Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือดำเนินการลูกเสือมัคคุเทศก์

คู่มือดำเนินการลูกเสือมัคคุเทศก์

Published by srumsuk1980, 2020-08-24 15:50:02

Description: คู่มือดำเนินการลูกเสือมัคคุเทศก์

Search

Read the Text Version

คมู่ อื ดำเนนิ การ ฝกึ อบรมลกู เสือมัคคเุ ทศก์ สำนกั งานลูกเสือแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธกิ าร ๒๕๖๓

คำนำ คู่มือการฝึกอบรมลูกเสือมัคคุเทศก์ฉบับน้ี สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ จัดทำขึ้นเพื่อเป็น แนวปฏิบัติการดำเนินการฝึกอบรมลูกเสือมัคคุเทศก์ โดยเริ่มมาจากข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสำนักงาน ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กับสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ ที่จะส่งเสริมให้ลูกเสือ ที่มีอยู่ในทุกพื้นที่ ทุกจังหวัดได้ทำจิตอาสาเป็นมัคคุเทศก์ส่งเสริมการท่องเที่ยวของท้องถิ่นที่ตนอยู่อาศัย โดยกระบวนการขับเคลื่อนการดำเนินการฝึกอบรม ประกอบด้วย การจัดทำหลักสูตรการฝึกอบรม การทดลอง นำร่องใน ๘ จังหวัด ประเมินผลทั้งด้านผลสัมฤทธิ์ และด้านการบริหารจัดการ ถอดปัจจัยความสำคัญ ปรับปรุง หลักสูตรและกิจกรรมใหส้ อดคล้องกับบริบทท่เี ปลีย่ นแปลง ดงั เชน่ สถานการณโ์ ควิด ด้วยเหตุนี้ การขยายผลให้ครอบคลุมทุกจังหวัด จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องจัดทำคู่มือ การฝึกอบรมลูกเสือมัคคุเทศก์ข้ึน เพื่อให้ผู้บริหารและผู้ดำเนินงานเร่ืองลูกเสือมัคคุเทศก์ได้มีแนวทางการปฏิบัติ ในการฝึกอบรมลูกเสือมัคคุเทศก์ด้วยบรรทัดฐานเดียวกัน เพื่อส่งผลให้ลูกเสือมัคคุเทศก์มีความรู้ ความสามารถ ทักษะและมีจิตอาสา สามารถทำงานด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน การท่องเที่ยวท้องถิ่นได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ หากลกู เสอื มคั คเุ ทศกท์ ่ผี า่ นการฝึกอบรมมีความสนใจทจี่ ะศึกษาตอ่ เพ่ือประกอบอาชีพเปน็ มคั คุเทศก์ ทั้งในและต่างประเทศในอนาคต จะถือได้ว่าลูกเสือมัคคุเทศก์มีพื้นฐานครบถ้วนด้านการท่องเที่ยวและ การมัคคุเทศก์ตามหลักการ จุดมุ่งหมายเนื้อหาและการฝึกอบรมที่กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาได้กำหนดไว้ อย่างสมบรู ณ์ สำนักงานลกู เสือแหง่ ชาติ กรกฎาคม ๒๕๖๓

สารบญั คำนำ ๑ สารบญั ๑ สว่ นท่ี ๑ ความเป็นมา ๒ ๒ ๑.๑ ความเป็นมาของลูกเสอื มคั คเุ ทศก์ ๓ ๑.๒ วตั ถุประสงคข์ องคมู่ ือ ๑.๓ ขอบเขตของคู่มอื ๔ ๑.๔ คำจำกัดความ ๑.๕ แผนการขบั เคล่ือนโครงการลกู เสือมัคคุเทศก์ ๗ ๗ - แผนภมู ภิ าพ การขับเคล่ือนการขยายผลการฝึกอบรมลูกเสอื มัคคุเทศก์ ๗ ๑.๖ กรอบภารกิจของหนว่ ยงานและบคุ ลากร สำหรบั การขยายผลการฝกึ อบรมลูกเสอื มัคคเุ ทศก์ ๘ ๘ - บทบาทหนา้ ท่ขี อง หนว่ ยงานและบคุ ลากรระดบั จังหวดั ๘ ส่วนที่ ๒ กระบวนการฝกึ อบรมลูกเสือมัคคเุ ทศก์ ๙ ๑๐ ๒.๑ สมรรถนะลกู เสอื มัคคุเทศก์ ๑๑ ๒.๒ กระบวนการและเกณฑก์ ารคัดเลือกลูกเสอื มัคคุเทศก์เข้ารว่ มโครงการ ๑๔ ๒.๓ โครงสร้างหลกั สูตรการฝึกอบรมลูกเสือมัคคุเทศก์ ๒๙ ๒.๔ การดำเนนิ การฝึกอบรมลกู เสอื มคั คุเทศก์ ๔๖ - ระยะที่ ๑ ๔๖ - ระยะที่ ๒ - ตารางการฝึกอบรมระยะท่ี ๒ ๔๗ - ตารางการฝกึ อบรมระยะที่ ๒ (ตารางฝกึ อบรมประจำวนั ) ๔๙ - หลักสตู รฝกึ อบรมลกู เสือมัคคเุ ทศก์ ๕๐ - แผนการจัดการเรยี นรูห้ ลักสูตรฝึกอบรมลูกเสือมัคคุเทศก์ ๕๒ สว่ นที่ ๓ การประเมินผลการฝึกอบรม โครงสรา้ งการประเมนิ ผลการฝกึ อบรม ๓ ระยะ ๕๔ - คำแนะนำในการใช้แบบประเมิน ๕๖ - การประเมินระยะท่ี ๑ (ชน้ิ งานเรยี งความ และข้อมลู พ้นื ฐาน) ๕๕ ❖ แบบประเมนิ ชน้ิ งาน ระยะที่ ๑ ก่อนการฝกึ อบรม (เรียงความ) - การประเมนิ ระยะที่ ๒ (ระหว่างการฝึกอบรม) ❖ แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล ❖ แบบการประเมนิ ผลกิจกรรมวิชาการแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหน้า ของมัคคุเทศก์ ❖ แบบการประเมินผลกจิ กรรมวิชากระบวนการคน้ หาเรือ่ งราว ลำดบั เหตกุ ารณ์ เร่อื งเลา่ ทอ้ งถน่ิ ❖ แบบสอบถามความคดิ เหน็ ❖ แบบประเมนิ วิทยากรผู้ให้การฝกึ อบรมลูกเสอื มคั คเุ ทศก์

สารบญั (ตอ่ ) ๕๘ ๕๙ - การประเมินระยะท่ี ๓ (ฝกึ ปฏิบตั ิ ๒๐ ชั่วโมง) ❖ แบบประเมินผลการปฏิบัติงานในสถานที่ทอ่ งเที่ยว ของลูกเสอื ๖๒ มคั คุเทศก์ ๖๓ ❖ ตารางรวมผลการประเมินรายบคุ คล ภาคผนวก ๖๖ - ภาคผนวก ก. ๖๗ - แบบบันทกึ ข้อตกลงความรว่ มมือโครงการลูกเสือมคั คเุ ทศก์ (MOU) ๖๙ - ภาคผนวก ข. ๗๑ - ตัวอยา่ งใบสมคั รเข้ารับการอบรมลูกเสือมัคคุเทศก์ - ตวั อยา่ งคำกล่าวเปิดของประธานในพธิ ี และคำกล่าวรายงานในพิธเี ปิด - ตัวอย่างคำกลา่ วปิดของประธานในพิธี และคำกลา่ วรายงานในพธิ ีปิด

รายช่อื คณะทำงานจดั ทำคู่มือดำเนินการฝึกอบรมลกู เสือมคั คุเทศก์ ๑. นายธรี พงษ์ สารแสน ที่ปรกึ ษา เลขาธกิ ารสำนกั งานลูกเสือแห่งชาติ ท่ปี รกึ ษา ๒. นายมณฑล ภาคสุวรรณ์ รองเลขาธิการสำนักงานลูกเสือแหง่ ชาติ ทป่ี รึกษา ๓. นายวรี ะ แขง็ กสิการ ทป่ี รกึ ษา ผู้ชว่ ยเลขาธิการสำนักงานลกู เสอื แห่งชาติ ทป่ี รึกษา ๔. นายวีระกลุ อรัณยะนาค ทีป่ รึกษาด้านพฒั นาลูกเสือและบุคลากรทางการลกู เสอื ที่ปรึกษา ๕. นางสาวอจั ฉรา สากระจาย ที่ปรกึ ษา ท่ปี รกึ ษาด้านต่างประเทศ ท่ปี รึกษา ๖. นางเบ็ญจางค์ ถน่ิ ธานี ผอู้ ำนวยการสำนกั เลขาธิการ สำนกั งานลูกเสือแหง่ ชาติ ทป่ี รกึ ษา ๗. ว่าทีร่ ้อยตรี สมปอง วิมาโร ประธานคณะทำงาน ผู้อำนวยการสว่ นอำนวยการ คณะทำงาน ๘. นางนลินี ศรีสารคาม จนั ทร์ตรี คณะทำงาน ผู้อำนวยการสว่ นกิจการคา่ ยลูกเสอื คณะทำงาน คณะทำงาน ๙. นายจำรสั สุขประเสริฐ คณะทำงาน ผอู้ ำนวยการสว่ นพฒั นารายไดแ้ ละสิทธิประโยชน์ คณะทำงาน คณะทำงานและเลขานุการ ๑๐. นางสาวศกลวรรณ เปล่ียนขำ คณะทำงานและผูช้ ่วยเลขานุการ ผูอ้ ำนวยการสว่ นพฒั นาลูกเสือและบุคลากรทางการลูกเสอื คณะทำงานและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร ๑๑. นางสาวอรวรรณ พ่มุ อสุ ติ ๑๒. นายณัฐพงศ์ มุ่งหวงั เจรญิ กจิ ๑๓. นางสาวพจนันท์ สระทองห้อย ๑๔. นางสาวนนั ทยา เกกินะ ๑๕. นางสาวจิณาหน์ ภิ า สงภกั ดี ๑๖. นางสาวธัญชนก แซ่อ้ึง ๑๗. นายอดลุ ย์รัตน์ นิม่ เจรญิ ๑๘. นางสาวมณรี ัตน์ ตรัยศรัณย์วงศ์ ๑๙. นายเอกสทิ ธิ์ สวัสดิ์วงค์ --------------------------------------------------

สว่ นที่ ๑ ความเป็นมา ๑.๑ ความเป็นมาของลูกเสือมคั คุเทศก์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ดร.กนกวรรณ วิลาวัลย์ มีแนวคิดในการขับเคลื่อน การพัฒนาลูกเสือเชิงรุก จึงได้กำหนดนโยบาย “จัดตั้งลูกเสือมัคคุเทศก์” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาลูกเสือ เนตรนารี ให้มีสมรรถนะด้านมัคคุเทศก์ น้อมนำหลักสูตรจิตอาสา ๙๐๔ สร้างระเบียบวินัย และปลูกจิตอาสาในการสืบ สานพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ ทั้งนี้ โดยความร่วมมือกับกรมการท่องเที่ยว กระทรวง การท่องเที่ยวและกีฬา ในฐานะที่เป็นกระทรวงที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงกับการท่องเที่ยวและการมัคคุเทศก์ ซึ่งในความร่วมมือดังกล่าวครอบคลุมทุกขั้นตอนของการดำเนินงาน โดยเฉพาะขั้นตอนการปฏิบัติหน้าที่ลูกเสือ มัคคุเทศก์ ๒๐ ชั่วโมง เนื่องจากกรมการท่องเที่ยวมีบุคลากรที่มีความเช่ียวชาญดังกล่าว สามารถร่วมกำหนด แนวทางการฝกึ อบรมตลอดจนการประเมินผลการปฏิบัตหิ น้าทข่ี องลูกเสือมัคคุเทศก์ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี สำหรับกระบวนการขับเคลื่อนการพัฒนาลูกเสือมัคคุเทศก์นั้น หลังจากการลงนามความร่วมมือใน การดำเนินงานระหว่างสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการกับกรมการท่องเที่ยว กระทรวงท่องเที่ยว และกีฬาแล้ว ยังมีการระดมความร่วมมือของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ประกอบด้วย สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สำนักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและตามอัธยาศัย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน และหน่วยงานเอกชน ร่วมกันออกแบบ หลักสูตรและคู่มือการฝึกอบรม และทดลองใช้ในการฝึกอบรม นำร่อง ๘ จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดพัทลุง จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเลย จังหวัดสุโขทัย จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดนครราชสีมา และ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลการทดลองนำร่อง พบว่า ได้ผลผลิตเป็นลูกเสือมัคคุเทศก์ที่มีจิตอาสา เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ มีสมรรถนะด้านการมัคคุเทศก์และสามารถเป็นเจ้าบ้านที่ดีในท้องถิ่นของตนได้ นอกจากนี้ ยังพบว่า คุณภาพของหลักสูตรและวิทยากร อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด จึงสรุปได้ว่าผลการนำร่อง การฝึกอบรม ๘ จังหวัด มีผลงานเป็นที่น่าพอใจ เหมาะสมที่จะดำเนินการขยายผลอีก ๖๙ จังหวัด เพื่อให้ ครอบคลุมทั้งประเทศ ต่อไป ซึ่งในการดำเนินการครั้งนี้ สำนักงานลูกเสือแห่งชาติได้รับความอนุเคราะห์ จากสำนกั งาน กศน. ๖๙ จังหวัดเปน็ หน่วยงานรับผดิ ชอบในการดำเนนิ การฝกึ อบรม ในการนี้ สำนักงานลูกเสือแห่งชาติจึงได้จัดทำคู่มือการฝึกอบรมลูกเสือมัคคุเทศก์นี้ขึ้น เพื่อให้ หน่วยดำเนินการพัฒนาและวิทยากรใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาลูกเสือมัคคุเทศก์ มีความเป็นมาตรฐานเดียวกัน และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือการฝึกอบรมนี้จะยังประโยชน์และเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนา ลกู เสือมัคคเุ ทศก์ตอ่ ไป ๑.๒ วัตถปุ ระสงคข์ องคมู่ ือ เพื่อให้คณะผู้บริหารจัดการฝึกอบรมลูกเสือมัคคุเทศก์และวิทยากรผู้ให้การฝึกอบรม สามารถดำเนินการฝึกอบรมลูกเสือมัคคุเทศก์ของจังหวดั ตามขั้นตอนและกระบวนการให้แลว้ เสร็จตามเป้าหมาย ทก่ี ำหนด เกดิ ผลงานที่มีประสิทธภิ าพและเปน็ บรรทดั ฐานเดยี วกัน คู่มือลกู เสือมัคคเุ ทศก์ : สำนกั งานลกู เสือแหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๒ ๑.๓ ขอบเขตของคู่มอื คู่มือดำเนินการฝึกอบรมลูกเสือมัคคุเทศก์ของสำนักงานลูกเสือแห่งชาตินี้ ครอบคลุมองค์ความรู้ แนวทางการบริหารจัดการฝึกอบรม และขั้นตอนการฝึกอบรม ซ่ึงประกอบด้วย ความเป็นมาและนโยบาย ของโครงการ แผนการขับเคล่ือนโครงการ การคัดเลือกลูกเสือมัคคุเทศก์เขา้ รว่ มโครงการ เนื้อหาหลักสูตร ขน้ั ตอน วธิ ดี ำเนินการฝึกอบรม การประเมินและติดตามผล ตลอดจนตัวอย่างเอกสารต่าง ๆ ในการดำเนนิ งาน ซึ่งเกยี่ วข้อง กับผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบด้านการฝึกอบรมลูกเสือมัคคุเทศก์ทั้งระบบ เพื่อให้เป็นบรรทัดฐานเดียวกันทั้งประเทศ เกิดประสทิ ธิภาพของการดำเนินโครงการตามเปา้ หมายของนโยบายทกี่ ำหนด ๑.๔ คำจำกัดความ การฝกึ อบรมลูกเสอื มัคคุเทศก์ หมายถงึ กระบวนการฝกึ อบรมทางการลูกเสือ และการบูรณาการ องค์ความรู้ด้านการมัคคุเทศก์ เพื่อถ่ายทอดความรู้ ความสามารถ เพิ่มพูนทักษะ ความชำนาญ และสร้างทัศนคติ ใหล้ กู เสอื สามารถปฏบิ ัติงานเป็นลูกเสือมคั คุเทศก์ท้องถ่ินและชุมชนได้ด้วยความมน่ั ใจและมปี ระสทิ ธิภาพ หลักสูตรฝึกอบรมลูกเสือมัคคุเทศก์ หมายถึง มวลความรู้ ประสบการณ์ และกิจกรรมการเรียนรู้ ดา้ นการมคั คุเทศก์ ประกอบดว้ ย การดำเนินการ ๓ ระยะ ๑๐ หนว่ ยการเรียนรู้ รวม ๖๐ ช่ัวโมง ระยะที่ ๑ ศึกษา ล่วงหน้า จาก E-book จำนวน ๑๓ ชั่วโมง ระยะท่ี ๒ การฝึกอบรม ๑๐ หน่วยการเรียนรู้ จำนวน ๒๗ ชั่วโมง (๔ วนั ) ณ หน่วยฝกึ อบรม และระยะท่ี ๓ การฝึกประสบการณ์ ณ สถานทีท่ ่องเทย่ี ว จำนวน ๒๐ ช่วั โมง วิทยากรการฝึกอบรม หมายถึง วิทยากรทางการลูกเสือ และวิทยากรทางการมัคคุเทศก์ ซงึ่ เป็นผถู้ า่ ยทอดความร้ตู ามท่ีหลักสตู รลกู เสือมคั คเุ ทศก์กำหนด ผู้เข้ารับการฝึกอบรม หมายถึง ลูกเสือ เนตรนารี ประเภทสามัญรุ่นใหญ่/วิสามัญ ตามคุณสมบัติ ที่กำหนด ค่มู ือลูกเสอื มัคคเุ ทศก์ : สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ๒๕๖๓

๓ ๑.๕ แผนการขบั เคลื่อนโครงการลูกเสือมัคคเุ ทศก์ รฐั มนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ (ดร.กนกวรรณ วลิ าวัลย)์ มีนโยบายการพัฒนาลูกเสือมัคคุเทศก์ อย่างต่อเนื่อง ดังนั้น สืบเนื่องจากการดำเนินการนำร่องการฝึกอบรมลูกเสือมัคคุเทศก์ ๘ จังหวัดแล้ว สำนักงานลูกเสือแห่งชาติได้ดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรตามผลการประเมิน และออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้อง กับบริบทและสถานการณ์ รวมทั้งยังสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวง ทั้งรูปแบบ On Air On Line และ On Site กล่าวคือ การดำเนินการเริ่มจาก On Air Kick Off พิธีเปิดการฝึกอบรม โดยรัฐมนตรีช่วยว่า การกระทรวงศึกษาธิการ ในวันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๓ ทำให้ทุกหน่วยฝึกอบรมได้รับทราบนโยบายและแนวทาง พร้อมกัน เพื่อให้การดำเนินงานไปในทิศทางเดียวกัน สำหรับรูปแบบ On line นั้น สำนักงานลูกเสือแห่งชาติได้ จัดทำองค์ความรู้ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ศึกษาล่วงหน้า ในรูปแบบ E-book ซึ่งจะนำขึ้นเว็ปไซต์สำนักงาน ลูกเสอื แห่งชาติ ตัง้ แตเ่ ดอื นกรกฎาคมเปน็ ต้นไป สว่ นรปู แบบ On Site ซงึ่ ถือไดว้ ่าเปน็ ส่วนที่สำคัญท่ีสุด เนื่องจาก การฝึกอบรมลูกเสือมัคคุเทศก์มุ่งให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดทักษะและเจตคติที่ดี ดังนั้น กิจกรรมในส่วนน้ี จึงถูกออกแบบให้เกิดการเรียนรูค้ วบคู่กับการฝึกปฏบิ ัติ เน้น Active Learning ทั้งในสถานท่ีฝึกอบรมและสถานที่ ท่องเที่ยวจริง ซึ่งในความแตกต่างบริบทของแต่ละพื้นที่ นั้น หน่วยจัดฝึกอบรมสามารถปรับให้เหมาะสมได้ สำหรับรายละเอียดการดำเนินการทั้งหมดนี้ สำนักงานลูกเสือแห่งชาติได้จัดทำคู่มือ ขั้นตอนการดำเนินงาน หลกั สูตรและแผนจดั การเรยี นรู้ ให้หน่วยฝึกอบรมได้ศึกษาและประยุกตใ์ ช้ ขัน้ เตรียมการ ขั้นดาเนนิ การ ขัน้ ประเมินผล -สลช.จดั สรรงบประมาณ ดาเนินการฝกึ อบรมลกู เสอื หนว่ ยพัฒนาประเมนิ ผล จดั สง่ หลกั สตู ร คู่มือและ สอ่ื พร้อมหมวก ผ้าผกู คอ มคั คุเทศก์ การฝกึ อบรม ทัง้ 69 จงั หวัด และใหว้ ฒุ ิบตั ร หนา้ กากวุฒบิ ตั ร 70 รุ่น ด้วยรปู แบบ ผ้ผู า่ นการฝกึ อบรม และแบดจ์ On Air Online และรายงานผลให้ และ On Site สลช.ทราบ -สลช.ประชุมออนไลน์ ระยะที่ 1 ศกึ ษาลว่ งหน้า ชี้แจงแนวทาง ระยะท่ี 2 ฝกึ อบรม 4 วนั การดาเนนิ งาน ระยะที่ 3 ฝกึ ประสบการณ์ 20 ชั่วโมง แผนภมู ิภาพ การขับเคลื่อนการขยายผลการฝกึ อบรมลกู เสอื มัคคเุ ทศก์ คมู่ ือลกู เสือมคั คุเทศก์ : สำนกั งานลูกเสือแหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๔ ๑.๖ กรอบภารกิจของหนว่ ยงานและบคุ ลากร สำหรับการขยายผลการฝึกอบรมลกู เสือมคั คุเทศก์ - บทบาทหน้าที่ของ หน่วยงานและบุคลากรระดับจังหวัด ในการขยายผลการฝึกอบรมลูกเสือ มคั คุเทศก์ ๖๙ จงั หวดั ท้งั ระยะก่อน ระหว่างและหลงั การฝกึ อบรม ดงั ตารางตอ่ ไปน้ี ที่ หนว่ ยงาน กรอบภารกิจ กอ่ นการฝกึ อบรม ระหวา่ งการฝึกอบรม หลงั การฝกึ อบรม ๑ สำนกั งานลกู เสอื ๑. ปรับปรุง พัฒนาหลักสูตร ๑. ประสานหน่วยงานและ ๑. ติดตามการรายงานผลของ แหง่ ชาติ คมู่ ือ สื่อฝึกอบรม ผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการ หนว่ ยฝกึ อบรมท้ัง ๖๙ จงั หวัด ๒. จัดทำเอกสารสำหรับศึกษา จดั ฝกึ อบรมลกู เสอื มัคคุเทศก์ ๒.รวบรวมผลการขยายผล การดำเนนิ งานขยาย ลว่ งหนา้ ในรูปแบบ E-book ๒. ดำเนินการจัดฝึกอบรมลูกเสอื การฝ ึ กอบรม ๖๙ จ ั งหวั ด ผลใน ๖๙ จังหวดั ๓. ประสานหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้อง มัคคุเทศก์ ๖๙ จงั หวัด ถอดบทเรียนความสำเรจ็ (ดำเนนิ การเดือน เพื่อดำเนินการจัดฝึกอบรม ๓. นเิ ทศ ตดิ ตามประเมินผล และ ๓. สรุปและจัดทำรายงานผล สิงหาคม ๒๕๖๓) ลกู เสือมัคคเุ ทศก์ ประมวลผลการจัดฝึกอบรม การขยายผลการฝกึ อบรม ๔. จดั ทำผา้ ผูกคอ หมวก วุฒบิ ตั ร ลูกเสือมัคคุเทศก์ ในพื้นที่ ๖๙ ๔.รายงานต่อผู้บริหารเป็นลำดับ แบดจ์ และหน้ากากอนามัย และ จังหวดั ต่อไป มอบให้แกห่ น่วยฝกึ อบรม ๔. มอบผา้ ผูกคอ หมวก หนา้ กาก ๕. จัดสรรงบประมาณให้แก่ อนามัย และสมุดบันทึกผลการ กศน.จังหวัด ผู้ประสานงาน ฝ ึ กประสบ การณ ์ ล ู กเสือ ลูกเสอื มคั คเุ ทศก์ จังหวดั มัคคุเทศก์ (passport) ให้แก่ ๗.ประชาสมั พนั ธก์ ารดำเนนิ งาน ผู้เข้ารับการฝึกอบรมลูกเสือ มัคคุเทศก์ ๕.ประชาสัมพนั ธก์ ารดำเนินงาน ๒ หน่วยพัฒนาระดับจังหวดั /คณะลกู เสอื จังหวดั ๒.๑ สำนักงานลกู เสือ อำนวยการด้านการประสานแนวทางปฏิบตั ิ และสนับสนุนการดำเนินงาน จังหวดั ๒.๒ สำนกั งานเขต อำนวยการด้านการประสานแนวทางปฏบิ ัติ และสนบั สนุนการดำเนนิ งาน พืน้ ทกี่ ารศึกษา ๒.๓ ทอ่ งเท่ียวและ วางแผนรว่ มกันกบั ผ้ปู ระสานงาน ร่วมเป็นวิทยากรในการฝึกอบรม ๑. ประเมินผลและตรวจสอบผล กฬี าจงั หวดั และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพ่ือ ลกู เสอื มคั คุเทศก์ และเปน็ พเ่ี ลย้ี ง การฝึกประสบการณ์ให้แก่หน่วย เตรียมการฝึกอบรมลูกเสือ ติดตามและประเมินผลในการฝึก ฝึกอบรม มัคคุเทศกใ์ นแต่ละจังหวัด ประสบการณ์ของผู้เข้ารับการ ๒. อนมุ ตั ผิ ลการฝกึ ประสบการณ์ ฝึกอบรม ร่วมกบั คณะกรรมการ คู่มอื ลูกเสือมัคคุเทศก์ : สำนกั งานลูกเสอื แห่งชาติ ๒๕๖๓

๕ ที่ หนว่ ยงาน กรอบภารกิจ กอ่ นการฝึกอบรม ระหว่างการฝึกอบรม หลงั การฝึกอบรม . ๒.๔ สำนกั งาน กศน. ๑. แต ่ งต ั ้ งคณะกรรมการ ๑. ดำเนินการฝึกอบรมตามตาราง ๑. ดำเนินการในฐานะเลขานุการ จงั หวัด ดำเนินการฝึกอบรมลูกเสือ การฝึกอบรม พร้อมประชุม คณะกรรมการประเมินผลการฝึก มัคคุเทศก์ของจังหวัด โดยผู้ว่า ประเมินผลการฝึกอบรมรายวนั ประสบการณ์ พิจารณาและ ร า ช ก า ร จ ั ง ห ว ั ด ใ นฐา นะ ๒. ประเมินผลการฝึกอบรมเป็น ประกาศผลการฝึกประสบการณ์ ผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัดเป็น รายหน่วยการเรียนรู้เพื่อให้ ของลูกเสือมัคคุเทศก์ ผแู้ ตง่ ต้งั ประกอบดว้ ย ลูกเสือได้รับการพัฒนา และ ๒.จัดเตรียมแบดจ์และวุฒิบัตร - คณะกรรมการคดั เลอื กลูกเสอื เติมเตม็ ความรูอ้ ยา่ งตอ่ เน่อื ง สำหรับผู้ผ่านการฝึกอบรม เข้าโครงการลกู เสือมคั คเุ ทศก์ ๓. ดำเนนิ การเบิกจ่ายงบประมาณ ๓. จัดพิธีมอบวุฒิบัตรและ - คณะกรรมการดำเนิ น การจัดซือ้ จดั จ้าง มอบแบดจ์ลูกเสือมัคคุเทศก์ การฝึกอบรมและประเมินผล ๔. จัดเตรียมหมวก ผ้าผูกคอ ให้กับผู้ผ่านการฝึกอบรม การฝึกอบรมลูกเสือมัคคุเทศก์ หน้ากากอนามัยสำหรับผู้เข้ารับ เมื่อเสร็จสิ้นการฝึกอบรม จงั หวัด การฝกึ อบรม ระยะท่ี ๓ ๒. ประกาศรับสมัครลูกเสือ ๕. สรุปผลการฝึกอบรม แจ้งผล ๓. สรุปผลการฝึกประสบการณ์ เนตรนารี เข้าร่วมโครงการ ไปยัง สลช. ท้ัง ๓ ระยะ แจ้งผลไปยัง สลช. พร้อมดำเนินการคัดเลือกและ ๖.ประชาสมั พนั ธก์ ารดำเนนิ งาน ๔.ประชาสมั พันธก์ ารดำเนนิ งาน แจง้ ผลการคดั เลอื ก ๓. เตรียมการฝึกอบรม ประกอบด้วย - จดั ทำแผนปฏิบัตกิ ารฝกึ อบรม - เตรียมสถานที่ฝึกอบรม (ให้เลือกค่ายลูกเสือจังหวัด เปน็ อนั ดบั แรก) - เตรียมอุปกรณ์ เครื่องใช้ สำนักงาน และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง กบั การฝึกอบรม - ประชุมคณะกรรมการ ดำเนินการฝึกอบรมและ ประเมินผลการฝึกอบรมลูกเสือ มัคคุเทศก์จังหวัดและคณะ วทิ ยากร - ประสานงานพื้นที่การฝึก ประสบการณ์ ให้กับลูกเสือ มัคคุเทศก์ ๔. ประชาสัมพนั ธก์ ารดำเนินงาน ๒.๕ ผทู้ รงคุณวฒุ ิ วางแผนรว่ มกนั กบั ผู้ประสานงาน ร ่ ว ม เ ป ็ น ว ิ ท ย า ก ร ใ น ๑.นิเทศการฝึกประสบการณ์ ด้านการท่องเทีย่ ว และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อ การฝกึ อบรมลกู เสอื มคั คเุ ทศก์ ของลกู เสือมัคคเุ ทศก์ ของจังหวดั และ เตรียมการฝึกอบรมลูกเสือ ๒. ร่วมเป็นคณะกรรมการ มคั คุเทศก์ในท้องถ่ิน มัคคุเทศก์ในแตล่ ะจงั หวดั อนุมัติผลการฝึกประสบการณ์ (ในกรณีที่ได้รับการแต่งตั้งเป็น คณะกรรมการ) คมู่ อื ลูกเสือมคั คุเทศก์ : สำนกั งานลูกเสือแหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๖ ที่ หนว่ ยงาน กรอบภารกจิ กอ่ นการฝึกอบรม ระหวา่ งการฝกึ อบรม หลังการฝกึ อบรม ๒ . ๖ ก ร ม อ ุ ท ย า น วางแผนรว่ มกันกับผู้ประสานงาน - ร่วมเป็นวิทยากรในการ ๑. นิเทศการฝึกประสบการณ์ แห่งชาติ สัตว์ป่า และ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพ่ือ ฝกึ อบรมลูกเสอื มัคคเุ ทศก์ ของลกู เสือมัคคเุ ทศก์ พันธุ์พชื (สำนักบริหาร เตรียมการฝึกอบรมลูกเสือ - เป็นสถานที่ในการฝึกประสบ ๒. ร่วมเป็นคณะกรรมการอนุมตั ิ พ้นื ทีอ่ นุรักษ์ที่ ๑-๑๖) มคั คเุ ทศกใ์ นแตล่ ะจังหวัด การณ์ ผลการฝึกประสบการณ์ (ในกรณี - เป็นพี่เลี้ยงติดตามและประเมนิ ท ี ่ ได ้ ร ั บการแต ่ งต ั ้ งเป็ น ผลในการฝึกประสบการณ์ของ คณะกรรมการ) ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ๓. วทิ ยากรลกู เสอื มัคคเุ ทศก์จังหวดั วิทยากรลกู เสอื ประสานงาน และช่วยอำนวย ร่วมเป็นวิทยากรในการฝึกอบรม ๑. ประเมินผลและตรวจสอบผล มคั คเุ ทศก์จงั หวัด ค วา ม ส ะ ด วก ด ้ า นต ่ า ง ๆ ลูกเสอื มัคคุเทศก์ และเปน็ พ่ีเลย้ี ง การฝกึ ประสบการณใ์ หแ้ ก่ลกู เสอื ในการฝึกอบรมให้เป็นไปด้วย ติดตามและประเมินผลในการฝกึ มคั คเุ ทศก์ ความราบร่นื ประสบการณ์ของผู้เข้ารับการ ๒. อนมุ ัตผิ ลการฝึกประสบการณ์ ฝึกอบรม ร่วมกบั คณะกรรมการ คู่มอื ลกู เสือมคั คเุ ทศก์ : สำนกั งานลกู เสือแห่งชาติ ๒๕๖๓

สว่ นที่ ๒ กระบวนการฝึกอบรมลูกเสือมคั คุเทศก์ กระบวนการฝกึ อบรมลูกเสือมัคคเุ ทศก์ มเี นือ้ หา ดังตอ่ ไปน้ี ๒.๑ สมรรถนะลกู เสือมัคคเุ ทศก์ ๒.๒ กระบวนการและเกณฑก์ ารคดั เลือกลกู เสือมัคคุเทศก์เขา้ รว่ มโครงการ ๒.๓ โครงสร้างหลักสูตรการฝกึ อบรมลูกเสือมัคคเุ ทศก์ ๒.๔ การดำเนนิ การฝกึ อบรมลูกเสือมคั คุเทศก์ - การบรหิ ารและการจัดการโครงการลูกเสือมคั คเุ ทศก์ - เนือ้ หาและการจดั กระบวนการเรียนรูข้ องวิทยากร ๒.๑ สมรรถนะลูกเสอื มัคคุเทศก์ คณุ ลักษณะของลูกเสือมัคคเุ ทศก์ - เทดิ ทนู สถาบนั - จิตอาสา - ใฝ่รู้ - มคี ณุ ธรรม ความรู้ - พ้ืนฐานของพ้ืนที่และพน้ื ทีข่ ้างเคียง - จติ วทิ ยาการใหบ้ ริการ - การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม - ความปลอดภัยของนกั ท่องเทยี่ ว - การค้นหาเรอ่ื งราวและเรอ่ื งเลา่ ของท้องถิ่นและการจัดลำดับความสำคัญของเนื้อหา ทกั ษะ - การส่ือสารอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ - การให้บรกิ าร - การใชเ้ ทคโนโลยเี พอ่ื การมคั คเุ ทศก์ - การคน้ หาเร่ืองราวและเรื่องเลา่ ของท้องถนิ่ และ - การจัดลำดับความสำคญั ของเนื้อหา - การแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ในการมคั คุเทศก์ - Presentation and Action Plan ๒.๒ กระบวนการและเกณฑ์การคัดเลือกลกู เสอื มคั คุเทศก์เขา้ รบั การฝกึ อบรม ๒.๒.๑. คุณสมบตั ขิ องผเู้ ข้ารับการฝึกอบรม กำหนดให้ผู้ท่เี ข้ารบั การฝึกอบรมลกู เสือมัคคุเทศก์ มีคุณสมบตั ิดงั นี้

๘ ๑. เป็นลกู เสอื วสิ ามญั สงั กัด กศน. ๒. มที ักษะในการสื่อสารภาษาอังกฤษ/ภาษาท่ีสอง ๓. มที กั ษะดา้ นการปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น (ระบทุ ักษะการปฐมพยาบาล อาทิ การห้ามเลอื ด การทำ CPR เปน็ ตน้ ) ๔. มที กั ษะการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการทอ่ งเทยี่ ว ๕. มีสุขภาพแข็งแรง ไม่มีโรคตดิ ตอ่ ร้ายแรงทจ่ี ะเป็นอุปสรรคในการเขา้ ฝึกอบรม ๖. ลกู เสือผสู้ มัครเขา้ รบั การฝกึ อบรมมคี วามสนใจและมจี ติ สาธารณะในด้านท่องเท่ยี ว ๗. สามารถเขา้ รับการฝึกอบรมไดต้ ามทีห่ ลกั สตู รที่กำหนดทั้ง ๓ ระยะตามทก่ี ำหนด หมายเหตุ : เมื่อลูกเสือ/เนตรนารีได้รับการคัดเลือก ให้เตรียมข้อมูลเบื้องต้นของแหล่งท่องเที่ยวและภาพถ่าย และเขียนเรียงความเรื่องราวเรื่องเล่าสถานที่ท่องเที่ยวในชุมชน หรือหมู่บ้านของตนเอง โดยเขียน หรือพิมพ์กไ็ ด้ลงในกระดาษ A4 อย่างน้อย ๒ หน้า โดยอาจจะมีรูปภาพ หรอื แผนทป่ี ระกอบก็ได้ ๒.๒.๒ กระบวนการคัดเลือกลูกเสอื มัคคุเทศก์เข้าร่วมโครงการ ๑ กศน.จังหวัด จดั ทำประกาศรับสมคั รลกู เสือในสงั กัดเขา้ ร่วมกจิ กรรมจัดส่งลูกเสือเข้ารับ การฝึกอบรม จำนวน ๔ หมู่ ๒ กศน.จงั หวดั แต่งต้งั คณะกรรมการ ๑ คณะ เพ่อื ดำเนินการคดั เลอื กลกู เสอื จำนวน ๔๐ คน ๒.๓ โครงสร้างหลกั สูตรการฝึกอบรมลูกเสือมคั คเุ ทศก์ หลกั สูตรฝึกอบรมลูกเสอื มัคคุเทศก์ ประกอบดว้ ย การดำเนินการ ๓ ระยะ ๑๐ หน่วยการเรยี นรู้ รวม ๖๐ ชั่วโมง ดงั น้ี ระยะที่ ๑ ศึกษาล่วงหนา้ จำนวน ๑๓ ชั่วโมง โดยให้ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมศึกษา ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกบั พ้ืนทขี่ องตนเองแลว้ จัดทำขอ้ มลู และเรยี งความบ้านเกิด ระยะที่ ๒ การฝึกอบรม ๑๐ หนว่ ยการเรยี นรู้ จำนวน ๒๗ ชวั่ โมง (๔ วนั ) ณ หนว่ ยฝึกอบรม ระยะท่ี ๓ การฝกึ ประสบการณ์ ณ สถานท่ีท่องเทยี่ ว จำนวน ๒๐ ชวั่ โมง ๒.๔ การดำเนนิ การฝึกอบรมลกู เสือมคั คุเทศก์ ระยะท่ี ๑ หลังจากการคัดเลือกผู้เข้ารับการฝึกอบรมแล้ว เข้าสู่การดำเนินการฝึกอบรมระยะที่ ๑ ระยะนี้ใช้ รูปแบบ On Line โดยให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมศึกษาล่วงหน้า จำนวน ๑๓ ชั่วโมง โดยให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ศึกษาองค์ความรู้ทั้ง ๑๐ หน่วยการเรียนรู้ On Line ซึ่งสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ได้จัดทำเป็น E-book อยู่ในเวป็ ไซด์ของสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ www.scoutthailand.org ซึ่งสามารถศึกษาไดต้ ั้งแต่วันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๖๓ นอกจากนี้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมต้องค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับพื้นที่ของตนเองแล้วจัดเตรียมข้อมูลและจัดทำเขียน เรยี งความเรือ่ งราวเร่ืองเลา่ สถานทที่ อ่ งเท่ียวในชมุ ชน หรอื หมูบ่ า้ นของตนเอง โดยเขียนหรือพมิ พก์ ไ็ ด้ลงในกระดาษ A4 อยา่ งนอ้ ย ๒ หน้า โดยอาจจะมีรูปภาพ หรือแผนทป่ี ระกอบก็ได้ จำนวน ๑ บทความ นำมาสง่ ในวนั รายงานตัว เข้ารับการฝึกอบรม ระยะท่ี ๒ คมู่ ือลูกเสอื มัคคุเทศก์ : สำนกั งานลูกเสือแห่งชาติ ๒๕๖๓

๙ ระยะที่ ๒ การดำเนินการฝึกอบรม ระยะที่ ๒ นี้ ใช้รูปแบบ On Air และ On Site โดยดำเนินการ On Air Kick Off พิธีเปิดการฝึกอบรม โดยท่านรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ดร.กนกวรรณ วิลาวัลย์) ในวันท่ี ๑ สิงหาคม ๒๕๖๓ ณ ศูนย์กิจกรรมยุวกาชาด \"ผิน แจ่มวิชาสอน\" บางแค กทม. ในการนี้ ศูนย์เทคโนโลยี ทางการศึกษา สำนักงาน กศน. จะดำเนินการถ่ายทอดสดไปทั่วประเทศ จึงถือได้ว่าเป็นการเปิดการฝึกอบรม ไปพร้อมกัน และรับฟังนโยบายเพ่อื ดำเนนิ การไปในทศิ ทางเดยี วกนั หลัง On Air พิธีเปิดการฝึกอบรมแล้ว หน่วยดำเนินการฝึกอบรมสามารถดำเนินการฝึกอบรม รูปแบบ On Site ณ สถานทฝี่ กึ อบรม ตามทหี่ ลักสตู รกำหนด โดยมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ ท่ี ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ ระยะเวลา รปู แบบการฝกึ อบรม ชวั่ โมง นาที On Air พิธีเปดิ โดยรัฐมนตรชี ่วยวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ - ๓๐ On Air (ดร.กนกวรรณ วิลาวัลย์) On line + On Site On line + On Site ชีแ้ จงความเป็นมาและกระบวนการพฒั นาลูกเสอื มัคคเุ ทศก์ - ๓๐ On line + On Site On line + On Site ๑ หลกั การมคั คุเทศก์ ๑- On line + On Site On line + On Site ๒ การสอื่ สารอย่างมีประสิทธิภาพ ๑ ๓๐ On line + On Site ๓ ความรู้พื้นฐานของพ้ืนทแ่ี ละพื้นทขี่ า้ งเคียง ๑ ๓๐ On line + On Site On line + On Site ๔ จิตวทิ ยาการใหบ้ ริการของลูกเสอื มัคคุเทศก์ ๒- On line + On Site ๕ การเทิดทนู สถาบันและจิตอาสาของลูกเสือมัคคเุ ทศก์ ๒- ๖ กระบวนการค้นหาเรอื่ งราวและเรอ่ื งเล่าของท้องถ่ินและ ๑๒ - การจัดลำดบั ความสำคัญของเนอื้ หา+นำเสนอผลงาน & Action Plan ๗ การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ๑ ๓๐ ๘ ความปลอดภัยของนักทอ่ งเท่ียว ๑- ๙ การใช้เทคโนโลยีเพื่อการมัคคุเทศก์ ๒ ๓๐ ๑๐ การแกป้ ัญหาเฉพาะหน้าในการมคั คุเทศก์ ๒- รวม ๒๗ - ค่มู ือลกู เสือมัคคเุ ทศก์ : สำนักงานลกู เสือแหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๑๐ - ตารางการฝึกอบรมระยะท่ี ๒ (๔ วนั ) คู่มอื ลูกเสอื มัคคเุ ทศก์ : สำนักงานลกู เสอื แหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๑๑ - ตารางการฝกึ อบรมระยะท่ี ๒ (ตารางฝึกอบรมประจำวนั ) ตารางฝกึ อบรมลูกเสือมคั คเุ ทศก์ โครงการปงี บประมาณ ๒๕๖๓ ระหวา่ งวนั ท่ี ..............เดือน............................. ๒๕๖๓ ณ ......................................................................... อำเภอ............................... จงั หวดั ...................................... วนั ท่ี ๑ ของการฝึกอบรม (วันท่ี ๔ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๓) เวลา (นาที) กิจกรรม ผรู้ บั ผดิ ชอบ พิธีกรประจำวนั ๐๗:๓๐ - ๐๘: ๓๐ ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมเดนิ ทางมาถึง พิธีกรประจำวัน อ.อดลุ ยร์ ตั น์ น. - รายงานตัว ลงทะเบียน จัดหมู่ พธิ ีกรประจำวัน - ซักซอ้ มพิธีเปิด ๐๘:๓๐ น. (๓๐) ปฐมนิเทศ ๐๙:๐๐ น. (๖๐) พิธเี ปดิ ออนไลน์ ๑๐:๐๐ น. (๓๐) - ผูอ้ ำนวยการฝกึ อบรมกล่าวตอ้ นรบั ๑๐:๓๐ น. (๓๐) - ชี้แจงความเปน็ มาและกระบวนการพัฒนาลูกเสือมัคคุเทศก์ ๑๑:๐๐ น. (๖๐) ๑. หลักการมคั คุเทศก์ ๑๒:๐๐ น (๖๐) พกั รบั ประทานอาหาร ๑๓:๐๐ น. (๓๐) กจิ กรรมกลมุ่ สมั พนั ธ์ ละลายพฤติกรรม ๑๓:๓๐ น. (๙๐) ๒. การสื่อสารอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๑๕:๐๐ น. (๑๕) พกั รบั ประทานอาหารวา่ ง ๑๕:๑๕ น. (๙๐) ๓. ความรู้พนื้ ฐานของพน้ื ทแ่ี ละพืน้ ที่ข้างเคียง ๑๖:๔๕ น. (๑๕) - จดั เข้าทพ่ี ัก ๑๗.๐๐ น. (๖๐) พัก ประชุมวิทยากร / ประชุมนายหมู่ ๑๘:๐๐ น. (๖๐) ชักธงชาตลิ ง รบั ประทานอาหารเย็น ๑๙:๐๐ น. (๑๒๐) ๔. จติ วทิ ยาการให้บริการของลูกเสือมคั คเุ ทศก์ ๒๑:๐๐ น. สวดมนต์ สรรเสริญพระบารมี นอน ค่มู อื ลกู เสอื มัคคุเทศก์ : สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ๒๕๖๓

๑๒ วันท่ี ๒ ของการฝกึ อบรม (วนั ท่ี ๕ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๓) เวลา กจิ กรรม ผรู้ บั ผิดชอบ จิตอาสา ๙๐๔ ๐๕:๓๐ น. ตน่ื ทำความสะอาด ผู้รบั ผิดชอบ ๐๗:๐๐ น. รบั ประทานอาหารเช้า ปราชญท์ ้องถนิ่ / ๐๗:๔๕ น. ตรวจเยี่ยม กศน.จ. ๐๘:๐๐ น. ประชุมกองรอบเสาธง ปราชญ์ทอ้ งถน่ิ / กศน.จ. ๐๘:๑๕ น. (๑๒๐) ๕. การเทดิ ทูนสถาบนั และจติ อาสาของลูกเสอื มัคคเุ ทศก์ ๑๐:๑๕ น. (๑๕) พกั เครอื่ งด่ืม ๑๐:๓๐ น. (๑๒๐) ๖.๑ กระบวนการคน้ หาเรือ่ งราวและเร่ืองเล่าของท้องถนิ่ และการจัดลำดบั ความสำคัญของเนื้อหา ๑๒:๓๐ น. (๓๐) พัก รบั ประทานอาหาร ๑๓:๐๐ น. (๖๐) ๗. การอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ๑๔:๐๐ น. (๙๐) ๘. ความปลอดภยั ของนกั ท่องเท่ยี ว ๑๕:๓๐ น. (๙๐) ๙. การใช้เทคโนโลยเี พ่อื การมัคคเุ ทศก์ ภาคท่ี ๑ ๑๗:๐๐ น. (๖๐) พกั /ประชมุ นายหมู่ / ประชุมวิทยากร ๑๘:๐๐ น. (๖๐) ชักธงชาติลง รับประทานอาหารเย็น ๑๙:๐๐ น. - กิจกรรมกลมุ่ สัมพันธ์ / - เลือกประธานรุ่น ๑๙:๓๐ น. (๑๒๐) ๑๐. การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในการมคั คเุ ทศก์ และฝกึ ปฏิบตั ิ ๒๑:๓๐ น. สวดมนต์ สรรเสริญพระบารมี นอน วนั ท่ี ๓ ของการฝกึ อบรม (วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓) เวลา กจิ กรรม ๐๕:๓๐ น. ตื่น ทำความสะอาด ๐๗:๐๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๗:๔๕ น. ตรวจเยยี่ ม ๐๘:๐๐ น. ประชุมรอบเสาธง ๐๘:๓๐ น. ออกเดนิ ทาง ๐๙:๐๐ น. (๑๘๐) ๖.๒ ฝึกภาคปฏบิ ัตกิ ารค้นหาเรอ่ื งราวเรือ่ งเลา่ (พักเคร่ืองด่ืมในเวลา) ๑๒:๐๐ น. พกั รบั ประทานอาหาร ๑๓:๐๐ น. (๑๘๐) ๖.๓ ฝกึ ภาคปฏิบตั ิการค้นหาเร่ืองราวเรื่องเลา่ (พกั เครื่องดื่มในเวลา) ๑๗:๐๐ น. เดนิ ทางกลบั เข้าค่าย ๑๗:๓๐ น. (๓๐) พัก /ประชมุ นายหมู่ / ประชุมวทิ ยากร ๑๘:๐๐ น. (๖๐) ชักธงชาตลิ ง รบั ประทานอาหารเย็น ๑๙:๐๐ น. (๖๐) ๑๑. การใช้เทคโนโลยีเพือ่ การมคั คเุ ทศก์ ภาคที่ ๒ ๒๐:๐๐ น. (๙๐) ๖.๔ ฝึกปฏิบตั ิการวางแผนปฏบิ ตั ิการ (Action Plan) ๒๑:๓๐ น. สวดมนต์ สรรเสริญพระบารมี นอน หมายเหตุ : การออกฝึกภาคปฏบิ ตั ิฯ ใหเ้ ตรียม อาหาร อาหารว่างและน้ำ แจกรายบคุ คล คู่มือลกู เสอื มัคคุเทศก์ : สำนกั งานลกู เสือแหง่ ชาติ ๒๕๖๓

วันท่ี ๔ ของการฝกึ อบรม (วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓) ๑๓ เวลา กิจกรรม ผูร้ บั ผิดชอบ พธิ ีกรประจำวัน ๐๕:๓๐ น. ตน่ื ทำความสะอาด พธิ กี รประจำวัน ๐๗:๐๐ น. รับประทานอาหารเชา้ ทกจ. ๐๗:๔๕ น. ตรวจเยี่ยม พธิ ีกรประจำวัน พิธีกรประจำวัน ๐๘:๐๐ น. ประชมุ รอบเสาธง พธิ ีกรประจำวัน ๐๙:๐๐ น. (๑๘๐) นำเสนอผลงาน และแผนปฏบิ ตั กิ าร (Action Plan) ๑๒:๐๐ น. (๖๐) พกั รบั ประทานอาหารกลางวัน ๑๓:๐๐ น. (๓๐) มอบหมายภารกจิ ๒๐ ช่วั โมง ๑๓:๓๐ น. อภปิ รายซกั ถาม ๑๔:๐๐ น. พิธีปิดการฝกึ อบรม - ผ้แู ทนรุ่นกล่าวแสดงความรู้สึก - ผอู้ ำนวยการฝกึ ประกาศผลการฝึกอบรม ระยะที่ ๒ - ประธานในพธิ ีปดิ กลา่ วปราศรยั และปิดการฝกึ อบรม - ทบทวนคำปฏญิ าณ พธิ ีปิดรอบเสาธง - สวดมนต์ สงบน่งิ ชกั ธงลง - ร้องเพลงสามัคคชี มุ นุม - จบั มอื ลา ๑๖:๐๐ น. เดินทางกลับโดยสวสั ดภิ าพ ตารางฝึกอบรมนีอ้ าจเปลีย่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม ----------------------------------------------------- คู่มอื ลูกเสือมคั คุเทศก์ : สำนกั งานลูกเสือแหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๑๔ - หลกั สตู รฝึกอบรมลูกเสือมัคคเุ ทศก์ หลักสูตรลกู เสือมัคคเุ ทศก์ ๑. ชอ่ื หลักสตู ร ฝึกอบรมลกู เสือมคั คุเทศก์ ๒. หลกั การและเหตุผล แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ได้กำหนดยุทธศาสตร์ที่สำคัญในการขับเคลื่อน ประเทศ ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนา ที่มุ่งเน้นการยกระดับศักยภาพของ ประเทศ ได้แก่ “ตอ่ ยอดอดีต” โดยมองกลับไปท่ีรากเหงา้ ทางเศรษฐกจิ อัตลกั ษณว์ ฒั นธรรม ประเพณวี ิถชี วี ติ และ จุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย รวมทั้งความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศ ในด้านอื่น ๆ นํามาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อให้สอดรับกับบริบทของ เศรษฐกิจและสังคมโลก สมัยใหม่ สิ่งหนึ่งที่จะสะท้อนให้เห็นผลงานดังกล่าว คือ การท่องเที่ยวของประเทศ หากมีการส่งเสริม สนับสนุน ความเป็นไทยของประเทศ แล้วสะท้อนผลงานอยา่ งเป็นรูปธรรมให้ชัดเจน สำหรับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ ประเทศ นับเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง ดังนั้น การเตรียมคนไทยให้สอดคล้องกับการดำเนินการดังกล่าว รวมทั้ง สอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตรช์ าตดิ ้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ กำหนดเปา้ หมาย เพอ่ื พัฒนา คนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดีเก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทย มีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีทักษะสื่อสาร ภาษาอังกฤษและภาษา ที่สาม และอนุรักษ์ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ผนวกกับ การปลูกฝังระเบยี บวินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยมท่พี ึงประสงค์ ในการนี้ กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายในการพัฒนาลูกเสือด้านการมัคคุเทศก์ โดยมุ่งหวังในการสร้าง ผู้นำรุ่นใหม่ที่รอบรู้ และเรียนรู้ผ่านสถานการณ์จริงด้านการมัคคุเทศก์ ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ด้าน การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพและทุนมนุษย์ ให้มีคุณภาพสูง อีกทั้งยังเป็นทุนทางสังคมที่สำคัญใน การขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ มุ่งเน้นให้ความสำคัญกับการวางรากฐาน และแก้ไขปัญหาที่เป็นอุปสรรคสำคัญต่อ การพัฒนาการท่องเที่ยวของประเทศ ทั้งด้านคุณภาพแหล่ง ท่องเที่ยว บุคลากรการท่องเที่ยว และโครงสร้าง พื้นฐาน รวมทั้งการสร้างความสมดุลของการพัฒนา ทั้งในมิติของพื้นที่ เวลา กิจกรรม รูปแบบ และกลุ่มนักท่องเทีย่ ว เพื่อการสร้างรายไดแ้ ละกระจายรายได้สู่ชุมชนและการเตรียมความพรอ้ มของอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวสู่การเติบโตในอนาคตบนพื้นฐานของการลงทุนพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ ตลอดจนการ ให้ความสำคัญกับการทำงานอย่างบูรณาการระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน และระหว่างประเทศ ซึ่งสอดคล้องกับงานกิจกรรมลูกเสือที่จะพัฒนาเยาวชนให้เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบช่วยสร้างสรรค์สังคม ให้เจริญก้าวหน้า ดังนั้น นับเป็นส่วนช่วยในการพัฒนาประเทศอีกทางหนึ่ง สอดคล้องกับแนวคิดการพัฒนา คมู่ ือลกู เสือมัคคเุ ทศก์ : สำนักงานลกู เสือแหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๑๕ ทรัพยากรมนุษย์สู่ประเทศไทย ๔.๐ มุ่งให้คนไทยมีปัญญาที่เฉียบแหลม (Head) มีทักษะที่เห็นผล (Hand) มีสุขภาพที่แขง็ แรง (Health) และมจี ิตใจทงี่ ดงาม (Heart) จะต้องมีการปรับเปลย่ี นใน ๔ มติ ิ ดังนี้ ๑) เปลี่ยนจากคนไทยที่มีความรู้ ความสามารถและทักษะที่จำกัด เป็นคนไทยที่มีความรู้ และทกั ษะสงู มีความสามารถในการรงั สรรค์นวัตกรรม ๒) เปลี่ยนจากคนไทยที่มองเน้นประโยชน์ส่วนตน เป็นคนไทยที่มีจิตสาธารณะ และ มคี วามรบั ผิดชอบต่อส่วนรวม ๓) เปล่ียนจากคนไทยแบบ Thai-Thai เป็น คนไทยแบบ Global Thai มคี วามภาคภมู ใิ จ ในความเปน็ ไทยและสามารถยืนอยา่ งมีศักด์ิศรีในเวทีสากลและ ๔) เปลย่ี นจากคนไทยท่ีเปน็ Analog Thai เปน็ คนไทยท่ีเป็น Digital Thai สามารถดำรงชวี ิตเรียนรู้ ทำงาน และประกอบธุรกิจได้อย่างเป็นปกติสุขในโลกยุคดิจิตอลโดยเริ่มจากการเสริมสร้างให้เกิด การเจริญเติบโตในตัวคน (Growth for People) ผ่านการสร้างสังคมแห่งโอกาส เพื่อเติมเต็มศักยภาพ เมื่อคนเหล่านี้ได้รับการเติมเต็มศักยภาพอย่างเต็มที่จะกลายเป็นตัวหลักในการขับเคลื่อนการเจริญเติบโต (People for Growth) และนำพาประเทศสูค่ วามม่งั ค่งั ม่นั คง และย่งั ยนื อย่างแทจ้ รงิ สำนักงานลูกเสือแห่งชาติจึงได้จัดทำโครงการลูกเสือมัคคุเทศก์ เพื่อพัฒนาสมรรถนะของลูกเสือด้าน การมัคคุเทศก์แลว้ ยงั เปน็ การดำเนินการภายใต้ความร่วมมอื กับกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา ในการขับเคลื่อน การพัฒนาลูกเสือมัคคุเทศก์อย่างทั่วถึงให้ครอบคลุมทุกจังหวัดทั่วประเทศ โดยการน้อมนำหลักสูตรจิตอาสา ๙๐๔ สร้างระเบียบวินัย และปลูกจิตอาสา เพื่อสืบสานพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ โดยความรว่ มมือ โดยเริ่มนำรอ่ งใน ๘ จังหวดั และขยายผลต่อไปอกี ๖๙ จงั หวดั ๓. จุดมุง่ หมายของการฝกึ อบรม เพื่อให้ผู้ผ่านการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติหน้าที่ลูกเสือมัคคุเทศก์ รักและเทิดทูน สถาบัน มวี ินัยและจติ สาธารณะ ๔. วธิ ีการฝึกอบรม มกี ารจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ทหี่ ลากหลายจากวทิ ยากร วทิ ยากรกลุ่ม ดังนี้ ๑. การบรรยาย ๒. การแลกเปลีย่ นเรียนรู้ ๓. การสาธติ และฝกึ ปฏบิ ัติ ๔. การเสนอผลงาน ๕. การอภปิ ราย ๕. คุณสมบัติของผ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรม ๑. เป็นลกู เสือประเภทสามัญรนุ่ ใหญ่ และวิสามญั ๒. มีทักษะพื้นฐานเป็นไปตามที่หลักสตู รกำหนด ได้แก่ ด้านภาษาอังกฤษหรือภาษาอื่น ด้านการลูกเสือที่ จำเปน็ อน่ื ๆ ๓. ผ่านการคัดเลอื กจากจงั หวดั เข้ารบั การฝึกอบรม ๔. สามารถเขา้ รับการฝึกอบรมและปฏบิ ตั ิตามแนวทางการฝึกอบรมตามท่ีหลักสูตรกำหนด ค่มู ือลูกเสือมัคคเุ ทศก์ : สำนักงานลูกเสือแหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๑๖ ๖. การประเมินผลและเกณฑก์ ารประเมนิ การประเมนิ ผลพจิ ารณาจากผลสัมฤทธ์ิ และระยะเวลาการฝึกอบรม โดยมเี กณฑ์การประเมนิ ดงั นี้ ๑. ผู้ผา่ นการฝึกอบรมมีระยะเวลาการฝึกอบรม ระยะที่ ๒ ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ๒. ผผู้ ่านการฝึกอบรมมผี ลสัมฤทธ์ิ จากผลงานท้ัง ๓ ระยะ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ๓. ผู้ผ่านการฝึกอบรมมีจำนวนชัว่ โมงในการฝึกปฏบิ ตั เิ ป็นลูกเสือมัคคุเทศก์ ไม่น้อยกวา่ ๒๐ ชัว่ โมง ๗. โครงสร้างหลักสูตร หลักสูตรการฝึกอบรมลูกเสือมัคคุเทศก์ ประกอบด้วย การดำเนินการ ๓ ระยะ ๑๐ หน่วยการเรียนรู้ รวมทั้งส้นิ ๖๐ ชั่วโมง ดังนี้ ระยะที่ ๑ กอ่ นการฝึกอบรม จำนวน ๑๓ ชว่ั โมง โดยศกึ ษาค้นควา้ จดั ทำข้อมลู และเรียงความบา้ นเกิด ระยะท่ี ๒ การฝกึ อบรม ๑๐ หน่วยการเรยี นรู้ จำนวน ๒๗ ชว่ั โมง (๔ วนั ) ระยะท่ี ๓ การฝึกปฏิบตั ิในสถานทที่ ่องเท่ียว จำนวน ๒๐ ช่ัวโมง โครงสรา้ งหลกั สูตร ในระยะที่ ๒ (จำนวนหน่วยการเรยี นรู้) ประกอบด้วย หนว่ ยการเรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ เวลา ชั่วโมง นาที ชี้แจงความเปน็ มาและกระบวนการพัฒนาลกู เสือมัคคเุ ทศก์ ๑ หลกั การมคั คุเทศก์ - ๓๐ ๒ การสือ่ สารอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ๑- ๓ ความรพู้ ืน้ ฐานของพนื้ ทีแ่ ละพ้นื ที่ขา้ งเคียง ๑ ๓๐ ๔ จติ วทิ ยาการใหบ้ ริการของลูกเสือมัคคุเทศก์ ๑ ๓๐ ๕ การเทิดทนู สถาบันและจติ อาสาของลกู เสือมัคคเุ ทศก์ ๒- ๖ กระบวนการค้นหาเรื่องราวและเร่ืองเล่าของท้องถิ่นและการจัดลำดับ ๒- ๑๒ - ความสำคญั ของเน้อื หา+นำเสนอผลงาน & Action Plan ๗ การอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ๑- ๘ ความปลอดภยั ของนกั ทอ่ งเท่ยี ว ๑ ๓๐ ๙ การใช้เทคโนโลยีเพ่ือการมัคคเุ ทศก์ ๒ ๓๐ ๑๐ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในการมัคคเุ ทศก์ ๒- รวม ๒๗ ชว่ั โมง ***หมายเหตุ ชี้แจงความเป็นมาและกระบวนการพัฒนาลูกเสือมคั คุเทศก์ รายละเอียดอย่ใู นคู่มือการพัฒนา สำนักงานลูกเสือแห่งชาติขอสงวนลิขสิทธิ์ในข้อความ เนื้อหา ส่วนหนึ่งส่วนใดในเอกสารฉบันนี้ หากท่านใดต้องการคัดลอก ทำซ้ำ เผยแพร่ เพื่อใช้ในการอบรม ต้องดำเนินการขออนุญาตเปิดการฝึกอบรม ลกู เสอื มคั คเุ ทศก์จากสำนกั งานลูกเสือแห่งชาติ ค่มู อื ลูกเสือมคั คเุ ทศก์ : สำนกั งานลูกเสือแหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๑๗ ๘. รายละเอียดหลกั สตู ร หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๑ หลักการมคั คเุ ทศก์ เวลา ๑ ชัว่ โมง คำอธบิ ายหนว่ ยการเรยี นรู้ ศึกษาบทบาทและความสำคัญของมัคคุเทศก์ บทบาท หน้าที่ของมัคคุเทศก์ที่มีต่ออุตสาหกรรม ทอ่ งเทย่ี ว บคุ ลิกลักษณะ จรรยาบรรณ และมารยาทในงานมคั คเุ ทศก์ วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ให้ผูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรม ๑. สามารถอธิบายความหมายของมัคคเุ ทศก์ได้ ๒. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับบทบาทหน้าท่ี ความรับผดิ ชอบ บุคลิกลักษณะและจรรยาบรรณของมัคคเุ ทศก์ ๓. สามารถบอกและอธบิ ายความสำคญั ของงานมคั คเุ ทศกไ์ ด้ ๔. บอกหนา้ ที่ จรรยาบรรณ และสิง่ ท่มี คั คุเทศกพ์ ึงปฏิบตั ิได้ ขอบข่ายเนือ้ หา ๑. หลักการมคั คุเทศก์ ๒. ความสำคัญของมัคคเุ ทศก์ ๓. บทบาทของมคั คุเทศก์ ๔. หนา้ ท่ขี องมคั คเุ ทศก์ ๕. คุณสมบตั ขิ องมัคคเุ ทศก์ ๖. คณุ ลักษณะของมัคคุเทศก์ ๗. จรรยาบรรณของมัคคเุ ทศก์ ๘. มารยาทในการทำงานของมคั คุเทศก์ ๙. ขอ้ ควรกระทำและไม่ควรกระทำของมัคคเุ ทศก์ วิธกี ารฝึกอบรม ๑. การบรรยาย ๒. การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ สอ่ื ทใ่ี ช้ในการฝึกอบรม Power Point การประเมินผล ถาม – ตอบ คู่มือลูกเสือมัคคุเทศก์ : สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ๒๕๖๓

๑๘ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒ การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ เวลา ๑ ชวั่ โมง ๓๐ นาที คำอธิบายหนว่ ยการเรียนรู้ มีความเข้าใจความรู้พื้นฐานด้านการสื่อสารเพื่อการท่องเที่ยวและเป็นการเตรียมความพร้อม ดา้ นทักษะกระบวนการส่ือสารเพ่ือการท่องเท่ยี วการวเิ คราะห์การสือ่ สารในระดับต่าง ๆ ให้เหมาะสมกับพฤติกรรม และนำความรูไ้ ปปรับใชใ้ ห้ตรงกบั กลมุ่ ของนกั ท่องเท่ียว วัตถุประสงค์ เพ่ือใหผ้ ู้เข้ารับการฝกึ อบรม ๑. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและแนวคิดการสื่อสารกระบวนการวิเคราะห์ สภาพแวดลอ้ มของการทอ่ งเท่ยี ว ๒. มคี วามเข้าใจความตอ้ งการของการท่องเที่ยวโดยสามารถบรู ณาการใหเ้ ขา้ ถึงกระบวนการสื่อสาร ๓. วเิ คราะห์ปจั จยั ทม่ี อี ิทธิพลต่อการตดั สนิ ใจทอ่ งเทยี่ วและการเลือกใชเ้ ครอ่ื งมือในการสื่อสาร ขอบขา่ ยเนือ้ หา ๑. ความหมายและความสำคัญของการส่ือสารทม่ี ีประสิทธิภาพ ๒. ทกั ษะการพูดของลกู เสือมคั คเุ ทศก์ ๓. การเตรยี มตวั สำหรบั การพูดของลูกเสือมคั คุเทศก์ ๔. ฝกึ ปฏบิ ัติการพูดของลูกเสอื มคั คุเทศก์ วิธีการฝกึ อบรม ๑. การบรรยาย ๒. การแลกเปล่ียนเรียนรู้ ๓. การฝกึ ปฏิบตั ิ สอ่ื ท่ใี ช้ในการฝึกอบรม ๑. PowerPoint ๒. วดี ิทศั น์ ๓. ใบความรู้ที่ ๑ ๔. ใบงานที่ ๑ การประเมนิ ผล ๑. ประเมนิ ชน้ิ งานกลมุ่ /นำเสนอ ๒. ประเมินคณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ คมู่ ือลูกเสือมัคคเุ ทศก์ : สำนกั งานลกู เสือแหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๑๙ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๓ ความรพู้ ้ืนฐานของพ้นื ทีแ่ ละพ้นื ที่ขา้ งเคยี ง เวลา ๑ ชวั่ โมง ๓๐ นาที คำอธิบายหน่วยการเรียนรู้ ศึกษา ค้นคว้า และทำความเข้าใจ ในพื้นที่และพื้นที่ข้างเคียงที่ลูกเสืออาศัยอยู่ อธิบายซัก-ถาม แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝึกอบรม ๑. มีความรคู้ วามเข้าใจในพืน้ ท่ีและพ้ืนทขี่ า้ งเคยี งทีล่ ูกเสืออาศัยอยู่ ๒. สามารถอธิบายความสำคัญพนื้ ทแ่ี ละพื้นทข่ี ้างเคียงท่ลี ูกเสอื อาศยั อยู่ ขอบข่ายเนือ้ หา ๑. ประวัติศาสตร์พื้นถน่ิ ๒. ภูมศิ าสตรพ์ น้ื ถิ่น ๓. แหลง่ ท่องเทยี่ วทส่ี ำคญั วิธกี ารฝึกอบรม ๑. การบรรยาย ๒. การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ส่อื ท่ใี ชใ้ นการฝึกอบรม ๑. เอกสารประกอบการบรรยาย ๒. วีดทิ ัศน์ ๓. ภาพถ่าย การประเมินผล ๑. สังเกตการเขา้ รว่ มกิจกรรม ๒. การอภิปราย ๓. การซกั ถาม คมู่ อื ลกู เสอื มคั คเุ ทศก์ : สำนักงานลูกเสอื แห่งชาติ ๒๕๖๓

๒๐ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๔ จติ วิทยาการให้บริการสำหรบั ลกู เสือมัคคเุ ทศก์ เวลา ๒ ชว่ั โมง คำอธิบายหน่วยการเรยี นรู้ ศึกษา ค้นคว้า และทำความเข้าใจ แนวคิดเกี่ยวกับงานบริการนักท่องเที่ยว วิธีการและอำนวย ความสะดวกแก่นักท่องเที่ยว การสร้างความประทับใจให้กับนักท่องเที่ยว ข้อพึงระวังในการการให้บริการ นกั ท่องเที่ยว ฝกึ ปฏิบตั ิและแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ วตั ถุประสงค์ เพอ่ื ให้ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรม ๑. เข้าใจแนวคิดเก่ียวกับงานบรกิ ารนักทอ่ งเทยี่ ว ๒. เข้าใจวธิ ีการและอำนวยความสะดวกแกน่ กั ทอ่ งเทย่ี วได้ ๓. สามารถสรา้ งความประทับใจให้กบั นกั ท่องเที่ยวแต่ละชาติท่ีเข้ามาทอ่ งเท่ยี วในประเทศไทย ขอบข่ายเนือ้ หา ๑. แนวคิดเกยี่ วกับงานบริการนกั ทอ่ งเทยี่ ว ๒. วธิ กี ารและอำนวยความสะดวกแก่นกั ทอ่ งเท่ยี ว ๓. การสรา้ งความประทับใจใหก้ บั นกั ทอ่ งเท่ียว ๔. ขอ้ พึงระวงั ในการการใหบ้ ริการนกั ทอ่ งเทยี่ ว วธิ กี ารฝกึ อบรม ๑. การบรรยาย ๒. กรณตี วั อยา่ ง ๓. แบบฝกึ ๔. สถานการณ์จำลอง ๕. การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ สือ่ ท่ใี ชใ้ นการฝึกอบรม ๑. ค่มู อื คำศพั ทอ์ ยา่ งงา่ ย ๒. เอกสารประกอบการบรรยาย ๓. Power Point การประเมนิ ผล ๑. ประเมินชิ้นงาน (แบบฝึกหัด) ๒. ประเมินผลงาน (สถานการณจ์ ำลอง) คู่มอื ลกู เสอื มคั คเุ ทศก์ : สำนักงานลูกเสอื แห่งชาติ ๒๕๖๓

๒๑ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๕ การเทิดทนู สถาบันและจติ อาสาของลกู เสอื มคั คเุ ทศก์ เวลา ๒ ชว่ั โมง คำอธิบายหนว่ ยการเรียนรู้ ศกึ ษาและแลกเปลย่ี นเรยี นร้ใู นเร่อื งจติ อาสาของลกู เสือมคั คุเทศก์ การเทิดทูนสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ สามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นการเป็นลูกเสอื มัคคเุ ทศก์ วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ใหผ้ ู้เข้ารบั การฝึกอบรมสามารถ ๑. อธิบายความหมายของคำวา่ จิตอาสาของลกู เสือมคั คเุ ทศกไ์ ด้ ๒. อธิบายความหมายของการเทิดทูนสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ได้ ๓. สามารถนำหลักการจิตอาสา การเทดิ ทูนสถาบนั มาประยกุ ต์ใชใ้ นการเป็นลูกเสือมัคคุเทศก์ได้ ขอบขา่ ยเนื้อหา ๑. ความเชือ่ มโยงของคำปฏิญาณและกฎของลกู เสือกับจิตอาสา ๑.๑ คำปฏิญาณและกฎของลูกเสือ ๑.๒ จติ อาสา ๑.๓ คำปฏิญาณและกฎของลูกเสือกับจิตอาสา ๒. พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยสมัยกรุงสโุ ขทยั กรงุ ศรีอยุธยา กรุงธนบุรี และกรุงรัตนโกสนิ ทร์ ๒.๑ พระมหากษตั รยิ ์ไทยสมยั กรงุ สุโขทัย ๒.๒ พระมหากษตั ริย์ไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา ๒.๓ พระมหากษตั รยิ ไ์ ทยสมัยกรงุ ธนบรุ ี ๒.๔ พระมหากษตั ริย์ไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ๓. ความรูเ้ กี่ยวกบั โครงการ “หน่วยพระราชทานและประชาชนจติ อาสา เราทำความ ดี ด้วยหัวใจ” ๓.๑ ความเป็นมาของโครงการ “หนว่ ยพระราชทานและประชาชนจิตอาสา เราทำความ ดี ด้วยหัวใจ” ๓.๒ กิจกรรมจิตอาสา ๓ ประเภท ๓.๒.๑ จติ อาสาพฒั นา ๓.๒.๒ จิตอาสาภยั พบิ ัติ ๓.๒.๓ จิตอาสาเฉพาะกิจ ๔. ลกู เสอื มัคคเุ ทศก์กบั การเป็นจิตอาสา ๔.๑ หลกั การ วนิ ัย และวิธีการสรา้ งจติ อาสาเพื่อการบำเพ็ญประโยชน์ของลูกเสือมัคคเุ ทศก์ ๔.๒. วิธีการปฐมพยาบาลเบือ้ งต้น CPR วธิ ีการฝึกอบรม ๑. การบรรยาย ๒. การอภิปราย ๓. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ๔. การฝึกปฏิบัติ ค่มู อื ลูกเสอื มคั คุเทศก์ : สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ๒๕๖๓

๒๒ ส่ือที่ใชใ้ นการฝกึ อบรม ๑. Power Point ๒. วดี ิทัศน์ ๓. การบรรยาย ๔. การอภปิ รายกลมุ่ การประเมินผล ๑. สังเกตพฤติกรรมการมีสว่ นร่วมในกิจกรรม ๒. การประเมินการปฏิบัติกจิ กรรม คมู่ ือลกู เสอื มคั คเุ ทศก์ : สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ๒๕๖๓

๒๓ หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๖ กระบวนการค้นหาเรอื่ งราวและเรอ่ื งเลา่ ของท้องถ่ิน และการจดั ลำดับความสำคัญของเนื้อหา เวลา ๑๒ ชัว่ โมง คำอธบิ ายหน่วยการเรยี นรู้ มีความเข้าใจความรู้พื้นฐานในการค้นหาเรื่องราวในท้องถิ่น แสวงหาความรู้และศึกษาค้นคว้าเรื่องราว ในทอ้ งถนิ่ บนฐานปฏิบัตกิ ารดิจทิ ัล การนําเสนอภาพลักษณ์แหลง่ ทองเทย่ี วและกระตนุ้ ให้เกิดการเทีย่ วซ้ำ จดั ลำดับ ของเนื้อเรื่อง และลำดับความสำคัญของเนื้อหา การออกแบบเส้นทางการท่องเที่ยว การสร้างใจความหลัก (Theme) เพือ่ ถ่ายทอดเร่อื งราว การเลา่ เร่ืองเพื่อสร้างประสบการณ์การท่องเทย่ี ว การจดั กจิ กรรมเพ่ือการนําเท่ียว ในทอ้ งถิ่น และทัศนศกึ ษาแหลง่ ท่องเทยี่ วในทอ้ งถ่ิน วัตถปุ ระสงค์ เพื่อใหผ้ ู้เข้ารับการฝกึ อบรม ๑. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับกระบวนการค้นหาเรอ่ื งราวเรื่องเล่าของทอ้ งถ่นิ ๒. สามารถจัดลำดบั ความสำคญั ของเนอ้ื หา เพอื่ ใชใ้ นการเลา่ เรอ่ื งได้ ๓. สามารถคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะหข์ ้อมูลทไี่ ด้มา เพ่ือนำไปใชใ้ นการเล่าเรอ่ื งราวของท้องถ่นิ ได้ ขอบข่ายเนือ้ หา ๑. การค้นหาเร่ืองราว ความโดดเดน่ ความต่างของทอ้ งถิน่ ๒. วธิ กี ารแสวงหาความรแู้ ละศึกษาค้นคว้าเพื่อการพัฒนาตนเองในวิชาชพี มัคคุเทศกบ์ นฐานปฏิบตั กิ ารดิจทิ ัล ๓. การประสานงาน และการสรา้ งเครือข่ายระหวา่ งมัคคุเทศก์ ชมุ ชน และแหล่งทองเที่ยว ๔. การนําเสนอภาพลักษณแ์ หล่งทอ่ งเที่ยวและกระต้นุ ใหเ้ กิดการเทีย่ วซำ้ ๕. วธิ ีการจัดลำดบั ของเนอื้ เรื่อง และลำดบั ความสำคัญของเน้อื หา ๖. การออกแบบเส้นทางท่องเท่ียวในทอ้ งถน่ิ ๗. การสร้างใจความหลัก (Theme) เพอื่ ถา่ ยทอดเร่ืองราว ๘. เทคนคิ และการฝกึ การเลา่ เร่ืองเพื่อสร้างประสบการณก์ ารทองเที่ยว ๙. การจัดกิจกรรมการทอ่ งเที่ยวในทอ้ งถน่ิ ๑๐. การศึกษานอกสถานท่ี ซึ่งจะตอ้ งเลือกเสน้ ทางในทอ้ งถ่นิ ท่จี ดั ฝกึ อบรมโดยพจิ ารณา ตามความเหมาะสมและ เปน็ ไปได้ในการจดั ทัศนศึกษา (Field Trip) วิธกี ารฝึกอบรม ๑. การบรรยาย ๒. การฝกึ ปฏิบัตสิ ถานที่จริง ๓. การนำเสนอผลงาน การจัดทำกระบวนการ ส่อื ทใี่ ช้ในการฝกึ อบรม ๑. แบบเกบ็ ข้อมลู ๒. กลอ้ ง สมุดหรือกระดาษวาดภาพ เครือ่ งบันทึกเสียง หนงั สือ วารสารหรือเอกสารท่ีเก่ยี วข้องกบั ชุมชน คมู่ อื ลกู เสอื มัคคเุ ทศก์ : สำนกั งานลูกเสือแหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๒๔ การประเมนิ ผล ๑. การตอบคำถาม ๒. การสังเกตพฤตกิ รรมในการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ๓. การประเมนิ จากเอกสารการบันทึกขอ้ มูล ค่มู ือลกู เสือมคั คุเทศก์ : สำนกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๒๕ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๗ การอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เวลา ๑ ชวั่ โมง คำอธบิ ายหน่วยการเรียนรู้ ศึกษา ค้นคว้า และทำความเข้าใจ ความสำคัญของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีต่อมนุษย์ การอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม และวิธกี ารอนรุ ักษม์ าใช้กบั วชิ าการลูกเสือ แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือให้ผูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรมสามารถ ๑. อธบิ ายความสำคญั ของทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่มี ตี อ่ มนษุ ยไ์ ด้ ๒. ระบกุ ารอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมอยา่ งมีจุดหมายได้ ๓. นำวิธกี ารอนรุ กั ษ์มาใชก้ ับวิชาการลูกเสือได้ ขอบขา่ ยเนื้อหา ๑. ความสำคัญของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มที่มตี อ่ มนษุ ย์ ๒. การอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม ๓. การประยุกตว์ ธิ ีการอนรุ กั ษม์ าใชก้ ับวิชาการลกู เสอื ได้ วธิ ีการฝึกอบรม ๑. การบรรยาย ๒. การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ ส่ือที่ใช้ในการฝกึ อบรม ภาพสไลดห์ รือวดิ ีโอ การประเมนิ ผล - ๑. การซกั ถาม - ๒. การสังเกต คมู่ อื ลูกเสอื มัคคเุ ทศก์ : สำนกั งานลกู เสือแหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๒๖ หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๘ ความปลอดภัยของนกั ทอ่ งเทย่ี ว เวลา ๑ ชว่ั โมง ๓๐ นาที คำอธบิ ายหนว่ ยการเรียนรู้ ศึกษา ค้นคว้า และทำความเข้าใจ ความสำคัญของความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว การเตรียมการ เพื่อความปลอดภยั ของนักท่องเท่ยี ว และแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือให้ผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรม ๑. สามารถอธบิ ายความสำคัญของความปลอดภยั ของนกั ทอ่ งเท่ียว ๒. สามารถเตรยี มการเพ่ือความปลอดภัยของนกั ทอ่ งเท่ยี วได้ และสามารถปฏบิ ตั ิการทำ CPR ได้ ขอบขา่ ยเนื้อหา ๑. ความสำคญั ของความปลอดภัยของนกั ท่องเทยี่ ว ๒. การเตรยี มการเพ่ือความปลอดภยั ของนกั ทอ่ งเทย่ี ว วธิ ีการฝกึ อบรม ๑. การบรรยาย ๒. การแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ สื่อทใ่ี ชใ้ นการฝกึ อบรม ๑. Power Point ๒. วีดิทศั น์ การประเมนิ ผล ๑. การซกั -ถาม ๒. การมสี ่วนร่วมในกิจกรรม หมายเหตุ : ผูบ้ รรยายต้องให้ความรู้และใหล้ ูกเสอื เนตรนารี ฝึกปฏิบัตกิ ารทำ CPR ทุกคน อยูใ่ นระดับดี คมู่ ือลกู เสอื มคั คุเทศก์ : สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ๒๕๖๓

๒๗ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๙ การใชเ้ ทคโนโลยีเพ่ือการมัคคุเทศก์ เวลา ๒ ชวั่ โมง ๓๐ นาที คำอธบิ ายหนว่ ยการเรยี นรู้ ศกึ ษา คน้ ควา้ และทำความเขา้ ใจ เกย่ี วกบั การใช้เทคโนโลยีเพือ่ การมคั คเุ ทศก์ วัตถปุ ระสงค์ เพื่อให้ผ้เู ขา้ รับการฝึกอบรม ๑. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั การใชเ้ ทคโนโลยเี พอ่ื งานมคั คเุ ทศก์ ๒. สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่องานมคั คเุ ทศก์ได้ ขอบขา่ ยเน้ือหา ๑. ความสำคัญของเทคโนโลยีตอ่ การมคั คุเทศก์ ๒. การประยุกตใ์ ช้สอ่ื สังคม Online เพ่อื การมคั คเุ ทศก์ ๓. การใช้เทคโนโลยีและแอพพลิเคชนั่ เพื่อความสะดวกในการค้นหาสถานทีต่ ั้ง การเดนิ ทาง และบริการ ธรุ กจิ ท่เี ก่ยี วข้อง ๔. ข้อควรระวงั และผลกระทบทเี่ กดิ จากการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ วิธกี ารฝกึ อบรม ๑. การบรรยาย ๒. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ส่อื ทใี่ ช้ในการฝึกอบรม ๑. PowerPoint ๒. วดี ทิ ัศน์ ๓. สอ่ื อปุ กรณ์ ได้แก่ Smart Phone การประเมนิ ผล ๑. การฝึกปฏิบตั ิ ๒. การซกั ถาม คมู่ ือลกู เสอื มัคคเุ ทศก์ : สำนกั งานลูกเสือแหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๒๘ หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ ๑๐ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในการมัคคุเทศก์ เวลา ๒ ช่วั โมง คำอธบิ ายหนว่ ยการเรยี นรู้ ศึกษาบทบาทและความสำคัญของมัคคุเทศก์ บทบาท หน้าที่ของมัคคุเทศก์ที่มีต่ออุตสาหกรรม ทอ่ งเท่ยี ว บคุ ลิกลกั ษณะ จรรยาบรรณ และมารยาทในงานมคั คเุ ทศก์ วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ใหผ้ ู้เข้ารบั การฝึกอบรม ๑. มีความรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกับปัญหาทเ่ี กดิ ข้ึนในงานมัคคุเทศก์ ๒. มกี ระบวนการ และขั้นตอนในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ๓. มีแนวทางในการแก้ปัญหาท่เี ก่ียวขอ้ งกับการปฏิบตั งิ านมัคคุเทศก์ ขอบขา่ ยเนือ้ หา ๑. การแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้า กรณี: การเจ็บปว่ ย/เสยี ชีวติ ๒. การแก้ไขปญั หาเฉพาะหนา้ กรณี: กระเปา๋ /ของหาย ๓. การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า กรณี: ของมีค่า/คนหาย ๔. การแก้ไขปญั หาเฉพาะหน้า กรณี: เกีย่ วกบั ยานพาหนะ ๕. การแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหนา้ กรณี: ห้องพัก ๖. การแก้ไขปัญหาเฉพาะหนา้ กรณี: อาชญากรรม ๗. การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า กรณี: ลูกทัวร์ไมพ่ อใจ วธิ กี ารฝกึ อบรม ๑. การบรรยาย ๒. การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ ๓. การแสดงบทบาทสมมุติ ส่อื ท่ีใชใ้ นการฝึกอบรม Power Point การประเมนิ ผล สังเกตพฤตกิ รรม และการถามตอบเพ่อื ดูทัศนคติ คูม่ อื ลกู เสอื มคั คเุ ทศก์ : สำนักงานลกู เสอื แห่งชาติ ๒๕๖๓

๒๙ - แผนการจดั การเรยี นรู้หลักสูตรฝึกอบรมลกู เสือมคั คเุ ทศก์ แผนการจัดการเรียนรู้ตามหลักสตู รนี้ มีจำนวนทงั้ สนิ้ ๑๐ หน่วยการเรียนรู้ จำนวน ๒๗ ชัว่ โมง เป็นเวลา ๔ วัน โดยก่อนที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะเข้าฝึกอบรมนั้น ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ศึกษาองค์ความรู้จากทั้ง ๑๐ หน่วยการเรียนรู้ ล่วงหน้าจาก E-book ใน เว็ปไซด์ สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ www.scoutthailand.org ดังนั้น หลังจากผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้ารายงานตัว ณ สถานที่ฝึกอบรมแล้ว วิทยากรจะดำเนินการจัดกิจกรรม เพื่อให้เกดิ การเรยี นรู้ ตามแผนการเรยี นรู้ ดงั ตารางต่อไปน้ี แผนการจดั การเรยี นรู้หลักสูตรฝกึ อบรมลกู เสือมคั คุเทศก์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ วชิ า หลักการมัคคเุ ทศก์ (๖๐ นาที) ท่ี วตั ถุประสงค์ ระยะ กิจกรรม สือ่ ประเมนิ ผล หมาย เหตุ เวลา - Power สังเกตจาก Point พฤติกรรมการ ๑. ๑.๑ สามารถอธบิ ายความหมาย ๖๐ บรรยาย หลักการและ - เอกสาร ถาม - ตอบและ ประกอบ การนำเสนอ ของการมคั คเุ ทศกไ์ ด้ นาที แนวคิดการมคั คเุ ทศก์ การบรรยาย - วดี ทิ ัศน์ ประกอบด้วย - นโยบาย/ความตอ้ งการ ของการท่องเท่ยี วท้องถนิ่ และชุมชน - ความหมายของการ มัคคุเทศก์ ถาม - ตอบ นำเสนอ ๑.๒ เพื่อใหไ้ ด้รบั ความรู้ ความ บรรยายบทบาทหนา้ ท่ี เข้าใจเกย่ี วกบั บทบาทหนา้ ที่ ความรบั ผดิ ชอบ บุคลกิ ความรบั ผดิ ชอบ บคุ ลกิ ลักษณะ ลักษณะและจรรยาบรรณ และจรรยาบรรณของมคั คเุ ทศก์ ของมัคคเุ ทศก์ ถาม - ตอบ นำเสนอ ๑.๓ สามารถบอกและอธิบาย บรรยายถงึ ความสำคญั ความสำคญั ของงานมัคคเุ ทศก์ได้ ของลูกเสอื มัคคเุ ทศก์ ในการจัดการทอ่ งเท่ยี ว ของทอ้ งถน่ิ และชมุ ชน ถาม - ตอบ นำเสนอ กิจกรรม / งานมอบหมาย หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ วิชา หลักการมัคคเุ ทศก์ ให้แตล่ ะหมูส่ ่งตวั แทน หม่ลู ะ ๒ คน ออกมาแนะนำตัวเอง แหล่งท่องเทยี่ วในชมุ ชนของตนเอง และแสดง ทัศนคติของการเปน็ ลูกเสือมัคคเุ ทศก์ โดยใชเ้ วลานำเสนอคนละ ๓ นาที คู่มอื ลูกเสือมัคคเุ ทศก์ : สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ๒๕๖๓

๓๐ แผนการจดั การเรยี นร้หู ลักสูตรฝกึ อบรมลกู เสอื มคั คเุ ทศก์ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๒ วชิ า การสอ่ื สารอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ (๙๐ นาท)ี ท่ี วัตถปุ ระสงค์ ระยะ กจิ กรรม สอ่ื ประเมนิ ผล หมาย เหตุ เวลา สังเกตจาก พฤติกรรมการ ๒. ๒.๑ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ๓๐ ๑. บรรยาย หลักการและ - Power ถาม - ตอบและ การนำเสนอ เกี่ยวกับหลักการและแนวคิด นาที แนวคิดการส่ือสาร Point การสื่อสารกระบวนการวิเคราะห์ ๒. ฝึกวิเคราะห์ - เอกสาร สภาพแวดลอ้ มของการทอ่ งเท่ยี ว สภาพแวดลอ้ มของการ ประกอบ ท่องเท่ียวในชุมชนของ การบรรยาย ตนเองผ่านกระบวนการเลา่ - วีดิทัศน์ เรอื่ งราว ๓. ถาม - ตอบ ๔. นำเสนอ ๒.๒ มีความเข้าใจความต้องการ ๓๐ ๑. ความตอ้ งการของการ ทางการท่องเที่ยวโดยสามารถ นาที ท่องเท่ียว บูรณาการให้เข้าถึงกระบวน ๒. บรรยายสภาพแวดลอ้ ม การสอ่ื สาร ของสถานที่ทอ่ งเท่ยี ว - บรรยายจดุ ทน่ี ่าสนใจใน ชุมชน แลว้ ถ่ายทอดออกมา เปน็ เร่อื งราวทีน่ า่ สนใจ ๓. ถาม - ตอบ ๔. นำเสนอ ๓.๓. เพื่อวเิ คราะห์ปจั จยั ทม่ี ี ๓๐ ๑. ปจั จยั ด้านต่าง ๆ เพศ อิทธิพลต่อการตดั สนิ ใจ นาที อายุ หรือ สภาพแวดลอ้ ม ทอ่ งเท่ียวและการเลือกใช้ ของสถานท่ีทอ่ งเท่ยี ว เคร่อื งมือในการสื่อสาร ๒. การเลอื กใช้เคร่ืองมอื ใน การสอ่ื สารให้เหมาะกบั ปจั จยั ดา้ นต่าง ๆ ของ นักทอ่ งเท่ยี วเชน่ ไมโครโฟน โทรโข่ง ๓. ถาม - ตอบ ๔. นำเสนอ คมู่ ือลกู เสอื มัคคเุ ทศก์ : สำนักงานลูกเสอื แห่งชาติ ๒๕๖๓

๓๑ กจิ กรรม / งานมอบหมาย หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ วิชา การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรมท่ี ๑ ใหท้ กุ หมู่ชว่ ยกนั คดิ คำ / ประโยคเป็นภาษาอังกฤษเขียนใส่ Post It แล้วนำมาแปะในกระดาษสที ีด่ ้านหน้า หน้าหมตู่ นเอง โดยแบง่ เป็นหมวดหมู่ดงั น้ี (๕-๑๐ นาท)ี ๑. คำกลา่ วทักทาย (Greetings) ๒. การแนะนำตัว (Introduce) ๓. การเสนอตัวเขา้ ให้การชว่ ยเหลือ (Helper) กิจกรรมที่ ๒ ให้นำคำ / ประโยค จากกิจกรรมที่ ๑ นำมาแต่งเป็นเนื้อเรื่อง/ เรื่องราวให้ได้ใจความที่เกี่ยวกับ การทอ่ งเที่ยวภายในเวลา ๑๐ นาที และส่งตวั แทนออกมานำเสนอ ใหเ้ วลาหมู่ละ ๓ นาที ค่มู อื ลกู เสอื มคั คเุ ทศก์ : สำนักงานลกู เสือแห่งชาติ ๒๕๖๓

๓๒ แผนการจดั การเรียนรู้หลักสูตรฝกึ อบรมลกู เสือมัคคเุ ทศก์ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๓ ความร้พู ้ืนฐานของพนื้ ทแี่ ละพื้นที่ขา้ งเคยี ง (๙๐ นาที) ท่ี วตั ถปุ ระสงค์ ระยะ กิจกรรม สือ่ ประเมนิ ผล หมาย เหตุ เวลา สังเกตจาก พฤติกรรมการ ๓. ๓.๑ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ๓๐ ๑ . บ ร ร ย า ย แ ล ะ ช ม - Power ถาม - ตอบและ การนำเสนอ มีความรู้ความเข้าใจในพื้นที่ นาที วิดีทัศน์เกี่ยวกับพื้นที่ Point ชมุ ชนและพน้ื ทใ่ี กล้เคยี งทล่ี กู เสอื ชุมชนและพื้นที่ใกล้เคียง - เอกสาร อาศัยอยู่ เก่ียวกับการท่องเที่ยว ประกอบ ๒. ความสำคัญด้านการ การบรรยาย ๓.๒ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ๓๐ ท่องเท่ียวของพ้ืนที่ชุมชน - วดี ทิ ัศน์ อธิบายความสำคัญของพื้นท่ี นาที แ ล ะ พื้ น ที่ ใ ก ล้ เ คี ย ง ที่ ลูกเสืออาศัยอยู่ ชมุ ชนและพืน้ ทใี่ กลเ้ คียงทีล่ ูกเสอื ๓. ความมีเจตคติที่ดีต่อ อาศัยอยู่ พื้นที่ชุมชนและพื้นที่ ๓.๓ เพื่อให้ผู้เขา้ รับการฝึกอบรม ๓๐ ใกล้เคียงที่ลูกเสืออาศัย มีเจตคติที่ดีต่อพื้นที่ชุมชนและ นาที อยู่ ๔.ถาม - ตอบ พนื้ ที่ใกลเ้ คยี งท่ลี ูกเสอื อาศยั อยู่ ๕. นำเสนองานของผู้เข้า รับการฝึกอบรม คู่มือลูกเสือมคั คเุ ทศก์ : สำนักงานลกู เสอื แหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๓๓ กจิ กรรม / งานมอบหมาย หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๓ ความรูพ้ น้ื ฐานของพ้ืนท่แี ละพน้ื ท่ีขา้ งเคยี ง ให้ลูกเสือภายในหมู่ระดมสมองคิดสถานที่ท่องเที่ยวแหล่งต่าง ๆ ทั้งโบราณสถาน วัด วัง น้ำตก ภูเขา ทะเล แหล่งท่องเที่ยวชุมชน ร้านอาหารเด็ด ๆ ในพื้นที่ของชุมชนของตนเอง มา ๑๐ แห่ง และช่วยกันออกแบบ แผนทท่ี อ่ งเทย่ี วชุมชน ใชเ้ วลา ๑๕ นาที แล้วออกมานำเสนอ หมู่ละ ๕ นาที ตวั อยา่ งชน้ิ งาน คู่มือลกู เสือมคั คุเทศก์ : สำนกั งานลกู เสือแหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๓๔ แผนการจดั การเรยี นรู้หลกั สูตรฝึกอบรมลูกเสือมคั คุเทศก์ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๔ จิตวทิ ยาการให้บริการของลูกเสือมัคคเุ ทศก์ (๑๒๐ นาท)ี ท่ี วตั ถปุ ระสงค์ ระยะ กิจกรรม สอื่ ประเมนิ ผล หมาย เหตุ เวลา สังเกตจาก พฤติกรรมการ ๔. ๔.๑ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ๓๐ ๑. บรรยายและชมวิดที ศั น์ - Power ถาม - ตอบและ การนำเสนอ เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับงานบริการ นาที - แนวคิดเกี่ยวกับงานบริการ Point นักท่องเท่ียว นักท่องเทีย่ ว - เอกสาร - ความสามารถสร้างเข้าใจ ประกอบ ๔.๒ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ๔๕ วิธีการและอำนวยความ การบรรยาย สามารถสร้างเข้าใจวิธีการและ นาที สะดวกแกน่ กั ทอ่ งเทีย่ ว - วีดทิ ัศน์ - ความสามารถสร้างความ อ ำ น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก แ ก่ ประทับใจให้กับนักท่องเที่ยว นกั ท่องเท่ยี วได้ แต่ละชาติที่เข้ามาท่องเที่ยว ในประเทศไทย ๔.๓ เพื่อให้ผู้เขา้ รับการฝึกอบรม ๔๕ ๒.ถาม - ตอบ สามารถสร้างความประทับใจ นาที ๓. นำเสนองานของผู้เข้ารับ การฝึกอบรม ให้กับนักท่องเที่ยวแต่ละชาติที่ เขา้ มาทอ่ งเทยี่ วในประเทศไทย คู่มอื ลูกเสือมัคคเุ ทศก์ : สำนักงานลกู เสอื แห่งชาติ ๒๕๖๓

๓๕ กิจกรรม / งานมอบหมาย หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ จติ วทิ ยาการให้บรกิ ารของลูกเสอื มัคคุเทศก์ กิจกรรมที่ ๑ ให้ลูกเสือแต่ละหมู่ ส่งตัวแทนออกมาจับสลาก แล้วนำกลับไปช่วยกันระดมความคิดในการแก้ไขปัญหาที่ อาจเกิดขึ้นขณะปฏิบัติหน้าที่ โดยจะมีโจทย์ให้ดังต่อไปนี้ โดยใช้เวลาในการระดมความคิด ๓๐ นาที แล้วออกมา นำเสนอหมูล่ ะ ๕ นาที โจทย์ท่ี ๑. ในขณะท่ีลกู เสือกำลังทำหน้าที่มัคคุเทศก์บรรยายขอ้ มลู ไปได้ส่วนหนงึ่ แล้ว มีลูกค้าอีกส่วนหนึ่ง ท่ีมัวแต่ถ่ายรปู เมื่อเดนิ มากจ็ ะใหเ้ ล่าเรอ่ื งใหมท่ ้งั หมด ลกู เสือจะมีวธิ กี ารในการจัดการกับปัญหานอี้ ย่างไร โจทย์ที่ ๒. ในขณะที่ลูกเสือกำลังทำหน้าที่มัคคุเทศก์บรรยายข้อมูลอยู่นั้น กลับมีลูกค้าบางคนได้มี การทกั ทว้ งว่าข้อมูลทลี่ กู เสอื บรรยายน้ันผิด ไมต่ รงกับท่ีนกั ท่องเท่ยี วคนนัน้ รู้มา ถา้ เกิดปัญหาลกั ษณะนี้ลูกเสือจะมี วิธีการในการจดั การกบั ปัญหานอี้ ยา่ งไร โจทย์ที่ ๓. ในขณะที่ลูกเสือกำลังทำหน้าที่มัคคุเทศก์แล้วต้องพาคณะไปรับประทานอาหารในร้านอาหาร ของชุมชน แล้วลูกค้าไม่พอใจกับรสชาติอาหารและบอกว่าอาหารไม่อร่อย ในฐานะที่ลูกเสือเป็นมัคคุเทศก์ ของท้องถ่นิ ลูกเสอื จะมีการจดั การกบั ปญั หาน้ีอยา่ งไร กิจกรรมท่ี ๒ (ท้ายบทเรียน) ให้ลกู เสือแต่ละหมู่ สง่ ตวั แทนออกมาจบั สลาก (ทา้ ยชั่วโมงจิตวทิ ยาการใหบ้ รกิ ารสำหรบั ลูกเสอื มัคคเุ ทศก์) แล้วนำกลับไปช่วยกันระดมความคิดในการแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นขณะปฏิบัติหน้าที่ เพื่อแสดงบทบาทสมมุติ ในวิชาการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในการมัคคุเทศก์ ให้เวลาแสดง ๑๐ – ๑๕ นาที โดยกำหนดให้หมู่ละ ๑ โจทย์ ดังตอ่ ไปน้ี โจทยท์ ่ี ๑ นกั ทอ่ งเที่ยวเสียชีวติ โจทยท์ ี่ ๒ นกั ทอ่ งเที่ยวพลดั หลงกบั คณะทัวร์ โจทย์ท่ี ๓ นกั ทอ่ งเทย่ี วอาหารเป็นพิษ โจทยท์ ี่ ๔ นักทอ่ งเทยี่ วประสบอบุ ตั เิ หตขุ าหัก โจทยท์ ่ี ๕ นกั ท่องเท่ียวทำหนงั สือเดนิ ทางหาย โจทยท์ ่ี ๖ กระเปา๋ สตางค์ของนักท่องเทีย่ วโดนโจรกรรม หมายเหตุ : เมือ่ ลูกเสอื ทุกหมู่ทำการแสดงครบแล้ว วทิ ยากรจะเปน็ ผใู้ หข้ อ้ เสนอแนะ และยกตัวอย่าง โดยวทิ ยากร ควรเสนอแนะจากประสบการณ์ในการทำงานจรงิ คูม่ ือลกู เสือมคั คเุ ทศก์ : สำนกั งานลูกเสอื แหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๓๖ แผนการจัดการเรียนรูห้ ลกั สูตรฝึกอบรมลูกเสอื มคั คุเทศก์ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๕ การเทิดทนู สถาบันและจติ อาสาของลกู เสือมคั คุเทศก์ (๖๐ นาที) ที่ วัตถปุ ระสงค์ ระยะ กิจกรรม สอื่ ประเมนิ ผล หมาย เหตุ เวลา สังเกตจาก พฤติกรรมการ ๕. ๕.๑ เพื่อให้ผู้เขา้ รับการฝึกอบรม ๖๐ ๑. บรรยายและชมวดิ ที ศั น์ - Power ถาม - ตอบและ การนำเสนอ สามารถอธิบายความหมายคำว่า นาที - ความหมายคำว่าจิตอาสา Point จติ อาสาของลกู เสอื มคั คุเทศก์ได้ ของลูกเสือมัคคเุ ทศก์ - เอกสาร - ความสามารถในการอธิบาย ประกอบ ๕.๒ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ความหมายของการเทิดทูน การบรรยาย สามารถอธิบายความหมายของ สถาบันชาติ ศาสนาและ - วีดิทัศน์ การเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และพระมหากษตั ริยไ์ ด้ - ความสามารถในการนำ หลักการจิตอาสาและการ ๕.๓ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา สามารถนำหลักการจิตอาสาและ และพระมหากษัตริย์มา การเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา ประยุกต์ใช้ในการเป็นลูกเสือ และพระมหากษัตริย์มา มัคคเุ ทศก์ ประยุกต์ใช้ในการเป็นลูกเสือ ๒.ถาม - ตอบ มัคคุเทศกไ์ ด้ ๓. นำเสนองานของผู้เข้ารับ การฝึกอบรม ค่มู ือลูกเสอื มคั คุเทศก์ : สำนกั งานลกู เสือแห่งชาติ ๒๕๖๓

๓๗ แผนการจัดการเรียนรู้หลักสูตรฝึกอบรมลกู เสือมัคคุเทศก์ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ ๖ กระบวนการค้นหาเร่ืองราวและเรือ่ งเล่าของท้องถนิ่ และการจดั ลำดบั ความสำคัญของเนอ้ื หา (๓๖๐ นาที / ๖ ช่ัวโมง) ภาคท่ี ๑, ๔ และ ๕ ที่ วตั ถปุ ระสงค์ ระยะ กิจกรรม ส่อื ประเมนิ ผล หมาย เหตุ เวลา ๖. ๖.๑ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ๑๒๐ ๑. บรรยายและชมวิดที ัศน์ - Power - ประเมินจาก มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ นาที - ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ Point ผลจากการฝกึ กระบวนการค้นหาเรื่องราวและ (๒ กระบวนการค้นหาเรื่องราว - เอกสาร ปฏบิ ตั ิ การฝกึ เร่อื งเลา่ ทอ้ งถิน่ ได้ ชม.) และเรือ่ งเลา่ ทอ้ งถน่ิ ประกอบการ คิดในการ ภาคที่ ๑ - ค วามสามารถในการ บรรยาย ค้นหาเร่อื งราว วนั ท่ี ๒ ของการฝึกอบรม จัดลำดับความสำคัญของ - วดิ ีทัศน์ เรื่องเล่าของ เวลา ๑๐.๓๐ – ๑๒.๓๐ น. เน้อื หาและสามารถเล่าเรอ่ื ง ชุมชนตามใบ - ความสามารถในการคิด งานทกี่ ำหนด ว ิ เ ค ร า ะ ห ์ แ ล ะส ั งเคร าะห์ เรื่องราวและเล่าเรื่องเล่า ท้องถิ่น ๖.๒ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ๑๘๐ ๒.การฝึกปฏิบัติการค้นหา - การลงพ้นื ท่ี - สงั เกตจาก สามารถจัดลำดบั ความสำคญั ของ นาที เรื่องราวและเรื่องเล่าท้องถิ่น การทอ่ งเท่ยี วที่ พฤติกรรม เนื้อหาและสามารถเลา่ เรือ่ งได้ (๓ ในพื้นที่ชมุ ชนการท่องเท่ยี วที่ ตารางการ การถาม-ตอบ ภาคที่ ๔ ชม.) กำหนด อบรมกำหนด และการ วันที่ ๓ ของการฝกึ อบรม ๓. ถาม – ตอบ - ฝึกปฏบิ ัตกิ าร นำเสนอ เวลา ๒๐.๐๐ – ๒๑.๓๐ น. ๔. นำเสนองานของผู้เข้ารับ เปน็ ลกู เสือ ๖.๓ เพื่อให้ผู้เขา้ รับการฝึกอบรม ๖๐ การฝกึ อบรม มัคคุเทศกใ์ น สามารถในการคิดวิเคราะห์และ นาที พนื้ ทีก่ าร สังเคราะห์เรื่องราวและสามารถ (๑ ท่องเทย่ี วจรงิ เล่าเรื่องเล่าท้องถิ่นได้ในบทบาท ชม.) การเป็นลกู เสอื มัคคเุ ทศก์ ภาคท่ี ๕ วันท่ี ๔ ของการฝกึ อบรม เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. คู่มือลูกเสือมคั คุเทศก์ : สำนกั งานลูกเสือแหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๓๘ กจิ กรรม / งานมอบหมาย หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๖ กระบวนการค้นหาเรื่องราวและเรื่องเล่าของท้องถน่ิ และการจดั ลำดับความสำคัญของเนอื้ หา ภาคที่ ๑ ๑. ให้แบ่งจำนวนลูกเสือตามหมู่ และกำหนดให้ลูกเสือนำ ๕ คำพ่อสอนที่คงอยู่ในใจเด็กไทย มาแต่งเป็น เรือ่ งใหไ้ ดใ้ จความ ความยาวไมเ่ กนิ ๑ หนา้ กระดาษ คู่มอื ลูกเสือมคั คเุ ทศก์ : สำนกั งานลกู เสอื แห่งชาติ ๒๕๖๓

๓๙ ๒. ให้ลูกเสือหัดย่อจับใจความเรื่อง “จะเก่งไปทำไม” ภายในเวลา ๒๐ นาที และออกมานำเสนอ หมลู่ ะ ๕ นาที หมายเหตุ : งานข้อ ๑. และ ๒. ให้เวลารวมกนั ไมเ่ กิน ๓๐ นาที คู่มือลกู เสอื มัคคเุ ทศก์ : สำนกั งานลกู เสอื แหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๔๐ ๓. กิจกรรมหลังจากลงพื้นที่ค้นหาเรื่องราวเรื่องเล่าให้ลูกเสือทุกหมู่ทำ ๑๐ เรื่องราวของชุมชน ด้านประวัติศาสตร์ ประเพณี วัฒนธรรม ที่นักท่องเที่ยวควรที่จะรู้ อาหารที่นักท่องเที่ยวควรได้ชิม กิจกรรมต่าง ๆ ของชมุ ชนทมี่ าแลว้ นักท่องเที่ยวควรที่จะได้ทำ หรือสถานทท่ี ่คี วรต้องไปเยยี่ มชมของชุมชนน้ัน ๆ และจดั ทำแผนท่ี เสน้ ทางท่องเท่ียวในชมุ ชน ภายในเวลา ๓๐ นาที และออกมานำเสนอหมูล่ ะไม่เกนิ ๕ นาที หมายเหตุ : กจิ กรรมสำหรบั ภาคท่ี ๔ ตวั อย่างการนำเสนอ คูม่ อื ลกู เสอื มคั คุเทศก์ : สำนกั งานลูกเสอื แห่งชาติ ๒๕๖๓

๔๑ แผนการจดั การเรยี นรู้หลกั สตู รฝกึ อบรมลกู เสอื มัคคุเทศก์ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๖ การลงพ้ืนทคี่ น้ หาเรอ่ื งราวเรอ่ื งเล่า ของลูกเสือมคั คุเทศก์ (๓๖๐ นาที / ๖ ชว่ั โมง) ภาคท่ี ๒ และ ๓ ที่ วัตถุประสงค์ ระยะ กิจกรรม สื่อ ประเมินผล หมาย เวลา เหตุ ๖. ๖.๔ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝกึ อบรม ๑๘๐ ๑. รายงานตัวและอธิบาย - Power ส ั ง เ ก ต จ า ก -วิทยากร มีความรู้ความเข้าใจในพื้นที่ นาที การลงพื้นที่และการเก็บ Point พฤติกรรมการ เ ป ็ น พี่ ชุมชน (๓ รวบรวมข้อมูล (ระหว่าง - เอกสาร ถาม - ตอบและ เลี้ยงใน ภาคท่ี ๒ ชม.) การเดินทาง) ประกอบ การนำเสนอ ก า ร ฝึ ก วันที่ ๓ของการฝกึ อบรม การบรรยาย ปฏิบัติใน เวลา ๐๘.๓๐–๑๒.๐๐น. - วดี ิทัศน์ พนื้ ที่ ๖.๕ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ๑๘๐ ๒.แนะนำปราชญ์ชุมชน - การฝึก ประเมินผล -วิทยากร แนะนำเส้นทางในการเยี่ยม ปฏบิ ตั กิ าร จากการสังเกต เ ป ็ น ผู้ สามารถค้นหาเรื่องราวเรื่องเล่า นาที ชม/ฝึกการค้นหาข้อมูลเพื่อ คน้ หาเรื่องราว การสร้างเรอ่ื งราวเรอ่ื งเลา่ ของ เรอื่ งเลา่ ของ ประเมิน ของชมุ ชนได้ (๓ ชุมชน (เป็นการฝึกปฏิบัติ ชมุ ชนของ พฤติกรรมการ ในการฝึก จากวิธีคิดและหาแนวทาง ลกู เสอื ฝึกปฏิบัติจริง ๖.๖ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ชม.) ปฏิบัติใน พน้ื ที่ มีเจตคติที่ดีต่อชุมชนของตนเอง ของผู้เข้ารับ การฝกึ อบรม ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การปฏบิ ตั ิงานของ ลูกเสือมคั คุเทศก์ เกี่ยวกับความ สามารถในการ มัคคุเทศก์ - การสังเกต ภาคที่ ๓ ค้นหาเรื่องราวเรื่องเล่าของ ของวิทยากร วนั ที่ ๓ของการฝึกอบรม ชมุ ชน) เช่น การ เวลา ๑๓.๐๐–๑๗.๐๐น. - ฝึกการทำงานเป็นทีม ทำงานเปน็ ทมี ก า ร ม ี บ ุ ค ล ิ กภ า พท ี ่ ดี การมี ความนา่ เชอื่ ถือ การอ่อนน้อม บุคลิกภาพทีด่ ี ถ่อมตน ความสุภาพ ในการ ความ ลงพ้ืนที่ปฏิบัติ น่าเช่ือถือ การ ๓).ถาม - ตอบ อ่อนนอ้ มถ่อม ๔). นำเสนองานของผู้เข้ารับ ตน ความ การฝกึ อบรม สภุ าพ ค่มู ือลูกเสือมคั คเุ ทศก์ : สำนกั งานลกู เสอื แห่งชาติ ๒๕๖๓

๔๒ แผนการจัดการเรียนรหู้ ลักสตู รฝึกอบรมลกู เสือมคั คเุ ทศก์ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๗ การอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม (๖๐ นาที) ที่ วัตถปุ ระสงค์ ระยะ กิจกรรม สอ่ื ประเมินผล หมาย เหตุ เวลา สังเกตจาก พฤติกรรมการ ๗. ๗.๑ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ๖๐ ๑. บรรยายและชมวดิ ีทัศน์ - Power ถาม - ตอบและ การนำเสนอ สามารถ.อธิบายความสำคัญของ นาที - ความสำคัญของทรัพยากร Point ทรัพยากรธรรมชาติและ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มี - เอกสาร ส่ิงแวดลอ้ มที่มตี อ่ มนษุ ย์ได้ ตอ่ มนุษย์ ประกอบ - การอนุรักษ์ทรัพยากร การบรรยาย ๗.๒ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - วดี ิทัศน์ สามารถระบ ุ การอน ุ ร ั กษ์ อยา่ งมีจดุ หมาย ทรัพยากรธรรมชาติและ - ความสามารถประยุกต์ สงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งมจี ุดหมายได้ ว ิ ธ ี ก า ร อ น ุ ร ั ก ษ ์ ม า ใ ช ้ กั บ วิชาการลกู เสอื ๗.๓ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ๒.ถาม - ตอบ สามารถประยุกต์วิธีการอนุรักษ์ ๓. นำเสนองานของผู้เข้ารับ มาใช้กบั วชิ าการลูกเสือได้ การฝกึ อบรม คมู่ ือลกู เสอื มคั คเุ ทศก์ : สำนักงานลูกเสอื แหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๔๓ แผนการจัดการเรียนรหู้ ลักสูตรฝึกอบรมลูกเสือมัคคุเทศก์ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๘ ความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว (๙๐ นาท)ี ท่ี วัตถุประสงค์ ระยะ กิจกรรม สอื่ ประเมนิ ผล หมาย เหตุ เวลา สังเกตจาก พฤติกรรมการ ๘. ๘.๑ เพ่อื ใหผ้ เู้ ขา้ รับการฝึกอบรม ๖๐ ๑. บรรยายและชมวดิ ที ศั น์ - Power ถาม - ตอบและ การนำเสนอ สามารถ.อธิบายความสำคัญของ นาที - ความสำคัญของของความ Point ความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว ปลอดภัยของนกั ทอ่ งเทยี่ ว - เอกสาร ได้ - การเตรียมการเพื่อความ ประกอบ ปลอดภัยของนักท่องเที่ยวใน การบรรยาย ๘.๒ เพ่ือให้ผูเ้ ขา้ รับการฝึกอบรม ความรับผิดชอบของลูกเสือ - วดี ทิ ศั น์ ส า ม า ร ถ เ ต ร ี ย ม ก า ร เ พ่ื อ มคั คุเทศก์ ความปลอดภัยของนักท่องเที่ยว ๒.ถาม - ตอบ ได้ ๓. นำเสนองานของผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรม คู่มือลกู เสือมคั คุเทศก์ : สำนกั งานลูกเสือแหง่ ชาติ ๒๕๖๓

๔๔ แผนการจัดการเรยี นรหู้ ลกั สตู รลกู เสอื มคั คเุ ทศก์ หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๙ การใช้เทคโนโลยีเพือ่ การมัคคุเทศก์ (๑๕๐ นาท)ี ที่ วตั ถปุ ระสงค์ ระยะ กจิ กรรม สื่อ ประเมินผล หมาย เหตุ เวลา สังเกตจาก พฤติกรรมการ ๙. ๙.๑ เพื่อให้ผู้เขา้ รับการฝึกอบรม ๙๐ ๑. บรรยายและชมวดิ ที ศั น์ - Power ถาม - ตอบและ การนำเสนอ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ นาที - ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั Point การใช้เทคโนโลยีเพื่องาน การใช้เทคโนโลยีเพื่องาน - เอกสาร มัคคเุ ทศก์ มคั คุเทศก์ ประกอบ ภาคที่ ๑ การบรรยาย วนั ท่ี ๒ ของการฝกึ อบรม - วดี ิทศั น์ เวลา ๑๕.๓๐ – ๑๗.๐๐ น. ๙.๒ เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ๖๐ ๒. การฝึกปฏิบตั เิ กี่ยวกับ - การฝึก - ประเมินจาก สามารถใช้ เทคโนโลย ีเพื่อ นาที ผลการใช้งาน งานมคั คเุ ทศก์ได้ การใช้เทคโนโลยีเพื่องาน ปฏบิ ัตกิ ารใช้ ตามใบงานท่ี ภาคท่ี ๒ กำหนด และ วันที่ ๓ ของการฝกึ อบรม มัคคุเทศก์ Application ความสามารถ เวลา ๑๙.๐๐ – ๒๐.๐๐ น. ใช้งานได้จรงิ ๓.ถาม - ตอบ ตา่ ง ๆ ท่ใี ชใ้ น ๔). นำเสนองานของผู้เข้ารับ การทอ่ งเทย่ี ว การฝกึ อบรม ของลกู เสอื มัคคเุ ทศก์ กจิ กรรม / งานมอบหมาย หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๙ การใช้เทคโนโลยีเพอ่ื การมัคคุเทศก์ ๑. ให้ลูกเสือ เนตรนารีสร้างคลิปวิดีโอแนะนำตวั เอง อย่างสร้างสรรค์ โดยใช้ภาพนงิ่ หรอื ภาพเคลือ่ นไหว พอสังเขป ความยาวไมเ่ กนิ ๓ นาที (ส่งชิน้ งานภายในวชิ าเทคโนโลยีเพ่ือการมัคคุเทศก์ ภาคที่ ๑) ๒. ใหล้ ูกเสือ เนตรนารี ถ่ายคลปิ วิดีโอแนะนำสถานที่ท่องเทยี่ วประจำจังหวดั ทีน่ ่าสนใจ โดยใหท้ ำหน้าท่ี เปน็ ผ้บู รรยายในคลปิ วิโอด้วยตนเอง ความยาวไม่เกนิ ๓ นาที (สง่ ชิ้นงานภายในวิชาเทคโนโลยเี พอ่ื การมคั คเุ ทศก์ ภาคท่ี ๒ หลงั จากกลบั มาจากการออกฝกึ ปฏิบตั ินอกสถานท)ี่ คมู่ ือลกู เสอื มัคคุเทศก์ : สำนักงานลกู เสือแห่งชาติ ๒๕๖๓

๔๕ แผนการจัดการเรยี นรู้หลกั สูตรฝกึ อบรมลูกเสอื มคั คุเทศก์ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๑๐ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในการมคั คุเทศก์ (๑๒๐ นาท)ี ท่ี วตั ถปุ ระสงค์ ระยะ กจิ กรรม สอ่ื ประเมนิ ผล หมาย เหตุ เวลา สังเกตจาก พฤติกรรมการ ๑๐. ๑๐.๑เพอื่ ใหผ้ ู้เข้ารบั การฝกึ อบรม ๓๐ ๑. บรรยายและชมวดิ ที ศั น์ - Power ถาม - ตอบและ การนำเสนอ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ นาที - ความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั Point ปญั หาที่เกดิ ขน้ึ ในงานมัคคเุ ทศก์ ความรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกบั - เอกสาร ปญั หาท่เี กดิ ข้นึ ในงาน ประกอบ มัคคเุ ทศก์ การบรรยาย - วดี ทิ ศั น์ ๑๐.๒เพอ่ื ใหผ้ ู้เข้ารับการฝึกอบรม ๖๐ ๒. การฝกึ วิธคี ดิ และหา - ก า ร ฝึ ก - ประเมินจาก มีกระบวนการ และขั้นตอนใน นาที แนวทางเกยี่ วกบั ปฏิบัติการ ผลจากการฝึก การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า กระบวนการ และขน้ั ตอนใน แก้ปัญหาเฉพาะ วิธีคิดและ การแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหน้า หน้าของลูกเสือ แก้ไขปัญหา ๑๐.๓เพอ่ื ให้ผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรม มคั คุเทศก์ เ ฉ พ า ะ ห น้ า ม ี แนวทางในการแก ้ ป ั ญหา ๓.ถาม - ตอบ ตามใบงานท่ี ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ๔. นำเสนองานของผเู้ ข้ารบั กำหนด มคั คเุ ทศก์ การฝกึ อบรม กิจกรรม / งานมอบหมาย หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑๐ การแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ในการมัคคุเทศก์ ให้ลูกเสือแต่ละหมู่แสดงบทบาทสมมุติที่ได้จับสลากไว้แล้ว ในวิชาจิตวิทยาการให้บริการสำหรับลูกเสือ มัคคุเทศก์ ให้เวลาแสดง ๑๐ – ๑๕ นาที (สมาชิกภายในหมู่ต้องแสดงทุกคน) เมื่อการแสดงสิ้นสุดของทุกหมู่แล้ว ใหว้ ทิ ยากรเปน็ ผ้ใู หข้ ้อเสนอแนะ และยกตัวอยา่ งโดยวิทยากรควรเสนอแนะจากประสบการณ์ในการทำงานจรงิ คมู่ อื ลูกเสอื มัคคเุ ทศก์ : สำนักงานลกู เสือแห่งชาติ ๒๕๖๓


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook