดั เจ้าหนา้ ท่ีรักษาความปลอดภยั ทำหน้าทรี่ กั ษาความสงบเรยี บร้อยความ ปลอดภัย จดั การจราจร เพ่ือป้องกัน การเกดิ การจลาจลบริเวณท่ีมีการชมุ นุมประทว้ ง 5. ประชาสัมพนั ธ์ ให้เจ้าหน้าท่ีที่ปฏบิ ตั ิงานภายในอาคาร รวมท้ังบุคคลภายนอก ท่ีมาติดต่องาน ไดท้ ราบและเข้าใจเกีย่ วกบั การปฏิบัตติ นเมื่อมีการชุมนุม ประทว้ ง ตลอดจนคำแนะนำในการ

9 ปฏบิ ัตเิ พอ่ื ให้เกดิ ความปลอดภัยสูงสดุ (จดั แถลงขา่ ว , เตรยี มผู้แถลง/โฆษก , เตรยี มเอกสาร/ ข้อมูลให้ครบถว้ น) 6. ให้ประสานให้มีการจดั เตรียมพืน้ ท่ีสำรองสำหรบั การปฏบิ ัติงานหากเกิดเหตุ ฉุกเฉนิ ยดื เย้ือ 7. เตรียมการอพยพ กรณีเกิดความเสียหายรุนแรง เพื่อจดั เจ้าหนา้ ทร่ี กั ษาความปลอดภัย ทำ หนา้ ทีร่ กั ษาความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัย 1.5 การลอ่ ลวง ลกั พาตัว แนวปฏบิ ตั ิ การปอ้ งกนั 1. จัดระบบรักษาความปลอดภยั ท่มี ปี ระสิทธิภาพ จัดเวรยาม เจ้าหนา้ ทีร่ ักษาความ ปลอดภัยใน สถานศกึ ษา 2. ประสานงานกบั ชุมชน เครือข่ายผู้ปกครอง เพ่ือสอดส่องนกั เรยี นอย่างท่วั ถึงและ สม่ำเสมอ 3. ประสานงานกบั เจ้าหนา้ ท่ีทเี่ ก่ียวข้องชว่ ยสอดส่องดแู ลเพ่ือปอ้ งกนั การถูกลอ่ ลวง หรอื ลักพาตัว 4. ขอความร่วมมือจากครู ผู้ปกครอง ชุมชน หรอื ผู้ท่เี กยี่ วข้องในการแจ้งเบาะแส 5. ประสานแจง้ ผู้ปกครองนักเรียนรบั ทราบเม่ือเกิดเหตุ โดยรายงานให้ ผู้บังคบั บญั ชา รบั ทราบ ตามลำดับ 6. ประสานงานเจ้าหนา้ ที่ตำรวจ ผู้ปกครอง เพอ่ื ดำเนนิ การติดตามคน้ หา การปลกู ฝัง 1. จัดกจิ กรรมเสรมิ สรา้ งทักษะการคิด วเิ คราะห์ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า การตัดสนิ ใจ การให้ คำปรึกษา รวมไปถึงทักษะการป้องกันตัวเองให้พน้ จากการถกู ลอ่ ลวงและลักพา 2. ให้มีการประชาสมั พันธ์ขา่ วสารเกย่ี วกบั การล่อลวงและลักพาตวั และวิธกี าร ปอ้ งกนั ให้ นกั เรียนทราบทุกระยะ 3. แนะนำ ให้ความรู้กบั นักเรียนไมพ่ ูดคุยหรือไปกบั คนแปลกหน้า การปราบปราม 1. ตรวจสอบ และบันทึกข้อมลู บุคคลภายนอกที่เขา้ มาในสถานศกึ ษา 2. หลกี เล่ียงการอยู่ในจุดท่ีเส่ียงตอ่ การล่อลวง และลักพาตัว 3. แจ้งเจ้าหน้าที่ตรวจสอบบุคคลตอ้ งสงสยั หรือมีพฤติกรรมไมน่ า่ ไว้วางใจ 2. ภยั ท่ีเกดิ จากอุบัตเิ หตุ (Accident) 2.1 ภยั ธรรมชาติ แนวปฏบิ ตั ิ การปอ้ งกัน 1. ให้ความรู้ในการปฏิบตั ติ นแก่นกั เรียนให้พ้นจากอันตราย 2. จดั ให้มกี ารอยู่เวรรกั ษาสถานที่ราชการ

10 3. ตรวจสอบสภาพอาคารต่าง ๆ อย่างสมำ่ เสมอ 4. ตดั แตง่ ก่ิงไม้ที่อยู่ใกล้อาคาร 5. ตดิ ตามข่าวพยากรณ์อากาศสม่ำเสมอ 6. จัดให้มเี วชภัณฑ์ท่ีจำเป็นในการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ 7. จัดให้มีเครือขา่ ยองค์กรภาครัฐเอกชนเพื่อสามารถติดต่อขอความช่วยเหลือทันที การปลกู ฝัง 1. จดั กิจกรรมการฝกึ เตรยี มความพร้อมซกั ซ้อมทใี่ ห้นักเรียน บคุ ลากร ชมุ ชน และหนว่ ยงาน 2. สรา้ งความเข้าใจและความรู้ให้นกั เรียน บคุ ลากร ชมุ ชน สามารถรบั มือจากภยั ธรรมชาติ 3. จดั ตัง้ บคุ คลท่ีรับผิดชอบ เพ่ือตดิ ตอ่ ประสานงานกบั หน่วยงานที่สามารถช่วยเหลอื ไดท้ ันที การปราบปราม 1. นักเรียน บุคลากร ชุมชน และหนว่ ยงานปฏิบตั ิตามสถานการณ์ทไี่ ด้ซกั ซ้อมมาเม่ือเกดิ เหตุ 2. เขา้ ถงึ จุดทีเตรยี มไว้เพื่อให้เกิดความปลอดภยั 3. ตดิ ตอ่ ประสานงานกับเจา้ หน้าที่ ชุมชน หรอื หน่วยงาน 2.2 ภัยจากอาคารเรยี น สง่ิ ก่อสรา้ ง แนวปฏบิ ตั ิ การป้องกนั 1. ตรวจสอบโครงสรา้ งและส่วนประกอบอาคารอยา่ งสม่ำเสมอ 2. แต่งตง้ั บคุ ลากรในการดแู ลรกั ษาอาคารสถานท่ี 3. สรา้ งความตระหนักและให้ความรู้การรกั ษาความปลอดภยั แก่นกั เรียน 4. จดั ทำปา้ ยข้อควรระวังดา้ นความปลอดภยั ในจดุ อันตราย 5. ซ่อมแซมสว่ นประกอบอาคารให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัย 6. จัดให้มีแผนการป้องกันและการเคลือ่ นย้ายกรณเี กิดเหตุฉุกเฉนิ การปลูกฝัง 1. สร้างความตะหนักให้นกั เรียน และบคุ ลากรทางการศกึ ษาระมัดระวงั ในอาคารสถานที่ 2. ให้มกี ารตรวจสอบอาคารสถานท่ีอย่างส่ำเสมอ 3. แนะนำและสร้างความเข้าใจในการใช้อาคารสถานท่ีให้กบั นักเรยี น และบุคลากรที่การศึกษา การปราบปราม 1. สรา้ งความตะหนักให้นักเรยี น และบุคลากรทางการศึกษาระมดั ระวังในอาคารสถานท่ี 2. ให้มกี ารตรวจสอบอาคารสถานท่ีอย่างสำ่ เสมอ 3. แนะนำและสรา้ งความเขา้ ใจในการใช้อาคารสถานท่ีให้กับนักเรียน และบุคลากรที่การศึกษา

11 2.3 ภยั จากยานพาหนะ แนวปฏบิ ัติ การป้องกนั 1. สถานศกึ ษา ผู้ปกครอง และชมุ ชน รว่ มมอื กันกำหนดมาตรการ รับ-สง่ นกั เรยี นตอนเช้าและ เลิกเรยี นกำกับ 2. ดูแลนกั เรยี นที่ใช้จักรยานให้ชิดทางซา้ ยและเป็นแถว 3. จัดครเู วรประจำวันตรวจเช็คนักเรยี นทมี่ ีผู้ปกครองมารับ 4. แนะนำการเดินแถวกลบั บา้ นและให้พี่ดแู ลน้อง 5. ทำกจิ กรรมเกี่ยวกับการฝึกปฏบิ ตั ิตามกฎจราจร 6. จดั ครูเวรและนักเรียนคอย รับ-ส่ง นกั เรยี นทป่ี ระตเู ขา้ ออก การปลกู ฝงั 1. จดั กิจกรรมเรื่องความปลอดภัยในการจราจร 2. แนะนำ ตกั เตอื น การปฏิบัติในการจราจร 3. สร้างวนิ ยั ให้เกิดกับนักเรียนอย่างทว่ั ถึงและเป็นระบบ การปราบปราม 1. จัดกิจกรรมเรื่องความปลอดภัยในการจราจร 2. แนะนำ ตกั เตอื น การปฏิบัตใิ นการจราจร 3. สร้างวนิ ยั ให้เกดิ กับนักเรียนอย่างท่ัวถงึ และเป็นระบบ 2.4 ภยั จากการจัดกิจกรรม แนวปฏิบัติ การปอ้ งกัน 1. ควรคำนึงถงึ ความปลอดภัยของเดก็ ก่อนเป็นอันดับแรกไมค่ วรมีความรนุ แรงอนั ก่อให้เกดิ อันตราย 2. ถ้ามีการแขง่ ขนั ระหว่างกนั ควรคำนึงถงึ ความสามารถและพัฒนาการของเดก็ เชน่ ไมค่ วรให้ เด็กโตแขง่ กฬี ากบั เด็กเลก็ เป็นตน้ 3. ควรคำนึงถงึ ความเหมาะสมตามความสามารถและพัฒนาการของเด็ก การปลูกฝงั 1. แนะนำให้นักเรียนและบุคลากร สังเกต และเฝ้าระวังในกจิ กรรมทกุ ครั้งเพราะอาจเกิดเหตุได้ เสมอ 2. นักเรยี น ครู และบุคลากร คอยช่วยเหลอื และดูแลในกิจกรรม 3. จัดทมี งานหรือเจา้ หน้าที่คอยดูแลสำรวจความปลอดภยั ในทุก ๆ กจิ กรรม การปราบปราม

12 1. มีการจัดตั้งคณะทีมสำรวจความปลอดภยั ในโรงเรยี น ซ่ึงควรประกอบดว้ ยกลมุ่ คุณครู กลุ่ม ผู้ปกครองและกลมุ่ เด็กนักเรียนเพอื่ ทำหนา้ ทใี่ นการสำรวจความปลอดภัยทางดา้ นส่งิ แวดล้อม ในโรงเรียน สำรวจความปลอดภยั ของอุปกรณส์ อ่ื การเรียนการสอน 2. มีการเดนิ สำรวจและบนั ทกึ ข้อมูลเพื่อคน้ หาจุดเส่ยี งและจุดอันตรายทงั้ ในและนอกโรงเรยี น โดยการสำรวจตามหอ้ งเรียน ระเบียง บันได สนามกีฬา อปุ กรณส์ ่อื การเรียนการสอน สำรวจ การจดั ระเบียบของวตั ถุสงิ่ ของ ฯลฯ 3. มีการจดบันทึกรายงานอบุ ัตเิ หตุที่เกดิ ขน้ึ ในโรงเรยี นจะทำให้ทราบข้อมลู เก่ยี วกบั การเกิด อุบัติเหตุซง่ึ จะชว่ ยคน้ หาสาเหตุของการเกิดอบุ ัตเิ หตุได้ 4. เมอ่ื ไดข้ ้อมูลจากการเดนิ สำรวจเรียบรอ้ ยแล้ว ควรมกี ารประชมุ คณะทีมฯ เพ่ือร่วมกนั วิเคราะห์และหาแนวทางการแก้ไขและป้องกันปัญหา 5. จัดให้มีการสรปุ รายงานอบุ ัติเหตุและแจง้ ขา่ วอุบตั ิเหตุทเี่ กดิ ขนึ้ ให้นกั เรยี นทุกคนทราบ 2.5 ภัยจากเคร่อื งมืออุปกรณ์ แนวปฏิบตั ิ การป้องกัน 1. สำรวจ ตรวจสอบเคร่ืองมืออุปกรณอ์ ย่างสม่ำเสมอ 2. จัดวางเครอื่ งมืออปุ กรณใ์ นสถานท่ี ทเ่ี หมาะสมและปลอดภัย 3. จัดทำข้อเสนอแนะและข้อควรระมัดระวังในการใช้ 4. ให้มกี ารจดั อบรมและจัดทำคู6มือในการใช้เคร่ืองมอื อุปกรณอ์ ย่างถกู วิธีและเหมาะสมกับงาน 5. ผู้รับผดิ ชอบต้องดแู ลอยา่ งใกล้ชิดในขณะที่มกี ารปฏิบตั งิ าน 6. ปรับปรุงซ่อมแซมเครอ่ื งมืออุปกรณใ์ ห้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานอยา่ งปลอดภยั 7. ห้ามใช้เคร่อื งมืออปุ กรณท์ ่ชี ำรุดเดด็ ขาด 8. เม่ือเกดิ เหตุฉุกเฉิน ให้ดำเนนิ การตามแผนฉุกเฉนิ สำหรบั สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา การปลูกฝัง 1. ให้แนะนำนักเรียน ก่อนมกี ารใช้เครอื่ งมืออปุ กรณ์ 2. มกี ารฝึกฝนและปฏิบัตจิ รงิ ให้กับนักเรยี น หากมีการใช้เคร่อื งมืออุปกรณ์ เพ่ือลด หรือป้องกนั อนั ตราย 3. ให้คุณครหู รือบุคลากรกับกำดูแลหากนกั เรียนต้องใช้เคร่ืองมืออปุ กรณ์ การปราบปราม 1. ระงบั การใช้เคร่ืองมอื อปุ กรณ์ทันทีหากเห็นว่าอุปกรณ์นัน้ มีความเส่ยี ง 2. ไมอ่ นุญาตให้นักเรียนใช้เครื่องมอื อปุ กรณท์ ไี่ มเ่ หมาะสมกับวยั 3. สำรวจเครอื่ งมืออุปกรณท์ ่ีเสยี่ งตามหอ้ งหรอื จุดท่ีมีการใช้งาน

13 3. ภยั ทเี่ กดิ จากการถกู ละเมิดสิทธ์ิ (Right) 3.1 การถูกปล่อยปละ ละเลย ทอดท้งิ แนวปฏิบัติ การป้องกนั 1. ครรู ู้จกั เด็กนักเรยี นเป็นรายบุคคล โดยการเย่ียมบ้าน การคัดกรอง การปอ้ งกัน การแก้ปัญหา และการให้คำปรึกษา 2. ผู้บรหิ ารสถานศึกษากำกับให้ครูท่ปี รกึ ษา ครผู ู้สอนหม่นั สงั เกต สภาพร่างกายเด็กนักเรียนทุก ครง้ั ก่อนทำการสอน 3. การสง่ เสรมิ พัฒนาเด็กนักเรยี นดา้ นความสามารถ ตามความถนัด ความสนใจ และความ ต้องการของเด็กนักเรยี น ตลอดจน คุณลักษณะทจี่ ะช่วยเสรมิ สร้างให้เดก็ นักเรยี นมีคณุ ภาพ และมีภมู คิ ุ้มกนั การดำเนนิ ชวี ิต เดก็ นกั เรียนจะต้องมีความสามารถในการปรบั ตวั ตอ่ สภาพแวดล้อมทางสงั คมทเี่ ปลี่ยนแปลง การตัดสินใจทเ่ี หมาะสม และ สามารถอยู่ในสงั คม อย่างปลอดภัย 4. หน่วยงานของรัฐให้ความสำคัญกบั ปัญหา และร่วมมอื กนั การแก้ปัญหาอย่างจรงิ จงั 5. ให้ความช่วยเหลือเบื้องตน้ ได้แก่ เงนิ ทุนการศึกษา ปัจจยั พนื้ ฐานในการดำรงชวี ติ ฯลฯ 6. เม่ือสถานการณ์เดก็ นกั เรยี นดีขึ้น สถานศึกษาต้องดำเนนิ การ ปอ้ งกันและพัฒนาในสภาพ ปัญหาตอ่ ไป เชน่ การกำหนดบรเิ วณปลอดภยั การเสริมทักษะการดแู ลเด็กนักเรยี น ทักษะ การจดั การกับปัญหา และ ทักษะทางสังคมให้กับผู้ปกครองหรอื ผู้ท่เี กยี่ วข้อง การปลูกฝัง 1. จัดกิจกรรมทส่ี ร้างความตระหนกั ให้กบั นักเรียนได้ทราบถงึ ปัญหา และเหตุท่ีอาจเกิดกบั ตนเอง 2. สรา้ งความไว้วางใจให้เกดิ กับนักเรยี น หากเกดิ เหตุการณ์ ให้แจง้ ครหู รอื เจา้ หนา้ ท่ใี น สถานศึกษา 3. สร้างจติ สำนึกถึงความดีในการใช้ดำเนนิ ชีวิตท่ีไมป่ ลอ่ ยปละ ละเลย และทอดท้งิ ในอนาคตการ ปราบปราม 1. ผู้บรหิ ารสถานศึกษารบั แจ้งเหตุหรือประสบเหตุ นำเด็กนักเรยี น มาบนั ทกึ ข้อเท็จจริง สอบถามข้อเท็จจรงิ และบนั ทึกข้อมลู โดยละเอยี ด 2. จดั ทำบนั ทกึ รับแจ้งเหตุพร้อมประวัติและภาพถ่ายเด็กนักเรียน 3. แตง่ ต้ังคณะทำงานในการตรวจสอบข้อเท็จจรงิ โดย ไปเยี่ยมบา้ นเด็กนักเรยี น สอบถามบุคคล แวดลอ้ ม เช่น เพอ่ื นบ้าน ญาตพิ ี่นอ้ งของเดก็ นักเรียน หรือกำนัน ผู้ใหญบ่ ้านในพื้นท่ี 4. รายงาน สพป. สรุ นิ ทร์ เขต 3 ทมี สหวชิ าชีพ และเจา้ พนักงาน เจา้ หน้าทตี่ ามพระราชบัญญตั ิ คมุ้ ครองเด็ก พ.ศ. 2546 3.2 การคกุ คามทางเพศ แนวปฏบิ ตั ิ

14 การป้องกนั 1. ใช้กระบวนการระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน ครูทปี่ รึกษา เอาใจใส่เดก็ นักเรียนอย่างใกล้ชิด และตอ้ งทำงานเปน็ ทีม 2. ให้สถานศึกษาดูแลพทิ ักษ์ปกปอ้ ง และคมุ้ ครองเด็กนักเรียน ไมใ่ ห้ถูกคุกคามทางเพศจาก บุคคลท้งั ทอ่ี ยู่ภายในและภายนอก สถานศึกษา 3. จัดสถานทภ่ี ายในสถานศกึ ษาให้เหมาะสม เชน่ มีกล้อง วงจรปิด มกี ารจดั ตง้ั เวรยามเพ่ือตรวจ ตราพ้ืนท่จี ดุ เสี่ยง เพื่อไม่ให้เกิดการคุกคามทางเพศระหว่างครกู บั เด็กนกั เรยี น เด็กนักเรยี นกับ เด็กนักเรยี น และ จากบคุ คลอ่ืน การปลูกฝงั 1. ใช้กระบวนการระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น ครูทีป่ รึกษา เอาใจใส่เด็กนักเรียนอย่างใกล้ชิด และตอ้ งทำงานเป็นทมี 2. ให้สถานศึกษาดูแลพทิ ักษ์ปกป้อง และคุ้มครองเด็กนกั เรยี น ไมใ่ ห้ถูกคุกคามทางเพศจาก บคุ คลท้งั ทอ่ี ยู่ภายในและภายนอก สถานศกึ ษา 3. จัดสถานท่ีภายในสถานศึกษาให้เหมาะสม เช่น มีกล้อง วงจรปิด มีการจดั ต้ังเวรยามเพ่ือตรวจ ตราพ้นื ท่ีจุดเสยี่ ง เพือ่ ไม่ให้เกิดการคุกคามทางเพศระหว่างครูกบั เด็กนกั เรียน เด็กนักเรียนกับ เด็กนกั เรยี น และ จากบคุ คลอน่ื การปราบปราม 1. ผู้บรหิ ารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายสอบถาม ข้อเท็จจริง และปรกึ ษากับผู้เกย่ี วขอ้ ง ในสถานศกึ ษาทนั ที 2. ตรวจสอบข้อมูลประวัตเิ ดก็ นักเรียนโดยใช้กระบวนการ ระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน การ บันทกึ ข้อมลู และการจัดเกบ็ ข้อมลู 3. จดั ผู้ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายดำเนินการเกยี่ วข้องกบั กรณี ท่ีเกดิ ขึ้นกบั เดก็ นักเรยี นตง้ั แต่ตน้ จนจบ กระบวนการ 4. เชิญผู้ปกครองเด็กนักเรยี น หรือผู้ทเ่ี ดก็ นักเรียน ไว้วางใจ หรือผู้ทเ่ี ด็กนักเรยี นรอ้ งขอมาพูดคุย รบั ทราบเหตุการณ์และ ให้คำปรึกษา 5. กรณเี ด็กนักเรียนกับเดก็ นักเรียน ให้ดำเนนิ การดูแลช่วยเหลือ ท้ังผู้ถกู กระทำและผู้กระทำ 6. แจ้งผู้ปกครองเด็กนักเรียน หาแนวทางและวิธีการรว่ มกนั ในการปรับพฤตกิ รรมเดก็ นักเรียน 7. ดำเนินการโดยเกบ็ ขอ้ มลู เป็นความลับและพิทักษ์สทิ ธิ ผู้ถกู กระทำและผู้กระทำ 8. กรณเี ด็กนักเรียนกับครู หรอื บุคลากรทางการศึกษา ตรวจสอบ ประวัติครู เชิญคณะกรรมการ สถานศกึ ษามาปรึกษา สถานศกึ ษาแตง่ ตัง้ คณะกรรมการสอบสวนขอ้ เทจ็ จรงิ ในสถานศึกษา และรายงานผู้บงั คบั บัญชา ทราบทนั ที 9. ดำเนินการทางวนิ ยั แก่ข;าราชการครู และบุคลากร ทางการศกึ ษาท่กี ระทำการคุกคามทางเพศ ดำเนินการทางอาญาและทางแพ่ง

15 10. สรุปและจัดทำรายงานเสนอผู้บริหารสถานศึกษาทราบ โดยเรง่ ด่วน 11. ประสานทีมสหวิชาชพี และประสานหน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้อง เชน่ สพป.สุรนิ ทร์ เขต 3 สำนักงาน พฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ บา้ นพักเด็กและครอบครวั สถานีตำรวจ องคก์ าร บรหิ ารส่วนท้องถนิ่ ผู้มหี นา้ ที่คมุ้ ครองสวัสดิภาพเดก็ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเดก็ พ.ศ. 2546 เป็นตน้ 12. ติดตามผล/เยีย่ มบา้ นเด็กนกั เรียนเป็นระยะ ให้คำปรึกษา/ ให้กำลังใจ 13. จัดทำเป็นกรณีศกึ ษาเพื่อเป็นขอ้ มลู และแนวทางในการปกปอ้ ง ค้มุ ครอง และดูแลชว่ ยเหลอื เด็กนกั เรยี นต่อไป 4. ภยั ทเี่ กดิ จากผลกระทบทางสุขภาวะทางกายและจติ ใจ (Unhealthiness) 4.1 ภาวะจิตเวช การปอ้ งกัน 1. ใช้กระบวนการระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียน ให้ครูทป่ี รกึ ษา ดแู ล เอาใจใส่เด็กนกั เรยี นอย่าง ใกล้ชิดจะทำให้มโี อกาสรับรู้ปัญหา 2. ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษายำ้ ให้ครูท่ปี รึกษา/ครูผู้สอนประเมิน และสงั เกตเด็กนักเรยี นในทกุ ครงั้ กอ่ นการสอนหรือทำกิจกรรม 3. จัดกิจกรรมทักษะชวี ิตในสถานศกึ ษา การปลกู ฝัง 1. ให้เจ้าหนา้ ท่ี แนะนำ และให้ความรู้ตอ่ นักเรียน ผู้ปกครอง ครู และบุคลากร เร่อื งพฤติกรรมที่ อาจนำไปสู่ภาวะจิตเวช 2. ทดสอบ ตรวจอาการ สำหรับนักเรยี นท่ีมีความเสยี่ งดา้ นภาวะจติ เวช 3. ให้นกั เรยี น สังเกต หรอื แจ้งพฤตกิ รรมของเพ่ือนนกั เรียนหากมคี วามผดิ ปกติ การปราบปราม 1. ครตู รวจสอบข้อมลู ประวัตเิ ด็กนกั เรียนโดยใช้กระบวนการ ระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น การ บันทึกข้อมูลและการจดั เก็บข้อมูล ตามแบบรายงาน ฉก.01 2. รายงานผู้บงั คับบญั ชา รว่ มปรึกษาหารือกบั ผู้เกี่ยวข้อง ในสถานศกึ ษา 3. ผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมายดำเนินการเกยี่ วขอ้ งกบั เด็กนักเรยี น ตั้งแตต่ น้ จนจบกระบวนการ 4. เชิญผู้ปกครอง/หรือผู้ทีเ่ ด็กนักเรยี นไว้วางใจ หรอื ผู้ท่ี เด็กนักเรยี นร้องขอมาพูดคยุ และให้ คำปรึกษา 5. กรณเี ด็กนักเรยี นท่ีมีปัญหาสขุ ภาพจติ จติ เวช กา้ วรา้ ว ความรนุ แรง เสย่ี งตอ่ การทำร้ายผู้อ่นื ทำร้ายตนเองหรอื ไดร้ ับอนั ตราย ประสานทมี สหวิชาชีพเพ่ือช่วยเหลอื /ส่งตอ่ เดก็ นักเรยี น 6. สรุปรายงานผลการดำเนนิ การแก่ผู้บริหาร 7. บนั ทกึ ในสมดุ หมายเหตุประจำวันของสถานศกึ ษา

16 8. จัดทำเป็นกรณีศกึ ษาเพ่ือเป็นขอ้ มูลและแนวทางในการ ปกป้อง ค้มุ ครอง ช่วยเหลอื เดก็ นักเรยี นตอ่ ไป 4.2 ตดิ เกม การปอ้ งกัน 1. สถานศกึ ษามีมาตรการกำกับดูแล กรณีเด็กนักเรยี น ติดเกม/อินเทอร์เน็ต/เลน่ พนนั 2. ให้ความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์และโทษของการเลน่ เกม/ อินเทอร์เน็ต 3. ครชู ่วยดแู ลเดก็ นกั เรยี นเพ่ือป้องกนั ปัญหาการติดเกม/ อินเทอร์เน็ต/เลน่ พนนั โดยการติดตาม พฤติกรรมของเด็กนักเรยี น อาจมอบหมายงาน ให้เด็กนักเรียนไดใ้ ช้คอมพวิ เตอร์และ อนิ เทอร์เนต็ เป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ทที่ า้ ทาย เสริมสรา้ งความรู้สกึ มีคุณค่า ใน ตนเอง รวมถึงการสรา้ งสัมพนั ธภาพท่ีดีในโรงเรยี น 4. ขอความร่วมมอื จากผู้ปกครอง ช่วยดแู ลเด็กนักเรยี น เรือ่ ง การเลน่ เกม/อินเทอร์เนต็ /เล่นพนนั การปลกู ฝัง 1. สถานศกึ ษาจัดกิจกรรมที่สร้างการเรยี นรู้ท่นี อกเหนือจาการเล่นเกม 2. สถานศึกษาสร้างจิตสำนกึ ท่ีดีในการใช้อปุ กรณห์ รอื โทรศัพท์ท่เี กิดประโยชน์ 3. แนะนำให้นักเรียน ครู และบุคลากร ตรวจสอบตกั เตือนหากมีนักเรียนท่ียงั ติดเกม การปราบปราม 1. ครูทป่ี รกึ ษา/ครูผู้สอน ให้คำแนะนำ คำปรึกษา วธิ ีการใช้ส่อื ให้เป็นประโยชน์ในดา้ น การศึกษาหาแหลง่ เรยี นรู้โดยให้คน้ งานจาก อนิ เทอร์เน็ตมานำเสนอ เพ่ือทีเ่ ด็กนกั เรยี นจะไดม้ ี ความรู้ดา้ นอนื่ ดว้ ย จะได้ไมเ่ ล่นเกมเพยี งอยา่ งเดียว 2. เชิญผู้ปกครองพบปะพูดคุยปัญหา หรอื ใช้วธิ ีการเย่ียมบ้าน เพือ่ สบื เสาะหาข้อเทจ็ จริง หา แนวทางการแก้ไขเพื่อสรา้ งสัมพนั ธภาพ อันดีระหว่างเด็กนักเรียน ผู้ปกครอง และสถานศกึ ษา ปรับพฤติกรรม สง่ เสริมการจัดกิจกรรมสรา้ งแรงจูงใจ และการเสรมิ แรงอยา่ งเหมาะสม และ ตอ่ เน่อื ง 3. ปรบั พฤติกรรมแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างสมำ่ เสมอ และ ตดิ ตาประเมินผลพฤติกรรมเป็นระยะ 4. หากพบวา่ เด็กนกั เรยี นยงั มพี ฤติกรรมตดิ เกม/อินเทอร์เน็ต/ เลน่ พนนั ให้สถานศึกษาประสาน ทีมสหวชิ าชพี ให้ความชว่ ยเหลอื ตอ่ ไป 4.3 ยาเสพตดิ การป้องกัน 1. เสริมสร้างภมู คิ มุ้ กันและทักษะชีวติ ให้เด็กนกั เรียน 2. จัดกจิ กรรมการป้องกนั เฝา้ ระวัง และแก้ไขปัญหายาเสพติด ในสถานศกึ ษา 3. พัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี นให้เข้มแขง็ 4. การดำเนนิ งานในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ในสถานศกึ ษาควรให้เด็กนกั เรยี น เขา้ มามสี ่วนรว่ มในการดำเนินงาน โดยมคี รูเป็นผู้คอยให้การสนบั สนุน ให้คำแนะนำและดูแล

17 5. สถานศกึ ษาตอ้ งดำเนินการตามโครงการสถานศกึ ษาสขี าว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุขของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และนโยบายของ สพฐ. การปลกู ฝงั 1. เสริมสร้างภมู คิ ุม้ กนั และทักษะชีวติ ให้เดก็ นักเรยี น 2. จัดกจิ กรรมการป้องกนั เฝา้ ระวงั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ในสถานศกึ ษา 3. พฒั นาระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี นให้เขม้ แขง็ 4. การดำเนนิ งานในการป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติด ในสถานศกึ ษาควรให้เด็กนักเรยี น เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการดำเนินงาน โดยมคี รูเป็นผู้คอยให้การสนบั สนนุ ใหค้ ำแนะนำและดูแล 5. สถานศึกษาตอ้ งดำเนินการตามโครงการสถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพตดิ และอบายมุขของ กระทรวงศกึ ษาธิการ และนโยบาย ของ สพฐ. การปราบปราม 1. ครูทปี่ รึกษาคัดกรองเด็กนักเรียนเป็นรายบคุ คล ให้ได้ ออกมา 4 กลุ่ม ได้แก่กลมุ่ ปกติกลุ่มเสยี่ ง กลุ่มเสพ/ติด และกลมุ่ ค้า 2. หากครทู ป่ี รึกษาพบเด็กนกั เรียนกลมุ่ เสีย่ ง กลุม่ เสพ/ติด ให้เชิญผู้ปกครองพบปะพูดคุยปัญหา หรอื ใช้วธิ กี ารเยีย่ มบา้ น 3. กรณีพบเด็กนักเรียนเสพยาเสพตดิ หรือมียาเสพติดไว้ใน ครอบครองให้ดำเนนิ การ ดงั นี้ 3.1 ตดิ ตอ่ กับผู้ปกครองเพอื่ หาแนวทางป้องกนั และแกไ้ ข ปัญหาร่วมกนั 3.2 ดำเนนิ การตามแนวทางการดูแลช่วยเหลอื เด็กนักเรยี นกลมุ่ เสพตดิ โดยเข้าสู่กระบวนการ บำบัดรักษา 3.3 ติดตามผลการดำเนินการอยา่ งต่อเนอ่ื ง และรายงานผล การดำเนนิ การให้ผู้บรหิ าร สถานศกึ ษารับทราบ 3.4 สถานศกึ ษารายงาน สพป. สุรินทร์ เขต 3 4. กรณพี บว่านักเรยี นเป็นผู้คา้ ให้เจ้าหน้าทผ่ี ู้มีอำนาจดำเนินการ ตามกฎหมาย 5. กรณีเดก็ นักเรียนถูกควบคุมตัวหรอื เข้าสู่กระบวนการ ยตุ ธิ รรมให้สถานศึกษาดำเนนิ การออก หนงั สือรบั รองการเป็นนักเรยี น เพ่ือเป็นหลกั ฐานประกอบ 4.4 โรคระบาดในมนษุ ย์ การป้องกัน 1. ครูท่ปี รึกษาคัดกรองเดก็ นักเรียนเป็นรายบุคคล ให้ได้ ออกมา 4 กลุ่ม ได้แก่กลมุ่ ปกติกลุ่มเส่ยี ง กลุม่ เสพ/ตดิ และกลมุ่ ค้า 2. หากครทู ่ีปรึกษาพบเด็กนกั เรียนกลุ่มเสี่ยง กล่มุ เสพ/ตดิ ให้เชญิ ผู้ปกครองพบปะพูดคยุ ปัญหา หรือใช้วธิ ีการเยีย่ มบ้าน 3. กรณพี บเด็กนักเรียนเสพยาเสพตดิ หรือมยี าเสพติดไว้ใน ครอบครองให้ดำเนินการ ดงั น้ี 3.1 ตดิ ตอ่ กบั ผู้ปกครองเพอ่ื หาแนวทางป้องกนั และแกไ้ ข ปัญหารว่ มกนั

18 3.2 ดำเนินการตามแนวทางการดแู ลช่วยเหลอื เด็กนกั เรียนกลมุ่ เสพ/ตดิ โดยเข้าสู่ กระบวนการบำบัดรกั ษา 3.3 ตดิ ตามผลการดำเนินการอย่างต่อเนอื่ ง และรายงานผล การดำเนนิ การให้ผู้บริหาร สถานศกึ ษารับทราบ 3.4 สถานศกึ ษารายงาน สพป. สรุ ินทร์ เขต 3 4. กรณพี บวา่ นักเรยี นเป็นผู้ค้าให้เจา้ หนา้ ทผี่ ู้มีอำนาจดำเนินการ ตามกฎหมาย 5. กรณีเด็กนักเรยี นถูกควบคุมตัวหรอื เข้าสู่กระบวนการ ยุตธิ รรมให้สถานศึกษาดำเนนิ การออก หนงั สอื รับรองการเป็นนักเรียน เพ่อื เป็นหลกั ฐานประกอบ การปลูกฝงั 1. สถานศึกษาจัดกจิ กรรมส่งเสริมการป้องกนั การแพร่ระบาด 2. สถานศกึ ษาให้ความรู้ ความเข้าใจ และวิธีการป้องกันการแพร่ระบาด 3. สถานศึกษาเชิญวทิ ยากรมาให้ความรู้อย่างน้อยปีละสองครั้ง การปราบปราม 1. คดั กรองนกั เรยี น แยกเดก็ นักเรยี นท่ีปว่ ยออก 2. ส่งตอ่ สถานพยาบาลใกล้เคียง หรือโทรศพั ท์แจ้งศูนย์ฉุกเฉิน โทร. 1669 3. ผู้บงั คบั บญั ชาโดยใช้ช่องทางการส่ือสารทีร่ วดเรว็ ที่สุด 4. แจง้ บดิ ามารดา ญาติและผู้ปกครองทราบ 5. กรณเี ป็นโรคติดต่อให้ผู้บริหารสถานศกึ ษาพจิ ารณา ปิดสถานศกึ ษา โดยคำแนะนำจาก สถานพยาบาลในพน้ื ที่ 6. ทำความสะอาด ฆา่ เชือ้ โรค โดยประสานกับสาธารณสุข และองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นใน พ้นื ที่ 7. ตดิ ตามผลเฝา้ ระวงั การระบาดของโรคติดตอ่ และป้องกนั การแพร่ระบาด 4.4 การพนัน การปอ้ งกนั 1. สถานศึกษามีมาตรการกำกบั ดแู ล กรณีเด็กนักเรยี น เล่นพนัน 2. ให้ความรู้ความเขา้ ใจ ประโยชน์และโทษของเล่นการพนัน 3. ครชู ่วยดแู ลเด็กนักเรยี นเพอ่ื ป้องกันปัญหาการเล่นพนัน 4. ขอความรว่ มมือจากผู้ปกครอง ชว่ ยดูแลเด็กนกั เรยี น เรอ่ื ง เลน่ พนัน 5. จัดกจิ กรรมสร้างภมู ิคมุ้ กันเพื่อพัฒนาทักษะชีวติ รว่ มกนั ระหวา่ งบ้าน สถานศกึ ษา และชุมชน การปลูกฝัง 1. สถานศกึ ษาจดั กจิ กรรมที่สรา้ งการเรยี นรู้ และสร้างความเข้าใจเร่ืองการเลน่ พนัน 2. สถานศกึ ษาสร้างจิตสำนกึ ที่ดีในการเลน่ หรอื ทำกจิ กรรมที่ไม่ต้องเล่นการพนนั 3. แนะนำให้นักเรียน ครู และบุคลากร ตรวจสอบตกั เตอื นหากมนี ักเรียนที่เลน่ การพนนั

19 การปราบปราม 1. ครูที่ปรกึ ษา/ครูผู้สอน ให้คำแนะนำ คำปรึกษา ให้เป็นประโยชน์ในการไมเ่ ลน่ การพนัน 2. เชญิ ผู้ปกครองพบปะพูดคุยปัญหา หรือใช้วธิ กี ารเย่ยี มบา้ น เพอื่ สืบเสาะหาข้อเท็จจรงิ หา แนวทางการแก้ไขเพื่อสรา้ งสัมพันธภาพ อันดีระหว่างเด็กนักเรียน ผู้ปกครอง และสถานศึกษา ปรบั พฤติกรรม ส่งเสริมการจัดกจิ กรรมสร้างแรงจูงใจ และการเสริมแรงอย่างเหมาะสม และ ตอ่ เน่อื ง 3. ปรบั พฤติกรรมแบบคอ่ ยเป็นค่อยไปอย่างสมำ่ เสมอ และติดตามประเมินผลพฤติกรรม 4. หากพบวา่ เด็กนกั เรียนยังมีพฤติกรรมเล่นการพนนั ให้สถานศกึ ษาความชว่ ยเหลือตอ่ ไป

20 บทท่ี 4 การขับเคล่อื นแผนสู่การปฏิบัติ การดำเนินการทุกอย่างเพ่ือให้นโยบาย บรรลุวัตถปุ ระสงค์ท่ีกำหนดไว้ การนำไปสกู่ ารปฏิบตั ิ เป็นการ นำโครงการ/กิจกรรมที่ได้กำหนดไว้ในแผนไป ดำเนินการให้บรรลุตามเป้าหมายโดยต้องกำหนด องค์กรหรือ บุคคลทร่ี บั ผิดชอบ และวธิ ีการดำเนินการ ชัดเจน 1. การเสรมิ สรา้ งความเข้าใจเกย่ี วกับแผนการป้องกนั ภยั ในสถานศกึ ษา 2. การบรู ณาการประสานร่วมกับแผนอน่ื ๆ 3. การประชาสมั พนั ธ์สอื่ ตา่ ง ๆ 4. จดั ประชุมเพื่อสร้างความเขา้ ใจกับหน่วยงานทเี่ กย่ี วข้อง

21 บทท่ี 5 การติดตามและประเมินผล การเก็บรวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงานตามแผนงานที่กำหนดไว้ เพื่อตัดสินใจแก้ไขปรับปรุงวิธีการ ปฏิบัติให้ผลงานเป็นไปตามแผนงานอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด โดยมุ่งที่จะตอบคำถามหลักว่า ในการ ดำเนนิ การน้ันไดร้ บั ทรพั ยากรครบถว้ นหรือไม่ ได้ปฏบิ ัตติ ามแผนงานที่กำหนดไวห้ รือไม่ ขอ้ มลู ท่ตี ิดตามจะเป็น ประโยชน์อย่างยิ่งต่อการเร่งรัดให้งานหรือโครงการดำเนินไปตามเป้าหมายของแผนงานและแล้วเสร็จภายใน เวลาท่กี ำหนด 1. แต่งตง้ั คณะกรรมการกำกับติดตามและประเมนิ ผลการดำเนนิ การด้านความปลอดภยั ในสถานศึกษา 2. จดั ทำเครื่องมือในการกำกับติดตามและประเมนิ ผลการดำเนนิ การดา้ นความปลอดภัยในสถานศึกษา ที่สอดคล้องกบั ตวั ชีว้ ดั 3. กำหนดปฏิทินการกำกบั ติดตามและประเมนิ ผลการดำเนินการด้านความปลอดภัยอยา่ งน้อย ภาคเรียนละ 1 คร้ัง 4. สรปุ ผลการดำเนินงานดา้ นความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา รวมทง้ั ข้อเสนอแนะ จุดเดน่ และจุด ท่คี วรพฒั นา 5. เผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธผ์ ลการดำเนนิ งานความปลอดภัยสถานศึกษา

22 ภาคผนวก

23

24

25

26

27

28

แผนปฏิบตั กิ ารปอ้ งกนั ภยั ในสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2565