Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานเรื่องความฉลาดทางดิจิทัล  (DQ Digital  Intelligence Quotient)

รายงานเรื่องความฉลาดทางดิจิทัล  (DQ Digital  Intelligence Quotient)

Published by Yolladawan Ounruen, 2022-02-15 07:31:30

Description: เอกสารฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา PC62506

Search

Read the Text Version

รายงาน วชิ า นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสรเทศเพื:อการสื:อสาร เร:ือง ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั (DQ Digital Intelligence Quotient) เสนอ อาจารย์ สุธิดา ปรีชานนท์ จดั ทาํ โดย นางสาวยลดาวรรณ อ่นุ เรือน ชUันปี ท:ี V รหัสนักศึกษา Z[\\]\\[^_` ภาคเรียนที: V ปี การศึกษา V`Z\\ สาขาวชิ าคณติ ศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมู่บ้านจอมบึง จงั หวดั ราชบุรี

ก คาํ นํา รายงานเล่มน,ีจดั ทาํ ข,ึนเพ6ือเป็นส่วนหน6ึงของรายวชิ านวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื6อการ สื6อสาร (DQ Digital Intelligence Quotient) เพ6ือใหผ้ อู้ ่านไดศ้ ึกษาหาความรู้ในเร6ือง ความฉลาดทางดิจิทลั (DQ Digital Intelligence Quotient) และไดศ้ ึกษาอยา่ งเขา้ ใจเพื6อเป็นประโยชนใ์ นการเรียนรู้ และการนาํ ไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั ผจู้ ดั ทาํ หวงั วา่ รายงานเล่มน,ีจะเป็นประโยชนก์ บั ผอู้ ่าน และผทู้ 6ีไดเ้ ขา้ มาศึกษาหาความรู้ หากมี ขอ้ แนะนาํ หรือขอ้ ผดิ พลาดประการใด ผจู้ ดั ทาํ ขอนอ้ มรับไวแ้ ละขออภยั มา ณ ที6น,ีดว้ ย ยลดาวรรณ อุ่นเรือน ผจู้ ดั ทาํ

ข สารบญั หน้า เรื-อง ก ข คาํ นาํ 1 สารบญั 2 3 ความหมายของความฉลาดทางดิจิทลั (DQ Digital Intelligence Quotient) 4 5 ความเป็นพลเมืองดิจิทลั (Digital Citizenship) คืออะไร 6 ทกั ษะในการรักษาอตั ลกั ษณ์ท6ีดีของตนเอง(Digital Citizen Identity) 7 ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์มีวจิ ารณญาณท6ีดี (Critical Thinking) 8 ทกั ษะในการรักษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกไซเบอร์ (Cybersecurity Management) 9 ทกั ษะในการรักษาขอ้ มูลส่วนตวั (Privacy Management) 10 ทกั ษะในการจดั สรรเวลาหนา้ จอ (Screen Time Management) 11 ทกั ษะในการบริหารจดั การขอ้ มูลท6ีผใู้ ชง้ านมีการทิ,งไวบ้ นโลกออนไลน(์ Digital Footprints) ค ทกั ษะในการรับมือกบั การกลน6ั แกลง้ บนโลกไซเบอร์ (Cyberbullying Management) ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งมีจริยธรรม (Digital Empathy) สรุ ปการเป็ นพลเมืองดิจิทลั บรรณานุกรม

1 ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั (DQ : Digital Intelligence Quotient) ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั (DQ: Digital Intelligence) คืออะไร ความฉลาดทางดิจิทลั (DQ: Digital Intelligence Quotient) คือ กลุ่มความสามารถทางสงั คม อารมณ์ และการรับรู้ที6จะทาํ ใหค้ นคนหน6ึงสามารถเผชิญกบั ความทา้ ทายของชีวติ ดิจิทลั และสามารถปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั ชีวติ ดิจิทลั ได้ ความฉลาดทางดิจิทลั ครอบคลุมท,งั ความรู้ ทกั ษะ ทศั นคติและค่านิยมท6ีจาํ เป็นต่อการใช้ ชีวติ ในฐานะสมาชิกของโลกออนไลน์ หรือ ทกั ษะการใชส้ ื6อและการเขา้ สงั คมในโลกออนไลน์ ความฉลาดทางดิจิทลั เป็นผลจากศึกษาและพฒั นาของ DQ institute หน่วยงานท6ีเกิดจากความ ร่วมมือกนั ของภาครัฐและเอกชนทวั6 โลกประสานงานร่วมกบั เวลิ ดอ์ ีโคโนมิกฟอรั6ม (World Economic Forum) ท6ีมุ่งมน6ั ใหเ้ ดก็ ๆทุกประเทศไดร้ ับการศึกษาดา้ นทกั ษะพลเมืองดิจิทลั ท6ีมีคุณภาพและใชช้ ีวติ บนโลก ออนไลนอ์ ยา่ งปลอดภยั ดว้ ยความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยสี มยั ใหม่ อยา่ งไรกต็ าม ระดบั ทกั ษะความฉลาด ทางดิจิทลั ของเดก็ ไทยตามรายงาน DQ report 2018 ยงั อยใู่ นระดบั ต6าํ อยู่ ท,งั น,ีเนื6องจาก สาํ นกั งานส่งเสริม เศรษฐกิจดิจิทลั (ดีป้า) กระทรวงดิจิทลั เพ6ือเศรษฐกิจและสงั คม, สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข,นั พ,ืนฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ และ DQ Instate ร่วมกนั ทาํ โครงการ #DQEveryChild โดยศึกษา เดก็ ไทยอายุ Š-Œ• ปี ทวั6 ประเทศ Œ,Ž•• คน ผา่ นแบบสาํ รวจออนไลน์ DQ Screen Time Test ชุดเดียวกนั กบั เดก็ ประเทศอ6ืนๆรวมกลุ่มตวั อยา่ งทวั6 โลกท,งั สิ,น Ž•,‘’• คน ผลการศึกษาพบวา่ เดก็ ไทยมีความเส6ียงจากภยั ออนไลนถ์ ึง ’•% ในขณะท6ีค่าเฉลี6ยของการศึกษาคร,ังน,ีอยทู่ ี6 ”’% (จาก •‘ ประเทศทว6ั โลก) ภยั ออนไลนท์ ี6 พบจากการศึกษาชุดน,ีประกอบไปดว้ ย การกลนั6 แกลง้ บนโลกออนไลน์ , ถูกล่อลวงออกไปพบคนแปลกหนา้ จากสื6อสงั คมออนไลน์ , ปัญหาการเล่นเกม เดก็ ติดเกม , ปัญหาการเขา้ ถึงส6ือลามกอนาจาร , ดาวนโ์ หลดภาพ หรือวดิ ีโอท6ียวั6 ยอุ ารมณ์เพศ และพดู คุยเร6ืองเพศกบั คนแปลกหนา้ ในโลกออนไลน์ ดงั น,นั ทกั ษะความฉลาด ทางดิจิทลั จึงควรท6ี จะถูกนาํ มาใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพและความสามารถของเยาวชนไทย

2 ความเป็ นพลเมืองดจิ ทิ ลั (Digital Citizenship) คืออะไร ความเป็นพลเมืองดิจิทลั คือ พลเมืองผใู้ ชง้ านสื6อดิจิทลั และสื6อสงั คมออนไลนท์ 6ีเขา้ ใจบรรทดั ฐาน ของการปฏิบตั ิตวั ใหเ้ หมาะสมและมีความรับผดิ ชอบในการใชเ้ ทคโนโลยี โดยเฉพาะอยา่ งยง6ิ การสื6อสารใน ยคุ ดิจิทลั เป็นการสื6อสารที6ไร้พรมแดน สมาชิกของโลกออนไลนค์ ือทุกคนที6ใชเ้ ครือข่ายอินเตอร์เน็ตบนโลก ใบน,ี ผใู้ ชส้ ื6อสงั คมออนไลนม์ ีความหลากหลายทางเช,ือชาติ อายุ ภาษา และวฒั นธรรม พลเมืองดิจิทลั จึงตอ้ ง เป็นพลเมืองท6ีมีความรับผดิ ชอบ มีจริยธรรม เห็นอกเห็นใจและเคารพผอู้ ื6น มีส่วนร่วม และมุ่งเนน้ ความเป็น ธรรมในสงั คม การเป็นพลเมืองในยคุ ดิจิทลั น,นั มีทกั ษะที6สาคญั Š ประการ 1. ทกั ษะในการรักษาอตั ลกั ษณ์ท6ีดีของตนเอง (Digital Citizen Identity) 2. ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์มีวจิ ารณญาณท6ีดี (Critical Thinking) 3. ทกั ษะในการรักษาความปลอดภยั ของตนเอง ในโลกไซเบอร์ (Cybersecurity Management) 4. ทกั ษะในการรักษาขอ้ มูลส่วนตวั (Privacy Management) 5. ทกั ษะในการจดั สรรเวลาหนา้ จอ (Screen Time Management) 6. ทกั ษะในการบริหารจดั การขอ้ มูลท6ีผใู้ ชง้ าน มีการทิ,งไวบ้ นโลกออนไลน์ (Digital Footprints) 7. ทกั ษะในการรบั มอื กบั การกลนั6 แกลง้ บนโลกไซเบอร์ (Cyberbullying Management) 8. ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งมีจริยธรรม (Digital Empathy)

ทกั ษะในการรักษาอตั ลกั ษณ์ทด-ี ขี องตนเอง (Digital Citizen Identity) 3 ตอ้ งมีความสามารถในการสร้างสมดุล บริหารจดั การ สามารถจดั การอตั ลกั ษณ์ที6ดีของตนเองไวไ้ ด้ อยา่ งดีท,งั ในโลกออนไลนแ์ ละโลกความจริงผใู้ ชส้ 6ือดิจิทลั สร้างภาพลกั ษณ์ในโลกออนไลนข์ องตนเองในแง่ บวกท,งั ความคิด ความรู้สึก และการกระทาํ โดยมีวจิ ารณญาณในการรับส่งข่าวสารและแสดงความคิดเห็น มี ความเห็นอกเห็นใจผรู้ ่วมใชง้ านในสงั คมออนไลน์ เชลล์ การละเมิดลิขสิทธ–ิ การกลนั6 แกลง้ หรือการใชว้ าจา ท6ีสร้างความเกลียดชงั ผอู้ ื6นทางสื6อออนไลน์

ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์มวี จิ ารณญาณทดี- ี (Critical Thinking) 4 สามารถคิด วเิ คราะห์ แยกแยะ ระหวา่ งขอ้ มูลท6ีถูกตอ้ งและขอ้ มูลท6ีผดิ ขอ้ มูลท6ีมีเน,ือหาที6เป็น ประโยชนแ์ ละขอ้ มูลท6ีเขา้ ข่ายอนั ตราย ขอ้ มูลติดต่อทางออนไลนท์ ี6หนา้ ต,งั ขอ้ สงสยั และน่าเช6ือถือได้ เม6ือใช้ อินเทอร์เน็ตจะรู้วา่ เน,ือหาอะไรที6เป็นสาระและมีประโยชน์ หาคาํ ตอบใหช้ ดั เจนก่อนท6ีจะเชื6อและก่อนที6จะ นาํ ขอ้ มูลไปเผยแพร่ การรู้เท่าทนั สื6อและสารสนเทศจะทาํ ใหเ้ ราน,นั สามารถวเิ คราะห์และประเมินขอ้ มูลจาก แหล่งขอ้ มูลที6หลากหลายได้ เขา้ ใจรูปแบบการหลอกลวงต่างๆในโลกไซเบอร์ เช่น ข่าวปลอม เวบ็ ปลอม ภาพตดั ต่อ

5 ทกั ษะในการรักษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกไซเบอร์ (Cybersecurity Management) สามารถป้องกนั ขอ้ มูลดว้ ยการสร้างระบบความปลอดภยั และป้องกนั การโจรกรรมขอ้ มูล มีทกั ษะ ในการรักษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน์ การรักษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกไซเบอร์ คือ การปกป้องอุปกรณ์ท6ีจะตอ้ งขอ้ มูลท6ีจดั เกบ็ และขอ้ มูลส่วนตวั ไม่ใหเ้ สียหาย สูญหาย หรือถูกโจรกรรม จากผทู้ ี6ไม่หวงั ดีในโลกไซเบอร์ การรักษาความปลอดภยั ทางดิจิทลั มีความสาํ คญั ดงั น,ี 1. เพื6อรักษาความเป็นส่วนตวั และความลบั 2. เพื6อป้องกนั การขโมยอตั ลกั ษณ์ 3. เพื6อป้องกนั การโจรกรรมขอ้ มูล 4. เพ6ือป้องกนั ความเสียหายของขอ้ มูลและอุปกรณ์

ทกั ษะในการรักษาข้อมูลส่วนตวั (Privacy Management) 6 มีความสามารถในการบริหารจดั การขอ้ มูลส่วนตวั รู้จกั ปกป้องขอ้ มูลความเป็นส่วนตวั ในโลก ออนไลน์ โดยเฉพาะการแชร์ขอ้ มูลออนไลนเ์ พ6ือป้องกนั ความเป็นส่วนตวั ท,งั ของตนเองและผอู้ ื6น รู้เท่าทนั ภยั คุกคามทางอินเทอร์เน็ต เช่น ไวรัสคอมพิวเตอร์ และกลลวงทางไซเบอร์ มีความสามารถในการบริหาร จดั การขอ้ มูลส่วนตวั โดยเฉพาะการแชร์ขอ้ มูลออนไลนเ์ พ6ือป้องกนั ความเป็นส่วนตวั ท,งั ของตนเองและของ ผอู้ 6ืนเป็นส6ิงสาํ คญั ท6ีตอ้ งประกอบอยใู่ นพลเมืองดิจิทลั ทุกคน แลว้ จะตอ้ งมีความตระหนกั ในความเท่าเทียม กนั ทางดิจิทลั เคารพในสิทธิของคนทุกคน รวมถึงตอ้ งมีวจิ ารณญาณในการรักษาความปลอดภยั ของขอ้ มูล ตนเองในสงั คมดิจิทลั รู้วา่ ขอ้ มูลใดควรเผยแพร่ขอ้ มูลไดไ้ ม่ควรเผยแพร่ และตอ้ งจดั การความเสี6ยงของ ขอ้ มูลของตนเองในส6ือสงั คมดิจิทลั ไดด้ ว้ ย

ทกั ษะในการจดั สรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) 7 สามารถบริหารเวลาที6ใชอ้ ุปกรณ์ยคุ ดิจิทลั รวมไปถึงการควบคุมเพื6อใหเ้ กิด สมดุลระหวา่ งโลก ออนไลนแ์ ละโลกภายนอก ควรตระหนกั ถึงอนั ตรายจากการใชเ้ วลาหนา้ จอนานเกินไป และผลเสียของการ เสพติดสื6อดิจิทลั นบั เป็นอีกหน6ึงความสามารถท6ีบ่งบอกถึงความเป็นพลเมืองดิจิทลั ไดเ้ ป็นอยา่ งดี เพราะเป็น ที6รู้กนั อยแู่ ลว้ วา่ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศที6ขาดความเหมาะสมยอ่ มส่งผลเสียต่อสุขภาพโดยรวมท,งั ความเครียดต่อสุขภาพจิต และเป็นสาเหตุก่อใหเ้ กิดความเจบ็ ป่ วยทางกายซ6ึงจะนาํ ไปสู่การสูญเสียทรัพยส์ ิน เพ6ือใชใ้ นการรักษาและเสียสุขภาพในระยะยาวโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์

8 ทกั ษะในการบริหารจดั การข้อมูลทผี- ู้ใช้งานมกี ารทงิn ไว้บนโลกออนไลน์(Digital Footprints) สามารถเขา้ ใจธรรมชาติของการใชช้ ีวติ ในโลกดิจิทลั วา่ จะหลงเหลือร่องรอยขอ้ มูลทิ,งไวเ้ สมอรวม ไปถึง ถึงเขา้ ใจผลลพั ธ์ท6ีอาจเกิดข,ึน เพ6ือการดูแลส6ิงเหล่าน,ีอยา่ งมีความรับผดิ ชอบ รอยเทา้ ดิจิทลั คือคาํ ท6ีใช้ เรียกร่องรอยการกระทาํ ต่างๆ ที6ผใู้ ชง้ านทิ,งร่องรอยเอาไวใ้ นโลกออนไลน์ โซเชียลมีเดีย เวบ็ ไซต์ หรือ โปรแกรมสนทนา เช่นเดียวกบั รอยเทา้ ของคนเดินทาง ขอ้ มูลดิจิทลั เช่น การลงทะเบียน อีเมล การโพสขอ้ ความ หรือรูปภาพ เม6ือถูกส่งเขา้ โลกไซเบอร์แลว้ จะทิ,งร่องรอยขอ้ มูลส่วนตวั ของผใู้ ชไ้ วใ้ หผ้ อู้ 6ืนติดตามได้ เสมอ แมผ้ ใู้ ชจ้ ะลบไปแลว้ ดงั น,นั หากเป็นการกระทาํ ท6ีผดิ กฎหมายหรือผดิ ศีลธรรมกอ็ าจมีผลกระทบต่อ ช6ือเสียงและภาพลกั ษณ์ของผกู้ ระทาํ กล่าวง่ายๆคือ รอยเทา้ ดิจิทลั คือทุกสิ6งทุกอยา่ งในโลกอินเตอร์เน็ตที6 บอกเร6ืองของเรา ความเป็นพลเมืองดิจิทลั จึงตอ้ งมีทกั ษะความสามารถที6จะเขา้ ใจธรรมชาติของการใชช้ ีวติ ในโลกดิจิทลั วา่ จะหลงเหลือร่องรอยขอ้ มูลทิ,งไวเ้ สมอ รวมไปถึงตอ้ งเขา้ ใจผลลพั ธ์ท6ีอาจเกิดข,ึน เพ6ือการ ดูแลสิ6งเหล่าน,ีอยา่ งมีความรับผดิ ชอบ

9 ทกั ษะในการรับมือกบั การกลน-ั แกล้งบนโลกไซเบอร์ (Cyberbullying Management) การกลน6ั แกลง้ บนโลกไซเบอร์ คือ การกลนั6 แกลง้ รังแก หรือคุกคามโดยเจตนาผา่ นสื6อดิจิทลั หรือ สื6อออนไลน์ เช่น ผทู้ ี6กลนั6 แกลง้ จะส่งขอ้ ความหรือรูปภาพผา่ น SMS กล่องขอ้ ความ และแอพพลิเคชนั6 หรือ ส่งผา่ นออนไลนใ์ นโซเชียลมีเดีย กระดานสนทนา หรือเกมออนไลนท์ ี6ผใู้ ชส้ ามารถเปิ ดดู มีส่วนร่วมหรือ แบ่งปันเน,ือหากนั ได้ การกลน6ั แกลง้ บนโลกไซเบอร์คลา้ ยกบั การกลน6ั แกลง้ ในรูปแบบอื6น แต่การกลนั6 แกลง้ ประเภทน,ีทาํ ผา่ นสื6อออนไลนห์ รือส6ือดิจิทลั เช่น การส่งขอ้ ความทางโทรศพั ท์ ผกู้ ลนั6 แกลง้ อาจจะเป็นเพ6ือน ร่วมช,นั คนรู้จกั ในส6ือสงั คมออนไลน์ หรืออาจจะเป็นคนแปลกหนา้ แต่ส่วนใหญ่ผทู้ 6ีกระทาํ จะรู้จกั ผทู้ ี6ถูก กลน6ั แกลง้ โดยมีเจตนาแยใ่ หต้ อบโตก้ ลบั มาดว้ ยถอ้ ยคาํ รุนแรง การใส่ความ พกู่ นั แกลง้ จะเผยแพร่ขอ้ มูลเทจ็ ทาํ ใหผ้ อู้ 6ืนไดร้ ับความเสียหายแลว้ นาํ ขอ้ มูลส่วนตวั หรือความลบั ของผอู้ ื6นไปเผยแพร่ในโลกออนไลนโ์ ดยมี เจตนาเพ6ือใหอ้ บั อาย การล่อลวง การใชอ้ ุบายใหผ้ อู้ 6ืนเปิ ดเผยขอ้ มูลส่วนตวั หรือความลบั ท6ีน่าอายแลว้ นาํ ไป เผยแพร่ต่อในสงั คมออนไลน์ การขโมยอตั ลกั ษณ์ดิจิทลั ข่กู นั แกลง้ จะขโมยรูปภาพของผอู้ ื6น แลว้ นาํ ไปสร้าง ตวั ตนใหม่ เพื6อหวงั ผลในการหลอกลวง การก่อกวน คุกคาม ผกู้ ลน6ั แกลง้ จะคุกคามก่อกวนผอู้ 6ืนซ,าํ ซ,าํ หลาย คร,ัง โดยส่งขอ้ ความก่อกวน ขา้ ม หรือข่มข่ใู หห้ วาดกลวั การคุกคามข่มข่อู ยา่ งจริงจงั และรุนแรงผา่ นสื6อ ดิจิทลั ผกู้ ลนั6 แกลง้ จะข่มข่วู า่ จะทาํ ใหเ้ หยอื6 เสียช6ือเสียงหรือจะทาํ ร้ายร่างกาย

ทกั ษะการใช้เทคโนโลยอี ย่างมจี ริยธรรม (Digital Empathy) 10 มีความเห็นอกเห็นใจ และสร้างความสมั พนั ธ์ท6ีดีกบั ผอู้ 6ืนบนโลกออนไลนแ์ มจ้ ะเป็นการส6ือสารที6 ไม่ไดเ้ ห็นหนา้ กนั มีปฏิสมั พนั ธ์อนั ดีต่อคนรอบขา้ ง ไม่วา่ จะเป็นพอ่ แม่ ครู เพื6อน ท,งั ในโลกออนไลนแ์ ละใน ชีวติ จริง ไม่ด่วนตดั สินผอู้ 6ืนจากขอ้ มูลออนไลนแ์ ต่เพียงอยา่ งเดียว และช่วยเหลือผทู้ 6ีตอ้ งการความช่วยเหลือ คิดก่อนจะโพสตล์ งบนสงั คมออนไลน์ (Think Before You Post) ก่อนที6จะโพสตร์ ูปหรือขอ้ ความลงในส6ือ ออนไลน์ ไม่ควรโพสตข์ ณะกาํ ลงั อยใู่ นอารมณ์โกรธ สื6อสารกบั ผอู้ ื6นดว้ ยเจตนาดี ไม่ใชว้ าจาท6ีสร้างความ เกลียดชงั ทางออนไลน์ ไม่ล่วงเกินขอ้ มูลส่วนตวั ของผอู้ ื6น ไม่กลน6ั แกลง้ ผอู้ 6ืนผา่ นส6ือดิจิทลั ความสามารถในการเห็นอกเห็น และสร้างความสมั พนั ธ์ท6ีดีกบั ผอู้ ื6นบนโลกออนไลน์ พลเมือง ดิจิทลั ท6ีดีจะตอ้ งรู้ถึงคุณค่าและจริยธรรมจากการใชเ้ ทคโนโลยี ตอ้ งตระหนกั ถึงผลพวงทางสงั คม การเมือง เศรษฐกิจ และวฒั นธรรม ท6ีเกิดจากการใชอ้ ินเทอร์เน็ต การกดไลคก์ ดแชร์ขอ้ มูล ข่าวสารออนไลน์ รวมถึง รู้จกั สิทธิและความรับผดิ ชอบออนไลน์ เช่น เสรีภาพในการเคารพทรัพยส์ ินทางปัญญาของผอู้ 6ืน และการ ปกป้องตนเองและชุมชนจากความเสี6ยงออนไลน์ เช่นการกลนั6 แกลง้ ออนไลน์ ภาพลามกอนาจารเดก็ การส แปม เป็นตน้

สรุปความฉลาดทางดจิ ทิ ลั 11 การจะเป็นพลเมืองดิจิทลั ที6ดีน,นั ตอ้ งมีความฉลาดทางดิจิทลั ซ6ึงประกอบข,ึนดว้ ยชุดทกั ษะและ ความรู้ ท,งั ในเชิงเทคโนโลยแี ละการคิดข,นั สูง หรือที6เรียกวา่ ความรู้ดิจิทลั เพื6อใหส้ ามารถใชป้ ระโยชนจ์ าก ขอ้ มูลข่าวสารในโลกไซเบอร์ รู้วธิ ีป้องกนั ตนเองจากความเสี6ยงต่างๆในโลกออนไลน์ เขา้ ใจถึงสิทธิ ความ รับผดิ ชอบ และจริยธรรมท6ีสาํ คญั ในยคุ ดิจิทลั และใชป้ ระโยชนจ์ ากอินเตอร์เน็ตในการมีส่วนร่วมทางการ เมือง เศรษฐกิจ สงั คม และวฒั นธรรม ที6เกี6ยวกบั ตนเอง ชุมชน ประเทศ และพลเมืองบนโลก ไดอ้ ยา่ ง สร้างสรรค์

บรรณานุกรม ค ฉตั รพงศ์ ชูแสงนิล. (•”’•). ความฉลาดทางดิจิทลั (Digital intelligence). สืบคน้ Œ มกราคม •”’”, จาก https://www.scimath.org/article-technology/item/10611-digital-intelligence ดร.สรานนท์ อินทนนท.์ (•”’Ž). ความฉลาดทางดิจิทลั (DQ Digital Intelligence). สืบคน้ Œ มกราคม •”’”, จาก http://cclickthailand.com/wpcontent/uploads/2020/04/dq_FINAL.pdf ดร.สรวงมณฑ์ สิทฺสมาน. (•”’•). สร้างพลเมืองดิจิทลั ใหค้ งความเป็นมนุษย.์ สืบคน้ Œ มกราคม •”’”, จาก https://mgronline.com/qol/detail/9620000058138 สาํ นกั งานปลดั กระทรวงการอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม. (•”’•). ทกั ษะดิจิทลั กา้ วสู่ พลเมืองในศตวรรษที6 •Œ. สืบคน้ Œ มกราคม •”’”, จาก https://www.ops.go.th/main/index.php/knowledge- base/article-pr/1355-goto-citizens21st


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook