Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่3

หน่วยที่3

Published by srumsuk1980, 2020-06-06 21:23:05

Description: หน่วยที่3

Search

Read the Text Version

แผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ กศน. แบบบรู ณาการ ตามรูปแบบ ONIE Model หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 3 หวั เรอื่ ง เพิ่มศักยภาพอาชพี หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนท่ี ……….. ปีการศึกษา ……………. สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวัดกาญจนบรุ ี สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ

คานา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองกาญจนบุรีได้ดาเนินการ จดั ทาแผนกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบรู ณาการ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 หัวเรื่อง เพ่ิมศักยภาพอาชีพ เพื่อให้ ครูผู้สอนใช้เป็นคู่มือในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียน ท่ี ......... ปกี ารศึกษา .................... เอกสารประกอบการจัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ หน่วยการ เรียนรู้ที่ 3 หัวเร่ือง เพิ่มศักยภาพอาชีพ ประกอบด้วยแผนผังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน. แบบ ONIE Mode แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบรู ณาการ ใบความรู้ แบบประเมนิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แนวตอบ และแบบบันทึกหลังการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ การดาเนินการจัดทาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการ หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียน ท่ี .......... ปีการศึกษา ............. ในคร้ังน้ี ประสบความสาเร็จได้ด้วยดี ต้องขอขอบพระคุณ นายศักดิ์ชัย นาคเอ่ียม ผู้อานวยการ กศน.อาเภอเมืองกาญจนบุรี นางสาวชมพู จันทนะ ครูชานาญการเป็นอย่างสูงที่เป็น ผ้ใู หค้ าปรึกษา ในการดาเนนิ การจดั ทาแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ กศน.แบบบูรณาการหน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 หัวเรื่อง เพิ่มศักยภาพอาชีพ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียน ที่ ………… ปีการศึกษา ………………… มาโดยตลอดทาให้การดาเนินการจัดทา แผนการเรยี นร้แู บบบรู ณาการบรรลุตามวัตถปุ ระสงค์ จดั ทาโดย กศน.อาเภอเมืองกาญจนบุรี

สารบญั หนา้ เรอ่ื ง คานา สารบญั แผนผงั การจัดหนว่ ยการเรยี นรู้ กศน.แบบบรู ณาการ แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ กศน.แบบบรู ณาการตามรูปแบบ ONIE MODEL ใบความรู้ที่ 1 เรอ่ื งทกั ษะในการขยายอาชีพ ใบความรู้ที่ 2 เรื่องตรวจสอบระบบความพรอ้ มการสร้างอาชีพใหม้ คี วามม่นั คง ใบความรู้ท่ี 3 เรื่องการพัฒนาตนเองเพื่อการขยายอาชพี แบบประเมนิ การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ แนวตอบแบบประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ บันทกึ หลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ บรรณานกุ รม คณะทางาน

แผนผังหน่วยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน. แบบบรู ณา หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับกา ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ภาคเร รายวิชา ทกั ษะการขยายอาชพี (อช31002) รายวิชา ทักษะการขยายอ หวั เร่ือง ความปลอดภัยจากการใชย้ า หัวเร่อื ง ทักษะชวี ติ เพอ่ื ส เนอ้ื หา เนอ้ื หา - หลกั การและวธิ กี ารใชย้ าที่ถกู ตอ้ ง - ความหมาย ความสาคญั - อันตรายจากการใชย้ า - ทักษะการตระหนักในก - ความเชือ่ เกยี่ วกับการใชย้ า - ทักษะการจัดการกับอา - ทักษะการจดั การความเ รายวิชา ทกั ษะการขยายอาชพี (อช31002) หัวเรือ่ ง เพ่มิ ศกั ยภาพอา หัวเรื่อง การเสรมิ สร้างสุขภาพ สภาพปัญหา เน้ือหา 1. การปฏบิ ัตติ นตามหลกั 2. หลักการอยรู่ ่วมกันขอ - การรวมกลมุ่ เพ่อื เสรมิ สรา้ งสขุ ภาพใน 3. ขาดการเหน็ คุณค่าในว ชมุ ชน 4. การน้อมนาหลกั ปรัญญ - การออกกาลงั กายเพ่ือสขุ ภาพ ดาเนนิ ชีวติ และกฎหมายท

าการ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 หัวเร่อื ง เพิม่ ศักยภาพอาชีพ ารศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 รียนที่ .......... ปีการศึกษา ............ อาชพี (อช31002) กรต. ศาสนาและหน้าทพ่ี ลเมอื ง สขุ ภาพจิต (สค31002) ญของทกั ษะชีวิต หัวเรือ่ ง 1 ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี การรูต้ น ารมณ์ เนือ้ หา เครียด 1. คา่ นิยมทพี่ ึงประสงคข์ องประเทศต่าง ๆ ในโลก - การตรงตอ่ เวลา - ความมีระเบยี บ ฯลฯ หนว่ ยท่ี 3 รายวชิ า ภาษาองั กฤษ (พต31001) าชีพ หัวเรอื่ ง สนกุ กบั ศัพท์ภาษาองั กฤษ กจริยธรรมวิชาชีพ องวชิ าชีพ เน้อื หา วิชาชพี ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้กบั การ คาศพั ท์ ท่ีเก่ยี วข้อง - Recycle = แปรรปู แล้วนากลับมา ใชใ้ หม่ - Material = วัสดุ - Economy = เศรษฐกิจ - World scout =ลูกเสอื โลก - Religion = ศาสนา

ประเด็น/ปญั หา/สิง่ จาเปน็ ทต่ี ้องเรียนรู้ ก 1. ผู้เรยี นขาดการประพฤติการปฏบิ ัตติ นตามหลกั จรยิ ธรรมวิชาชพี 1 2. ผู้เรยี นขาดหลกั การปฏิบัติตนของวชิ าชพี ใ 3. ผู้เรียนขาดความรูแ้ ละความตระหนักในวชิ าชีพ 2 4. ผู้เรียนขาดความรเู้ กย่ี วกับกฎหมายและหลกั การนอ้ มนาหลักปรชั ญาของ บ เศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ในการดารงตน ในชีวิตประจาวันตามสถานการณ์ 3 ปจั จุบันทปี่ ลี่ยนแปลงตลอดเวลา ร 4 จ ส ร

การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ใหผ้ เู้ รียนไปศกึ ษาแนวทางการปฏบิ ัติตนด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ทเ่ี หมาะสม จดบันทึก ใส่สมุด แล้วนามาแลกเปล่ยี นเรียนรใู้ ห้เพ่ือนฟังในการพบกลุม่ ที่ กศน.ตาบล 2. ให้ผู้เรียนไปศึกษา ค้นคว้าจากสอื่ ออนไลน์ บุคคลท่มี ีความรู้ของวิชาชพี แลว้ นามาแสดง บทบาทสมมตุ ิพรอ้ มทารายงานมาสง่ ในวนั พบกลมุ่ กศน.ตาบล 3. ใหผ้ ู้เรียนไปศึกษาในวิชาชีพ จากส่ือออนไลน์ แหลง่ เรยี นรู้ โดยใหแ้ ต่งกายตามประเพณี รว่ มสมัยและอธบิ ายเพิ่มเติมให้เพอ่ื นฟงั ในการพบกลุ่มท่ี กศน. ตาบล 4. ให้ผเู้ รียนศกึ ษาความร้กู ฎหมายเบอื้ งต้นเพ่อื ใหร้ ู้ถงึ สทิ ธิหน้าทก่ี ารเป็นพลเมืองและศึกษา จากสถานทจี่ ริงเกย่ี วกบั เศรษฐกิจพอเพยี งและฝกึ ปฏบิ ตั จิ ริงในการทาปยุ๋ ชีวภาพและนามา สรปุ ผลร่วมกันในหอ้ งเรียนพรอ้ มบันทกึ องค์ความรู้ทไี่ ด้เป็นรายงานส่งเพอ่ื เปน็ คะแนนเก็บ ระหวา่ งภาคเรียน

แผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ก หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หวั เ หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับกา ระดับมธั ยมศกึ ภาคเรียนที่ .......... ปกี า คร้งั วนั /เดือน/ ตัวชว้ี ัด เนอื้ หาสาระการ หัวเรื่อง ท่ี ปี เรียนรู้ 4. มที กั ษะใน รายวชิ า ทักษะ หน่วยท่ี 3 1 การปฏบิ ตั ิตน การขยายอาชีพ เพิม่ ศกั ยภาพอาชพี ต อช31002 สภาพปัญหา 2 ว หวั เรือ่ ง 1. การปฏิบตั ติ น ตามหลกั จรยิ ธรรม 3 การพัฒนาตนเอง วิชาชพี ใ เพ่อื การขยาย 2. หลกั การอยู่ 4 อาชพี ร่วมกนั ของวิชาชพี - การวเิ คราะห์ 3. ขาดการเห็น แ ทาความเข้าใจ คณุ ค่าในวชิ าชพี เ และรู้จกั ตัวตนท่ี 4. การนอ้ มนา แท้จรงิ ใ ท - การพัฒนา หลักปรัญญาของ ทักษะการขยาย เศรษฐกิจพอเพยี ง อาชีพให้เปน็ มาใช้กับการดาเนนิ ลกั ษณะนสิ ัย ชีวติ และกฎหมายท่ี

กศน. ตามรูปแบบ ONIE Model เร่อื ง เพิม่ ศักยภาพอาชีพ ารศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 กษาตอนปลาย ารศกึ ษา ..................... ประเดน็ /ปญั หา/ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ หมายเหตุ สิง่ จาเป็นทตี่ ้องเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. ผู้เรยี นขาดการประพฤตกิ ารปฏิบัตติ น 1. ใหผ้ ู้เรยี นไปศกึ ษาแนว ตามหลกั จริยธรรมวิชาชพี ทางการปฏิบัติตนด้าน 2. ผ้เู รยี นขาดหลักการปฏิบตั ิตนของ คณุ ธรรม จริยธรรม ที่ วชิ าชีพ เหมาะสม จดบันทึกใส่สมุด 3. ผเู้ รียนขาดความรูแ้ ละความตระหนกั แล้วนามาแลกเปล่ียน ในวชิ าชีพ เรียนรู้ให้เพื่อนฟงั ในการ 4. ผเู้ รียนขาดความร้เู ก่ยี วกบั กฎหมาย พบกลุม่ ที่ กศน.ตาบล และหลักการนอ้ มนาหลกั ปรัชญาของ 2. ให้ผู้เรยี นไปศกึ ษา เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดารงตน คน้ คว้าจากสื่อออนไลน์ ในชีวติ ประจาวันตามสถานการณป์ ัจจบุ นั บคุ คลทีม่ คี วามรู้ของ ที่ปล่ยี นแปลงตลอดเวลา วชิ าชพี แล้วนามาแสดง บทบาทสมมุติพรอ้ มทา รายงานมาส่งในวันพบกล่มุ กศน.ตาบล

ครง้ั วัน /เดอื น/ ตวั ช้วี ัด เนอื้ หาสาระการ หัวเร่ือง ท่ี ปี เรียนรู้ ความหมาย เกี่ยวขอ้ ง ความสาคัญของ การขยายอาชพี - ความหมายของ การจัดการขยาย อาชพี ตาม แนวคิดปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง - ความสาคัญ ของการจดั การ ขยายอาชีพ เพ่อื ความมน่ั คง ตาม แนวคดิ ปรชั ญา ของเศรษฐกิจ พอเพียง

ประเด็น/ปญั หา/ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ หมายเหตุ สิ่งจาเปน็ ท่ตี ้องเรียนรู้ 3. ใหผ้ ูเ้ รียนไปศึกษาใน วชิ าชีพ จากส่อื ออนไลน์ แหล่งเรียนรู้ โดยใหแ้ ตง่ กายตามประเพณรี ว่ มสมัย และอธบิ ายเพมิ่ เตมิ ให้ เพื่อนฟงั ในการพบกลมุ่ ที่ กศน. ตาบล 4. ใหผ้ ้เู รยี นศกึ ษาความรู้ กฎหมายเบือ้ งต้นเพื่อใหร้ ู้ ถึงสิทธิหนา้ ที่การเป็น พลเมอื งและศกึ ษาจาก สถานท่ีจรงิ เก่ยี วกบั เศรษฐกจิ พอเพียงและฝึก ปฏบิ ัติจรงิ ในการทาปยุ๋ ชวี ภาพและนามาสรปุ ผล รว่ มกนั ในห้องเรยี นพรอ้ ม บันทึกองคค์ วามรทู้ ีไ่ ด้เปน็ รายงานสง่ เพอ่ื เป็นคะแนน เกบ็ ระหว่างภาคเรยี น

การวเิ คราะห์งาน (Job Analysis) เป็นกระบวนการวิเคราะหบ์ ทบาทหน้าทีแ่ ละความ รบั ผิดชอบในตาแหน่งงานต่าง ๆ ตลอดจนพิจารณาคณุ สมบัตทิ ีจ่ าเปน็ ในตาแหน่งงานนัน้ ๆ ไดแ้ ก่ ทกั ษะ ความรู้ ความสามารถ และบคุ ลกิ ภาพทตี่ อ้ งการ เพื่อใหก้ ารทางานสาเร็จลลุ ว่ ง ผลลพั ธ์ที่ ตอ้ งการจากการวเิ คราะห์งานคือ ใบกาหนดหน้าที่ (Job Description) และใบกาหนด คุณสมบตั ิ (Job Specification) ของแตล่ ะตาแหน่งงาน เพื่อนาไปใชใ้ นระบบบรหิ ารงานบคุ คล และพัฒนาบคุ ลากรในองคก์ รตอ่ ไป JOB ANALYSIS

JOB DESCRIPTION JOB SPECIFICATION กระบวนการในการวเิ คราะหง์ าน ผู้ดาเนนิ การจาเปน็ ต้องมีความรู้ ความเข้าใจในลักษณะงานอยา่ ง ถอ่ งแทโ้ ดยละเอียด สามารถนาขอ้ มลู ทไี่ ด้รับมาสรา้ ง ใบกาหนดหน้าท่ี (Job Description) และใบ กาหนดคุณสมบัติ (Job Specification) ท่เี ป็นปจั จบุ นั ให้สอดคลอ้ งกับตาแหนง่ งานนน้ั ๆ เราพบว่าในหลาย ๆ องค์กร พนักงานยังขาดความร้คู วามชานาญในการเขียนใบกาหนดหน้าท่ี (Job Description) และใบกาหนดคุณสมบตั บิ นพ้นื ฐานขดี ความสามารถ (Competency Based Job Specification) ซ่ึงตอ้ งใชเ้ วลามากหากตอ้ งทาในสงิ่ ท่ไี มถ่ นัด ในขณะเดียวกนั การเขียนของ แตล่ ะคนยังขาดความสอดคลอ้ งกันในตาแหน่งงานต่าง ๆ ทป่ี รกึ ษา A&A สามารถดาเนนิ การวเิ คราะห์งานในทุกตาแหน่งงานและในองคก์ รทกุ ประเภท ไมว่ า่ จะเปน็ ธุรกจิ ด้านการผลติ สนิ ค้า เชน่ อาหาร บรรจภุ ัณฑ์ เหลก็ ธุรกิจบรกิ าร เช่น โลจิ สติกส์ ลิสซง่ิ บนั เทงิ การพมิ พ์ ธรุ กจิ เทรดด้งิ เช่น เคร่ืองจกั รนาเข้า รถยนต์ รถจกั รยานยนต์ ฯลฯ และเปน็ ผู้ดาเนินการเขียนใบกาหนดหน้าที่ (Job Description) และใบกาหนด คณุ สมบตั ิ (Job Specification) แทนผ้ดู ารงตาแหน่งงาน (Job Holder) และฝ่าย HR

ใบงานที่ 1 คาชีแ้ จง จงตอบคาถามตอ่ ไปนี ้ 1. การวเิ คราะห์งานทางธุรกิจ หมายถงึ อะไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 2. คาบรรยายลกั ษณะงาน (Job Specification) หมายถึงอะไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 3. ข้อกาหนดคณุ สมบตั เิ ฉพาะของผ้ปู ฏิบตั งิ าน (Job Specification) หมายถึงอะไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... การบรหิ ารจดั การทรัพยากรมนษุ ย์ (Human Resource Management : HRM) หัวใจ สาคัญของการขบั เคลอ่ื นองคก์ รยุคปัจจุบนั ประเด็นนา่ สนใจ  ยุคศตวรรษท่ี 21 เปน็ ยคุ ที่ทุกองคก์ รหนั มาใสใ่ จในการพฒั นาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์มากขน้ึ เพราะนี่คอื ขมุ พลังสาคญั ท่จี ะทาให้องค์กรประสบความสาเร็จและก้าวไปขา้ งหน้าไดอ้ ย่างไร้ ขีดจากัด  การบรหิ ารจดั การทรพั ยากรมนษุ ย์ทดี่ ีไมใ่ ช่การใหค้ วามสาคญั ที่เร่อื งอัตราจา้ งเพยี งอย่างเดยี ว แตค่ วรหันมาใส่ใจการพัฒนาศกั ยภาพของบคุ ลากรในองคก์ รดว้ ย เพราะทุกคนต้องการ ความกา้ วหนา้ และพฒั นาศักยภาพในชีวิต Contents [hide]  แนวคิดของหลักการบรหิ ารจัดการทรัพยากรบคุ คล o 1.กลุ่มนกั คิดในสหรฐั อเมริกา o 2.กล่มุ นักคิดในสหราชอาณาจักร  บทบาทและความรับผดิ ชอบในข่ายงานของการบริหารจัดการทรัพยากรมนษุ ย์ (Roles and Responsibilities of Human Resource Management) o 1.การสรรหาทรัพยากรบุคคลและจดั การด้านแรงงาน (Recruitment and Staffing) o 2.อบรมและพัฒนาบคุ ลากร (Training and Development) o 3.การบรหิ ารจัดการด้านอตั ราจา้ งงาน (Payroll Management) o 4.การบรหิ ารจัดการด้านประสทิ ธภิ าพของการทางานตลอดจนการประผลการทางาน (Appraisals and Performance Management) o 5.การแก้ปญั หาและลดความขดั แย้ง (Conflict Resolution) o 6.แรงงานสมั พันธ์ (Employee Relation)  บทสรปุ

ปจั จยั สาคญั ของการบริหารนัน้ ประกอบไปดว้ ยสิ่งสาคัญ 4 ประการ นั่นก็คือ มนษุ ย์, เงินทนุ , วัสดุ อปุ กรณต์ ่าง, และการบรหิ ารจัดการ ใน 4 ประการนี้สว่ นทม่ี คี วามสาคัญท่ีสดุ เหน็ จะเปน็ มนษุ ย์ น่ันเอง เพราะนค่ี ือทรัพยากรทม่ี ีคณุ คา่ และเป็นประโยชนม์ ากที่สดุ ในการบริหารจัดการแตล่ ะ องค์กร บคุ คลท่ีมศี ักยภาพยอ่ มทางานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ และทาให้องค์กรพฒั นาได้อย่างมี ศักยภาพในคราวเดียวกนั ดว้ ย การบริหารจัดการทรพั ยากรบุคคลน้ีจงึ มีความจาเป็นอยา่ งยิง่ ที่ จะต้องทาให้องคก์ รเคลอ่ื นไปขา้ งหน้าไดอ้ ยา่ งไมส่ ะดดุ ใดๆ หนา้ ทใ่ี นการบริหารจัดการบุคคลนถ้ี อื ว่าเปน็ ภาระกิจสาคญั อย่างยิ่งสาหรบั ฝ่ายทรพั ยากรบุคคล ซ่งึ การบรหิ ารจัดการทรัพยากรบุคคลให้ มปี ระสทิ ธิภาพนั้นต่างก็มรี ายละเอียดมากมายดว้ ยเช่นกัน การบริหารจดั การทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management : HRM) คอื กลยทุ ธ์ ตลอดจนกระบวนการในการจัดการบุคลากรในองคก์ รตามมติ ติ า่ งๆ เพอ่ื ใหบ้ ุคลากรสามารถ ดาเนนิ การทางานตามหน้าทข่ี องตนให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพสูงสุด และเกิดปัญหาใหน้ ้อยที่สดุ รวมถึง การพัฒนาให้บุคลากรมศี ักยภาพเพิ่มขน้ึ เพื่อการปฎิบัตงิ านทม่ี ปี ระสิทธิภาพยิง่ ขึ้น และเพื่อ ความสาเร็จขององค์กรท่เี พ่มิ ข้ึนตามไปดว้ ย การบรหิ ารจดั การในด้านความสามารถของบุคลากรนเี้ ปน็ เรือ่ งทม่ี องขา้ มไมไ่ ดเ้ พราะนั่นเป็นปัจจยั สาคัญต่อการขับเคลอ่ื นขององค์กร การบริหารจัดการในสว่ นของบคุ คลนก้ี ็ไดแ้ ก่ เร่ืองทกั ษะการ ทางาน, ประสบการณก์ ารทางาน, ไปจนถึงเร่อื งของลักษณะนิสัย หากทกุ อยา่ งสอดคลอ้ งและ เหมาะสมกับการทางานกจ็ ะย่ิงทาใหท้ างานไดร้ าบรื่นไม่เกิดปญั หาใดๆ แล้วส่ิงต่างๆ เหล่านก้ี ็ สามารถฝกึ อบรมได้เพอ่ื ให้บคุ ลากรแต่ละคนพฒั นาศกั ยภาพของตัวเองใหส้ ูงข้นึ ได้เช่นกัน

ศัพท์ด้านสายงานบริหารทรพั ยากรบคุ คลท่ีควรรู้ HRM – Human Resource Management = การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์  การบริหารจดั การด้านทรพั ยากรมนุษยภ์ ายในองคก์ รในทุกๆ ดา้ น เพ่อื ใหพ้ นกั งานเกดิ การทางาน อย่างมปี ระสิทธิภาพ และองคก์ รมีศกั ยภาพ HRP – Human Resource Planning = การวางแผนดา้ นทรัพยากรมนุษย์  การวางแผนด้านทรัพยากรมนุษย์ภายในองค์กรอย่างเปน็ ระบบ เพ่อื กาหนดวิธีการจัดการและ ฝึกอบรมตา่ งๆ ทจี่ าเป็นสาหรบั การพัฒนาบคุ ลากรให้มปี ระสิทธภิ าพ รวมถึงการวางแผนดา้ น กาลงั คนให้เหมาะสมกบั การทางานในแตล่ ะแผนกอีกดว้ ย HRD – Human Resource Development = การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์  การพัฒนาศกั ยภาพของทรพั ยากรมนษุ ยใ์ นองค์กรใหก้ ้าวหน้ายง่ิ ข้ึน ต้ังแตเ่ รอ่ื งทักษะในการ ทางาน, องค์ความรทู้ ่จี าเป็น, ตลอดจนเรอ่ื งอน่ื ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งท่มี ีสว่ นทาให้การทางานดีข้ึนและ องค์กรเพิม่ ศกั ยภาพไดม้ ากยง่ิ ข้ึน CHECK!! การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ (Human Resource Development : HRD)

แนวคิดของหลักการบริหารจดั การทรัพยากรบคุ คล ยคุ ก่อนท่ีจะมกี ารบริหารจัดการบคุ คลนั้น มนษุ ยถ์ กู มองว่าเปน็ เพียง “แรงงาน” ซ่ึงเปน็ แค่หน่งึ ปัจจยั ในการผลติ เทา่ นั้น แต่ในยุคปจั จบุ ันไดม้ ีการยกระดบั แรงงานใหก้ ลายเป็น “ทรัพยากร” ท่มี ี คณุ คา่ และความสาคญั ข้นึ ซ่งึ ทรัพยากรมนุษยใ์ นโลกยุคใหม่นัน้ คือขมุ พลงั สาคัญทจ่ี ะทาให้องคก์ ร เคล่ือนท่ีไปขา้ งหนา้ ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ และการบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์ได้ดีนน้ั ก็ย่อมส่งผลให้ องคก์ รประสบความสาเร็จไดเ้ พม่ิ ข้ึนเชน่ กนั หากกล่าวถึงการบริหารจดั การทรัพยากรมนษุ ยน์ ้นั ถงึ แม้ว่าศาสตรน์ จ้ี ะเพง่ิ เกดิ ขึ้นมาบนโลกนไ้ี ด้ไม่นานแต่ก็มกี ารศึกษาและพฒั นาอยา่ งจริงจัง เรอ่ื ยมา สาหรบั แนวความคิดท่เี ปน็ เสมอื นหลักวิชาการสนับสนุนนั้นไดม้ ีนักวิชาการทเ่ี รม่ิ ตน้ ศึกษา เร่ืองนมี้ าตงั้ แตอ่ ดีต โดยขอบขา่ ยของแนวความคิดในดา้ นนี้แบ่งเปน็ 2 กลุ่มประเทศใหญๆ่ ท่สี นใจ ศึกษาวจิ ัยอยา่ งจริงจงั นั่นก็คือ 1.กล่มุ นักคดิ ในสหรัฐอเมรกิ า และ 2.กลุ่มนกั คดิ ในสหราช อาณาจักร โดยสามารถจาแนกแนวความคิดตา่ งๆ

ใบงานท่ี 2 คาชีแ้ จง จงตอบคาถามตอ่ ไปนี ้ 1. เหตุผลทต่ี อ้ งจดั ทาการวเิ คราะห์งาน .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 2. การวเิ คราะหง์ านกบั การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีข้นั ตอนอยา่ งไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 3. จงบอกประโยชนข์ องการแบ่งส่วนตลาด .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 4. การวเิ คราะหล์ ูกคา้ ประกอบไปดว้ ยข้นั ตอนต่างๆ ดงั ต่อไปน้ีไดแ้ ก่อะไรบา้ ง (ตอบเฉพาะหวั ขอ้ ) .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................

การประเมนิ ทางเลอื กอาชพี สาระการเรยี นรู้ 1. การวางแผนศึกษาต่อเพอ่ื เลือกอาชีพ 2. องค์ประกอบก่อนตัดสินใจเลือกอาชีพ 3. ปัญหากอ่ นตัดสนิ ใจเลอื กอาชพี 4. ขอ้ แนะนากอ่ นตดั สนิ ใจเลือกอาชพี 5. หลกั เกณฑใ์ นการเลอื กอาชพี 6. การตัดสนิ ใจเลือกอาชพี 7. การประเมนิ ความพร้อมและความเปน็ ไปได้ของอาชีพท่ีตดั สินใจเลือก การวางแผนศกึ ษาต่อเพ่อื เลือกอาชพี เม่อื จบการศึกษาระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3 แลว้ แตล่ ะคนจะตอ้ งคดิ วา่ จะเรียนตอ่ หรือจะทางาน ทกุ คนควรมี การวางแผนชีวิตในการศึกษาต่อไว้ลว่ งหน้า เม่อื เรียนจบแล้วจะได้ประกอบอาชพี ตามที่ตอ้ งการ และตรงกบั ความสนใจและความถนัด และสามารถปฏบิ ตั ิได้ตามท่วี างแผนไว้ กเ็ ช่ือว่าทกุ คนต้องประสบความสาเรจ็ ใน ชีวิตการศกึ ษาต่อและการประกอบอาชีพซะวา่ จะสามารถทาให้ตดั สินใจหรือวางแผนแนวทางศกึ ษาต่อและ ประกอบอาชีพไดถ้ ูกต้องเหมาะสมกบั ตนเองมากทีส่ ดุ ซึง่ การวางแผนศกึ ษาตอ่ เพอื่ เลือกอาชพี ควรมปี จั จยั ต่างๆพจิ ารณาประกอบดงั น้ี 1. ตอ้ งรู้จักตนเอง 1.1 ความชอบหรือความสนใจของบคุ คล ในการเลือกอาชีพทเ่ี หมาะสมกบั ตนเองควรนาเอาผลการ สารวจด้านตา่ งๆ มาประกอบการพจิ ารณา เชน่ มบี ุคลิกภาพแบบใด ความสามารถด้านใด ชอบทา กิจกรรมอะไรซึง่ จะชว่ ยใหพ้ จิ ารณาตนเองไดว้ า่ ควรประกอบอาชีพอะไร ซึ่งหากเลือกอาชพี ได้ตรงกบั คุณสมบตั ิของตนเองก็จะทาให้ประกอบอาชพี นั้นไดอ้ ยา่ งมีความสุข และมผี ลงานท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ 1.2 ความถนัดของบคุ คล การที่บคุ คลจะวางแผนในอนาคตได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสมกับตนเองได้นัน้ บคุ คลตอ้ งรจู้ กั ความถนัดของตนเอง ทกุ คนมีความถนดั แต่ละด้านแตกต่างกนั ไป เมื่อทาสงิ่ ใดได้ดีก็จะ ทาให้มีความสุข และเกดิ ความภาคภมู ใิ จในตนเอง การร้จู ักจดุ ด้อยของตนเองจะชว่ ยให้พัฒนาได้ ถกู ตอ้ ง และเรยี นรทู้ จ่ี ะปรับปรงุ ดา้ นทไ่ี ม่ถนัด ความถนัดและความสนใจมกั เปน็ ส่ิงท่ีคู่กนั ไปความถนัด อาจสงั เกตได้จากการที่บุคคลทากจิ กรรมใดหรือส่ิงใดแลว้ ทาไดด้ ีคล่องแคล่ว ทาแล้วประสบ ความสาเร็จ 1.3 สติปัญญาและความสามารถ การท่ีจะดวู า่ สติปญั ญาหรือความสามารถดหี รอื ไม่ดีน้ันอาจดไู ด้ จากผลการเรยี นท่ีผา่ นมาในแต่ละวชิ าที่สอบ ได้ผลการเรียนเป็นอย่างไรถ้าได้ผลการเรยี นในวิชานน้ั สูง ก็แสดงวา่ ระดบั สตปิ ญั ญาหรือความสามารถในการเรยี นวชิ านั้นสูง แตถ่ า้ ผลการเรียนในวชิ านนั้ ต่าก็

แสดงว่าสติปัญญาหรือความสามารถในการเรียนวชิ านน้ั ต่า ถา้ บุคคลรู้ว่าตนเองมคี วามสามารถดา้ นใด กจ็ ะช่วยทาให้ เลอื กแนวทางทเี่ หมาะสมกับตนเองมากทส่ี ุด 1.4 คา่ นิยม การท่บี ุคคลจะวางแผนอนาคตไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสมกับตนเองไดน้ ั้น ตอ้ งรคู้ า่ นิยมใน งานท่ตี นยดึ ไว้เปน็ หลักค่านยิ มในตนเองมีผลตอ่ การเลือกแนวทางต่างๆในชวี ิต การสารวจคา่ นยิ มใน งานอาชพี จะชว่ ยชี้นาไปสอู่ าชีพที่ตรงกับความต้องการของตนเอง มโี อกาสประสบความสาเร็จใน หนา้ ท่กี ารงานสงู แตก่ ็ควรจะนาคณุ สมบตั ดิ ้านอน่ื ๆมาประกอบกับคา่ นยิ มของตนเองดว้ ย เพ่ือช่วยให้ พจิ ารณาอาชีพท่คี วรเลือกทา เพ่ือจะไปประกอบอาชีพในอนาคต 1.5 บคุ ลิกภาพ เปน็ ลักษณะเฉพาะตวั ของแตล่ ะบุคคลดา้ นต่างๆท้งั ภายนอกและภายใน  ภายนอก เชน่ รปู ร่าง หน้าตา กริ ิยา มารยาท การแตง่ กาย  ภายใน เชน่ สติปญั ญา ลักษณะอารมณ์ ลักษณะตา่ งๆของบุคลกิ ภาพ ไมส่ ามารถแยกเปน็ ส่วนๆออกจากกนั ได้ บุคลกิ ภาพของบุคคลถกู หล่อหลอมด้วยพันธกุ รรม การเรยี นรู้ วธิ ี ปรับตวั ของบคุ คลและส่ิงแวดล้อม ตอ้ งพจิ ารณาว่าอุปนสิ ยั ใจคอของตนเองเปน็ อย่างไร ควร ไดร้ บั การพฒั นาจนกลายเปน็ ความสามารถและลักษณะเฉพาะตัว ทาให้เปน็ คนมีคณุ ภาพ ลกั ษณะบางอย่างอาจนกึ ไม่ถึงเพราะเปน็ จุดเลก็ ๆ แตอ่ าจเป็นจุดทดี่ ีและเด่นของตนเองก็ได้ การสารวจตนเองจะทาให้เลือกแนวทางชีวิตได้อย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม 1.6 รปู ร่างและลักษณะของรา่ งกาย สถานศึกษาหลายแห่งกาหนดคณุ สมบัติ รปู รา่ งและลกั ษณะ ของทางรา่ งกายไวด้ ้วย เช่น สถานศึกษาด้านทหาร ตารวจ พลศึกษา จะตอ้ งเป็นคนทม่ี ีสุขภาพดีคอื มี รูปร่างสมบรู ณ์แข็งแรง (มสี ว่ นสงู สัมพนั ธก์ บั นา้ หนกั ) มีลักษณะสมชายและต้องไมพ่ กิ ารทางสายตา 1.7 อายุ สถานศกึ ษาหลายแห่ง กาหนดอายุของผทู้ ีจ่ ะเข้าศกึ ษาไว้ ซึ่งตอ้ งนามาประกอบการ ตัดสินใจ 1.8 เพศ บางสถานศกึ ษาไดก้ าหนดเพศเอาไว้ดว้ ย เพอ่ื ความเหมาะสมและความคลอ่ งตัวในการ ประกอบอาชพี เชน่ พยาบาล 1.9 สญั ชาติและเช้อื ชาติ สถานศึกษาบางแห่งจะกาหนดวา่ ผเู้ ขา้ ศกึ ษาต่อตอ้ งมีสญั ชาตแิ ละเช้อื ชาติ ตามสถานศกึ ษาน้ันกาหนด ท้ังน้ีต้องสงวนสิทธิ์ในการประกอบอาชีพบางอาชพี เพ่ือคนไทย เช่น อาชีพ ทหารหรือตารวจ 1.10 เป้าหมายในอนาคต ควรตง้ั เป็นเปา้ หมายในอนาคตว่า ต้องการประกอบอาชพี ใดเพ่ือจะได้ ศกึ ษาตอ่ ในสาขาวชิ าท่สี อดคล้องกบั อาชพี ท่ตี นเองสนใจ มคี วามถนัดและสอดคลอ้ งกับบุคลิกภาพของ ตน 1.11 ผปู้ กครอง การท่จี ะเลอื กศึกษาตอ่ หรอื ประกอบอาชพี ควรขอคาปรกึ ษาจากผปู้ กครองก่อน เพอ่ื ช่วยช้แี นะแนวทางใหต้ ัดสินใจได้อย่างถกู ตอ้ ง 2. ต้องรูจ้ กั สิ่งแวดล้อม ต้องดูขอ้ มลู เก่ยี วกบั สถานศึกษาทจี่ ะศกึ ษาตอ่ ว่า มที ่ีต้ัง ระยะทางไป-กลับระหว่างที่พกั กับสถานศกึ ษา ระเบียบการ หลักสูตร คณุ สมบัติทีต่ อ้ งการ สวัสดิการ ค่าใช้จ่าย เป็นอยา่ งไรหรือข้อมูลเกีย่ วกบั อาชีพวา่ ลกั ษณะงาน คณุ สมบัตทิ ี่ตอ้ งมี โอกาสกา้ วหนา้ ในอาชพี รายได้ สวัสดิการเป็นอยา่ งไร และอาชีพในอนาคตเปน็ ท่ตี อ้ งการของตลาดแรงงานหรอื ไม่

3. เปรียบเทียบขอ้ มลู ของตนเองกับส่ิงแวดลอ้ ม เมอื่ รจู้ กั ตนเองด้านต่างๆ รู้จักข้อมลู เกีย่ วกับสถานศกึ ษาทต่ี ้องศึกษาตอ่ หรอื ขอ้ มลู เกย่ี วกับอาชพี แลว้ ใหน้ า ขอ้ มูลที่เกย่ี วกับตนเองเปรียบเทยี บกับข้อมูลสิ่งแวดลอ้ ม วา่ เหมาะสมท่ีจะเลอื กศึกษาต่อหรือประกอบอาชพี ได้ อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม กับอัตภาพของตนโดยมกี ารพจิ ารณาอย่างรอบคอบ องคป์ ระกอบก่อนตดั สินใจเลอื กอาชพี ก่อนตดั สินใจเลอื กอาชพี จาเปน็ ต้องมีการวางแผนชวี ิตด้านอาชีพต้งั แตว่ ยั เรียน ซ่ึงเปน็ การวางแผนระยะยาวท่ี ต้องใชร้ ะยะเวลานาน และใชค้ วามพยายาม การจะไดร้ บั ผลตอบแทนอยา่ งคุ้มค่าขน้ึ อยู่กบั องคป์ ระกอบ 2 ประการคอื 1. ปัจจยั ภายนอก ไดแ้ ก่ ข้อมูลอาชีพเป็นขอ้ มูลท่มี ขี อบขา่ ยกว้างขวางมากซึง่ สรปุ ได้ดังน้ี 1.1 แนวโนม้ ของตลาดแรงงาน เปน็ ขอ้ มูลเกย่ี วกบั ความต้องการผทู้ างานในด้านต่างๆใน ปัจจุบนั และพยากรณ์ที่จะมีความตอ้ งการเพม่ิ ขน้ึ หรือลดลงใน 1.2 ลกั ษณะงาน งานทจ่ี ะต้องทาเปน็ ประจามลี ักษณะอยา่ งไร ที่ทางานจะต้องทาอะไรบ้าง เปน็ งานทท่ี าให้เกดิ ความเพลิดเพลนิ หรือก่อใหเ้ กิดความเบ่อื หน่าย 1.3 สภาพแวดลอ้ มของงาน ไดแ้ ก่ สภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศของงานเ ช่น รอ้ น เย็น ช้นื แหง้ เปยี ก ฝุ่นละออง สกปรก เสียงดงั ในอาคารกลางแจง้ ในโรงงานมีสารพิษ มีความขัดแย้ง 1.4 คณุ สมบตั ิของผปู้ ระกอบอาชีพ  อายุ ไดม้ ีการกาหนดช่วงอายุในการทางานและเกษยี ณไวอ้ ย่างไร  เพศ อาชพี น้ันๆโดยทวั่ ไปเป็นอาชีพสาหรับเพศหญิงหรอื เพศชายหรอื ใหโ้ อกาสแกท่ ้ัง หญงิ ทั้งชายหรือใหโ้ อกาสแก่เพศใดเพศหนง่ึ มากกว่า 1.5 การเลอื กประกอบอาชีพ การประกอบอาชีพตอ้ งมวี ธิ กี ารอยา่ งไร โดยการสมคั รงานกับ นายจา้ งดว้ ยตนเอง ตอ้ งมีการสอบสมั ภาษณ์ หรือตอ้ งสอบขอ้ เขยี นด้วย ถ้าเปน็ การประกอบอาชพี อิสระตอ้ งใช้ ทนุ ทรพั ยเ์ พอ่ื ดาเนนิ กจิ การมากน้อยเพียงใด 1.6 รายได้ ในการประกอบอาชพี น้นั ควรพจิ ารณาว่าจะมรี ายได้เป็น วัน สปั ดาห์ เดอื น ปี โดย เฉลีย่ แลว้ เป็นเงนิ จานวนเท่าใด 1.7 ความกา้ วหน้า อาชีพนั้นจะมีความกา้ วหน้าเพียงใด จะตอ้ งมกี ารศึกษาอบรมเพม่ิ เตมิ มี ความสามารถหรือประสบการณ์อย่างไรจึงจะไดเ้ ล่อื นขนั้ มากน้อยเพยี งใด การประกอบอาชีพเดมิ นาไปสู่อาชีพ ใหม่หรอื ไม่ 1.8 การกระจายของผู้ประกอบอาชพี มผี ูป้ ระกอบอาชีพมากนอ้ ยเพียงใด และกระจายอยู่ทว่ั ประเทศหรือมอี ย่เู พยี งบางจงั หวดั ทาไมจงึ เปน็ เช่นนัน้ ประกอบอาชพี ใดก็ได้หรอื จะต้องอยทู่ ใ่ี ดท่ีหน่ึง โดยเฉพาะ 1.9 ข้อดีและข้อเสีย อาชพี แตล่ ะอย่างย่อมมที ้ังขอ้ ดแี ละข้อเสียข้ึนอยกู่ บั ความพอใจและความ ต้องการของผ้ปู ระกอบอาชีพ ของแตล่ ะคน งานบางอยา่ งอาจมีการทางานลว่ งเวลา ทางานในวันเสารอ์ าทติ ย์ หรือวนั หยุด และเดินทางไปปฏบิ ตั ิในทอ้ งท่ีอน่ื ๆ งานบางอาชีพมคี วามม่ันคงกวา่ งานอาชพี อ่ืน

2. ปจั จยั ภายใน โดยแบ่งออกเป็น 2.1 ปจั จยั สว่ นบคุ คล เชน่ ความสนใจ บุคลกิ ภาพ สติปญั ญา ความถนดั ทักษะความสมั ฤทธ์ิผล ประสบการณ์ แรงจงู ใจใฝ่สัมฤทธ์ผิ ล ความรบั ผดิ ชอบ ความอุตสาหะ ความตรงต่อเวลา ความอบอุ่น เพศ เชื้อ ชาติ 2.2 ปัจจัยเก่ยี วกับโครงสรา้ งของค่านยิ ม

ปัญหาก่อนตัดสนิ ใจเลือกอาชีพ ในการตดั สินใจเลือกอาชพี จาเปน็ ตอ้ งวางแผนให้รอบคอบ ซงึ่ ตอ้ งใช้ระยะเวลานานพอสมควร และตอ้ งใช้ ความเพยี รพยายามอย่างมาก เพ่อื ใหไ้ ด้ผลตอบแทนอยา่ งดีทสี่ ดุ ในชีวิตของตนเอง อยา่ งไรกต็ ามก่อนจะ ตัดสนิ ใจเลือกอาชพี อาจจะมีปัญหาของแต่ละบคุ คลแตกตา่ งกนั ไปดังน้ี 1. ขาดความร้คู วามเขา้ ใจในการประกอบอาชีพ ขาดทกั ษะและรายละเอยี ดขอ้ มูลเกยี่ วกับอาชพี เชน่ ลักษณะของงานอาชีพ กระบวนการทางานในอาชพี นัน้ ๆ ความกา้ วหนา้ ในอาชีพ และความ ตอ้ งการของตลาดแรงงานสาขาอาชพี นัน้ 2. ขาดความช่วยเหลือเกยี่ วกับการให้คาปรึกษา แนะนา แนะแนวอาชีพ แนะแนวการศึกษาต่อและ การเตรยี มตัวกอ่ นเข้าสู่ตลาดแรงงาน 3. ขาดความรขู้ ดี ความสามารถของตนเอง ผู้สมคั รงานไม่สามารถประเมินสติปัญญาความถนัด ความ สนใจและความพร้อมในการเลือกประกอบอาชพี ใหเ้ หมาะสมกับตนเองได้ 4. ขาดความรู้ด้านเศรษฐกิจ ผสู้ มัครงานจะตอ้ งมีความร้เู ร่อื งปญั หาเศรษฐกจิ ซง่ึ มีผลต้ังแต่ การเลือกเรียนต่อหรอื ศกึ ษาเพิม่ เตมิ ในสาขาวิชาที่ใช้เงนิ ทนุ จานวนนอ้ ย และเม่อื สาเรจ็ การศกึ ษา แล้ว เป็นที่ตอ้ งการของตลาดแรงงานและการฝกึ พฒั นาฝีมือตนเองเพ่ิมเติม เพอ่ื คุณลกั ษณะเด่น ในการสมัครงาน ขอ้ แนะนาก่อนตดั สนิ ใจเลอื กอาชีพ ก่อนตดั สนิ ใจเลอื กอาชพี ใดควรพจิ ารณาอยา่ งรอบคอบซงึ่ มขี ้อแนะนาดังน้ี 1. ผู้ตัดสินใจเลือกอาชีพควรรูจ้ ักตนเอง ไม่ว่าจะเปน็ นสิ ยั ความรู้ ความถนดั ความสามารถ ความ สนใจบุคลิกภาพ เจตคตเิ กี่ยวกับอาชพี และฐานะการเงินของตนเอง 2. ควรมคี วามรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั อาชพี ต่างๆ ไมว่ า่ จะเปน็ ค่าจ้าง สวัสดิการ ความก้าวหน้า และ ความมัน่ คงของงาน ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน 3. ควรเลอื กอาชพี ทช่ี อบหรอื คดิ วา่ ถนดั สารวจตัวเอง ว่าสนใจอาชพี อะไร ชอบหรอื ถนัดดา้ นใด มี ความสามารถอะไรบ้าง ทสี่ าคัญคอื ต้องการหรืออยากจะประกอบอาชีพอะไรจงึ จะเหมาะสมกับตัวเองและ ครอบครวั กลา่ วคือ พิจารณาลกั ษณะงานอาชีพและ พิจารณาตวั เองพรอ้ มท้ังบุคคลในครอบครัวประกอบกนั ไป ดว้ ย 4. ควรจะตอ้ งพัฒนาความสามารถของตนเอง คือ ตอ้ งศึกษารายละเอียดของอาชพี ท่ีจะเลอื กไป ประกอบ ใหค้ วามรู้ความเขา้ ใจยงั มนี ้อยมีไมเ่ พียงพอกต็ ้องทาการศกึ ษา ฝกึ อบรม ฝกึ ปฏิบัติเพิ่มเติมจากบคุ คล หรอื หนว่ ยงานตา่ งๆ ใหม้ พี ืน้ ฐานความรคู้ วามเขา้ ใจ ในการเร่มิ ประกอบอาชีพทถี่ ูกตอ้ ง เพ่อื จะได้เรียนรู้จาก ประสบการณ์จรงิ ของผู้มีประสบการณ์มากอ่ น จะไดเ้ พมิ่ โอกาสความสาเร็จสมหวังในการประกอบอาชพี นัน้ ๆ 5. ควรพิจารณาองค์ประกอบอ่นื ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง เช่น ทาเลที่ต้งั ของอาชีพ สภาพแวดลอ้ มผรู้ ่วมงาน พนื้ ฐานในการเริม่ ทาธรุ กจิ เงินทุนโดยเฉพาะเงินทนุ 6. ต้องพิจารณาว่ามเี พยี งพอหรือไม่ ไม่พอจะหาแหลง่ เงนิ ทุนจากทใ่ี ด

หลักเกณฑใ์ นการเลือกอาชพี เมอ่ื ได้รายช่อื บริษทั ทผ่ี ้สู มัครสนใจจะไปสมัครงานจากแหล่งต่างๆเรียบรอ้ ยแลว้ ควรจะมกี ารศกึ ษาหา รายละเอยี ดเกีย่ วกบั บริษทั เหลา่ นนั้ บา้ ง เพอ่ื ปอ้ งกันความผิดพลาดการหารายละเอียดนีก้ ็เพ่อื ดูความม่ันคงของ กจิ การ ซึ่งมหี ลกั เกณฑใ์ นการพิจารณาตอ่ ไปน้ี 1. หุน้ ดาเนินการและกจิ การทว่ั ไปผสู้ มคั รคงจะไม่ทราบฐานะทางการเงินของบริษัทยกเวน้ ธนาคารบางแห่ง ทีม่ ีการเปดิ เผยผลกาไรขาดทุนและแสดงฐานะของกจิ การในรายงานประจาปี แตผ่ สู้ มัครก็พอจะมที างทราบฐานะของกจิ การทว่ั ไป เชน่ ด้านการตลาด การผลิต และการ ใหบ้ รกิ าร และสวัสดกิ ารแกพ่ นักงาน บรษิ ทั หลายแหง่ ท่มี ั่นคงจะมตี กึ สานกั งานของตนเอง และมี การใหบ้ ริการแก่สังคมสูง เปน็ ทีย่ อมรบั ของคนทั่วไป 2. ทต่ี ั้ง ผูส้ มัครควรพิจารณาทีต่ ั้งของบริษัทท่ไี ปสมัครงานเพือ่ ความสะดวกในการเดินทางไปกลับ จากที่ ทางานถา้ บริษัทอยูไ่ กลจากทพี่ กั มาก 3. รายได้ ผู้สมคั รจะต้องพิจารณาให้ดีอาจจะสอบถามคนทท่ี างานอยูแ่ ลว้ หรือสอบถามจากกรรมการเมื่อ สอบสัมภาษณ์ก็ได้ 4. บรรยากาศการทางาน ผูส้ มคั รควรศกึ ษาบรรยากาศในการทางานของบรษิ ัทนัน้ วา่ มีการทางานกนั อย่างมีความสุข เปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย มีวนิ ัยดีพอสมควรหรอื ไม่ เพ่ือประกอบการตัดสินใจให้ถูกต้องและเพือ่ ความสบายใจในการทางาน 5. สภาพการทางาน สภาพการทางานเป็นสิ่งทีเ่ ป็นประโยชน์สาคญั ในการทางานอยา่ งมคี วามสขุ และมี ประสิทธิภาพ บา้ งบริษทั ที่ก้าวหนา้ และทนั สมัย จะมีอปุ กรณ์อานวยความสะดวกในการทางานเกือบทุกอยา่ ง นบั ตงั้ แต่ มีทจ่ี อดรถของพนักงาน ลิฟต์ เคร่ืองปรับอากาศ โต๊ะ และม้าน่ัง เครื่องใชส้ านักงาน เครือ่ งเขียนและ อุปกรณ์โทรศพั ทห์ ลายเลขหมาย เพ่ือการตดิ ตอ่ ภายนอกไดส้ ะดวก โต๊ะรบั แขก บริการกาแฟและเคร่อื งด่มื ห้องนา้ และห้องอาหาร 6. โอกาสกา้ วหน้า ผสู้ มคั รควรพิจารณาดวู ่าบรษิ ทั น้ันใหโ้ อกาสแก่พนกั งานในการพัฒนาความรู้ ความสามารถอยา่ งไรบา้ ง เพื่อจะได้มคี วามก้าวหนา้ ในตาแหน่งงานอาชพี และเงนิ เดอื น บางบรษิ ทั จะ สนับสนนุ พนักงานในการเขา้ รับการฝกึ อบรม สัมมนาดงู าน และฝกึ งานทั้งในและนอกประเทศ หรือให้ พนักงานร่วมกิจกรรมของสังคมที่เปน็ ประโยชนซ์ ง่ึ เปน็ การเปดิ โอกาสให้พนักงานมโี อกาสพฒั นาตนเอง 7. มวี ตั ถปุ ระสงค์ตรงกับผสู้ มัคร ปรัชญาในการดาเนนิ ธรุ กจิ ของบรษิ ทั ควรจะสอดคลอ้ งกับปรัชญาใน การประกอบอาชพี ผู้สมคั รดว้ ย เช่น มีความรับผิดชอบตอ่ สงั คม ไม่เอาเปรียบผบู้ ริโภค หรือมีเปา้ หมายแอบ แฝง หรือเป็นภัยตอ่ ความมนั่ คงของประเทศชาติ 8. ลักษณะงาน มนษุ ย์ทุกคนมีความถนดั เฉพาะตัวแตกต่างกัน และความถนดั น้ี กน็ ่าจะได้มีโอกาส นามาใช้งานใหเ้ หมาะสมและถกู ต้อง ดังคาสภุ าษติ ท่วี ่า จงบรรจคุ นทเ่ี หมาะสมท่ีสุดในงานที่เหมาะสมทสี่ ุด หรอื put the right Man on the right Job ดงั นัน้ ลกั ษณะงานจึงจาเปน็ ต้องทาให้เกดิ ความพอใจในงานดว้ ย เพอ่ื จะได้ทางานดว้ ยความรกั และมปี ระสิทธภิ าพ

การตัดสินใจเลือกอาชีพ การตัดสนิ ใจเลือกอาชีพ คอื การนาข้อมูลหลายๆ ดา้ น ที่เก่ยี วกับอาชพี ทีจ่ ะเลอื กมาพจิ ารณาอย่าง ละเอยี ดถี่ถ้วนรอบคอบ เพ่อื ประกอบการตัดสินใจ เลอื กประกอบการให้เหมาะสมกับสภาพ ขดี ความสามารถ ของตนเองใหม้ ากทสี่ ุด มีปญั หาอุปสรรคนอ้ ยท่ีสดุ องคป์ ระกอบในการตดั สนิ ใจเลือกอาชพี การตดั สินใจเลือกอาชีพมอี งค์ประกอบท่ีสาคญั ดังนี้ 1. ข้อมลู ประกอบการตัดสินใจ ซงึ่ จะพิจารณาขอ้ มูล 3 ด้านคือ 1.1 ขอ้ มูลเก่ยี วกบั ตนเอง คอื ข้อมูลตา่ งๆ ท่ีเก่ียวกับการประกอบอาชีพทตี่ นเองมีอยู่ เชน่ เงนิ ทนุ ที่ดิน อาคารสถานท่ี แรงงาน เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช้ วสั ดุ อปุ กรณ์ ความรู้ ทักษะตา่ งๆทีจ่ ะนามาใชใ้ นการ ประกอบอาชพี มีหรือไมอ่ ย่างไร 1.2 ข้อมูลเก่ยี วกับสภาพแวดลอ้ มและสังคม เช่น ผ้ทู ่ีจะมาใชบ้ ริการ(ตลาด) สว่ นแบง่ ของตลาด ทาเลการคมนาคม ทรพั ยากรที่จะเออื้ ประโยชน์ในทอ้ ง ถ่นิ แหลง่ ความรู้ ตลอดจนผลทจ่ี ะเกิดข้ึนต่อชุมชน 1.3 ขอ้ มลู ทางวชิ าการ ไดแ้ ก่ ความรู้ทางเทคนิคตา่ งๆ ทจ่ี าเป็นตอ่ อาชีพนนั้ ๆ เชน่ การตรวจ ซอ่ มแก้ไขเทคนคิ การใหบ้ รกิ ารลูกค้า ทกั ษะงานอาชพี ต่างๆ 2. ความถนดั โดยทั่วไปคนเราจะมีความถนัดในเชงิ ช่างแตกต่างกนั เชน่ ความถนัดในการทาอาหาร ถนัดในการประดิษฐ์ ผ้ทู ีม่ ีความถนดั จะช่วยใหก้ ารทางานนน้ั เป็นไปได้อย่างสะดวกรวดเร็ว คล่องแคลว่ รวมท้งั ยงั ช่วยใหม้ องเห็นแนวทางในการพัฒนาอาชีพนนั้ ๆ ทร่ี ดุ หน้าได้ดีกว่าคนทีไ่ มม่ ี ความถนัด 3. เจตคตทิ ีด่ ีต่องานอาชพี เปน็ ความรู้สกึ ภายในของแต่ละคนทม่ี ีตอ่ งานอาชพี ไดแ้ ก่ ความรกั ความ ศรัทธา ความภูมิใจ ความจรงิ ใจ ความร้สู กึ ตา่ งๆ เหล่านี้ จะเปน็ แรงผลกั ดันให้คนเกดิ ความมานะอดทน มุ่งม่ัน ขยัน กลา้ สู้ กลา้ เสี่ยง ทาใหป้ ระสบความสาเรจ็ ในการประกอบอาชีพได้ การทจี่ ะตัดสนิ ใจเลอื กอาชีพ ผปู้ ระกอบการตอ้ งนาเอาข้อมูลตา่ งๆ มาวเิ คราะห์โดยมีแนวทางในการพิจารณา คอื 3.1 วเิ คราะหส์ ภาพที่เป็นอยู่ หมายถึง ส่งิ ท่เี ปน็ อยู่ในขณะน้นั เกี่ยวกบั เร่ืองต่างๆโดยตอ้ ง วเิ คราะห์ตามสภาพจรงิ ทเ่ี ปน็ อยู่ 3.2 วเิ คราะหท์ างออก หมายถึง แนวทางในการดาเนินงานท่ีผ้วู เิ คราะหเ์ หน็ ว่า ในกรณที ี่สภาพที่ เปน็ อยู่นน้ั ไมเ่ ป็นไปตามความตอ้ งการหรอื ตามทก่ี าหนด แต่อาจมีแนวทางดาเนนิ งานหรอื ทางออกอน่ื ๆ ทจี่ ะ ทาให้เปน็ ไปตามทต่ี ้องการได้หลายวธิ ี ซ่งึ ต้องตัดสินใจเลือกทางออกโดยวธิ ที เ่ี หมาะสมเปน็ ไปได้ มากท่สี ุด 3.3 วิเคราะห์ความเปน็ ไปได้ หมายถึง การวิเคราะห์ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสภาพทเี่ ปน็ อยู่กบั ทางออกแนวทางที่จะดาเนินการนน้ั เป็นสง่ิ ทสี่ ามารถจะ ทาใหเ้ กิดขน้ึ หรอื เป็นไปได้จรงิ หรอื ไม่ ตามทางออกทคี่ ิดไว้ 3.4 ตดั สนิ ใจเลือก เป็นการตดั สนิ ใจเลือกอาชพี หลงั จากทม่ี กี ารวิเคราะห์อย่างละเอยี ดรอบคอบ แลว้

ขั้นตอนการตดั สนิ ใจเลอื กอาชพี 1. กาหนดปญั หาหรืออปุ สรรคให้ชดั เจนวา่ เรากาลังตัดสินใจเลือกอะไร เช่น เรากาลังเลอื กแผนการเรียน อะไรหรอื เลอื กที่จะประกอบอาชพี 2. สารวจตวั เลือก ตอ้ งร้จู กั แผนท่ีจะเลือกหรอื อาชีพทีจ่ ะเลือก 3. เปรยี บเทยี บแตล่ ะตวั เลอื กวา่ แตกต่างกันอยา่ งไร 4. สารวจข้อมลู เก่ยี วกบั การตดั สนิ ใจท่ีจะเลือกแผนหรืออาชีพทั้งหมด 5. แปลความข้อมลู ต้องกาหนดนา้ หนักความสาคัญใหแ้ ตล่ ะตัวเลือก การตัดสนิ ใจเลือกอาชีพมกั เกดิ ข้ึน เมอื่ มีอาชีพใหเ้ ราตัดสินใจเลอื กมากกวา่ หน่ึงอาชพี มีความร้แู ละประสบการณ์เกี่ยวกบั อาชพี ที่จะเลือก 6. จดั การกับข้อมลู โดยการใหน้ า้ หนกั ความสาคญั แต่ละตัวเลือก ในแต่ละประเด็น เมอ่ื เราเขา้ ใจว่าทาไม จงึ เลือกตวั เลอื กนี้ จะทาให้ตวั เลือกลดลงจนเหลอื อาชีพท่เี ราสนใจเทา่ นน้ั 7. เรียงลาดับประโยชนข์ องตวั เลือก จากมากไปหาน้อย จะช่วยให้เหน็ ความสาคัญของตัวเลือกแต่ละตัว มากขึน้ 8. ตดั สนิ ใจการตดั สินใจเลอื กอาชพี จะต้องไมก่ ังวลว่าตวั เลือกท่ีเหลอื จะเหมาะสมกบั ตนเองหรือไม่ เมอ่ื พิจารณาตัวเลอื กหลายปัจจัยอย่างรอบคอบ ตอ้ งตระหนักว่าตนเองทาดีท่สี ุดแล้วแมว้ ่าการตัดสนิ ใจเลือกจะมี ความเสย่ี ง เพราะไมว่ ่าอะไรจะเกดิ ขนึ้ ในอนาคต ปญั หาคอื ตอ้ งพยายามเลอื กอาชีพท่เี หมาะสมและเปน็ ประโยชน์ต่อตนเองมากท่สี ุด ไม่ตัดสินใจด้วยอารมณ์และความรสู้ กึ ต้องพิจารณาความสนใจ บคุ ลิกภาพ ค่านยิ ม และความต้องการที่แทจ้ รงิ ของตนเอง การประเมนิ ความพร้อมและความเป็นไปได้ ของอาชีพทต่ี ดั สนิ ใจเลอื ก การเตรยี มความพร้อมและความเปน็ ไปได้ของการประกอบอาชพี 1. เงินทุน การประกอบอาชพี ตอ้ งใชเ้ งินทุนเริม่ ตน้ จานวนเท่าใด ถา้ เปิดเป็นรา้ นคา้ ต้องสารวจตนเอง ก่อนวา่ มเี งินทนุ เพยี งพอหรอื ไม่ และจะสามารถหาเงินทุนจากแหล่งใดไดบ้ ้าง 2. แรงงาน ตอ้ งพจิ ารณาวา่ การประกอบอาชพี จาเป็นตอ้ งจ้างแรงงานคนอื่นเข้ามาชว่ ยหรอื ไม่ และ สามารถหาได้จากท่ีไหน 3. วสั ดุ อุปกรณ์ ตอ้ งพิจารณาถงึ ความจาเป็นวา่ ต้องใช้ เครอื่ งมอื วัสดุ อปุ กรณอ์ ะไรบ้าง จานวนเท่าใด ในการประกอบอาชีพ 4. ทาเลทีต่ ั้ง สารวจตนเองมีสถานท่หี รือไม่ ถ้าไม่มจี าเป็นต้องเช่าหรือซ้อื จะมที นุ เพียงพอหรือไม่ ค้มุ กับ การลงทุนเพียงใด 5. วัตถดุ ิบ จะหาซ้ือวตั ถดุ ิบได้จากแหล่งใดไดบ้ ้าง 6. คณุ สมบตั ทิ ีจ่ าเปน็ ในอาชพี ผปู้ ระกอบอาชพี ใดก็ตามตอ้ งเปน็ ผทู้ ่ีมีใจรักในอาชีพน้นั และมคี วาม อดทนมุ่งมน่ั ในการประกอบอาชพี ใหป้ ระสบผลสาเรจ็ 7. สุขภาพ สารวจว่าตนเองมสี ุขภาพแข็งแรงเหมาะสมทจี่ ะประกอบอาชีพท่ีตนไดเ้ ลือกไวห้ รือไม่ 8. ความถนัดและความมีใจรักในอาชีพ ตอ้ งพิจารณาวา่ อาชีพทีต่ นเองไดเ้ ลอื กแลว้ มีความเหมาะสมกับ คุณสมบตั ิของตนเองหรอื ไม่ มีความถนัดที่จะทาหรือมใี จรักที่จะทาเพยี งพอที่จะเผชญิ ปัญหาอปุ สรรค ตา่ งๆ ในอาชพี หรอื ไม่

9. สว่ นแบง่ ตลาด ตอ้ งสารวจว่าอาชีพทตี่ นไดเ้ ลอื กแล้วนน้ั มีโอกาสกา้ วหนา้ ไดห้ รอื ไม่ จะใชก้ ลยุทธท์ าง การตลาดใหป้ ระชาชนสนใจสนิ ค้าตนเองไดอ้ ยา่ งไร 10. การขยายกจิ การ พจิ ารณาว่าในอนาคตสามารถขยายกิจการไดห้ รอื ไมจ่ ะมีปัญหาหรอื อุปสรรค อะไรบา้ ง 11. ความมนั่ คงในอาชีพ พจิ ารณาวา่ อาชพี นีม้ คี วามมั่นคงเพยี งใดเมือ่ ลงทนุ แล้วจะคุม้ ทุนหรอื ไม่ เมอื่ มีการวเิ คราะหค์ วามพร้อมของตนเองในการประกอบอาชพี แล้ว ก็สามารถตอบได้ว่ามคี วามพร้อมแล้ว และมคี วามพอใจกบั การวิเคราะห์ความเป็นไปไดข้ องการประกอบอาชีพ กแ็ สดงวา่ มคี วามม่นั ใจที่จะประกอบ อาชพี นต้ี อ่ ไป จากน้ันจงึ มกี ารวางแผนงานในการประกอบอาชพี นั้นๆ ต่อไป เม่อื ตัดสินใจวา่ จะประกอบอาชพี ใดแลว้ เพอ่ื ใหเ้ กิดความมั่นใจและเชอ่ื มัน่ ว่าอาชพี ที่เลือกน้นั จะสามารถ ดาเนินการได้ตลอดไป จึงมคี วามจาเป็นต้องมีการประเมิน โดยวเิ คราะหค์ วามพร้อม และความเปน็ ไปได้ของ อาชีพทต่ี ัดสินใจเลือก ดังนี้

ใบงานท่ี 1 ใหผ้ ้เู รียนวเิ คราะห์การประกอบอาชีพของตนเอง หรือสัมภาษณ์ภูมิปัญญาในชุมชน ว่าได้ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง เปน็ แนวทางในการประกอบอาชีพหรือไม่ โดยวเิ คราะหใ์ หค้ รบทั้ง 5 องคป์ ระกอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............................................ ...........................................................

ความหมายของอาชพี สาระสาคญั อาชพี คือการทามาหากนิ ของมนษุ ย์ เป็นการแบง่ หน้าทก่ี ารทางานของคนในสงั คม และ ทาใหด้ ารงอาชีพในสงั คมได้ บคุ คลทปี่ ระกอบอาชพี จะไดค้ า่ ตอบแทน หรือรายได้ที่จะนาไปใชจ้ ่ายในการ ดารงชวี ิต และสรา้ งมาตรฐานทีด่ ีใหแ้ กค่ รอบครวั ชมุ ชน และประเทศชาติ ความจาเปน็ ของการประกอบอาชพี มีดังน้ี 1. เพอ่ื ตนเอง การประกอบอาชีพทาใหม้ ีรายไดม้ าจบั จา่ ยใช้สอยในชวี ติ 2. เพอ่ื ครอบครัว ทาให้สมาชกิ ของครอบครวั ได้รบั การเลยี้ งดทู าให้มคี ุณภาพชีวิตทดี่ ีขึน้ 3. เพอ่ื ชุมชน ถ้าสมาชกิ ในชุมชนมีอาชพี และมีรายได้ดีจะส่งผลให้สมาชิกมีความเปน็ อยู่ดี ข้นึ อยดู่ กี ินดี สง่ ผลใหช้ ุมชนเขม้ แขง็ และพัฒนาตนเองได้ 4. เพ่ือประเทศชาติ เพือ่ ประชากรของประเทศมกี ารประกอบอาชีพท่ีดี มรี ายได้ดี ทา ใหม้ รี ายได้ทเี่ สียภาษีใหก้ ับรัฐบาลมรี ายไดไ้ ปใช้บริหารประเทศตอ่ ไป มนษุ ย์ไม่สามารถผลติ ส่ิงต่างๆมาสนองความต้องการของตนเองได้ทุกอย่างจาต้องมีการ แบง่ กนั ทาและเกิดความชานาญ จงึ ทาใหเ้ กิดการแบ่งงานและแบ่งอาชีพต่างๆข้นึ สาเหตุท่ีต้องมีการแบง่ อาชพี มีดังน้ี 1. ความร้คู วามสามารถของแตล่ ะคนแตกตา่ งกัน 2. ตาแหนง่ ทางภมู ศิ าสตร์และภมู ิประเทศทแี่ ตกต่างกนั 3. ได้รบั มอบหมายใหท้ าหนา้ ที่ท่แี ตกต่างกนั การแบง่ งานและอาชีพใหเ้ กดิ ประโยชน์ ดงั นี้ 1. สามารถตอบสนองความต้องการซึ่งกนั และกนั ได้ 2. ไดท้ างานทีต่ นเองถนัด 3. ทาให้เกดิ การขยายตวั ของธรุ กิจในดา้ นตา่ งๆ การประกอบอาชพี ของคนไทย การทามาหากินของคนไทยสมยั กอ่ น คือการทาไร่ ทานา ทอผา้ ทาเคร่ืองจกั สานไวใ้ ชท้ ่ี เหลือกจ็ ะจาหนา่ ยในชุมชน คนไทยบางกล่มุ จะเป็นข้าราชการเม่ือบรษิ ัทต่างชาติมาลงทุนในประเทศไทย ทา ใหม้ กี ารจา้ งงาน และมอี าชพี ให้คนไทยเลือกทามากขึ้น ลักษณะอาชพี ของคนไทย 1. งานเกษตรกรรม เชน่ ปลกู พืช เลี้ยงสัตว์ การประมง 2. งานอตุ สาหกรรม เป็นงานท่เี กย่ี วขอ้ งกับความถนดั ด้านช่างสาขาตา่ งๆ และเครื่องจักร เพอื่ ผลิตสินคา้ และบรกิ ารต่างๆ 3. งานธุรกจิ เป็นงานด้านการค้าขาย การทาบญั ชี การจัดการธุรกจิ การตดิ ต่อสือ่ สาร เทคโนโลยีสารสนเทศ 4. งานคหะกรรม เป็นงานท่เี กยี่ วข้องกบั การประกอบอาหาร เยบ็ ปักถักรอ้ ย ตกแตง่

บ้าน 5. งานศิลปกรรม เปน็ งานที่มีความละเอยี ดออ่ น ความคดิ สร้างสรรคด์ า้ นศิลปกรรมของ ไทย เชน่ งานหัตถกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม ขอ้ ท่ี 2 ปัจจยั ที่สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ความสาเร็จในงานอาชพี สาระสาคญั 1. ความต้องการมุ่งความสาเรจ็ (Need for Achivement) ในการทางานเม่ือ พิจารณาอย่างถีถ่ ้วนแลว้ และมองเหน็ โอกาสแหง่ ความเปน็ ไปได้ ผู้ประกอบการจะตอ้ งมุง่ มั่นใชก้ าลังกาย กาลังความคิด สติปัญญาและความสามารถทั้งหมด พร้อมทัง้ ทุ่มเทเวลาใหก้ บั งาน โดยไม่คานึงถงึ ความ ยากลาบาก เพ่ือใหง้ านบรรลคุ วามสาเร็จท่มี ่งุ หวงั ไว้ ผปู้ ระกอบการจะตอ้ งเรยี นรถู้ ึงความผิดพลาดทผี่ ่านมา เพือ่ แก้ไขใหเ้ กิดความสาเร็จ พอใจ ภูมใิ จทงี่ านออกมาดี แตส่ ิ่งที่สาคญั คือ จดุ มุ่งหมายทางธุรกจิ มิไดอ้ ยทู่ ี่ กาไร แต่จะต้องทาเพือ่ ขยายความเจรญิ เตบิ โตของกิจการ กาไรเปน็ เคร่อื งสะทอ้ นว่าทาได้ และไมเ่ พยี งสนใจ ต่อการบรรลเุ ปา้ หมายเท่านั้น แต่จะตอ้ งให้ความสาคัญต่อวิธกี ารหรือกระบวนทท่ี าให้บรรลุเป้าหมายด้วย 2. มีความคิดริเร่มิ สร้างสรรค์ (Creativity Thinking) การจะเปน็ ผู้สาเร็จในงานอาชพี ได้นั้น จะต้องเปน็ ผทู้ ม่ี ีความคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ ไมพ้ อใจในการทาส่ิงซ้าๆเหมอื นเดิมตลอดเวลา แต่เปน็ ผู้ท่ี ชอบนาประสบการณ์ทผ่ี า่ นมาประยุกต์ สร้างสรรค์ หาวธิ ีใหมท่ ดี่ กี วา่ เดิม สามารถหาแนวทางพฒั นา ผลติ ภัณฑห์ รอื บรกิ าร ปรบั ปรงุ กระบวนการดาเนินการอยู่ตลอดเวลา กล้าที่จะผลิตสินค้าท่ีแตกต่างจากเดิม กล้าใชว้ ิธขี ายท่ไี มเ่ หมอื นใคร กลา้ ประดษิ ฐ์ กล้าคดิ คน้ สง่ิ ทแี่ ปลกใหม่เข้าส่ตู ลาด สามารถคิดค้นประดษิ ฐ์ เคร่ืองจกั รเครอ่ื งมอื อปุ กรณใ์ หม่ๆ มาใชใ้ นการผลิต สามารถนาเทคโนโลยใี หมๆ่ มาใช้ รวมทั้งแสวงหาวตั ถดุ บิ ใหมๆ่ มาทดแทนของเดมิ รูจ้ ักปรับปรุงกระบวนการดาเนินงาน นาระบบการจัดการสมัยใหม่ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ มาใช้เพือ่ ลดตน้ ทนุ ความคิดสร้างสรรค์เหลา่ นี้ อาจเกิดข้ึนด้วยตัวเอง หรอื เอาแนวคดิ มาจากนกั ประดิษฐ์ นักวจิ ัยหรือผ้เู ชีย่ วชาญกไ็ ด้ 3. รูจ้ ักผูกพนั ตอ่ เปา้ หมาย (Addicted to Goals) เมือ่ ตงั้ เป้าหมาย ผูป้ ระกอบการ จะต้องทุ่มเททกุ อยา่ งเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เป้าหมายทุกเป้าหมายล้วนจะตอ้ งเอาชนะท้ังสิน้ มคี วามคิด ผูกพนั ทีจ่ ะเอาชนะ จนสามารถวางแผนกลยุทธ์ไว้ลว่ งหนา้ มีการวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค ขดั ขวางในการ ไปสู่เปา้ หมาย เตรียมปอ้ งกันท่จี ะเอาชนะอปุ สรรค ทค่ี าดว่าจะทาใหเ้ กดิ ความลม้ เหลว และหาหนทางแก้ไข เมื่อประสบความเหลว และในขณะเดียวกนั การมองโลกในแงด่ มี คี วามหวัง มุ่งม่นั ต่อไปเปา้ หมายของ ความสาเรจ็ จะมองเหน็ ในอนาคต 4. มีความสามารถในการบรหิ ารงานและมีความเปน็ ผนู้ าท่ดี ี (Management and Leadership Capability) มลี ักษณะการเปน็ ผู้นา ร้จู กั หลกั การบริหารจัดการทด่ี ี ภาวะการเป็นผ้นู าจะ แตกต่างไปตามระยะการเจรญิ เติบโตของธุรกจิ ในระยะเริ่มทาธุรกจิ จะต้องรบั บทบาทการเป็นผูน้ าจะ แตกต่างไปตามระยะการเตบิ โตของธรุ กิจ ในระยะเริ่มทาธุรกิจ จะตอ้ งรบั บทบาทเป็นผู้นาที่ลงมือทาทกุ อยา่ ง

ดว้ ยตนเอง ตอ้ งทางานหนกั เพ่ือบรรลุความสาเร็จ เอาใจใส่ผ้รู ว่ มงาน วางแผนทางการทางาน ให้คาแนะนา และให้ผู้ร่วมงานรบั ค่าส่งิ ดว้ ยความเต็มใจในการปฏิบตั ิงาน เป็นผ้กู ากบั ดแู ลอย่างใกลช้ ิดและเปน็ กันเองจะทา ให้การดาเนินงานเปน็ ไปดว้ ยดี ต่อมาเม่ือกจิ การเติบโตขนึ้ การบริหารงานก็จะเปลี่ยนแปลงไป ลกู นอ้ งกจ็ ะมี ลกั ษณะเปลี่ยนแปลงและเชือ่ มน่ั ไดม้ ากข้นึ ไวใ้ จได้ สามารถที่จะแบง่ ความรบั ผิดชอบใหล้ ูกนอ้ งไดม้ าก ขึ้น จนสามารถปลอ่ ยใหด้ าเนนิ การเองได้ สว่ นตนจะได้มเี วลาใชค้ วามคิดพฒั นาผลิตภณั ฑ์ ขยายกิจการ หรอื ลงทนุ ใหม่ ดาเนินกิจการใหล้ ักษณะมืออาชีพมากกว่าเป็นธุรกจิ เครือญาติ กลา้ ลงทนุ จา้ งผู้บริหารมอื อาชีพ รูจ้ กั ปรบั เปลีย่ นการบริหาร เพ่อื ทาให้ธรุ กจิ ประสบความสาเร็จ

5. มคี วามเชอ่ื มัน่ ในตนเอง (Be Self Confident) ผู้ประกอบการท่จี ะประสบ ความสาเรจ็ มักจะเปน็ ผู้ทมี่ ีความเช่อื มน่ั ในความสามารถของตนเอง มคี วามเปน็ อิสระและรู้จักพ่งึ ตนเอง มี ความมั่นใจ มีความเข้มแข็ง เดด็ เดย่ี ว มีลักษณะเปน็ ผ้นู า มคี วามเชอื่ มั่นทจ่ี ะเอาชนะสิ่งแวดลอ้ มทน่ี ่ากลวั มี ความทะเยอทะยาน และไมป่ ระเมินความสามารถของตนเองสงู เกนิ ไปหรือเชื่อม่นั ตนเองมากเกินไป 6. มวี ิสัยทศั น์กวา้ งไกล (Visionary) เปน็ ผทู้ ี่สามารถวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณใ์ นอนาคตได้ อย่างแมน่ ยา และรู้จกั เตรียมพร้อมรบั เหตุการณ์ท่ีจะเกิดขึน้ 7. มคี วามรบั ผดิ ชอบ (Responsibility) มคี วามรบั ผดิ ชอบต่องานท่ที าเปน็ อย่างดี เปน็ ผนู้ าในการทาส่ิงต่างๆ มกั จะมคี วามรเิ ริม่ แล้วลงมือทาดว้ ยตนเอง หรอื มอบหมายให้ผอู้ นื่ ทาและจะดแู ลจนงาน สาเรจ็ ตามเป้าหมาย โดยจะรบั ผิดชอบผลการตดั สินใจ ไมว่ า่ ผลจะออกมาดหี รือไม่ มคี วามเชอื่ ว่าความสาเรจ็ เกดิ จากความเอาใจใส่ ความพยายาม ความรบั ผิดชอบ มิใช่เกิดจากโชคชว่ ย 8. มคี วามกระตอื รือรน้ และไม่หยุดนงิ่ (Enthusiastic) มีการทางานทเี่ ต็มไปด้วย พลัง มีชีวิตชวี า มีความกระตอื รือรน้ ทางานทกุ อยา่ งโดยไม่หลีกเลี่ยง ทางานหนกั มากกว่าคนท่ัวไป 9. ใฝห่ าความรู้เพม่ิ เติม (Take New Knowledge) ถงึ แมว้ า่ จะมคี วามเชีย่ วชาญใน การทางาน แตค่ วามรูแ้ ละประสบการณท์ ีม่ อี ยู่ยังไมเ่ พยี งพอ ควรที่จะหาความรเู้ พ่ิมเตมิ โดยเฉพาะความรู้ เก่ียวกับข้อมูลทางการตลาด เศรษฐศาสตร์ การเมือง กฏหมายทง้ั ในและตา่ งประเทศ ข้อมูลเหล่านี้จะช่วย ใหส้ ามารถวเิ คราะห์สถานการณท์ เ่ี ปลย่ี นแปลงได้ การหาความรูเ้ พิม่ เติมสามารถหาไดจ้ ากการ สัมนา ฝกึ อบรม อ่านหนงั สอื หรอื ปรึกษาผู้เชยี่ วชาญ 10. กลา้ ตัดสินใจและมคี วามมานะพยายาม (Can Make Decision And Be Attempt) มีความกลา้ ตัดสินใจมีความหนกั แน่นไมห่ ว่ันไหว เชื่อมัน่ ในตนเองกบั งานท่ีทา มจี ติ ใจของนัก สู้ ถึงแมง้ านจะหนกั ก็ทุ่มเทสดุ ความสามารถ ไมก่ ลวั งานหนัก เห็นงานหนักเป็นงานท้าทายในการใช้ ความรู้ สติปญั ญา และความสามรถในการทางาน ความมานะและความพยายามเปน้ การท่มุ เทชวี ิตจิตใจใน การทางาน แขง่ ขนั กบั ตนเองและแข่งขนั กบั เวลา ขวนขวายหาหนทางแกป้ ัญหาและอุปสรรคจนประสบ ความสาเรจ็ 11. สามารถปรับตวั เขา้ กบั สิ่งแวดล้อม (Adaptable) ตอ้ งรูจ้ กั การปรบั ตวั ตาม สภาพแวดลอ้ ม มากกวา่ ปลอ่ ยใหท้ กุ อย่างเปน็ ไปตามยถากรรม หรือขน้ึ อยกู่ ับโชคหรอื ดวง 12. รูจ้ กั ประมาณตนเอง (Self Assessment) การรจู้ กั ประมาณตนเองไม่ทาส่งิ เกนิ ตวั ในการทาธรุ กจิ ควรจะเริ่มจากธุรกิจเล็กๆกอ่ น และเม่ือกิจการเจริญคอ่ ยเพ่มิ ทนุ และขยายธรุ กจิ ออกไป จงึ จะ ประสบความสาเร็จ 13. ประหยดั (Safe For Future) การดาเนินงานในระยะส้นั จะยงั ไมท่ นั เหน็ ผล ผปู้ ระกอบการจะตอ้ งรจู้ กั ประหยัดและอดออม ต้องรูจ้ ักหา้ มใจท่ีจะหาความสุข ความสบายในชว่ งทธ่ี ุรกิจอยู่ ในช่วงตงั้ ตัว และต้องดาเนนิ ธรุ กจิ ต่อไปในระยะเวลายาวนานจนกวา่ จะบรรลุเป้าหมาย

14. มคี วามซอ่ื สตั ย์ (Loyalty) ตอ้ งมคี วามซอื่ สตั ยต์ ่อลูกค้าและหุ้นส่วน ตอ้ งสร้าง ความเชือ่ มนั่ ใหก้ บั ธนาคารดว้ ยการเปน็ ลกู หนีท้ ด่ี ี เป็นนายที่ดขี องลกู นอ้ ง และต้องมีความซอ่ื สัตยต์ ่อตนเอง และครอบครัว ขอ้ ที่ 3 อาชพี ทีม่ คี วามม่นั คงในชีวิต สาระสาคญั หากเปรยี บเสาเขม็ เปน็ รากฐานของตึกสูง ความร้ทู ่ีได้รับจากการศกึ ษา ก็คอื พ้ืนฐานทจี่ ะ นาไปใชใ้ นการประกอบอาชพี สร้างรายได้และจัดหาปจั จยั 4 อนั เปน็ สิ่งจาเป็นในการดารงชีวิตอย่อู ย่างมนั่ คง ในการเลอื กประกอบอาชพี นน้ั ควรพจิ ารณาจากความถนดั ความสนใจ ความกา้ วหน้าในอาชีพ เป็นอาชพี ท่ี สุจรติ ถูกต้องตามกฎหมาย และควรเป็นงานทท่ี าแลว้ มีความสุข ไดร้ ับค่าตอบแทนท่ีเพียงพอกบั การดาเนนิ ชีวิต และเลย้ี งครอบครัวได้อยา่ งเพยี งพอ หากทุกคนเลือกอาชพี ท่มี ความมนั่ คงต่อชีวติ สังคมกจ็ ะมคี วามเป็นอยู่ทด่ี ี เศรษฐกจิ กจ็ ะเจริญก้าวหน้าตามไปดว้ ย

ใบงานท่ี 2 แบบประเมนิ ความเข้าใจเก่ยี วกับความหมายของการจัดการขยายอาชีพตามแนวคิดปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 1. อ่านกรณตี วั อยา่ งแล้วตอบคาถามด้วยตนเอง “ ลุงอินปลูกข้าวโพดหวาน ขนาดร่องกว้าง 0.75 เมตร ยาว 40 เมตร สัปดาห์ละ 5 ร่องอย่างต่อเนื่องได้ผลผลิต สั ป ด า ห์ ล ะ 2 5 0 กิ โ ล ก รั ม ข า ย ใ ห้ กั บ ลู ก ค้ า ป ร ะ จ า มี ร า ย ไ ด้ 2 , 5 0 0 บ า ท ค่ อ น ข้ า ง แ น่ น อ น แต่ปีน้ีลกู เข้าเรียนระดบั อุดมศกึ ษา 2 คน จะตอ้ งมรี ายจ่ายเพิม่ อกี เดอื นละ 10,000 บาท ลงุ อนิ หาตลาดขา้ วโพดหวาน ไดล้ กู ค้าเพิ่มสามารถรบั ซ้อื ข้าวโพดหวานตามปรมิ าณท่ีเพ่มิ ขึ้นได้ตามต้องการ อยู่มาไม่ นานเพื่อนบา้ นหลายครอบครวั เอาอยา่ งปลกู ข้าวโพดหวานขาย ทาใหข้ ้าวโพดมีปริมาณมาก ราคาตก ลุงอิน เห็นว่า เพื่อนบ้านต่างก็ยากจน หากปล่อยให้สภาพเหตุการณ์เป็นเช่นนี้ก็จะพากันขาดทุน เสียหาย ลุงอิน ประเมินปริมาณข้าวโพดหวานทผี่ ลิตได้และมีคณุ ภาพปานกลางกับของลุงอนิ ประมาณสัปดาห์ละ 3,000 กิโลกรัม จึงตัดสินใจ ไปพบพ่อค้าขายส่งรายใหม่ต้องการข้าวโพดหวานปริมาณมาก หากลุงอินสามารถรวบรวมผลผลิต ควบคุมคุณภาพให้ได้ มาตรฐานท่ีต้องการและจดั การสง่ มอบให้ได้จะรบั ซื้อกโิ ลกรมั ละ 15 บาท ลุงอนิ จึงเจรจารบั ซื้อขา้ วโพดหวานของเพ่ือนบ้านให้ ราคากโิ ลกรัมละ 10 บาท หักค่าขนสง่ กิโลกรมั ละ 1 บาท ลุงอนิ ไดก้ าไรกิโลกรมั ละ 4 บาท เดือนหน่ึงจะมรี ายได้ 48,000 บาท พอเพยี งใชจ้ า่ ยดารงชวี ติ ส่งลูกเรยี นได้ ท่ีดินที่เคยปลูกข้าวโพดและวา่ งเปล่า จานวน 20 ไร่ ลุงอินปลูกไม้ป่าต้นยางนา ต้นสัก เปน็ ไม้โตไว้ได้ 2,000 ต้น อีก 15 ปีข้างหน้าจะสามารถตัดโค่นขายได้ต้นละ 5,000 บาท คาดว่าจะได้เงินประมาณ 10 ล้าน บาท ” จากเรอ่ื งราวของลุงอนิ ทา่ นมคี วามเข้าใจอยา่ งไร 1. การดาเนินงานปลูกขา้ วโพดหวานขนาดร่องกว้าง 0.75 เมตร ยาว 40 เมตร สัปดาหล์ ะ 5 ร่องเปรียบไดก้ บั ข้อใด ก. ความมนั่ คง ข. การขยายอาชพี ค. การจัดการ ง. ความพอเพยี ง 2. มีรายได้ สปั ดาหล์ ะ 2,500 แนน่ อน สอดคลอ้ งกับขอ้ ใดมากท่ีสดุ ก. ความม่ันคง ข. การขยายอาชพี ค. การจดั การ ง. ความพอเพียง 3. ลงุ อนิ หาตลาดขา้ วโพดหวานเพ่ิมข้ึนเก่ยี วขอ้ งกับข้อใด ก. ความมั่นคง ข. การขยายอาชพี ค. การจดั การ ง. ความพอเพียง 4. เพื่อนบ้านเอาอยา่ งปลกู ขา้ วโพดหวานกันมาก ราคาตก เกีย่ วขอ้ งกับข้อใด ก. ความไม่มนั่ คง ข. การขยายอาชพี ค. การจัดการ ง. ความพอเพยี ง

5. ลงุ อินไปพบพ่อค้าขายสง่ รายใหญ่ เกี่ยวขอ้ งกบั ข้อใด ก. ความมน่ั คง ข. การขยายอาชพี ค. เศรษฐกิจ ง. ความพอเพียง 6. การรวบรวมผลผลติ การควบคมุ คณุ ภาพผลผลติ การจดั การรายไดก้ บั สมาชิกเพ่ือนบ้าน ขอ้ ใดถกู ตอ้ งมากท่ีสดุ ก. ความม่นั คง ข. การขยายอาชพี ค. เศรษฐกจิ ง. ความพอเพยี ง 7. ลุงอนิ ใหร้ าคาขา้ วโพดหวานของเพื่อนบ้าน กโิ ลกรัมละ 10 บาท ข้อใดถกู ต้องมากท่สี ดุ ก. ความมนั่ คง ข. การขยายอาชีพ ค. เศรษฐกจิ ง. ความพอเพยี ง 8. รายได้เดอื นละ 48,000 บาทของลงุ อิน สอดคล้องกับข้อใดมากทสี่ ดุ ก. ความมนั่ คง ข. การขยายอาชีพ ค. เศรษฐกิจ ง. ความพอเพียง 9. รายไดจ้ ากการปลูกไมป้ ่า 20 ไร่ เป็นเงิน 10 ล้านบาท อีก 15 ปขี า้ งหน้าของลุงอนิ ตรงกบั ขอ้ ใดมากทส่ี ดุ ก. ความมั่นคง ข. การขยายอาชพี ค. เศรษฐกิจ ง. ความพอเพียง

การวเิ คราะห์ SWOT (SWOT Analysis) SWOT Analysis เปน็ การวิเคราะห์สภาพองคก์ าร หรือหน่วยงานใน ปัจจุบนั เพอื่ คน้ หา จดุ แข็ง จุดเดน่ จุดด้อย หรือสิ่งทอ่ี าจเปน็ ปญั หาส าคญั ในการด าเนนิ งานสสู่ ภาพทตี่ ้องการ ในอนาคต SWOT เป็นตัวยอ่ ทม่ี คี วามหมายดังนี้ Strengths - จดุ แขง็ หรือขอ้ ไดเ้ ปรยี บ Weaknesses - จดุ ออ่ นหรอื ขอ้ เสียเปรยี บ Opportunities - โอกาสที่จะด าเนินการได้ Threats - อุปสรรค ขอ้ จ ากัด หรอื ปัจจัยที่คกุ คามการด าเนินงานขององค์การ หลักการส าคัญของ SWOT ก็คือการวิเคราะห์โดยการส ารวจจาก สภาพการณ์ 2 ด้าน คอื สภาพการณ์ ภายในและสภาพการณภ์ ายนอก ดังนนั้ การวเิ คราะห์ SWOT จงึ เรยี กได้ วา่ เป็น การวเิ คราะห์ สภาพการณ์ (Situation Analysis) ซ่งึ เป็นการวเิ คราะห์จุดแข็ง จดุ ออ่ น เพ่ือให้รูต้ นเอง (รู้เรา) ร้จู ัก สภาพแวดลอ้ ม (รู้เขา) ชัดเจน และวเิ คราะหโ์ อกาส-อปุ สรรค การวิเคราะหป์ ัจจัยต่างๆ ทัง้ ภายนอก และ ภายในองค์กร ซึง่ จะชว่ ยใหผ้ ู้บรหิ ารขององค์กรทราบถงึ การเปล่ยี นแปลงต่างๆ ท่ีเกดิ ข้ึนภายนอก องค์กร ทัง้ ส่งิ ทไ่ี ดเ้ กดิ ขนึ้ แล้วและแนวโนม้ การเปล่ยี นแปลงในอนาคต รวมทงั้ ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลง เหล่านท้ี ่ี มีตอ่ องคก์ รธุรกจิ และจดุ แข็ง จุดอ่อน และความสามารถ ดา้ นต่าง ๆ ท่อี งค์กรมีอยู่ ซ่ึงขอ้ มลู เหลา่ นี้ จะเป็น ประโยชน์อย่างมากต่อการก าหนดวิสัยทัศน์ การก าหนดกลยุทธแ์ ละการด าเนินตามกลยุทธ์ของ องค์กรระดับ องคก์ รท่เี หมาะสมต่อไป ประโยชน์ของการวิเคราะห์ SWOT วิเคราะห์ SWOT เป็นการวิเคราะห์ สภาพแวดลอ้ มต่าง ๆ ทงั้ ภายนอกและภายในองค์กร ซงึ่ ปัจจยั เหล่านีแ้ ต่ละ อยา่ งจะชว่ ยใหเ้ ข้าใจได้ว่ามอี ิทธพิ ล ตอ่ ผลการด าเนนิ งานขององคก์ รอยา่ งไร จดุ แขง็ ขององคก์ รจะเปน็ ความสามารถภายในท่ถี กู ใช้ประโยชนเ์ พือ่ การบรรลเุ ปา้ หมาย ในขณะท่ีจดุ อ่อนขององคก์ รจะเป็นคุณลกั ษณะ ภายในทอ่ี าจจะท าลายผลการด าเนนิ งาน โอกาสทางสภาพแวดล้อมจะเป็นสถานการณท์ ่ีใหโ้ อกาสเพื่อการบรรลุ เปา้ หมายองคก์ ร ในทางกลับกัน อุปสรรคทางสภาพแวดล้อมจะเปน็ สถานการณ์ท่ีขัดขวางการบรรลุเปา้ หมาย ขององคก์ ร ผลจากการวเิ คราะห์ SWOT นจ้ี ะใชเ้ ปน็ แนวทางในการก าหนดวิสยั ทศั น์ การก าหนดกลยทุ ธ์ เพื่อให้องคก์ รเกดิ การพัฒนาไปในทาง ทเ่ี หมาะสม ขนั้ ตอน / วธิ กี ารด าเนินการท า SWOT Analysis การวิเคราะห์ SWOT จะครอบคลมุ ขอบเขต ของปจั จัยทีก่ ว้างดว้ ยการระบจุ ุดแขง็ จุดออ่ น โอกาสและอุปสรรค ขององคก์ ร ท าใหม้ ขี อ้ มูล ในการก าหนด ทิศทางหรือเปา้ หมายที่จะถูกสร้างข้นึ มาบนจุดแข็งขององคก์ ร และ แสวงหาประโยชน์จากโอกาสทาง สภาพแวดลอ้ ม และสามารถก าหนด กลยุทธ์ที่มงุ่ เอาชนะอุปสรรคทาง สภาพแวดลอ้ มหรือลดจุดอ่อนของ องคก์ รให้มนี อ้ ยท่ีสดุ ได้ ภายใตก้ ารวเิ คราะห์ SWOT นั้น จะตอ้ งวิเคราะหท์ ั้ง สภาพแวดลอ้ มภายในและ ภายนอกองค์กร โดยมขี ้ันตอนดังน้ี 1. การประเมินสภาพแวดลอ้ มภายในองค์กร การประเมินสภาพแวดล้อม ภายในองค์กรจะเกยี่ วกับการวิเคราะห์และพจิ ารณาทรัพยากรและความสามารถ ภายในองคก์ รทกุ ๆ ด้าน เพ่ือทจี่ ะระบุจดุ แข็งและจุดออ่ นขององคก์ รแหลง่ ทมี่ าเบือ้ งตน้ ของข้อมูลเพอ่ื การ ประเมนิ สภาพแวดล้อม ภายใน คือระบบข้อมูลเพอื่ การบรหิ าร ท่ีครอบคลุมทุกดา้ น ท้ังในดา้ นโครงสร้าง ระบบ ระเบยี บ วธิ ีปฎบิ ัติงาน บรรยากาศในการท างานและทรัพยากรในการบริหาร (คน เงิน วสั ดุ การจัดการ) รวมถงึ การพิจารณาผลการด าเนนิ งานท่ีผา่ นมา ขององค์กรเพ่อื ทจ่ี ะเข้าใจสถานการณ์และผลกลยุทธก์ ่อนหนา้ นี้ดว้ ย - จดุ แขง็ ขององคก์ ร (S-Strengths) เปน็ การวเิ คราะหป์ ัจจัยภายในจากมุมมองของผู้ทอี่ ยภู่ ายในองค์กร นั้นเอง ว่าปัจจยั ใดภายใน องค์กรทีเ่ ป็นขอ้ ไดเ้ ปรยี บหรอื จดุ เด่นขององคก์ รท่ีองค์กรควรน ามาใชใ้ นการพฒั นา องค์กรได้ และควรด ารงไว้ เพ่อื การเสริมสรา้ งความเขม็ แขง็ ขององค์กร - จดุ อ่อนขององค์กร (W-Weanesses) เป็นการวเิ คราะห์ ปจั จยั ภายในจากมมุ มองของผู้ทีอ่ ยูภ่ ายในจาก มุมมอง ของผทู้ ่อี ยภู่ ายในองคก์ รนนั้ ๆ เองวา่ ปัจจยั ภายในองค์กรท่ี เปน็ จดุ ดอ้ ย ขอ้ เสียเปรียบขององคก์ รทคี่ วร ปรบั ปรงุ ใหด้ ีข้ึนหรือขจัดให้หมดไป อนั จะเปน็ ประโยชนต์ ่อองค์กร 2. การประเมินสภาพแวดล้อมภายนอก ภายใต้การประเมนิ สภาพแวดลอ้ มภายนอกองค์กรนัน้ สามารถคน้ หา โอกาสและอุปสรรคทางการด าเนนิ งาน ขององค์กรที่ได้รับผลกระทบจากสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกจิ ทงั้ ใน และระหวา่ งประเทศทเี่ กย่ี วกับการ ด าเนนิ งานขององค์กร เชน่ อตั ราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ นโยบาย

การเงิน การงบประมาณ สภาพแวดล้อม ทางสังคม เช่น ระดับการศึกษาและอัตราร้หู นังสอื ของประชาชน การ ตั้งถิ่นฐานและการอพยพของประชาชน ลกั ษณะชุมชน ขนบธรรมเนยี มประเพณี คา่ นิยม ความเช่อื และ วฒั นธรรม สภาพแวดล้อมทางการเมือง เชน่ พระราชบัญญตั ิ พระราชกฤษฎกี า มตคิ ณะรฐั มนตรี และ สภาพแวดลอ้ มทางเทคโนโลยี หมายถงึ กรรมวิธีใหม่ๆ และพฒั นาการทางด้านเคร่ืองมืออปุ กรณท์ จ่ี ะช่วยเพิม่ ประสทิ ธิภาพในการผลติ และให้บริการ - โอกาสทางสภาพแวดลอ้ ม (O-Opportunities) เปน็ การวเิ คราะห์ว่า ปจั จัยภายนอก องคก์ ร ปัจจัยใดที่สามารถส่งผลกระทบประโยชน์ ทัง้ ทางตรงและทางออ้ มตอ่ การด าเนนิ การ ขององค์กรใน ระดบั มหาภาค และองคก์ รสามารถฉกฉวยข้อดเี หล่าน้ีมาเสรมิ สร้างใหห้ น่วยงานเข็มแขง็ ขน้ึ ได้ - อปุ สรรคทางสภาพแวดลอ้ ม (T-Threats) เป็นการวิเคราะหว์ า่ ปัจจัยภายนอกองคก์ รปัจจยั ใดท่ีสามารถ ส่งผล กระทบในระดบั มหภาค ในทางท่ีจะกอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายทัง้ ทางตรง และทางอ้อม ซึง่ องคก์ ร จ าต้อง หลีกเล่ยี งหรือปรับสภาพองค์กรใหม้ ีความแข็งแกร่งพรอ้ มทีจ่ ะเผชญิ แรงกระทบดังกลา่ วได้ 3. ระบุสถานการณ์ จากการประเมนิ สภาพแวดล้อม เมือ่ ไดข้ อ้ มูลเกยี่ วกบั จุดแขง็ -จุดอ่อน โอกาส-อปุ สรรค จากการวิเคราะหป์ จั จยั ภายในและปจั จยั ภายนอกด้วย การประเมนิ สภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอกแล้ว ให้น า จุด แข็ง-จุดอ่อนภายในมา เปรียบเทียบกับ โอกาส-อุปสรรค จากภายนอกเพอ่ื ดวู ่าองค์กรก าลังเผชญิ สถานการณ์ เช่นใดและภายใต้ สถานการณเ์ ช่นนั้น องคก์ รควรจะท าอยา่ งไร โดยทั่วไปในการวเิ คราะห์ SWOT ดังกล่าวนี้ องคก์ รจะอยูใ่ น สถานการณ์ 4 รูปแบบดงั น้ี 3.1 สถานการณท์ ี่ 1 (จดุ แข็ง-โอกาส) สถานการณน์ ี้เป็น สถานการณ์ทีพ่ งึ่ ปรารถนา ทีส่ ดุ เนอ่ื งจากองค์กรคอ่ นขา้ งจะมีหลายอย่าง ดงั น้ัน ผู้บรหิ ารขององค์กรควรก าหนดกลยุทธใ์ นเชงิ รุก (Aggressive –Stratagy) เพอื่ ดงึ เอาจดุ แขง็ ที่มีอยมู่ าเสริมสรา้ งและปรบั ใชแ้ ละฉกฉวย โอกาสต่างๆ ท่เี ปดิ มาหาประโยชน์อย่างเต็มที่ 3.2 สถานการณ์ท่ี 2 (จดุ อ่อน-ภยั อุปสรรค) สถานการณน์ ี้เปน็ สถานการณ์ท่ีเลวร้าย ท่สี ดุ เนื่องจากองคก์ รก าลังเผชญิ อยู่กบั อุปสรรคจากภายนอกและมปี ญั หาจุดออ่ น ภายในหลายประการ ดังน้ัน ทางเลอื กที่ดที ี่สดุ คือกลยทุ ธ์การตงั้ รับหรอื ปอ้ งกนั ตวั (Defensive Strategy) เพอ่ื พยายามลดหรือหลบหลีกภยั อปุ สรรค ตา่ ง ๆ ท่ีคาดว่าจะเกดิ ข้นึ ตลอดจนหามาตรการทีจ่ ะท าใหอ้ งคก์ รเกดิ ความสูญเสียทน่ี อ้ ยทสี่ ดุ 3.3 สถานการณท์ ่ี 3 (จุดออ่ น-โอกาส) สถานการณ์องคก์ รมโี อกาสเปน็ ข้อได้เปรียบ ด้านการแขง่ ขนั อยหู่ ลาย ประการ แต่ตดิ ขดั อยู่ตรงทีม่ ปี ญั หาอุปสรรคทเ่ี ปน็ จดุ อ่อนอย่หู ลายอย่างเช่นกัน ดังนนั้ ทางออกคอื กลยทุ ธก์ าร พลกิ ตัว (Turnaround-oriented Strategy) เพื่อจดั หรือแก้ไขจุดออ่ นภายในต่าง ๆ ให้ พร้อมท่จี ะฉกฉวย โอกาสต่าง ๆ ทเี่ ปิดให้ 3.4 สถานการณ์ท่ี 4 (จุดแข็ง-อุปสรรค) สถานการณน์ เี้ กิดขึน้ จากการ ทส่ี ภาพแวดล้อมไม่เอ้อื อ านวยต่อการ ด าเนินงาน แตต่ ัวองค์กรมีขอ้ ได้เปรยี บทเ่ี ปน็ จุดแขง็ หลายประการ ดังนั้น แทนท่จี ะรอจนกระท่ัง สภาพแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไป กส็ ามารถท่ีจะเลือกกลยุทธ์การแตกตัวหรอื ขยาย ขอบข่ายกจิ การ (Diversification Strategy) เพ่ือใช้ประโยชนจ์ ากจดุ แข็งที่มีสร้างโอกาสในระยะยาวด้านอื่น ๆ แทน

ใบงานท่ี 3 จงตอบคาถามต่อไปน้ี 1. ทุนท่มี ีอยใู่ นชมุ ชนมหี ลายด้าน มอี ะไรบา้ ง ......................................................................................................................................... .............................................................. ......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......................................................................... ............................................................................................................................. ............................................ ....................................................................................................................................................................... ................. 2. จงอธบิ ายการวิเคราะห์โดยใช้ SWOT มาพอเขา้ ใจ ............................................................... ............................................................................................................................. ........... ........................................................................................................................ ................................................. ............................................................................................................................. .......................................................................... .................................................................................................................................... ..................................... ........................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................................... 3. การวางแผนมีความสาคญั อย่างไรบา้ ง ............................................................................................................................. .......................................................................... ............................................................................................................................. ............................................ ........................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................................... 4. หลักสาคญั ของการวางแผน มอี ะไรบ้าง ............................................................................................................................. ................................................................. ......... ............................................................................................................................. ............................................ ....................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................ ............................................................................................................................. ........................................................... ................................................................................................................................................................ ........................ 5. จงอธิบาย คาว่า การจัดการความเสย่ี งมาพอเขา้ ใจ

.................................................................................................................................................................................... ................... ................................................................................................................ ......................................................... 6. ปัจจยั ท่กี อ่ ใหเ้ กดิ ความเสี่ยง มีอะไรบ้าง ............................................................................................................................. .......................................................................... ............................................................................................................................. ............................................ ..................................................................................................................................................................... ................... 7. ประเภทของความเสย่ี ง มอี ะไรบ้าง ....................................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................ ............................................................................................................................. ........................................................... .............................................................................................................................................................. .......................... ........................................................................................................................................................................................

บนั ทึกหลงั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ คร้งั ท่ี ……… วันที่ …………. เดือน …………………………………..……….. พ.ศ. …………….. ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ จานวนนกั ศกึ ษา ทง้ั หมด....................คน ชาย................คน หญิง..................คน จานวนนักศกึ ษาที่เข้าเรียน ทงั้ หมด....................คน ชาย................คน หญงิ ..................คน จานวนนักศึกษาทขี่ าดเรยี น ท้ังหมด....................คน ชาย................คน หญงิ ..................คน ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................... สภาพการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ปัญหาทพี่ บและการแกไ้ ขปญั หา ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ การดาเนินการแก้ไข/พฒั นา ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ขอ้ เสนอแนะ/ความคิดเหน็ ผ้นู เิ ทศ ……………………………………………………………………………………………………………………………….……….………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… (ลงชอื่ ) ................................................... (ลงชือ่ ) ................................................... ผ้นู ิเทศ (........................................) (........................................) ………….. /….……… /…….…… ………….. /….……… /…….…… (ลงชอื่ ) ………………………………..…………............. ผอ.กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี (นายศกั ด์ิชัย นาคเอ่ยี ม) ………….. /….……… /…….……

บรรณานุกรม ทม่ี า : https://parichut.wordpress.com/category/พลเมอื งดี/ลักษณะจริยธรรม-คุณธรรม ทมี่ า : http://www.satit.up.ac.th/BBC07/AroundTheWorld/reli/1.htm ท่ีมา : https://sites.google.com/site/sinchai2125/d13-1 ท่ีมา : https://sites.google.com/site/wichapars71/karna-hlak-prachya-sersthkic-phx-pheiyng-ma-chi- ni-kar-darng-chiwit

คณะผู้จดั ทา แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ ตามรูปแบบ ONIE MODEL หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ภาคเรียนท่ี .......... ปกี ารศึกษา ................... ที่ปรึกษา ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี นายศักด์ชิ ัย นาคเอย่ี ม ครพู เ่ี ลีย้ ง จนั ทนะ ครชู านาญการ นางสาวชมพู คณะผจู้ ัดทา 1. ครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน กศน.อาเภอเมืองกาญจนบุรี 2. ครู กศน.ตาบล กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี 3. ครู ศรช. กศน.อาเภอเมอื งกาญจนบรุ ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook