Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวการจัดการศึกษาตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ

แนวการจัดการศึกษาตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ

Published by oun_su, 2019-10-19 00:42:20

Description: แนวการจัดการศึกษาตาม
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ

Search

Read the Text Version

แนวการจดั การศกึ ษาตาม พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง ชาติ สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ ปฏิรูปการเรียนรู ปฏิรูปการเรียนรู

คาํ ชีแ้ จง บทนํา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ ไดดาํ เนินโครงการ เอกสารแนวการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ปฏิรูปการเรียนรู ตามแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 พ.ศ.2542 น้ี สถาบันแหงชาติเพื่อปฏิรูปการเรียนรู สาํ นกั งานคณะกรรมการ ซึ่งมีสาระสําคัญที่เก่ียวของกับการเรียนรูท้ังหมด 10 ประเด็น โดยมี การศกึ ษาแหง ชาติ ไดจ ดั ทําขึ้นเพื่อจาํ แนกแจกแจงสาระเกย่ี วกบั การจดั การ วัตถุประสงค คือ เพ่ือพัฒนาองคความรูเก่ียวกับการเรียนการสอนท่ีเนน ศึกษาที่ปรากฏในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติหมวดที่ 4 ตง้ั แตมาตรา ประโยชนของผูเรียนเปนสาํ คัญ การดาํ เนินการวิจัยพัฒนาและแสวงหา 22 ถงึ มาตรา 30 เพอ่ื ใหค รู อาจารย ผมู ีหนา ท่ีเก่ยี วของกับการจดั การ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูที่เนนประโยชนของผูเรียนเปนสาํ คัญใน ศึกษา ตลอดทง้ั ผสู นใจทว่ั ไป ไดเขา ใจสาระของแนวการจัดการศึกษาอยา ง สถานศกึ ษาสงั กดั ตา ง ๆ ทง้ั การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอธั ยาศยั ชัดเจน รวมทั้งการสรุปสาระสาํ คญั ในหมวดท่ี 4 เปนประเด็นตาง ๆ ทง้ั สน้ิ 10 รวมทั้งการสรางเครือขายเพื่อพัฒนาและสงเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู ประเด็น และใหคาํ นิยามเชิงปฏิบัติการ ขอบเขตเนอ้ื หา กลยุทธและเครื่องมือ ทเ่ี นน ประโยชนข องผเู รยี นเปน สําคัญ แกห นว ยงานทางการศกึ ษา และผูสนใจ สาํ คัญที่จะทําใหก ารเรยี นรใู นประเดน็ ตา ง ๆ ประสบผลสาํ เร็จ ซึ่งคาํ นิยาม ทั่วไป เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารไดผ า นการตรวจสอบ และใหขอ คิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ ผมู ี ประสบการณ ครู อาจารย นักเรยี น ผปู กครอง หลายคณะดวยกนั จนมนั่ ใจไดวา ในการดาํ เนินโครงการปฏริ ูปการเรยี นรูดังกลาว สถาบันแหงชาติเพื่อ สามารถนาํ ไปเปน แนวทางในการจดั กระบวนการเรยี นรูของครู อาจารย ได ปฏิรูปการเรียนรู (สปร.) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ ได พฒั นานยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารของประเดน็ การปฏริ ปู การเรยี นรทู ง้ั 10 ประเด็น อยางไรกต็ าม เพอ่ื การพัฒนาเอกสารน้ีใหมคี วามสมบรู ณค รบถว นมาก ซึ่งไดรวบรวมจากทฤษฎีการเรียนรู และองคความรตู าง ๆ ทเ่ี กย่ี วของ และ ขึน้ จึงขอใหทา นท่นี าํ สาระตามเอกสารนี้ไปใชในการพฒั นาการจัดการเรียนการ ผานการพิจารณา ตรวจสอบกลน่ั กรอง โดยคณะกรรมการโครงการปฏิรูปการ สอน โปรดเสนอแนะขอ คิดเห็นของทาน โดยเฉพาะในเรอ่ื งทีเ่ กยี่ วกบั กลยทุ ธ เรียนรู ผูทรงคุณวุฒิ ผูเชี่ยวชาญ ครูตนแบบ ครูแหงชาติ ผูบริหารโรงเรียน และเครื่องมือสาํ คัญ ท่จี ะชวยใหก ารปฏิรปู การเรียนรูในประเดน็ ตา ง ๆ ประสบ นกั วิจยั และนักเรียน จนไดเปนนิยามเชิงปฏิบัติการ ทจ่ี ะนําไปใชป ระโยชน ความสาํ เร็จ ประสบการณจ ากการปฏิบัตจิ ะเปน ตวั อยางกลยทุ ธหรอื เครือ่ งมอื ในการวิจัยและพัฒนาประเด็นการปฏิรูปการเรียนรูไดตอไป ดังกลาวไดเปนอยา งดี สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง ชาติ x 1 ปฏิรูปการเรียนรู ปฏิรูปการเรียนรู

ภาพการจัดการเรียนการสอนในอนาคต 2. มุงปลูกฝงและสรางลักษณะท่ีพึงประสงคใหกับผูเรียน โดยเนน ตามแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ความรู คุณธรรม คานิยมที่ดีงามและบูรณาการความรูในเรื่องตาง ๆ อยา ง สมดุล รวมทั้งการฝกทักษะและกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญ ในพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ไดกาํ หนดแนวการ สถานการณ และการประยุกตใชความรูโดยใหผเู รียนมีความรแู ละประสบการณ จดั การศกึ ษาของชาตไิ วใ นหมวดท่ี 4 ตั้งแตมาตรา 22 ถงึ มาตรา 30 ซึ่ง ในเรอ่ื งตา ง ๆ ดังนี้ สรุปสาระสาํ คัญไดดังนี้ 2.1! ความรูเรื่องเก่ียวกับตนเองและความสัมพันธของตนเองกับ 1. การจดั การศกึ ษาตอ งเนน ผเู รยี นเปน ศนู ยก ลาง การจัดกิจกรรม สังคม ไดแกครอบครัว ชุมชน ชาติ และสงั คมโลก รวมถงึ ความรเู กย่ี วกบั ประวัติศาสตรความเปนมาของสังคมไทยและระบบการเมืองการปกครองใน การเรยี นการสอน/ประสบการณก ารเรยี นรยู ดึ หลกั ดงั น้ี ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ 1.1 ผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได 2.2! ความรแู ละทกั ษะดา นวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รวมทั้งความ ดงั นน้ั จงึ ตอ งจดั สภาวะแวดลอ ม บรรยากาศรวมทั้งแหลงเรียนรูตาง ๆ ให รคู วามเขา ใจและประสบการณเ รอ่ื งการจดั การ การบาํ รุงรักษา และการใช หลากหลาย เพ่ือเออ้ื ตอ ความสามารถของแตล ะบุคคล เพอ่ื ใหผ เู รยี นสามารถ ประโยชนจ ากทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ มอยา งสมดลุ ยง่ั ยนื พัฒนาตามธรรมชาติที่สอดคลองกับความถนัดและความสนใจ เหมาะสม แกวัย และศักยภาพของผูเรียน เพอ่ื ใหก ารเรยี นรเู กดิ ขน้ึ ไดท กุ เวลาทกุ สถานท่ี 2.3! ความรูเกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม การกฬี า ภมู ปิ ญ ญา และเปนการเรียนรูกันและกัน อันกอใหเกิดการแลกเปล่ียนประสบการณ ไทย และการรูจักประยุกตใชภูมิปญญา เพอ่ื การมสี ว นรว มในการพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คมและประเทศชาติ โดย การประสานความรว มมอื ระหวางสถานศกึ ษากบั ผูปกครอง บุคคล ชุมชน 2.4! ความรูและทักษะดานคณิตศาสตรและดานภาษา เนน การใช และทกุ สวนของสงั คม ภาษาไทยอยา งถกู ตอ ง 1.2 ผเู รยี นมคี วามสําคญั ทส่ี ดุ การเรียนการสอนมุงเนนประโยชน 2.5! ความรแู ละทกั ษะในการประกอบอาชพี และการดาํ รงชวี ติ อยา ง ของผเู รยี นเปน สาํ คัญ จึงตองจัดใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝก มีความสุข ปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทาํ เปน มนี สิ ยั รกั การเรยี นรู และเกิดการใฝรูใฝเรียน อยา งตอ เนอ่ื งตลอดชวี ติ 3.! กระบวนการเรียนรู ในพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง ชาติ ไดก ําหนด 2 แนวทางในการจดั กระบวนการเรยี นรขู องสถานศกึ ษาและหนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งดงั นี้ ปฏิรูปการเรียนรู 3 ปฏิรูปการเรียนรู

3.1 จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและ 4.1 รัฐตอ งสง เสรมิ การดาํ เนนิ งาน และการจัดตั้งแหลงการเรียนรู ความถนดั ของผเู รยี น โดยคาํ นงึ ถงึ ความแตกตา งระหวา งบคุ คล ตลอดชวี ิตทกุ รปู แบบ ไดแก หอ งสมุดประชาชน พพิ ิธภณั ฑ หอศิลป สวนสตั ว สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร อทุ ยานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 3.2! ใหมีการฝก ทกั ษะกระบวนการคดิ การจดั การ การเผชญิ สถานการณ ศนู ยก ารกฬี าและนนั ทนาการ แหลง ขอ มลู และแหลง การเรยี นรู อยา งพอเพยี ง และการประยุกตความรูมาใชเพื่อปองกันและแกไขปญหา และมปี ระสทิ ธภิ าพ 3.3! จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝก การ 4.2 ใหคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กาํ หนดหลกั สตู รแกนกลาง ปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทาํ เปน รักการอาน และเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง การศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพื่อความเปนไทย ความเปนพลเมืองดีของชาติ การ ดํารงชวี ติ และการประกอบอาชพี ตลอดจนเพื่อการศึกษาตอ 3.4 จัดการเรยี นการสอนโดยผสมผสานสาระความรดู า นตาง ๆ อยาง ไดสัดสวนสมดุลกัน รวมทง้ั ปลกู ฝง คณุ ธรรม คานิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะ 4.3 ใหสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหนาท่ีจัดทาํ สาระของหลักสูตร อนั พงึ ประสงคไ วใ นทกุ วชิ า ในสวนที่เกี่ยวของกับสภาพปญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปญญาทองถิ่น คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค เพอ่ื เปน สมาชกิ ทด่ี ขี องครอบครวั ชุมชน สังคม 3.5 สงเสริมสนับสนุนใหผสู อนสามารถจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ ม และประเทศชาติ สอ่ื การเรยี นและอํานวยความสะดวก เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความ รอบรู รวมทง้ั สามารถใชก ารวจิ ยั เปน สว นหนง่ึ ของกระบวนการเรยี นรู 4.4! หลักสูตรการศึกษาระดับตาง ๆ ตองมีลักษณะหลากหลาย เหมาะสมกับแตละระดับ โดยมุงพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคล สาระของ 3.6 ผูเรียนและผูสอนเรียนรูไปพรอมกันจากส่ือการเรียนการสอน หลกั สตู ร ทง้ั ทเ่ี ปน วชิ าการ วิชาชีพ ตอ งมงุ พฒั นาคนใหม คี วามสมดลุ ทั้งดาน และแหลง วทิ ยาการประเภทตา ง ๆ ความรู ความคิด ความสามารถ ความดีงาม และความรบั ผดิ ชอบตอ สงั คม 3.7! การเรยี นรเู กิดข้ึนไดท ุกเวลา ทกุ สถานที่ มีการประสานความรวมมอื 4.5 ใหส ถานศกึ ษารว มกบั บคุ คล ครอบครัว ชุมชน องคก รชมุ ชน กับบิดามารดา ผูปกครอง และบคุ คลในชมุ ชนทกุ ฝา ย เพื่อรวมกันพัฒนา องคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบัน ผูเรียนตามศักยภาพ ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น สงเสริมความเขม แข็งของ ชุมชน โดยจัดกระบวนการเรียนรูภายในชุมชน เพอ่ื ใหช มุ ชนมกี ารจดั การ 4. การสงเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู ศึกษาอบรม มกี ารแสวงหาความรู ขอ มลู ขาวสาร และรจู ักเลือกสรรภูมปิ ญ ญา และวทิ ยาการตา ง ๆ เพอ่ื พัฒนาชมุ ชนใหส อดคลอ งกับสภาพปญหาและความ ในพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแหงชาติ ไดก าํ หนดบทบาทในการสง เสริม การเรยี นรขู องรฐั และสถานศกึ ษาตา ง ๆ ดังนี้ 5 4 ปฏิรูปการเรียนรู ปฏิรูปการเรียนรู

ตอ งการ รวมทง้ั หาวธิ กี ารสนบั สนนุ ใหม กี ารเปลย่ี นแปลงประสบการณก าร นิยามเชิงปฏิบัติการ พัฒนาระหวางชุมชน ประเดน็ การปฏิรูปการเรยี นรู 4.6 ใหสถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมท้ังการสงเสรมิ ใหผสู อนสามารถวิจยั เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรูทีเ่ หมาะสม จากสาระของแนวการจัดการศึกษาที่ปรากฏในพระราชบัญญัติการ กับผูเรียนในแตละระดับการศึกษา ศกึ ษาแหงชาตดิ งั กลา ว สามารถวิเคราะหเปนประเด็นสําคญั ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั กระบวนการเรียนรูไดดังนี้ 5. การประเมนิ ผลการเรยี นรู ความหมายรวมของทุกประเดน็ ในพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ไดระบุถึงวิธีการประเมินผล การรู หมายถึง สภาวะของการรับรูจากการสัมผัสและสมั พันธตา ง ๆ การจัดกระบวนการเรียนรูไววา ใหส ถานศกึ ษาจดั การประเมนิ ผลผเู รยี น โดย พิจารณาจากพัฒนาการของผูเรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการ รวมถึงรวู ธิ กี ารแสวงหาความรดู วยตนเอง เรียน การรว มกจิ กรรมและการทดสอบควบคไู ปในกระบวนการเรยี นการสอน การเรียนรู หมายถึง การปรับเปล่ียนทัศนคติ แนวคิด และพฤติกรรม ตามความเหมาะสมของแตละระดับและรูปแบบการศึกษา นอกจากนน้ั การ ประเมนิ ผลผเู รยี นยงั ตอ งเกย่ี วขอ งกบั หลกั การสาํ คัญคือ อันเนื่องมาจากไดรับประสบการณ ซึ่งควรเปนการปรับเปลี่ยน ไปในทางที่ดีขึ้น 5.1! ใชว ธิ กี ารทห่ี ลากหลายในการประเมนิ ผเู รยี น รปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรู หมายถงึ วิธีการจัดกิจกรรมเพื่อให 5.2! ใชว ธิ กี ารทห่ี ลากหลายในการจดั สรรโอกาสเขา ศกึ ษาตอ ผูเรียนไดรับประสบการณจนเกิดการเรียนรู 5.3! ใชการวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับ การเรยี นรใู นระบบ หมายถงึ กระบวนการเรียนรู ทก่ี าํ หนดจดุ มงุ หมาย ผเู รยี น วิธีการศึกษา หลกั สูตร ระยะเวลาของการศกึ ษา การวดั และการ 5.4! มุงการประกันคุณภาพ โดยสถานศึกษาทําการประเมินผลภาย ประเมินผล ซึ่งเปนเงื่อนไขของการสาํ เร็จการศึกษาท่ีแนนอน ในทกุ ป และรายงานผลการประเมนิ ตอ ตน สงั กดั และสาธารณชน ทั้งนีส้ ามารถปรับเปลี่ยนไดต ามสภาวการณ 5.5! สถานศกึ ษาไดร บั การประเมนิ ภายนอกอยา งนอ ย 1 ครั้ง ทกุ 5 ป 7 6 ปฏิรูปการเรียนรู ปฏิรูปการเรียนรู

การเรยี นรนู อกระบบ หมายถงึ กระบวนการเรยี นรทู ม่ี คี วามยดื หยนุ ในการ ประเดน็ ท่ี 1 การเรยี นรโู ดยการสรา งองคค วามรดู ว ยตนเอง กาํ หนดจุดมุงหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลา ของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเง่ือนไขสาํ คัญ หมายถึง การเรียนรูที่เปนกระบวนการสรางประสบการณและ ของการสาํ เร็จการศึกษา โดยเน้ือหาและหลักสูตร จะตองมี สิ่งตาง ๆ ใหมีความหมายตอตนเองจากปฏิสัมพันธกับสิ่งแวดลอม โดยใช ความเหมาะสมสอดคลอ งกบั สภาพปญ หา และความตองการ กระบวนการคิดและแสวงหาความรูควบคูไปกับการปฏิบัติจริง ใหผูเรียน ของบุคคลแตละกลุม คนพบขอความรูและประสบการณดวยตนเอง ครูเปนผูอาํ นวยการเรียนรู จัดโอกาส จัดบรรยากาศสิ่งแวดลอมและแหลงวิทยาการ ใหเอื้อตอการ การเรยี นรตู ามอธั ยาศยั หมายถงึ กระบวนการเรียนรูตลอดชีวิต ท่ผี ูเ รียน สรางแรงจูงใจใหเ กดิ การเรยี นรู เรียนรูดวยตนเอง ตามความสนใจ ความถนดั โดยศกึ ษาจาก แหลงความรูต าง ๆ รวมทัง้ บคุ คล สภาพแวดลอ ม และธรรมชาติ ขอบเขตเนื้อหาของการเรียนรูโดยการสรางองคความรูดวยตนเอง คือ การฝก ทกั ษะกระบวนการคดิ วเิ คราะห การสรางแรงจูงใจใหเกิดการใฝรู การเรยี นรทู ผ่ี เู รยี นเปน ศนู ยก ลาง มคี วามหมาย 2 ดาน คือ ใฝเ รยี น ความหมายดานผูเรียน คือ กระบวนการเรียนรูที่ผูเรียนมีสวนรวมเนนการ กลยทุ ธแ ละเครอ่ื งมอื การเรยี นรู เชน การเรียนรูแบบมีสวนรวม ปฏิบัติจริง ไดพัฒนากระบวนการคิด มีอิสระในการเรยี นรตู าม (Participatory Learning : PL) กระบวนการทางปญญา 10 ขั้น ของ ศ.นพ. ความถนัด และความสนใจ สามารถสรางองคความรูไดดวย ประเวศ วะสี (ดูภาคผนวก) ตนเอง ดวยวิธีการและแหลงเรียนรูท่ีหลากหลาย นาํ ความรู ประสบการณไ ปใชในชวี ิตได ประเดน็ ท่ี 2 การเรยี นรเู รอ่ื งของตนเอง ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ความหมายดา นผจู ดั คือ กระบวนการจัดการเรียนรูที่คาํ นงึ ถงึ ความแตกตา ง หมายถงึ การเรยี นรูเพื่อเชือ่ มโยงความสมั พนั ธร ะหวางรา งกายและ ระหวางบุคคล การเนนประโยชนสูงสุดของผูเรียนเปนสาํ คัญ จิตใจของตนเอง การรบั รแู ละตระหนกั ในตนเอง สามารถปรบั เปลย่ี นทศั นคติ การเคารพในศักดิ์ศรี สิทธิของผูเรยี น โดยมกี ารวางแผนการ และพฤตกิ รรมใหส อดคลอ งกบั คา นยิ มทด่ี งี าม ยดึ มน่ั ในคณุ ธรรม จรยิ ธรรม จดั ประสบการณก ารเรยี นรอู ยา งเปน ระบบ มคี วามเพยี รพยายามในการทาํ ความดอี ยา งไมย อ ทอ การเสรมิ สรา งลกั ษณะ นิสัย และสุนทรียภาพความดีงามในตนเอง การเรียนรูเพื่อใหสามารถดาํ รง 8 ชีวิตอยูไดอยางสอดคลองเหมาะสมกับสภาวะแวดลอม การตระหนักถึง คุณคา และพฒั นาคณุ ภาพธรรมชาตสิ ง่ิ แวดลอ มอยา งยง่ั ยนื ปฏิรูปการเรียนรู ปฏิรูป9การเรียนรู

ขอบเขตเนอ้ื หา ไดแก การเรยี นรเู รอ่ื งตนเองทง้ั ดา นรา งกายและ กลยทุ ธแ ละเครื่องมือการเรยี นรู เชน การเรียนรูแบบมีสวนรวม จิตใจ การเรียนรูเกี่ยวกับธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และเรอ่ื งศลิ ปวฒั นธรรม การบรู ณาการ (Integration) การฝกปฏิบัติจริง การสาธติ (Demonstration) การฝกฝนสมาธิ และการปฏิบัติตามหลักศาสนา กลยุทธและเคร่ืองมือการเรียนรู เชน การเรยี นรใู นสถานการณ จริง การฝกปฏิบัติ (Learning by doing) การเรียนรูแบบมีสวนรวม การฝก 3.2!การเรยี นรทู ม่ี งุ พฒั นาทกั ษะการประกอบอาชพี ทักษะกระบวนการคิด หมายถงึ การเรียนรูเพื่อคนพบและใชศักยภาพของตนเพื่อเตรียม ประเด็นที่ 3 การเรียนรูท่ีมุงพัฒนาทักษะการดาํ รงชีวิตและการ ตัวประกอบอาชีพใหเหมาะสมกับตนเอง รูจักวิธีเลือกประกอบอาชีพท่ีสุจริต เหมาะสม สามารถพึ่งตนเอง และเลย้ี งตนเองไดอ ยา งพอเพยี งแกอ ตั ภาพ ประกอบอาชพี ขอบเขตเนื้อหาประกอบดวยทักษะเกี่ยวกับการสรางนิสัยรักการ 3.1 การเรยี นรทู ม่ี งุ พฒั นาทกั ษะการดาํ รงชวี ติ ทาํ งาน มคี วามขยนั หมน่ั เพยี ร มคี ณุ ธรรม 4 ประการคือ ความอดทน ความ หมายถงึ การเรยี นรทู ท่ี ําใหผ เู รยี นมที กั ษะชวี ติ ทส่ี าํ คัญและจําเปน ซื่อสัตย รจู กั เสยี สละ และความรับผิดชอบตอ ตนเองและสวนรวม รจู กั แก ดังตอไปนี้ การรูจักคิดวิเคราะหวิจารณ (Critical Thinking) มีความคิด ปญ หา รวมทง้ั มีทักษะในการจดั การ สรางสรรค (Creative Thinking) มคี วามตระหนกั รใู นตน (Self Awareness) มีความเห็นใจผูอื่น (Emphaty) มีความภูมิใจในตนเอง (Self Esteem) มี กลยทุ ธแ ละเครอ่ื งมอื การเรยี นรู เชน การเรียนรูแบบมีสวนรวม ความรับผิดชอบตอสังคม (Social Responsibility) รูจักการสรางสมั พันธภาพ การฝกปฏิบัติจริง การสาธติ การทดลอง (Experimentation) และการสื่อสาร (Inter Personal Communication) รูจักตัดสินใจและ แกปญหา (Decision Making and Problem Solving) รจู กั การจดั การกบั ประเด็นที่ 4 การเรยี นรทู ม่ี งุ พัฒนากระบวนการคิด การแกป ญ หา อารมณและความเครียด (Coping with Emotion and Stress) ขอบเขตเนื้อหาประกอบดวยทักษะชีวิตท่ีสาํ คัญและจาํ เปนขางตน โดยเนนประสบการณแ ละการฝก ปฏบิ ตั ิ รวมทง้ั การเรยี นรเู ร่อื งเพศศึกษา การเลอื กบรโิ ภคสอ่ื ยาเสพยติดศึกษา ทกั ษะ การเปน ผนู าํ ผตู าม การเรียนรูเรื่องความแตกตางระหวางเพศ การแกไ ขความ หมายถึงการใชทักษะการคิดเพ่ือคนหาคาํ ตอบในสถานการณ ขัดแยงและความรุนแรงในครอบครัวและสังคม ตา ง ๆ โดยอาศัยประสบการณและการฝกปฏิบัติจริง เพื่อใหสามารถเผชิญ และผจญกับปญหาและจดั การกับภาวะตาง ๆ ไดอยางเหมาะสมเปน ประโยชน 10 ตอตนเองและสวนรวม ปฏิรูปการเรียนรู 11 ปฏิรูปการเรียนรู

ขอบเขตเน้ือหาของการเรียนรูที่พัฒนากระบวนการคิด การ ประเดน็ ท่ี 6 การเรียนรูที่มุงพัฒนาประชาธิปไตย แกป ญหาจากประสบการณและการฝก ปฏิบตั ิ โดยการสังเกต การเปรียบเทียบ ตั้งคาํ ถาม แปลความหมาย ตีความ ขยายความ อา งองิ คาดคะเน การสรุป หมายถงึ การเรยี นรูใ นเร่อื งสทิ ธิเสรภี าพ ความเสมอภาคและการ ความคิดสรางสรรค และกระบวนการคิดวิเคราะห ปฏิบัติตามหนาที่ของตน การเคารพในสทิ ธเิ สรภี าพของผอู น่ื โดยคาํ นงึ ถงึ ความคดิ เหน็ และผลประโยชนข องสว นรวมเปน หลกั กลยทุ ธแ ละเครอ่ื งมอื การเรยี นรู เชน การเรียนรูจากการปฏิบัติ จริง การเรยี นรแู บบมสี ว นรวม การใชกระบวนการแกปญ หา กระบวนการกลุม ขอบเขตเนื้อหา คือ ความรูความเขาใจ ความศรัทธาในการ (Group Process) กระบวนการทางปญญา ของ ศ.นพ.ประเวศ วะสี ปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมขุ ความรัก และหวงแหนสิทธิเสรีภาพของตน การเคารพในสิทธเิ สรภี าพของผูอ ื่น ความ ประเดน็ ท่ี 5 การเรยี นรโู ดยผสมผสานความรู คุณธรรม คา นยิ ม เปนพลเมืองดี การรักษาประโยชนสวนรวม และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค กลยทุ ธแ ละเครอ่ื งมอื การเรยี นรู เชน การฝกปฏิบัติจริง การเรยี นรู แบบมีสวนรวม การฝกกระบวนการคิดวิเคราะห การเรียนจากสถานการณ หมายถงึ การเรยี นรทู ม่ี งุ ใหม คี วามรใู นศาสตรต า งๆ ควบคูกับการ จําลอง (Simulation) พฒั นาตนเองทางดา นจติ ใจ บุคลิกภาพ และลกั ษณะนสิ ยั ประเดน็ ท่ี 7 การเรียนรูเรื่องภูมิปญญาและศิลปวัฒนธรรม ขอบเขตเนอ้ื หา คือ ความรูในศาสตรตางๆ เชน วิทยาศาสตร คณิตศาสตร สังคมศาสตร ภาษาศาสตร และมนุษยศาสตร ตลอดจนการ หมายถึง การเรียนรูเพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจและความ เรยี นรูเก่ียวกบั มารยาท วิธปี ฏบิ ัติตนทางกาย วาจา ใจ ความมสี ติสัมปชัญญะ ตระหนักในคุณคาของความรูตาง ๆ ที่ไดคิดคนและสั่งสมประสบการณโดย การมีคุณธรรมสาํ คัญ ความรกั ในเพอ่ื นมนษุ ย ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ภูมิปญญาไทย ตลอดจนมีความรัก ชื่นชมและหวงแหนในคุณคาของศิลป การพฒั นาจติ ใจ บคุ ลกิ ภาพและลกั ษณะนสิ ยั วัฒนธรรมไทย สามารถนําไปใชป ระโยชนใ นชวี ติ และสบื สานใหย ง่ั ยนื ตลอด จนเชอ่ื มโยงสสู ากล กลยทุ ธแ ละเครอ่ื งมอื การเรยี นรู เชน การบรู ณาการ การฝกปฏิบัติ จริง การเรียนรูแบบมีสวนรวม 12 ปฏิรูป1ก3ารเรียนรู ปฏิรูปการเรียนรู

ขอบเขตเน้อื หา เกย่ี วขอ งกบั ศาสตรส าขาตา งๆ ไดแ ก เกษตรกรรม ขอบเขตเนอ้ื หา เกย่ี วขอ งกบั บทบาทของครอบครวั และชุมชนใน อตุ สาหกรรมและหัตถกรรม แพทยแ ผนโบราณ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ การรวมจดั ทําหลกั สตู ร การสนบั สนนุ ทรพั ยากรทางการศกึ ษา การประเมนิ สิ่งแวดลอม ธุรกิจชุมชน สวัสดิการ ศิลปกรรม การจดั การองคก ร ภาษาและ คุณภาพทางการศึกษา วรรณกรรม ศาสนาและประเพณี การศกึ ษา กฬี าและนนั ทนาการ กลยุทธและเครื่องมือสําคัญที่ทาํ ใหสถานศึกษาไดรับความ กลยทุ ธแ ละเครอ่ื งมอื การเรยี นรู เชน การเรียนรูจากครอบครัว รวมมือจากชุมชน เชน เทคนคิ การบรหิ ารอยา งมสี ว นรว ม การกระจายอาํ นาจ ชุมชน ทอ งถน่ิ ภูมิปญญาและปราชญชาวบาน การเรียนรูโดยการปฏิบัติจริง ความสมั พนั ธร ะหวา งโรงเรยี นกบั ชุมชน การเรียนรูแบบมีสวนรวม กระบวนการคดิ วเิ คราะห ประเดน็ ท่ี 10 การประเมนิ ผลผูเ รยี น ประเดน็ ท่ี 8 การวิจัยเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู หมายถึง กระบวนการพิจารณาตัดสินคุณภาพ คุณลักษณะ หมายถงึ การศึกษารวบรวมขอมูลเพื่อนาํ มาวิเคราะห สงั เคราะห และพฤติกรรมของผูเรียนวา เปนไปตามจดุ ประสงคการเรยี นรหู รอื ไม อยา งไร สรุปผล เพื่อแกไขปญหาและพัฒนากระบวนการเรียนรูของสถานศึกษา ขอบเขตเนอ้ื หา เกย่ี วขอ งกบั วธิ ปี ระเมนิ ผล เครอ่ื งมอื ในการ ขอบเขตเนื้อหา เก่ยี วขอ งกบั ระเบยี บวธิ ีวจิ ัยแบบตางๆ การมี ประเมินผล องคความรูในการประเมินผล การมสี ว นรว มในการประเมนิ ผล สว นรว มของทกุ ฝา ยทเ่ี กย่ี วขอ ง ของทกุ ฝา ยทเ่ี กย่ี วขอ ง กลยุทธและเคร่อื งมอื การวจิ ยั ในสถานศึกษา เชน ระบบบรหิ าร กลยุทธและเครื่องมือสาํ คัญในการประเมินผลผูเรียน เชน การ ของสถานศกึ ษา องคค วามรเู รอื่ งการวิจยั ของผบู ริหารและครอู าจารย การสรา ง ประเมินผลตามสภาพจริง แฟมสะสมงาน การสงั เกต การสัมภาษณ การจดั แรงจงู ใจ การจดั สรรงบประมาณสนับสนุน การประเมินคุณภาพ นทิ รรศการแสดงผลงาน ประเดน็ ท่ี 9 การเรียนรูโดยความรวมมือของครอบครัวและชุมชน 15 หมายถงึ การที่ครอบครัว ชุมชน และสถานศึกษามีบทบาท ปฏิรูปการเรียนรู รว มกันในการจดั กระบวนการเรียนรูใหกบั ผูเรยี น เพ่ือใหเ รยี นรูไดอ ยา งเตม็ ตาม ศกั ยภาพ ปฏิรูป1ก4ารเรียนรู

บทสรปุ ภาคผนวก สาระสาํ คัญทั้ง 10 ประเด็น น้ี สามารถเชอ่ื มโยงกนั ในการสรา ง กระบวนการทางปญ ญา ประสบการณก ารเรยี นรูใหกบั ผูเรียน ซง่ึ ครู อาจารย สามารถนําไปประยกุ ต ใชในการจัดกระบวนการเรียนรูใหเหมาะสม สอดคลอ งกบั สภาพของผเู รยี น ศ.นพ.ประเวศ วะสี และชุมชนทองถน่ิ ได ซึ่งจะเปนไปตามหลักการในแนวการจัดการศึกษาของ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ทเ่ี นน การบรู ณาการความรู 1. ฝกสังเกต สงั เกตในสง่ิ ทเ่ี ราพบ เหน็ หรือสงิ่ แวดลอม เชน ดูนก คุณธรรม และกระบวนการเรียนรู ตามความเหมาะสมของแตละระดับการ ดูผีเสื้อ หรอื ในขณะทาํ งาน การฝก สงั เกตจะทาํ ใหเ กดิ ปญญา โลกทรรศน ศึกษา ซ่งึ เอกสารนิยามเชิงปฏบิ ตั ิการนี้ จะเปน คมู อื ทช่ี ว ยใหค รู อาจารย ได และวิธีคิด สวนสต-ิ สมาธิ จะเขา ไปมผี ลตอ การสงั เกตและสง่ิ ทส่ี งั เกต มองเหน็ แนวทางในการจดั กระบวนการเรยี นรู เขา ใจในขอบเขตเนอ้ื หาสาํ คัญ ของแตละประเด็น ตลอดจนมีตัวอยางกลยุทธและเครื่องมือท่ีจะชวยให 2. ฝกบันทึก เมอ่ื สงั เกตอะไรแลว ควรบันทึกไว จะวาดรูป จดบนั ทกึ สามารถจัดกระบวนการเรียนรูในแตละประเด็นไดประสบผลสาํ เรจ็ และมีประ ขอความ ถา ยภาพ ถา ยวดี โิ อ ละเอยี ดมากนอ ยตามวยั และตามสถานการณ สิทธิภาพ อนั จะสง ผลใหก ารปฏิรปู กระบวนการเรยี นรตู ามพระราชบัญญัติการ การบนั ทกึ เปน การพฒั นาปญ ญา ศกึ ษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 บรรลเุ จตนารมยได 3. ฝกการนาํ เสนอ เมอ่ื ทํางานกลมุ เรียนรูอะไร บันทึกอะไร ควร หากมคี วามคดิ เหน็ และขอ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ โปรดสง ไปท่ี นาํ เสนอใหเ พอ่ื นหรอื ครรู เู รอ่ื ง ตองฝกการนําเสนอ การนําเสนอไดดีจึงเปนการ สถาบันแหงชาติเพื่อปฏิรูปการเรียนรู พฒั นาปญ ญาทง้ั ของผนู าํ เสนอและของกลมุ สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหง ชาติ ถนนสโุ ขทยั เขตดุสิต กรุงเทพ ฯ 10300 4. ฝก การฟง ถา รจู กั ฟง คนอน่ื กจ็ ะทําใหฉ ลาดขน้ึ โบราณเรียกวา โทรศัพท 243-0090 , 668-7123 ตอ 1410 โทรสาร 243-4174 เปนพหูสูต บางคนไมไ ดย นิ คนอน่ื พดู เพราะหมกมุนอยใู นความคดิ ของตนเอง หรอื มคี วามฝง ใจในเรอ่ื งใดเรอ่ื งหนง่ึ จนเรื่องอื่นเขาไมได ฉนั ทะ สติ สมาธิจะ 16 ชวยใหฟงไดเร็วขึ้น ปฏิรูปการเรียนรู 5. ฝกปุจฉา-วสิ ชั นา เมื่อมีการนาํ เสนอและการฟง แลว ฝกปุจฉา- วิสัชนา หรือ ถาม-ตอบ ซึ่งเปนการฝกใชเหตุผล วิเคราะห สังเคราะห ทาํ ให เกดิ ความแจม แจงในเรอ่ื งนั้นๆ ถาเราฟงโดยไมถ าม-ตอบกจ็ ะเขา ใจไมแจมแจง 17 ปฏิรูปการเรียนรู

6. ฝก ตง้ั สมมตฐิ านและตง้ั คําถาม เวลาเรียนรูอะไรไปแลว เราตอ ง ความเปนทั้งหมดนั่นเอง ตางจากการเอาจริยธรรมไปเปนวิชา ๆ หนง่ึ แบบแยก สามารถตั้งคาํ ถามไดวา สง่ิ นค้ี อื อะไร สง่ิ นน้ั เกดิ จากอะไร อะไรมปี ระโยชน สวนแลวก็ไมคอยไดผล ทาํ อยา งไรจะสาํ เร็จประโยชนนั้น และมีการฝกการตั้งคาํ ถาม ถา กลมุ ชว ยกนั คิดคาํ ถามที่มีคุณคาและมีความสาํ คัญก็จะอยากไดคาํ ตอบ ในการบรู ณาการความรทู เ่ี รยี นมาใหร คู วามเปน ทง้ั หมด และเหน็ ตวั เองนจ้ี ะนําไปสอู สิ รภาพ และความสขุ อนั ลน เหลอื เพราะหลุดพนจากการบีบ 7. ฝก การคน หาคําตอบ เมื่อมีคาํ ถามแลว กค็ วรไปคน หาคาํ ตอบ คั้นของความไมรู การไตรต รองนจ้ี ะโยงกลบั ไปสวู ตั ถปุ ระสงคข องการเรยี นรทู ่ี จากหนงั สอื จากตํารา จากอนิ เตอรเ นต็ หรอื ไปคยุ กบั คนเฒา คนแก แลวแต วา เพื่อลดตัวก-ู ของกู และเพื่อการอยูรวมกันอยางสันติ อนั จะชว ยกํากบั ให ธรรมชาติของคาํ ถาม การคน หาคาํ ตอบตอ คําถามที่สาํ คัญจะสนุกและทําให การแสวงหาความรู เปน ไปเพอ่ื วตั ถปุ ระสงคด งั กลา ว มิใชเปนไปเพื่อความ ไดความรูมาก ตางจากการทองหนังสือโดยไมมีคาํ ถาม บางคาํ ถาม เมอ่ื คน หา กาํ เรบิ แหง อหงั การ-มมังการ และเพื่อรบกวนการอยูรวมกันดวยสันติ คําตอบทกุ วถิ ที างจนหมดแลว กไ็ มพ บ แตคาํ ถามยงั อยู และมีความสาํ คัญ ตองหาคาํ ตอบตอ ไปดว ยการวจิ ยั 10. ฝก การเขยี นเรยี บเรยี งทางวชิ าการ ถงึ กระบวนการเรยี นรแู ละ ความรูใหมท่ีไดมา การเรียบเรียงทางวิชาการเปนการเรียบเรียงความคิดให 8. การวจิ ยั เพื่อหาคาํ ตอบเปน สว นหนง่ึ ของกระบวนการเรยี นรทู กุ ปราณตี ขน้ึ ทาํ ใหค น ควา หาหลกั ฐานทม่ี าอา งองิ ของความรใู หถ ถ่ี ว น แมน ยํา ระดับ การวิจัยจะทําใหค น พบความรใู หม ซง่ึ จะทําใหเกิดความภาคภูมิใจ ขึ้น การเรียบเรียงทางวิชาการจึงเปนการพัฒนาปญญาของตนเองอยาง สนุกและมีประโยชนมาก สําคัญ และเปน ประโยชนใ นการเรยี นรขู องผอู น่ื ในวงกวา งออกไป 9. เชอ่ื มโยงบรู ณาการ ใหเ หน็ ความเปน ทง้ั หมดและเหน็ ตวั เอง 19 ธรรมชาติของสรรพสิ่งลวนเชื่อมโยง เมื่อเรียนรูอะไรมาอยาใหความรูนั้นแยก เปนสวนๆ แตค วรจะเชอ่ื มโยงเปน บรู ณาการใหเ หน็ ความเปน ทง้ั หมด ในความ ปฏิรูปการเรียนรู เปน ทง้ั หมดจะมคี วามงาม และมติ อิ ืน่ ผดุ บงั เกิดออกมาเหนอื ความเปนสวนๆ และในความเปนทั้งหมดนั้นมองเห็นตัวเอง เกิดการรูตัวเองตามความเปนจริง วาสัมพันธกับความเปน ทั้งหมดอยา งไร จรยิ ธรรมอยทู ต่ี รงนค้ี อื การเรยี นรตู วั เองตามความเปนจริง วา สมั พนั ธก บั ความเปน ทง้ั หมดอยา งไร ดังนั้น ไมวา การเรียนรูอะไรๆ กม็ มี ติ ทิ างจรยิ ธรรมอยใู นนน้ั เสมอ มิติทางจริยธรรมอยูใน ปฏิรูปการเรียนรู

สถาบนั แหง ชาตเิ พอ่ื ปฏริ ปู การเรยี นรู ทป่ี รกึ ษา ดร.รงุ แกวแดง เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ ศ.สุมน อมรวิวัฒน ผูเชี่ยวชาญและที่ปรึกษาศูนยพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ดร.เลขา ปยะอัจฉริยะ ที่ปรึกษาสถาบันแหงชาติเพื่อพัฒนาการเรียนรู คณะทาํ งาน นักวิชาการศึกษา 8 นางสมศรี กิจชนะพานิชย นักวิชาการศึกษา 8 นางสาวศศิธร เล็กสุขศรี นักวิชาการศึกษา 7 นางสาวบุญเทียม ศิริปญญา นักวิชาการศึกษา 6 นายวีระ พลอยครบุรี นักวิชาการศึกษา 6 นายสาํ เนา เนื้อทอง นกั วชิ าการศกึ ษา 5 นางสาวประวีณา ชะลยุ นักวิชาการศึกษา 4 นางพชั ราพรรณ กฤษฎาจินดารุง เจาหนาที่บันทึกขอมูล 5 นางเสวียง ศรีพันธุ ผูเรียบเรียง นักวิชาการศึกษา 6 นายวีระ พลอยครบุรี นกั วิชาการศกึ ษา 5 ศลิ ปกรรม และจัดทาํ ตนฉบับ นางสาวประวีณา ชะลยุ จัดพิมพเผยแพร ปฏิรูปการเรียนรู สปร. สถาบันแหงชาติเพื่อปฏิรูปการเรียนรู สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ ถนนสุโขทัย เขตดุสิต กรงุ เทพฯ 10300 โทร. 668-7123 ตอ 1410, 243-0090 โทรสาร 243-4174 E-mail : [email protected] http://www.onec.go.th ปฏิรูปการเรียนรู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook