Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้

ใบความรู้

Published by monta1891, 2018-03-28 05:20:37

Description: men

Search

Read the Text Version

พฒั นาการวยั รุ่นAdolescent Development วยั รุ่นเป็นวยั ท่ีมีการเปลีย่ นแปลงเกิดขนึ ้ หลายด้าน ทาให้ต้องมีการปรับตวั หลายด้านพร้อมๆกนั จงึ เป็นวยั ท่ีจะเกิดปัญหาได้มาก การปรับตวั ได้สาเร็จจะช่วยให้วยั รุ่นพฒั นาตนเองเกิดบคุ ลิกภาพทดี่ ี ซงึ่ จะเป็นพืน้ ฐานสาคญั ของการดาเนินชีวติ ตอ่ ไป การเรียนรู้พฒั นาการวยั รุ่นจึงมีประโยชน์ทงั้ ตอ่ การสง่ เสริมให้วยั รุ่นเติบโตเป็นผ้ใู หญ่ท่ีมีสขุ ภาพดีทงั้ ทางร่างกายจิตใจสงั คม และชว่ ยปอ้ งกนั ปัญหาตา่ งๆในวยั รุ่น เช่น ปัญหาทางเพศ หรือปัญหาการใช้สารเสพติดพฒั นาการของวยั รุ่น วยั รุ่น จะเกิดขนึ ้ เมื่อเดก็ ยา่ งอายปุ ระมาณ 12-13 ปี เพศหญิงจะเข้าสวู่ ยั รุ่นเร็วกวา่ เพศชายประมาณ 2 ปี และจะเกิดการพฒั นาไปจนถงึ อายปุ ระมาณ 18 ปี จึงจะเข้าสวู่ ยั ผ้ใู หญ่ โดยจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอยา่ งมากในพฒั นาการด้านตา่ งๆ ดงั นี ้1.พฒั นาการทางร่างกาย ( Physical Development ) ประกอบด้วยการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายทวั่ ไป และการเปลีย่ นแปลงทางเพศ เนื่องจากวยั นี ้มีการสร้างและหลงั่ ฮอร์โมนเพศ(sex hormones) และฮอร์โมนของการเจริญเตบิ โต(growth hormone)อยา่ งมากและรวดเร็ว การเปล่ียนแปลงทางร่างกาย (physical changes) ร่างกายจะเติบโตขนึ ้ อยา่ งรวดเร็ว แขนขาจะยาวขนึ ้ ก่อนจะเหน็การเปล่ยี นแปลงอื่นประมาณ 2 ปี เพศหญิงจะไขมนั มากกวา่ ชายท่ีมีกล้ามเนือ้ มากกวา่ ทาให้เพศชายแข็งแรงกวา่ การเปลย่ี นแปลงทางเพศ(sexual changes) สิง่ ที่เหน็ ได้ชดั เจน คือวยั รุ่นชายจะเป็นหนมุ่ ขนึ ้ นมขนึ ้ พาน(หวั นมโตขนึ ้เลก็ น้อย กดเจ็บ) เสยี งแตก หนวดเคราขนึ ้ และเริ่มมีฝันเปียก ( nocturnal ejaculation - การหลงั่ นา้ อสจุ ิในขณะหลบัและฝันเก่ียวกบั เรื่องทางเพศ) การเกิดฝันเปียกครัง้ แรกเป็นสญั ญานของการเข้าสวู่ ยั รุ่นของเพศชาย สว่ นวยั รุ่นหญิงจะเป็นสาวขนึ ้ คือ เต้านมมีขนาดโตขนึ ้ ไขมนั ท่ีเพิม่ ขนึ ้ จะทาให้รูปร่างมีทรวดทรง สะโพกผายออก และเริ่มมีประจาเดือนครัง้ แรก ( menarche) การมีประจาเดือนครัง้ แรก เป็นสญั ญานบอกการเข้าสวู่ ยั รุ่นในหญิง ทงั้ สองเพศจะมีการเปล่ียนแปลงของอวยั วะเพศ ซงึ่ จะมีขนาดโตขนึ ้ และเปลย่ี นเป็นแบบผ้ใู หญ่ มีขนขนึ ้ บริเวณอวยั วะเพศ มีกลิ่นตวั มีสิวขนึ ้2. พฒั นาการทางจิตใจ (Psychological Development)วยั นีส้ ติปัญญาจะพฒั นาสงู ขนึ ้ จนมีความคิดเป็นแบบรูปธรรม (Jean Piaget ใช้คาอธิบายวา่ FormalOperation ซง่ึ มีความหมายถงึ ความสามารถเรียนรู้ เข้าใจเหตกุ ารณ์ตา่ งๆ ได้ลกึ ซงึ ้ ขนึ ้ แบบ abstract thinking) มีความสามารถในการคิด วเิ คราะห์ และสงั เคราะห์ ส่งิ ต่างๆได้มากขนึ ้ ตามลาดบั จนเมื่อพ้นวยั รุ่นแล้ว จะมีความสามารถ

ทางสตปิ ัญญาได้เหมือนผ้ใู หญ่ แตใ่ นชว่ งระหวา่ งวยั รุ่นนี ้ ยงั อาจขาดความยงั้ คิด มีความหนุ หนั พลนั แลน่ ขาดการไตร่ตรองให้รอบคอบความคิดเก่ียวกบั ตนเอง (Self Awareness) วยั นีจ้ ะเริ่มมีความสามารถในการรับรู้ตนเอง ด้านตา่ งๆ ดงั นี ้เอกลกั ษณ์ (identity) วยั รุ่นจะเริ่มแสดงออกถงึ ส่งิ ตนเองชอบ สงิ่ ท่ีตนเองถนดั ซงึ่ จะแสดงถึงความเป็นตวั ตนของเขาท่ีโดดเดน่ ได้แก่ วิชาทเ่ี ขาชอบเรียน กีฬาที่ชอบเลน่ งานอดเิ รก การใช้เวลาวา่ งให้เกิดความเพลดิ เพลนิ กลมุ่ เพื่อนท่ีชอบและสนิทสนมด้วย โดยเขาจะเลอื กคบคนท่มี ีสว่ นคล้ายคลงึ กนั หรือเข้ากนั ได้ และจะเกิดการเรียนรู้และถ่ายทอดแบบอยา่ งจากกลมุ่ เพื่อนนีเ้อง ทงั้ แนวคดิ คา่ นิยม ระบบจริยธรรม การแสดงออกและการแก้ปัญหาในชีวิต จนสงิ่ เหลา่ นี ้กลายเป็นเอกลกั ษณ์ของตน และกลายเป็นบคุ ลกิ ภาพนน่ั เอง สงิ่ ที่แสดงถึงเอกลกั ษณ์ตนเองยงั มีอีกหลายด้าน ได้แก่ เอกลกั ษณ์ทางเพศ(sexual identity and sexual orientation) แฟชน่ั ดารา นกั ร้อง การแตง่กาย ทางความเช่ือในศาสนา อาชีพ คติประจาใจ เปา้ หมายในการดาเนินชีวิต ( Erik Erikson อธิบายวา่ วยั รุ่นจะเกิดเอกลกั ษณ์ของตนในวยั นี ้ ถ้าไมเ่ กิดจะมีความสบั สนในตนเอง Identity VS Role confusion )ภาพลกั ษณ์ของตนเอง (self image) คือการมองภาพของตนเอง ในด้านตา่ งๆ ได้แก่ หน้าตา รูปร่าง ความสวยความหลอ่ ความพิการ ข้อดีข้อด้อยทางร่างกายของตนเอง วยั รุ่นจะสนใจหรือ ให้เวลาเก่ียวกบั รูปร่าง ผวิ พรรณมากกวา่ วยัอ่ืนๆ ถ้าตวั มีข้อด้อยกวา่ คนอื่นก็จะเกิดความอบั อายการได้รับการยอมรับจากผ้อู ื่น (acceptance) วยั นีต้ ้องการการยอมรับจากกลมุ่ เพ่ือนอยา่ งมาก การได้รับการยอมรับจะชว่ ยให้เกิดความรู้สกึ มน่ั คง ปลอดภยั เหน็ คณุ คา่ ของตนเอง มนั่ ใจตนเอง วยั นีจ้ งึ มกั อยากเดน่ อยากดงั อยากให้มีคนรู้จกั มากๆความภาคภมู ใิ จตนเอง (self esteem) เกิดจากการที่ตนเองเป็นที่ยอมรับของเพ่ือนและคนอื่นๆได้ รู้สกึ วา่ ตนเองมีคณุ คา่ เป็นคนดีและมีประโยชน์แก่ผ้อู ่ืนได้ ทาอะไรได้สาเร็จความเป็นตวั ของตวั เอง (independent) วยั นีจ้ ะรักอสิ ระ เสรีภาพ ไมค่ อ่ ยชอบอยใู่ นกฎเกณฑ์กติกาใดๆ ชอบคดิเอง ทาเอง พงึ่ ตวั เอง เชื่อความคิดตนเอง มีปฏิกริ ิยาตอบโต้ผ้ใู หญ่ที่บีบบงั คบั สงู ความอยากรู้อยากเหน็ อยากลองจะมีสงู สดุ ในวยั นี ้ ทาให้อาจเกิดพฤติกรรมเส่ยี งได้งา่ ยถ้าวยั รุ่นขาดการยงั้ คิดที่ดี การได้ทาอะไรด้วยตนเอง และทาได้สาเร็จจะช่วยให้วยั รุ่นมีความมนั่ ใจในตนเอง (self confidence)การควบคมุ ตนเอง (self control) วยั นีจ้ ะเรียนรู้ท่ีจะควบคมุ ความคิด การรู้จกั ยงั ้ คิด การคิดให้เป็นระบบ เพ่ือให้สามารถใช้ความคิดได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และ อยรู่ ่วมกบั ผ้อู ื่นได้อารมณ์ (mood) อารมณ์จะปั่นป่วน เปลย่ี นแปลงงา่ ย หงดุ หงิดง่าย เครียดง่าย โกรธง่าย อาจเกิดอารมณ์ซมึ เศร้าโดยไมม่ ีสาเหตไุ ด้งา่ ย อารมณ์ท่ีไมด่ ีเหลา่ นีอ้ าจทาให้เกิดพฤตกิ รรมเกเร ก้าวร้าว มีผลตอ่ การเรียนและการดาเนิน

ชีวิต ในวยั รุ่นตอนต้น การควบคมุ อารมณ์ยงั ไม่คอ่ ยดีนกั บางครัง้ ยงั ทาอะไรตามอารมณ์ตวั เองอยบู่ ้าง แตจ่ ะคอ่ ยๆดีขนึ ้เม่ืออายมุ ากขนึ ้ อารมณ์เพศวยั นีจ้ ะมีมาก ทาให้มีความสนใจเร่ืองทางเพศ หรือมีพฤติกรรมทางเพศ เชน่ การสาเร็จความใคร่ด้วยตนเอง ซงึ่ ถือวา่ เป็นเรื่องปกตใิ นวยั นี ้ แตพ่ ฤติกรรมบางอยา่ งอาจเป็นปัญหา เช่น เบ่ียงเบนทางเพศ กามวิปริต หรือการมีเพศสมั พนั ธ์ในวยั รุ่นจริยธรรม (moral development) วยั นีจ้ ะมีความคดิ เชิงอดุ มคตสิ งู (idealism) เพราะเขาจะแยกแยะความผดิ ชอบชว่ั ดีได้แล้ว มีระบบมโนธรรมของตนเอง ต้องการให้เกิดความถกู ต้อง ความชอบธรรมในสงั คม ชอบช่วยเหลอืผ้อู ื่น ต้องการเป็นคนดี เป็นท่ีช่ืนชอบของคนอน่ื และจะรู้สกึ อดึ อดั คบั ข้องใจกบั ความไมถ่ กู ต้องในสงั คม หรือในบ้าน แม้แตพ่ อ่ แมข่ องตนเองเขากเ็ ริ่มรู้สกึ วา่ ไม่ได้ดีสมบรู ณ์แบบเหมือนเมื่อกอ่ นอีกตอ่ ไปแล้ว บางครัง้ เขาจะแสดงออก วพิ ากษ์วิจารณ์พอ่ แมห่ รือ ครูอาจารย์ตรงๆอยา่ งรุนแรง การตอ่ ต้าน ประท้วงจงึ เกิดได้บอ่ ยในวยั นีเ้มื่อวยั รุ่นเหน็ การกระทาท่ีไมถ่ กู ต้อง หรือมีการเอาเปรียบ เบียดเบียน ความไมเ่ สมอภาคกนั ในวยั รุ่นตอนต้นการควบคมุ ตนเองอาจยงั ไมด่ ีนกั แตเ่ ม่ือพ้นวยั รุ่นนีไ้ ป การควบคมุ ตนเองจะดีขนึ ้ จนเป็นระบบจริยธรรมท่ีสมบรู ณ์เหมือนผ้ใู หญ่3.พฒั นาการทางสงั คม (Social Development)วยั นีจ้ ะเร่ิมหา่ งจากทางบ้าน ไมค่ อ่ ยสนิทสนมคลกุ คลีกบั พอ่ แม่พี่น้องเหมือนเดิม แตจ่ ะสนใจเพ่ือนมากกวา่ จะใช้เวลากบั เพื่อนนานๆ มีกิจกรรมนอกบ้านมาก ไมอ่ ยากไปไหนกบั ทางบ้าน เร่ิมมีความสนใจเพศตรงข้าม สนใจสงั คมสิ่งแวดล้อม ปรับตวั เองให้เข้ากบั กฎเกณฑ์กติกาของกลมุ่ ของสงั คมได้ดีขนึ ้ มีความสามารถในทกั ษะสงั คม การสือ่ สารเจรจา การแก้ปัญหา การประนีประนอม การยืดหยนุ่ โอนออ่ นผ่อนตามกนั และการทางานร่วมกบั ผ้อู ่ืน พฒั นาการทางสงั คมท่ีดีจะเป็นพืน้ ฐานมนษุ ยสมั พนั ธ์ที่ดี และบคุ ลิกภาพที่ดี การเรียนรู้สงั คมจะชว่ ยให้ตนเองหาแนวทางการดาเนินชีวิตท่ีเหมาะกบั ตนเอง เลอื กวชิ าชีพที่เหมาะกบั ตน และมีสงั คมสิ่งแวดล้อมที่ดีตอ่ ตนเองในอนาคตตอ่ ไป เปา้ หมายของการพฒั นาวยั รุ่น1. ร่างกายที่แข็งแรง ปราศจากความบกพร่องทางกาย มีความสมบรู ณ์ มีภมู ิต้านทานโรคและปราศจากภาวะเส่ียงตอ่ปัญหาทางกายตา่ งๆ2. เอกลกั ษณ์แหง่ ตนเองดี· บคุ ลกิ ภาพดี มีทกั ษะสว่ นตวั และทกั ษะสงั คมดี· เอกลกั ษณ์ทางเพศเหมาะสม· การเรียนและอาชีพ ได้ตามศกั ยภาพของตน ตามความชอบความถนดั และความเป็นไปได้ ทาให้มีความพอใจตอ่ตนเอง

· การดาเนินชีวิต สอดคล้องกบั ความชอบความถนดั มีการผ่อนคลาย กีฬา งานอดิเรก มีความสขุ ได้โดยไม่เบียดเบียนคนอ่ืน มีการชว่ ยเหลือคนอื่นและสงิ่ แวดล้อม· มีมโนธรรมดี เป็นคนดี3. มีการบริหารตนเองได้ดี สามารถบริหารจดั การตนเอง โดยไมต่ ้องพง่ึ พาผ้อู ื่น4. มีความรับผิดชอบ มีความรับผดิ ชอบทงั้ ตอ่ ตนเอง ตอ่ ผ้อู ่ืน ตอ่ ประเทศชาติ และตอ่ สงิ่ แวดล้อมได้ดี5. มีมนษุ ยสมั พนั ธ์กบั คนอื่นได้ดีปัญหาพฤตกิ รรมในวยั รุ่น ปัญหาทพี่ บได้บอ่ ยในวยั รุ่น มีดงั นี ้ปัญหาความสมั พนั ธ์กบั พอ่ แม่ วยั นีจ้ ะแสดงพฤตกิ รรมท่ีแสดงความเป็นตวั ของตวั เองคอ่ นข้างมาก การพดู จาไม่คอ่ ยเรียบร้อย อารมณ์แปรปรวนเปลี่ยนแปลงงา่ ย ความรับผิดชอบขนึ ้ ๆลงๆ เอาแตใ่ จตวั เอง ทาให้พอ่ แม่ ผ้ปู กครอง หรือครูอาจารย์หงดุ หงิดไมพ่ อใจได้มากๆ ถ้าใช้วิธีการจดั การไมถ่ กู ต้อง เชน่ ใช้วิธีดดุ า่ วา่ กลา่ ว ตาหนิ หรือลงโทษรุนแรง จะเกิดปฏิกิริยาตอ่ ต้าน เป็นอารมณ์ตอ่ กนั ไมไ่ ด้ช่วยเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมวยั รุ่นวิธีการจดั การกบั ปัญหาพฤตกิ รรมเหลา่ นี ้ เริ่มต้นจากการทาความเข้าใจความต้องการของวยั รุ่น มีการตอบสนองโดยประนีประนอมยืดหยนุ่ แตก่ ็ยงั คงมีขอบเขตพอสมควร พยายามจงู ใจให้ร่วมมือมากกวา่ การบงั คบั กนั ตรงๆหรือรุนแรง สร้างความสมั พนั ธ์ที่ดีไว้กอ่ น อยา่ หงดุ หงิดกบั พฤติกรรมเลก็ ๆน้อยๆปัญหาการใช้สารเสพติด (substance use disorders) ตามธรรมชาตขิ องวยั รุ่นจะมีความอยากรู้อยากเหน็ อยากลองมาก ถ้าขาดการยบั ยงั้ ชงั่ ใจด้วย การท่ีอยใู่ นกล่มุ ที่ใช้สารเสพติด หรือเพื่อนใช้สารเสพติด จะมีการชกั ชวนให้ใช้ร่วมกนั บางคนไมก่ ล้าปฏิเสธเพ่ือน บางคนใช้เพ่ือให้เหมือนเพื่อนๆ เม่ือลองแล้วเกิดความพอใจกจ็ ะตดิ ได้งา่ ยปัญหาทางเพศ(Sexual Problems)พฤติกรรมรักร่วมเพศ (homosexualism) เป็นพฤตกิ รรมที่จะทาให้เกิดปญหาตามมาได้มาก คนท่ีเป็นรักร่วมเพศมกั จะเจอปัญหาในการดาเนินชีวติ ได้มากกวา่ คนทวั่ ไป ในบางสงั คมมีการต่อต้านพฤติกรรมรักร่วมเพศ มีการรังเกียจ ล้อเลียน ไมย่ อมรับ บางประเทศมีกฎหมายลงโทษการมีเพศสมั พนั ธ์ระหวา่ งเพศเดียวกนั เองรักร่วมเพศ คือพฤติกรรมที่พงึ พอใจทางเพศกบั เพศเดียวกนั อาจมีการแสดงออกภายนอกให้เหน็ ชดั เจนหรือไม่กไ็ ด้

การรักษาผ้ทู ี่เป็นรักร่วมเพศ มกั ไมไ่ ด้ผล เนื่องจากผ้ทู ี่เป็นรักร่วมเพศมกั จะพอใจในลกั ษณะแบบนีอ้ ยแู่ ล้ว การชว่ ยเหลอืทาได้โดยการให้คาปรึกษาผ้ทู ่ีเป็นพอ่ แม่ และผ้ปู ่วย เพื่อให้ปรับตวั ได้ ไมร่ ังเกียจลกู ท่ีเป็นแบบนี ้ และผ้ปู ่วยแสดงออกเหมาะสม ไมม่ ากเกินไปจนมกี ารรังเกียจตอ่ ต้านจากคนใกล้ชิดการปอ้ งกนั ภาวะรักร่วมเพศ ทาได้โดยการสง่ เสริมความสมั พนั ธ์ระหวา่ งพอ่ แมเ่ พศเดียวกบั เดก็ เพื่อให้มีการถ่ายทอดแบบอยา่ งทางเพศจากพอ่ หรือแมเ่ พศเดียวกบั เด็กการสาเร็จความใคร่ด้วยตนเอง (masturbation) ในวยั รุ่นการสาเร็จความใคร่ด้วยตนเองเป็นพฤตกิ รรมปกติ ไมม่ ีอนั ตราย ไมม่ ีผลเสยี ตอ่ ร่างกายหรือจิตใจ การทาไมค่ วรหมกมนุ่ มากจนเป็นปัญหาตอ่ การใช้เวลาที่ควรทา หรือทาให้ขาดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์อ่ืนๆการมีเพศสมั พนั ธ์ในวยั รุ่น (sexual relationship) มกั เกิดจากวยั รุ่นที่ขาดการยบั ยงั ้ ชงั่ ใจ หรือมีปัญหาทางอารมณ์ และใช้เพศสมั พนั ธ์เป็นการทดแทน เพศสมั พนั ธ์ในวยั รุ่นมกั ไมไ่ ด้ยงั้ คิดให้รอบคอบ ขาดการไตร่ตรอง ทาตามอารมณ์เพศ หรืออยภู่ ายใต้ฤทธ์ิของสารเสพติด ทาให้เกิดปัญหาการติดโรคติดตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ การตงั้ ครรภ์ การทาแท้ง การเลยี ้ งลกู ท่ีไมถ่ กู ต้อง ปัญหาครอบครัว และกลายเป็นปัญหาสงั คมในท่ีสดุปัญหาบคุ ลกิ ภาพ (personality problems) วยั รุ่นจะเป็นวยั ที่มีพฒั นาการของบคุ ลิกภาพอยา่ งชดั เจน ทงั ้ นิสยั ใจคอ การคิด การกระทา จะเป็นรูปแบบที่สม่าเสมอ จนสามารถคาดการณ์ได้วา่ ในเหตกุ ารณ์แบบนี ้ เขาจะแสดงออกอยา่ งไร ถ้าการเรียนรู้ท่ีผ่านมาดี วยั รุ่นจะมีบคุ ลิกภาพดีด้วย แตใ่ นทางตรงข้าม ถ้ามีปัญหาในชีวิต หรือเรียนรู้แบบผิดๆ จะกลายเป็นบคุ ลกิ ภาพที่เป็นปัญหา ปรับตวั เข้ากบั คนอ่ืนได้น้อย เอาตวั เองเป็นศนู ย์กลาง และจะตดิ ตวั ไปตลอดชีวติ ถ้าเป็นปัญหามากๆเรียกวา่ บคุ ลิกภาพผดิ ปกติ(personality disorders)ความประพฤติผิดปกติ (conduct disorder) คือ โรคที่มีปัญหาพฤตกิ รรมกลมุ่ ที่ทาให้ผ้อู ื่นเดือดร้อน โดยตนเองพอใจ ได้แก่ การละเมิดสทิ ธิผ้อู ื่น การขโมย ฉ้อโกง ตีชิงวง่ิ ราว ทาร้ายผ้อู ื่น ทาลายข้าวของ เกเร หรือละเมิดกฎเกณฑ์ของหมคู่ ณะหรือสงั คม การหนีเรียน ไมก่ ลบั บ้าน หนีเที่ยว โกหก หลอกลวง ลว่ งเกินทางเพศ การใช้สารเสพตดิ อาการดงั กลา่ วนีม้ กั จะเกิดขนึ ้ ตอ่ เนื่องมานานพอสมควร สมั พนั ธ์กนั ปัญหาในครอบครัว การเลยี ้ งดู ปัญหาอารมณ์ การรักษาควรรีบทาทนั ที เพราะการปลอ่ ยไว้นาน จะยง่ิ เรือ้ รังรักษายาก และกลายเป็นบคุ ลิกภาพแบบอนั ธพาล(antisocial personality disorder)การปอ้ งกนั ปัญหาวยั รุ่น1. การเลยี ้ งดอู ยา่ งถกู ต้อง ให้ความรักความอบอนุ่2. การฝึกให้รู้จกั ระเบียบวนิ ยั การควบคมุ ตวั เอง

3. การฝึกทกั ษะชีวิต ให้แก้ไขปัญหาได้ถกู ต้อง มีทกั ษะในการปฏเิ สธสง่ิ ท่ีไมถ่ กู ต้อง4. การสอนให้เดก็ รู้จกั คบเพ่ือน ทกั ษะสงั คมดี5. การฝึกให้เด็กมีเอกลกั ษณ์เป็นของตนเอง http://www.psyclin.co.th/new_page_56.htm รา่ งกาย อารมณ์ สงั คม และจติ ใจ พัฒนาการของวยั รนุ่ จะแบง่ เป็ น 3 ชว่ ง คอื วยั แรกรนุ่ (10-13ปี) วยั รนุ่ ตอนกลาง (14-16 ปี ) และวยั รนุ่ตอนปลาย (17-19 ปี) ทงั้ นเี้ พอ่ื จะชใ้ี หเ้ ห็นถงึ ลกั ษณะทเ่ี ดน่ เป็ นพเิ ศษของวยั รนุ่ แตล่ ะชว่ ง ซง่ึ มคี วามแตกตา่ งกนัอยา่ งชดั เจนในดา้ นความรสู ้ กึ นกึ คดิ และความสมั พันธก์ บั บดิ ามารดาโดยแบง่ ดงั น้ี 1. วยั แรกรนุ่ (10-13ปี) เป็ นชว่ งทมี่ กี ารเปลยี่ นแปลงทางรา่ งกายทกุ ระบบ โดยจะมคี วามคดิ หมกมนุ่ กงั วล เกยี่ วกบั การเปลย่ี นแปลงทางรา่ งกาย ซงึ่ จะสง่ ผลกระทบไปยงั จติ ใจ ทาใหอ้ ารมณห์ งดุ หงดิ และ แปรปรวนงา่ ย 2. วยั รนุ่ ตอนกลาง(14-16 ปี ) เป็ นชว่ งทว่ี ยั รนุ่ จะยอมรับสภาพรา่ งกายทมี่ กี ารเปลย่ี นแปลงเป็ นหนุ่มเป็ น สาวไดแ้ ลว้ มคี วามคดิ ทล่ี กึ ซง้ึ (abstract) จงึ หนั มาใฝ่ หาอดุ มการณแ์ ละหาเอกลกั ษณ์ของตนเอง เพอื่ ความเป็ นตวั ของตวั เอง และพยายามเอาชนะความรสู ้ กึ แบบเด็กๆ ทผี่ กู พนั และอยากจะพง่ึ พาพอ่ แม่ 3. วยั รนุ่ ตอนปลาย(17-19 ปี) เป็ นเวลาของการฝึกฝนอาชพี ตดั สนิ ใจทจ่ี ะเลอื กอาชพี ทเี่ หมาะสม และ เป็ นชว่ งเวลาทจี่ ะมคี วามผกู พนั แน่นแฟ้น (intimacy) กบั เพอ่ื นตา่ งเพศ สภาพทางรา่ งกายเปลยี่ นแปลง เตบิ โตโดยสมบรู ณ์เต็มท่ี และบรรลนุ ติ ภิ าวะในเชงิ กฎหมาย การเปลย่ี นแปลงในวยั รนุ่ มี 3 ทางใหญๆ่ คอื 1. การเปลย่ี นแปลงทางรา่ งกาย

2. การเปลยี่ นแปลงทางอารมณ์ สงั คม 3. การเปลยี่ นแปลงทางจติ ใจ ลกั ษณะทว่ั ไปของวยั รนุ่ การทเ่ี ด็กผชู ้ ายผหู ้ ญงิ เตบิ โตเขา้ สวู่ ยั รนุ่ เร็วชา้ ตา่ งกนั โดยทเี่ ดก็ ผหู ้ ญงิ จะเขา้ สกู่ ารเปลยี่ นแปลงทางรา่ ง กายกอ่ นเด็กผชู ้ ายประมาณ 2 ปี ซง่ึ จะทาใหใ้ นชนั้ ประถมตอนปลาย หรอื ชนั้ มัธยมตน้ จะพบวา่ วยั รนุ่ หญงิ จะมรี า่ งกายสงู ใหญ่ เป็ นสาวนอ้ ยแรกรนุ่ ในขณะทพ่ี วกเด็กผชู ้ ายยงั ดเู ป็ นเด็กชายตวั เล็กๆ ทาให ้ทัง้ สองฝ่ ายเกดิ ความสบั สนและวติ กกงั วลได ้ เด็กผหู ้ ญงิ อาจกงั วลวา่ ตนเองไมห่ ยดุ สงู เสยี ที ในขณะทเ่ี ด็กผชู ้ ายก็เกดิ ความกงั วลวา่ ทาไมตวั เองจงึ ไมส่ งู ใหญ่ การเปลยี่ นแปลงทางรา่ งกาย 1. ขนาดและความสงู : ในวยั เด็กทัง้ เด็กผหู ้ ญงิ และเด็กผชู ้ ายจะมคี วามกวา้ งของไหลแ่ ละสะโพกใกล ้ เคยี งกนั แตเ่ มอื่ เขา้ สวู่ ยั รนุ่ ผชู ้ ายจะมอี ตั ราเร็วในการเจรญิ เตบิ โตของไหลม่ ากทส่ี ดุ ทาใหว้ ยั รนุ่ ผชู ้ ายจะมไี หลก่ วา้ งกวา่ ในขณะทว่ี ยั รนุ่ ผหู ้ ญงิ มอี ตั ราการเจรญิ เตบิ โตของสะโพกมาก กว่าผชู ้ าย นอกจากนกี้ ารทว่ี ยั นมี้ ีการเจรญิ เตบิ โตสงู ใหญไ่ ดร้ วดเร็ว โดยเฉพาะท่ี คอ แขน ขา มากกวา่ ทลี่ าตวั จะทาใหว้ ยั รนุ่ รสู ้ กึ วา่ ตวั เองมรี ปู รา่ งเกง้ กา้ งน่าราคาญ และการเจรญิ เตบิ โตหรอื การขยายขนาดของรา่ งกายในแตล่ ะสว่ น อาจเกดิ ขนึ้ ไมพ่ รอ้ มกนัหรอื ไมเ่ ป็ นไปตามขนั้ ตอน เชน่ รา่ งกายซกี ซา้ ยและซกี ขวาเจรญิ เตบิ โตมขี นาดไมเ่ ทา่ กนั ในระยะแรกๆ ซงึ่ เป็ นเหตุทาใหเ้ ด็กตกอยใู่ นความวติ กกงั วลสงู ได ้ จงึ ควรใหค้ วามมน่ั ใจกบั วยั น้ี 2. ไขมนั และกลา้ มเนอ้ื : เด็กผชู ้ ายและเดก็ ผหู ้ ญงิ มคี วามหนาของไขมนั ทสี่ ะสมอยใู่ ตผ้ วิ หนังใกลเ้ คยี งกนั จนกระท่งั อายปุ ระมาณ 8 ปี จะเรม่ิ มกี ารเจรญิ เตบิ โตอยา่ งรวดเร็ว วยั รนุ่ ชายจะมกี าลงั ของกลา้ มเนอื้ มากกวา่วยั รนุ่ ผหู ้ ญงิ พละกาลงั ของกลา้ มเนอ้ื จะแขง็ แรงขนึ้ หลงั จากนัน้ วยั รนุ่ ชายจะมไี ขมันใตผ้ วิ หนังบางลง พรอ้ มๆกบั มีกลา้ มเนอ้ื เพม่ิ มากขน้ึ และแขง็ แรงขน้ึ ซงึ่ จะทาใหว้ ยั รนุ่ ชายดผู อมลงโดยเฉพาะทข่ี า น่อง และแขน สาหรับวยั รนุ่หญงิ ถงึ แมว้ า่ จะมกี ารเพมิ่ ขนึ้ ของกลา้ มเนอื้ แตข่ ณะเดยี วกนั จะมกี ารสะสมของไขมันใตผ้ วิ หนังเพมิ่ ขน้ึ อกี โดยท่ีน้าหนักจะเพม่ิ ไดถ้ งึ รอ้ ยละ 25 ของน้าหนัก โดยเฉพาะไขมนั ทสี่ ะสมทเ่ี ตา้ นมและสะโพก ประมาณรอ้ ยละ 50 ของวยั รนุ่ หญงิ จะรสู ้ กึ ไมพ่ อใจในรปู ลกั ษณข์ องตน และมักคดิ วา่ ตวั เอง \"อว้ น\" เกนิ ไป มวี ยั รนุ่ หลายคนทพี่ ยายามลดน้าหนัก จนถงึ ขนั้ ทมี่ รี ปู รา่ งผอมแหง้ 3. โครงสรา้ งใบหนา้ ชว่ งนกี้ ระดกู ของจมกู จะโตขนึ้ ทาใหด้ งั้ จมกู เป็ นสนั ขน้ึ กระดกู ขากรรไกลบนและ ขากรรไกรลา่ งเตบิ โตเร็วมากในระยะนี้ เชน่ เดยี วกบั กลอ่ งเสยี ง ลาคอ และกระดกู อยั ลอยด์ และพบวา่ในวยั รนุ่ ชายจะเจรญิ เตบิ โตเร็วกวา่ วยั รนุ่ หญงิ ชดั เจน เป็ นเหตใุ หว้ ยั รนุ่ ชายเสยี งแตก 4. การเปลยี่ นแปลงของระดบั ฮอรโ์ มน ทัง้ ฮอรโ์ มนการเตบิ โต (growth hormone) และฮอรโ์ มนจากตอ่ มธยั รอยดม์ อี ทิ ธพิ ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โต รวมทัง้ ฮอรโ์ มนทางเพศ นอกจากระดบั ฮอรโ์ มนจะมผี ลโดยตรงตอ่ การ

เจรญิ เตบิ โตทางรา่ งกาย และอวยั วะเพศในวยั รนุ่ แลว้ ตวั ของมนั เองยังสง่ ผลถงึ ความรสู ้ กึ ทางอารมณแ์ ละจติ ใจปฏกิ ริ ยิ าการเรยี นรู ้ ฯลฯ ในวยั รนุ่ อกี ดว้ ย วยั รนุ่ ทจ่ี ะผา่ นชว่ งวกิ ฤตนไ้ี ด ้ นอกจากจะตอ้ งปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั สภาพรา่ งกายทเ่ี ปลยี่ นไปแลว้ ยงั ตอ้ งเขา้ ใจและควบคมุ อารมณค์ วามรสู ้ กึ ทพ่ี ลงุ่ พลา่ นขนึ้ จากการเปลยี่ นแปลงของระดบัฮอรโ์ มนตา่ งๆ อกี ดว้ ยโดยเฉพาะตอ่ มไขมันใตผ้ วิ หนัง และตอ่ มเหงอ่ื จะทาหนา้ ทเี่ พม่ิ มากขนึ้ เป็ นสาเหตทุ าใหเ้ กดิปัญหาเรอื่ ง \"สวิ \" และ \"กลน่ิ ตวั \" แตเ่ นอื่ งจากวยั นจ้ี ะใหค้ วามสนใจเกย่ี วกบั รา่ งกายทม่ี กี ารเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเร็ว และมคี วามระแวดระวงั ตวั เองมาก จงึ ทาใหว้ ยั รนุ่ พยายามทจี่ ะรักษา \"สวิ \" อยา่ งเอาเป็ นเอาตาย ทงั้ ๆท่ี \"สวิ \"จะเป็ นปัญหาในชว่ งวยั นแ้ี คร่ ะยะสนั้ ๆ เทา่ นัน้ 5. การเปลย่ี นแปลงของอวยั วะเพศ วยั รนุ่ หญงิ มกี ารเจรญิ เตบิ โตอยา่ งรวดเร็วในชว่ งระยะ 1 ปี กอ่ นท่ีจะมปี ระจาเดอื น โดยเฉพาะการเจรญิ เตบิ โตของเตา้ นม ซงึ่ เรม่ิ มกี ารขยายในขนาดเมอ่ื อายปุ ระมาณ 8-13ปี และจะใชเ้ วลา 2-2 ปีครงึ่ จงึ จะเจรญิ เตบิ โตเต็มที่ ในชว่ งอายุ 11-13 ปี วยั รนุ่ หญงิ สว่ นใหญ่ (รอ้ ยละ 80) จะมรี ปู รา่ งเป็ นสาวเต็มตวั ดงั นัน้ ในชนั้ ประถมตอนปลายหรอื มัธยมตน้ จะเห็นวา่ วยั รนุ่ สาวจะมรี ปู รา่ งสงู ใหญเ่ ป็ นสาวนอ้ ยแรกรนุ่ในขณะทพี่ วกผชู ้ ายยงั ดเู ป็ นเด็กชายตวั เล็กๆ ทงั้ ๆ ทเี่ ด็กผหู ้ ญงิ เคยตวั เล็กกวา่ เด็กผชู ้ ายมาตลอด ทาใหเ้ ด็กสบั สนและเป็ นกงั วลกบั สภาพรา่ งกายได ้ การมรี อบเดอื นครัง้ แรก จะมเี มอ่ื อายปุ ระมาณ 12-13 ปี การทมี่ ปี ระจาเดอื นแสดงใหเ้ ห็นวา่ มดลกู และชอ่ งคลอดไดเ้ จรญิ เตบิ โตเต็มท่ี แตใ่ นระยะ 1-2 ปี แรกของการมปี ระจาเดอื น มักจะเป็ นการมปี ระจาเดอื นโดยไมม่ ไี ขต่ กรอบเดอื นในชว่ งปีแรกจะมาไมส่ ม่าเสมอ หรอื ขาดหายไปได ้ และเมอ่ื มปี ระจาเดอื นแลว้ พบวา่ เด็กผหู ้ ญงิ ยังสงูตอ่ ไปอกี เล็กนอ้ ยไปไดอ้ กี ระยะหนงึ่ และจะเตบิ โตเต็มทเี่ มอ่ื ประมาณอายุ 15-17 ปี การมรี อบเดอื นครัง้ แรกอาจทาใหร้ สู ้ กึ พอใจและภมู ใิ จทเี่ ป็ นผหู ้ ญงิ เต็มตวั หรอื อาจจะรสู ้ กึ ในทางลบ คอื หวน่ั ไหว หวาดหวนั่ หรอื ตกใจไดเ้ ชน่ กนัโดยทัว่ ไปการมรี อบเดอื นครัง้ แรกจะเพมิ่ ความใกลช้ ดิ ระหวา่ งวยั รนุ่ หญงิ กบั มารดาถา้ เคยไวว้ างใจกนั มากอ่ น แต่วยั รนุ่ หญงิ บางคนจะปกปิดไมก่ ลา้ บอกใคร เพราะเขา้ ใจไปวา่ อวยั วะเพศฉีกขาด หรอื เป็ นแผลจากการสารวจตวั ของวยั รนุ่ เอง ในชว่ งนวี้ ยั รนุ่ จะกงั วลหมกมนุ่ กบั รปู รา่ งหนา้ ตา และมกั ใชเ้ วลาอยหู่ นา้ กระจกนานๆ เพอ่ื สารวจรปู รา่ งสว่ นเวา้ สว่ นโคง้ หรอื ใชก้ ระจกสง่ ดบู รเิ วณอวยั วะเพศดว้ ยความอยากรู ้ อยากเห็น ซงึ่ ก็ไมใ่ ชพ่ ฤตกิ รรมทผี่ ดิ ปกตแิ ต่อยา่ งใด สาหรับวยั รนุ่ ชาย ซงึ่ จะเรม่ิ มกี ารเจรญิ เตบิ โตของลกู อณั ฑะ เมอื่ เขา้ สชู่ ว่ งอายุ 10-13 ปี ครงึ่ และจะใช ้เวลานาน 2 - 4 ปี กวา่ ทจี่ ะเตบิ โตและทางานไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ ในขณะทรี่ ปู รา่ งภายนอกจะมกี ารเจรญิ เตบิ โตเปลย่ี นแปลงชา้ กวา่ วยั รนุ่ หญงิ ประมาณ 2 ปี คอื ประมาณอายุ 12-14 ปี ในขณะทเี่ พอ่ื นผหู ้ ญงิ ทเ่ี คยตวั เล็กกวา่กลบั เจรญิ เตบิ โตแซงหนา้ ทาใหว้ ยั รนุ่ ชายมคี วามวติ กกงั วลเกย่ี วกบั รปู รา่ ง ความสงู ไดม้ าก เมอื่ เตบิ โตเขา้ สวู่ ยั รนุ่ตอนกลางชว่ งวยั 14-16 ปี ลกู อณั ฑะเจรญิ เตบิ โตและทางานไดเ้ ต็มทจี่ งึ สามารถพบภาวะฝันเปียกได ้ บางคนเขา้ ใจผดิ คดิ วา่ ฝันเปียกเกดิ จากการสารวจความใครด่ ว้ ยตวั เอง หรอื เป็ นความผดิ อยา่ งแรง หรอื ทาใหส้ ภาพจติ ผดิ ปกติ

หรอื บางรายวติ กกงั วลไปกบั จนิ ตนาการหรอื ความฝัน เพราะบางครัง้ จะเป็ นความคดิ ความฝันเกย่ี วขอ้ งกบั คนในเพศเดยี วกนั ซง่ึ ก็ไมถ่ อื วา่ เป็ นเรอื่ งทผี่ ดิ ปกตอิ ยา่ งใด การเปลยี่ นแปลงทางอารมณ์ สงั คม ผลจากการเปลยี่ นแปลงทางรา่ งกายจะทาใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ อารมณ์และจติ ใจไดอ้ ยา่ งตรงไปตรงมา ทัง้ความวติ กกงั วล หงดุ หงดิ หมกมนุ่ ไมพ่ อใจในรปู รา่ งทเ่ี ปลย่ี นไป 1. ความวติ กกงั วลเกย่ี วกบั การเปลยี่ นแปลงของรา่ งกาย เด็กผชู ้ ายทเี่ ขา้ สวู่ ยั รนุ่ ชา้ จะมคี วามวติ ก กงั วลสงู เกย่ี วกบั ความแขง็ แรงของรา่ งกาย ซงึ่ อาจจะไมม่ ั่นใจในความเป็ นชาย รสู ้ กึ วา่ ตวั เองไม่ สมบรู ณม์ ักลกู ลอ้ เลยี น กลน่ั แกลง้ จากเพอ่ื นๆ ทรี่ ปู รา่ งใหญโ่ ตกวา่ มคี วามภาคภมู ใิ จในตนเองใน ระดบั ตา่ และรสู ้ กึ วา่ ตวั เองมปี มดอ้ ยฝังใจไปไดอ้ กี นาน วยั รนุ่ หญงิ ทโ่ี ตเร็วกวา่ เพอ่ื ในวยั เดยี วกนั (early mature) มกั จะรสู ้ กึ อดึ อดั และรสู ้ กึ เคอะเขนิ ประหมา่ อายตอ่ สายตาและคาพดู ของเพศตรง ขา้ ม ในขณะทส่ี ภาพอารมณ์ จติ ใจยังเป็ นเดก็ 2. ความวติ กกงั วลกบั อารมณเ์ พศทสี่ งู ขน้ึ การ เปลยี่ นแปลงของระดบั ฮอรโ์ มนทางเพศ ซงึ่ จะ สง่ ผลทาใหว้ ยั รนุ่ เกดิ อารมณเ์ พศขนึ้ มาไดบ้ อ่ ย วยั รนุ่ หลายคนทม่ี กี จิ กรรมสว่ นตวั ทเี่ บย่ี งเบนความ สนใจ ทาใหส้ ามารถควบคมุ อารมณ์ไดอ้ ยา่ งดี โดยเฉพาะในวยั รนุ่ ทช่ี อบเลน่ กฬี ากลางแจง้ เป็ นประจา วยั นจ้ี ะมคี วามสนใจ อยากรอู ้ ยากเห็นอยแู่ ลว้ เป็ นทนุ และเมอื่ มาผสมกบั การทมี่ รี ะดบั ฮอรโ์ มนทางเพศ เพม่ิ สงู ขนึ้ จะทาใหเ้ ด็กเรยี นรทู ้ จ่ี ะหดั สาเร็จความใครด่ ว้ ยตนเอง อยากรอู ้ ยากเห็นกจิ กรรมทางเพศ ผใู ้ หญค่ วรเขา้ ใจถงึ ความรสู ้ กึ นกึ คดิ รว่ มกบั ความอยากรอู ้ ยากเห็นของวยั รนุ่ ควรใหค้ วามรใู ้ นเรอื่ งเพศ ทถ่ี กู ตอ้ ง และถอื วา่ ความรสู ้ กึ ในวยั นเ้ี ป็ นเรอื่ งธรรมดา เป็ นธรรมชาตอิ ยา่ งหนง่ึ การทวี่ ยั รนุ่ จะสาเร็จ ความใครด่ ว้ ยตนเองนัน้ ไมม่ อี นั ตรายตอ่ รา่ งกาย และไมถ่ อื วา่ เป็ นเรอื่ งทผี่ ดิ ศลี ธรรม ถา้ กระทาอยา่ ง ระมดั ระวงั เป็ นสว่ นตวั และไมท่ าใหผ้ อู ้ นื่ เดอื ดรอ้ น เป็ นตน้ 3. ความวติ กกงั วลกลวั การเป็ นผใู้ หญ่ วยั นจ้ี ะมคี วามคดิ วติ กกงั วล กลวั จะไมเ่ ป็ นทยี่ อมรับจากคน รอบขา้ ง มกั จะ กลวั ความรับผดิ ชอบ ซงึ่ จะรสู ้ กึ วา่ เป็ นภาระทหี่ นักหนา ยงุ่ ยาก บางครัง้ อยากจะเป็ น เด็ก อยากแสดงอารมณ์สนุกสนาน รา่ เรงิ เบกิ บาน 4. ความวติ กกงั วลในความงดงามทางรา่ งกาย ไมว่ า่ วยั รนุ่ หญงิ หรอื ชายก็จะมคี วามรสู ้ กึ ตอ้ งการ ใหค้ นรอบขา้ ง ชน่ื ชมเกยี่ วกบั รปู ลกั ษณภ์ ายนอกของตน สมเพศ สมวยั น่ันเป็ นเพราะวา่ เดก็ จะสานกึ

วา่ ความสวยงามทางกายเป็ นแรงจงู ใจ ทาใหค้ นยอมรับ ทาใหเ้ พอื่ นยอมรับเขา้ ไปในกลมุ่ ไดง้ า่ ย เป็ น วถิ ที างหนงึ่ ทจี่ ะเขา้ สสู่ งั คมและเป็ นทดี่ งึ ดดู ใจของเพศตรงขา้ ม ชว่ งนจี้ ะเห็นวา่ วยั รนุ่ จะสนอกสนใจ พถิ พี ถิ นั ในการเลอื กเสอ้ื ผา้ การหวผี ม เอาใจใสต่ อ่ การออกกาลงั กาย สนใจคณุ คา่ ทางอาหาร เครอ่ื งประดบั สขุ ภาพอนามัย การวางตวั ใหส้ มบทบาททางเพศ การวางตวั ในสงั คม และความสนใจ ในแตล่ ะเรอ่ื งอาจอยไู่ ดไ้ มน่ าน การเปลยี่ นแปลงทางจติ ใจ 1.ความรกั และความหว่ งใย ความรสู ้ กึ อยากทจี่ ะถกู รัก และยงั อยากไดร้ ับความเอาใจใส่หว่ งใยจากบคุ คลทมี่ คี วามสาคญั ตอ่ เด็ก แตม่ ักจะมขี อ้ แมว้ า่ จะตอ้ งไมใ่ ชก่ ารแสดงออกของพอ่ แมท่ ท่ี ากบั เขาราวกบั เด็กเล็กๆ ไมต่ อ้ งการความเจา้ กเี้ จา้ การ ไมต่ อ้ งการใหแ้ สดงความหว่ งใยอยตู่ ลอดเวลา 2. เป็ นอสิ ระอยากทาอะไรไดด้ ว้ ยตวั ของตวั เอง อยากทาในสงิ่ ทตี่ วั เองคดิ แลว้ วา่ ดี อยากมสี ว่ นในการตดั สนิ ใจ อยากทจี่ ะทาตวั หา่ งจากพอ่ แม่ หา่ งจากคาสง่ั การเจรญิ เตบิ โตในการทางานของสมอง ทาให ้เด็กวยั นเี้ รมิ่ มคี วามคดิ อา่ นเป็ นของตนเอง เรมิ่ มคี วามคดิ แบบนามธรรม (abstract thinking) การแยกจากพอ่ แมใ่ นเกอื บทกุ รปู แบบ บางครัง้ อาจทาใหว้ ยั รนุ่ เกดิ ความรสู ้ กึ สบั สน สองจติ สองใจ และอาจมคี วามรสู ้ กึ \"สญู เสยี \" ในความรัก ความเอาใจใสจ่ ากพอ่ แม่ แตถ่ า้ พวกเขายอมรับการดแู ลหรอื ยอมทาตามคาสง่ั ของพอ่ แม่ กจ็ ะไปขดั กบัความตอ้ งการทจ่ี ะเป็ นเด็กโต เป็ นอสิ ระของตนเองทต่ี อ้ งการพงึ่ พาตนเอง การใหก้ ารเลยี้ งดจู งึ ตอ้ งอาศยั ความเขา้ ใจ และเคารพในสทิ ธสิ ว่ นบคุ คลดว้ ย 3. ตอ้ งการเป็ นตวั ของตวั เอง ความตอ้ งการท่ี ยอมรับในสงิ่ ทมี่ าจากตวั ของตวั เขาทาใหพ้ วกเขามั่นใจในตวั เอง พอ่ แมค่ งตอ้ งสง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กไดช้ ว่ ยเหลอื ตวั เองใหม้ ากทสี่ ดุ เทา่ ทจี่ ะทาไดต้ ามวยั เพราะในการฝึกเด็กนัน้ นอกจากจะทาใหเ้ ด็กไดใ้ ชม้ อื ไดอ้ ยา่ งคลอ่ งแคลว่ แลว้ ยังชว่ ยทาใหเ้ ด็กไดห้ ดั คดิ หดั ตดั สนิ ใจในการกระทาสงิ่ ตา่ งๆ ดว้ ย 4. อยากร,ู้ อยากเห็น, อยากลอง การลองผดิ ลองถกู และคอยสงั เกตดจู ากปฏกิ ริ ยิ าของคนรอบขา้ งเพอื่ ตดั สนิ วา่ สง่ิ ทท่ี านัน้ ดเี ลวเป็ นอยา่ งไรวยั ทโี่ ตขน้ึ เมอื่ ความสามารถเพม่ิ ขน้ึ รา่ งกายเจรญิ เตบิ โตขนึ้ มา สง่ิรอบตวั ตา่ งๆ ทน่ี ่าสนใจ และทา้ ทายความสามารถก็จะเรมิ่ เขา้ มาเพอ่ื ทดลองการสนับสนุนสง่ เสรมิ เด็กใหค้ งสภาพอยากรู ้ อยากเห็น อยากลองและไดม้ โี อกาสทดลองสง่ิ แปลกๆ ใหมๆ่ ในขอบเขตทเี่ หมาะสมเพมิ่ ขนึ้ ตามวยั จะทาใหเ้ ด็กกา้ วเขา้ สวู่ ยั รนุ่ ดว้ ยความภาคภมู ใิ จทตี่ นเองเคยมปี ระสบการณ์ตา่ งๆ มาบา้ งสงิ่ เหลา่ นจี้ ะมาเสรมิ ความภาคภมู ใิ จในตนเองดงั นัน้ จะเห็นวา่ การฝึกสอนและใหโ้ อกาสเด็กไดท้ ดลองทาในสง่ิ ทถี่ กู ตอ้ ง ควรฝึกสอนมาตงั้ แต่เด็ก และควรคอ่ ยๆ สอนถงึ อนั ตรายในหลายสง่ิ หลายอยา่ งทม่ี อี ยใู่ นสงั คม และวธิ กี ารแกไ้ ข เรยี นรทู ้ ัง้ สง่ิ ทดี่ แี ละเลวการฝึกใหเ้ ด็กไดล้ องในสง่ิ ทนี่ ่าลอง แตส่ นอใหห้ ดั ยงั้ ตวั เองในสง่ิ ทอ่ี นั ตรายจงึ เป็ นวธิ ที ส่ี าคญั มาตงั้ แตว่ ยัเรยี น แตใ่ นทางตรงกนั ขา้ มในกลมุ่ วยั รนุ่ ทไี่ มเ่ คยถกู ฝึกใหล้ องคดิ ลองทากอ่ น จะเกดิ ความสบั สน วนุ่ วายใจขาดความรู ้ ขากทกั ษะ ขาดการฝึกฝน ขาดการลองทาผดิ ทาถกู มากอ่ น จงึ ทาใหก้ ลมุ่ นต้ี กอยใู่ นกลมุ่ ทมี่ อี นั ตราย

สงู และในกลมุ่ เด็กวยั รนุ่ ทพ่ี อ่ แมป่ ลอ่ ยปละละเลย หรอื ไมเ่ คยสอนใหย้ ับยัง้ ชง่ั ใจมากอ่ น นกึ อยากทาอะไรก็จะทาไมเ่ คยตอ้ งผดิ หวงั ไมเ่ คยสนใจวา่ การกระทาของตวั จะสง่ ผลกระทบตอ่ ผคู ้ นรอบขา้ งอยา่ งไร พฤตกิ รรมอยากลองของ มกั จะมสี งู สดุ ในชว่ งวยั รนุ่ ตอนกลาง เป็ นเด็กก็ไมใ่ ช่ เป็ นผใู้ หญก่ ็ไม่ เชงิ แนวความคดิ และการยบั ยง้ั ตวั เองมไี มม่ ากพอ 5. ความถกู ตอ้ ง ยตุ ธิ รรม โดยเฉพาะเมอ่ื เขา้ สวู่ ยั รนุ่ ตอนกลาง มักจะถอื วา่ ความยตุ ธิ รรมเป็ นลกั ษณะหนง่ึ ของความเป็ นผใู ้ หญ่ วยั รนุ่ จงึ ใหค้ วามสาคญั อยา่ งจรงิ จังกบั ความถกู ตอ้ ง ยตุ ธิ รรมตามทัศนะของตนเป็ นอยา่ งยง่ิ และอยากจะทาอะไรหลายๆ อยา่ ง เพอ่ื เรยี กรอ้ งความยตุ ธิ รรม ทัง้ ในแงบ่ คุ คลและสงั คมสว่ นรวม จงึ มกั จะเห็นภาพวยั รนุ่ ถกเถยี งกนั เรอื่ งของสง่ิ ตา่ งๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ รอบตวั 6.ความตน่ื เตน้ ทา้ ทาย ความตอ้ งการหาประสบการณแ์ ปลกๆ ใหมๆ่ เกลยี ดความจาเจซา้ ซาก วยั รนุ่ กลมุ่ นจ้ี ะสรา้ งความตน่ื เตน้ ทา้ ทายกบั การทกี่ ระทาผดิ ตอ่ กฎเกณฑต์ า่ งๆ ของทางบา้ นและกฏของสงั คมนั่นเป็ นเพราะวา่ เป็ นความตนื่ เตน้ และความรสู ้ กึ วา่ ถกู ทา้ ทาย แนวทางการเลย้ี งดเู ด็กฝึกใหเ้ ด็กไดม้ โี อกาสทางานทท่ี า้ ทายความสามารถทลี ะนอ้ ยอยตู่ ลอดเวลา จะสง่ ผลทาใหเ้ ด็กไดพ้ ัฒนาความเชยี่ วชาญขน้ึ มาได ้แกป้ ัญหาได ้ 7.ตอ้ งการการยอมรบั วา่ เป็ นสว่ นหนง่ึ ของบา้ น ของกลมุ่ เพอื่ น พน้ื ฐานการเลย้ี งดทู ยี่ อมรับและมีความรักความผกู พนั ระหวา่ งพอ่ แมเ่ ด็ก จะมผี ลทาใหเ้ ด็กเกดิ ความรสู ้ กึ ดงั ทก่ี ลา่ วมานอ้ี ยา่ งงา่ ยดาย จากการฝึกฝนใหโ้ อกาสเด็กในการตดั สนิ ใจลงมอื กระทาหรอื แสดงความคดิ เห็นในเรอื่ งตา่ งๆ และรับฟังพยายามทาความเขา้ ใจตาม ถา้ เบยี่ งเบนก็ชว่ ยแกไ้ ข ถา้ ถกู ตอ้ งก็ชมเชยและชนื่ ชม สงิ่ เหลา่ นจ้ี ะไปกระตนุ ้ ใหเ้ ด็กเกดิ ความรสู ้ กึ เป็ นท่ียอมรับจากบคุ คลภายในบา้ น ซง่ึ จะสง่ ผลทาใหเ้ ด็กอยากเป็ นทยี่ อมรับจากเพอื่ น จากครแู ละจากคนอนื่ ๆ ตอ่ ๆ ไปจงึ เป็ นเหตผุ ลจงู ใจกระทาความดมี ากขน้ึ ๆ แตใ่ นกรณตี รงกนั ขา้ ม ถา้ เด็กคนใดเกดิ มาในครอบครัวทย่ี งุ่ เหยงิ ทาใหพ้ อ่ แมไ่ มม่ ปี ัญหาพอทจ่ี ะดแู ลเด็กกลบั จะตอ้ งสง่ เด็กมาฝากใหญ้ าตเิ ลย้ี งเป็ นภาระ ไมม่ ใี ครเป็ นธรุ ะจดั การอะไรใหอ้ ยา่ งออกนอกหนา้ ถา้ ไมจ่ าเป็ นก็ไมค่ อ่ ยอยากจะรับรู ้ รับฟังเรอื่ งของเด็ก ถงึ เวลาจะนานกไ็ มร่ วู ้ า่ ใครจะใหค้ วามอบอุ่นเมตตาหรอื รักได ้ มคี วามรสู ้ กึโดดเดยี่ ว ไมเ่ ป็ นทตี่ อ้ งการของใครแมแ้ ตค่ นเดยี วในบา้ นไมว่ า่ จะถกู หรอื ทาผดิ ทาดหี รอื ทาชวั่ ก็ไมม่ คี นเหน็ คนทกัหาคนทห่ี วงั ดจี รงิ จังในการแนะนาตกั เตอื นอดทนชว่ ยฝึกสอนก็ไมม่ ี ในลกั ษณะเชน่ นเี้ ด็กจะมชี วี ติ ทเี่ ลอื่ นลอย ไม่รสู ้ กึ วา่ ตวั เองเป็ นสมาชกิ ภายในบา้ น เป็ นคนหนง่ึ ภายในครอบครัว ไมม่ ใี ครรับฟังปัญหา หรอื ไมร่ วู ้ า่ จะปรกึ ษาใครเมอ่ื เตบิ โตไปโรงเรยี นกม็ ักจะพกพาเอาความรสู ้ กึ โดดเดยี่ ว วา้ เหวน่ ไี้ ปทโี่ รงเรยี น ความทท่ี กั ษะไมไ่ ดถ้ กู ฝึกสอนมาตงั้ แตท่ บ่ี า้ นจงึ ทาใหผ้ ลการเรยี นไมด่ ี และมกั จะแยกตวั ออกจากกลมุ่ เพอื่ น ปญั หาการปรบั ตวั ในวยั รนุ่ ความขดั แยง้ ในจติ ใจของวยั รนุ่ ทต่ี อ้ งเผชญิ กบั การเปลยี่ นแปลงตา่ งๆ ทกี่ ลา่ วมาแลว้ นัน้ เป็ น สงิ่ ทป่ี กติธรรมดาของการเจรญิ พฒั นาไปเป็ นผใู ้ หญ่ แตจ่ ะไมร่ นุ แรงมผี ลกระทบตอ่ การเรยี น การงานหรอื ดา้ นสงั คม ในกรณีท่ี

ปัญหารนุ แรงสง่ ผลกระทบตอ่ ดา้ นตา่ งๆ นัน้ จงึ จะจดั วา่ มปี ัญหาในการปรับตวั พบไดร้ อ้ ยละ 10-15 ของวยั รนุ่ ท่ัวไปโดยเฉพาะปฏกิ ริ ยิ าตอ่ การรับบทบาทหนา้ ทขี่ องความเป็ นผใู ้ หญ่ รสู ้ กึ วา่ การดแู ลรับผดิ ชอบตวั เองเป็ นภาระทหี่ นักหน่วงยากทจ่ี ะรบั เอาไวไ้ ดเ้ กดิ ความเครง่ เครยี ด บางรายมอี าการวติ กกงั วล กลมุ่ ใจ ทอ้ แท ้ ทานอาหารไมไ่ ด ้ นอนไมห่ ลบั ตดิ พอ่ แม่ ครู หรอื เพอื่ นเหมอื นเด็กเล็ก หรอื มอี าการแสดงออกมาทางรา่ งกาย เชน่ ปวดหวั ปวดทอ้ ง หรอืมอี ารมณ์ฉุนเฉยี ว ววู่ าม กา้ วรา้ ว ตอ่ ตา้ น ซง่ึ อาการเหลา่ นจี้ ะมอี ยไู่ มน่ าน ในทสี่ ดุ จะสามารถพฒั นาตอ่ ไปไดใ้ นทส่ี ดุชวี ติ นแี้ ทจ้ รงิ มปี ัญหาทที่ าใหเ้ ราตอ้ งปรับตวั และแกไ้ ขความขดั แขง้ ประจาวนั อยตู่ ลอดเวลาแตใ่ นระยะวยั รนุ่ ซงึ่ มีลกั ษณะพเิ ศษเพราะเกดิ ผลตอ่ เนอื่ งลกุ ลามไดง้ า่ ย ทัง้ นเี้ นอื่ งจากวยั รนุ่ มอี ารมณอ์ อ่ นไหวงา่ ย อยากเป็ นอสิ ระ อยากเป็ นผใู ้ หญ่ ไมอ่ ยากฟังเหตผุ ลของใคร เจา้ ทฐิ ิ อวดดี ถอื ดี แตใ่ นขณะเดยี วกนั ก็ยงั ขาดความเชยี่ วชาญในการแกไ้ ขปัญหา ในการพดู การทางาน จงึ ทาใหเ้ พลยี่ งพล้าไดง้ า่ ย วยั รนุ่ ผเู ้ ขา้ ใจปัญหาประจาวยั ของตน และสามารถปรับตวัดาเนนิ ชวี ติ อยา่ งเหมาะสม คอื วยั รนุ่ ทมี่ คี วามสขุ มคี วามสามารถทจี่ ะประสบความสาเร็จในอนาคตการสรา้ งบคุ ลกิ ภาพ1. การคน้ หาเอกลกั ษณข์ องตนเองพัฒนาทางดา้ นความนกึ คดิ คน้ หาสงิ่ ตา่ งๆ ทงั้ ทา่ ทาง คาพดู การแสดงออก การแตง่ กาย การเขา้ สงั คม วยั รนุ่ ทสี่ ามารถผา่ นพน้ ภาวะวกิ ฤตใิ นการคน้ หาตวั เองไดอ้ ยา่ งไมย่ งุ่ ยากนัก มกั จะมลี กั ษณะดงั ตอ่ ไปนี้ คอืเป็ นผทู ้ ใ่ี ชส้ ตปิ ัญญาเผชญิ กบั เหตกุ ารณ์ในชวี ติ มากกวา่ การใชอ้ ารมณ์เป็ นผทู ้ เ่ี ลอื กเผชญิ หนา้ กบั ปัญหามากกวา่ เป็ นผทู ้ จ่ี ะยอมหลกี เลยี่ งปัญหาเป็ นผทู ้ รี่ เู ้ ทา่ ทนั ธรรมชาตขิ องตนมากอ่ นเป็ นผทู ้ ไี่ มม่ คี วามรสู ้ กึ วา่ ตนเองโดดเดยี่ วมหี นทางทจ่ี ะไปขอความชว่ ยเหลอื จากผอู ้ น่ื ได ้วยั รนุ่ ทสี่ ามารถผา่ นวกิ ฤตการณแ์ ละคน้ พบตวั เอง กเ็ ทา่ กบั มคี วามสามารถทจ่ี ะเตบิ โตเป็ นผใู ้ หญท่ มี่ ี บคุ ลกิ ภาพม่ันคง2. การเอาชนะตวั เอง การควบคมุ พฤตกิ รรม อารมณ์ใหอ้ อกมาในรปู ทเ่ี หมาะสมในระยะแรกๆ จะพบลกั ษณะสองจติ สองใจระหวา่ งความอยากเป็ นเด็กตอ่ ไปกบั ความอยากเป็ นผใู ้ หญ่ จากความรูส้ กึนกึ คดิ ของวยั รนุ่ มักจะมองวา่ สภาวะผใู ้ หญห่ มายความวา่ พงึ่ ตนเองได ้ ตดั สนิ ใจไดถ้ กู ตอ้ ง การทจ่ี ะเอาชนะใจตนเองนัน้ เป็ นสงิ่ ทเี่ ด็กควรจะไดร้ ับการเรยี นรู ้ ไดร้ ับโอกาสในการฝึกฝนมาตงั้ แตเ่ ด็กๆ ทลี ะเล็กทลี ะนอ้ ย ผา่ นการทพ่ี อ่ แมก่ าหนดขอบเขตตา่ งๆ ในชวี ติ แตใ่ นวยั เด็กทไ่ี มเ่ คยเรยี นรทู ้ จ่ี ะยับยัง้ ชงั่ ใจมากอ่ น ไมเ่ คยเอาชนะตวั เองโดยการทาตวั ใหเ้ หมาะสมไดเ้ ลย หรอื ถกู เลย้ี งดใู หเ้ อาแตใ่ จตวั เอง อยากไดอ้ ะไรก็ได ้ อยากทาอะไรกจ็ ะทา ครัง้ เตบิ โตเขา้ วยั รนุ่ มอี สิ ระมากขน้ึ ก็จะเห็นพฤตกิ รรมทไ่ี มย่ ัง้ คดิ ไดบ้ อ่ ยๆ และบางครัง้ กลบั เป็ นอนั ตรายทงั้ตอ่ ตนเองและผอู ้ น่ื อกี ดว้ ย

3. การแยกตวั เองเป็ นอสิ ระ คาวา่ อสิ ระในสายตาของวยั รนุ่ กค็ อื มสี ทิ ธแิ ละเสรภี าพเทา่ ท่ีบคุ คลหนง่ึ พงึ จะมี ซงึ่ รวมทัง้ การแสดงความคดิ เห็น การตดั สนิ ใจในเหตกุ ารณ์ตา่ งๆ ขณะเดยี วกนั พวกเขากจ็ ะสงั เกตดกู ารยอมรับจากพอ่ แมค่ นขา้ งเคยี งดว้ ย 3.1 การไดแ้ สดงออก 3.2 พงึ่ ตนเองได้ ้ 3.3 มคี วามรบั ผดิ ชอบ 3.4 ทคี่ า่ นยิ มทถ่ี กู ตอ้ ง 3.5 มน่ั ใจและภมู ใิ จในตนเอง 1. พอ่ แมม่ ลี กั ษณะทย่ี อมรับความสามารถของเด็ก เขา้ ใจและสนับสนุนในความสามารถดา้ นอน่ื ๆ ทเ่ี หลอื มคี วามภาคภมู ใิ จในดา้ นอนื่ ๆ ของลกู และปรับสงิ่ แวดลอ้ มในการเรยี นใหเ้ หมาะสม คอื ไมเ่ รง่ รัด ไม่บงั คบั แตใ่ หก้ าลงั ใจยกตวั อยา่ งเชน่ ป้อมลกู สาวคนเดยี วของพอ่ แม่ ขยนั รับผดิ ชอบดี แตม่ คี ะแนนสอนในชนั้ ม.3 ได ้ 2.2 และพอ่ แมไ่ มไ่ ดบ้ งั คบั ใหเ้ รยี นสายวทิ ย์ ทัง้ ๆ ทอี่ ยากใหล้ กู เป็ นหมอ เพราะรวู ้ า่ ถา้ ใหเ้ รยี นจะทาใหเ้ ด็กลาบาก ไมม่ คี วามสขุ เป็ นตน้ ขณะนเี้ รยี นจบมหาวทิ ยาลยั เปิด สาขาสงั คมศาสตร์ ทางานดา้ นคอมพวิ เตอร์ เจา้ นายรักเพราะรับผดิ ชอบดี เป็ นตน้ 2. มคี วามเป็ นตวั ของตวั เอง มั่นใจในตนเอง มองภาพพจนต์ วั เองดี แตไ่ มใ่ ชก่ ารเอาแตใ่ จตวั เอง การฝึกใหเ้ ด็กเป็ นตวั ของตวั เอง และควบคมุ ตวั เองเป็ น พง่ึ พาตวั เองได ้ ชว่ ยเหลอื ผอู ้ น่ื ได ้ มโี อกาสคดิตดั สนิ ใจในเหตกุ ารณต์ า่ งๆ มาเป็ นประจา มคี วามยับยงั้ ชง่ั ใจ \"การทา\" กบั \"การไมท่ า\" ในสง่ิ ทด่ี ี และไมด่ ี เด็กวยั รนุ่ หลายคนทจ่ี ายอมทาตามเพอื่ นเพราะกลวั วา่ เพอ่ื นจะดถู กู รังเกยี จนัน้ ทัง้ ๆ ทที่ าไปแลว้ จะขดั ตอ่ ความรสู ้ กึ ของตวั เองกต็ าม เป็ นสาเหตจุ ากทต่ี นเองไมม่ ่นั ใจและไมเ่ ป็ นตวั ของตวั เองอยา่ งมน่ั คง ซง่ึ จะตอ้ งมาจากการฝึกหดั สะสมความรู ้ ความสามารถมาตงั้ แตเ่ ด็ก ผา่ นประสบการณท์ ถ่ี กู เลยี้ งดมู าน่ันเอง 3. มกี ารสอื่ สารทดี่ ี กลา้ พดู กลา้ คดิ กลา้ แสดงออก และกลา้ ทจ่ี ะทาตวั ตา่ งจากผอู ้ นื่ โดยยดึหลกั การทถ่ี กู ตอ้ ง 4. มที างออกหลายทา เชน่ กฬี า ดนตรี งานอดเิ รก สงั คม ศลิ ปะ การเรยี น การงาน ฯลฯ การมีทกั ษะหลายๆ อยา่ งเป็ นสงิ่ ทพ่ี อ่ แมต่ อ้ งดทู กั ษะเดน่ ของลกู ซง่ึ ในความเดน่ นัน้ อาจไมเ่ กง่ เทา่ ผอู ้ น่ื ก็จรงิ แตก่ เ็ ป็ นความสามารถทด่ี ขี องลกู และควรใหค้ วามสนับสนุน โดยเฉพาะทกั ษะในการเขา้ สงั คม และการปรับตวั 5. มโี อกาสเรยี นรจู ้ ัดทงั้ สว่ นดแี ละสว่ นทเี่ ลวมากอ่ นไดเ้ รยี นรทู ้ จ่ี ะเขา้ ใจถงึ คณุ ลกั ษณะของการเป็ นคนดไี ตรต่ รองดคู นเป็ น แตข่ ณะเดยี วกนั ก็เรยี นรทู ้ จี่ ะทนั คน วา่ มคี วามเจา้ เลหเ์ พทบุ าย โกหกหลอกลวง ซง่ึปะปนกนั อยใู่ นหมเู่ พอ่ื นและคนในสงั คม เรยี นรทู ้ จี่ ะเขา้ ใจลกั ษณะดแี ละไมด่ ขี องพฤตกิ รรมของคน ทาใหข้ ณะที่วยั รนุ่ คลกุ คลกี บั เพอื่ นและผคู ้ นตา่ งๆ จะไดไ้ ตรต่ รอง เพอ่ื วา่ จะไดม้ าชว่ ยในการตดั สนิ ใจอกี ดว้ ย การสอนของพอ่ แม่จงึ ควรชใ้ี หเ้ ด็กเห็นความยบั ยัง้ ชง่ั ใจนอ้ ยลง สง่ิ ตา่ งๆ รอบๆ ตวั จงึ ดดู ขี น้ึ ดสู บายใจขนึ้ ภาระความรับผดิ ชอบดู

เหมอื นจะลดนอ้ ยลงนัน้ เอง เป็ นคาตอบทถี่ กู ตอ้ งและตรงกบั ความจรงิ จะทาใหเ้ ด็กเรยี นรแู ้ ละยอมรับไดด้ กี วา่คาตอบทว่ี า่ คนทก่ี นิ เหลา้ เป็ นเพราะคนนัน้ เป็ นคนไมด่ ี เป็ นตน้ ถา้ เด็กไดเ้ รยี นรสู ้ งิ่ เหลา่ นัน้ ทัง้ ดา้ นดี และดา้ นไมด่ ีจนเขา้ ใจแลว้ จะชว่ ยทาใหค้ วามอยากลองเพราะอยรู่ อู ้ ยากเหน็ ลดลง ลกั ษณะของพอ่ แมท่ ไี่ มค่ อ่ ยมปี ญั หากบั วยั รนุ่ จะมลี กั ษณะดงั ตอ่ ไปนค้ี อื 1. รัก อบอนุ่ และใหค้ วามไวว้ างใจ 2. มกี ารสอ่ื สารทด่ี ตี อ่ กนั ตา่ งคนตา่ งไวว้ างใจปรกึ ษาหารอื หรอื เลา่ เหตกุ ารณ์ตา่ งๆ ทปี่ ระสบมาใหฟ้ ัง มี การยอมรับฟัง คดิ สามารถทท่ี ัง้ พอ่ แมแ่ ละลกู จะแสดงความคดิ เห็นคลอ้ ยตามหรอื ขดั แยง้ อนั ดไี ด ้ ใน บรรยากาศทเี่ ป็ นกนั เอง 3. ม่ันคง มหี ลกั การ มเี หตผุ ล มคี วามยดื หยนุ่ 4. ควบคมุ ตวั เองไดด้ ี ทัง้ อารมณ์และพฤตกิ รรม 5. เรยี กรอ้ งแสดงความตอ้ งการใหเ้ ด็กเตบิ โตสมวยั มาทกุ ชว่ งอายุ ทม่ี า:นพ.สรุ ยิ เดว ทรปี าตี หวั หนา้ คลนิ กิ เพอื่ นวยั ทนี สถาบนั สขุ ภาพเด็กแหง่ ชาตมิ หาราชนิ ี ขอ้ มลู : www.dekplus.org เจาะใจวยั รนุ่ ผา่ นผลโพลล์ เรยี บเรยี งโดย : ผศ.สนุ สิ า ประวชิ ยั หวั หนา้ ศนู ยว์ จิ ยั กรงุ เทพโพลล์ สถาบนั วจิ ยั มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ วยั รนุ่ เป็ นชว่ งเวลาหัวเลย้ี วหัวตอ่ ทสี่ าคญั ยงิ่ ของชวี ติ มนุษย์ เพราะเป็ นวยั แหง่ การเปลยี่ นแปลงทัง้ ในดา้ นรา่ งกายและสภาพ

จติ ใจจากความเป็ นเด็กสคู่ วามเป็ นผใู ้ หญ่ โดยเรมิ่ ผละจากอกพอ่ แมไ่ ปสโู่ ลกภายนอกทตี่ อ้ งเรยี นรตู ้ อ้ งเผชญิ กบั ปัญหาตา่ ง ๆ ดว้ ยตนเองและพรอ้ มจะรับสงิ่ ใหม่ ๆ เขา้ มาในชวี ติ อยา่ งงา่ ยดาย ชว่ งชวี ติ วยั รนุ่ จงึ เป็ นชว่ งของการลองผดิ ลองถกู และมโี อกาส ตดั สนิ ใจผดิ พลาดไดง้ า่ ยหากขาดการชนี้ าในทางทถ่ี กู ทคี่ วร หรอื ขาดหลักยดึ เหนยี่ วทางใจทมี่ นั่ คงเพยี งพอ ดงั จะเห็นไดจ้ ากขา่ วคราวดา้ นลบเกย่ี วกบั วยั รนุ่ ไทยในปัจจบุ นั ทปี่ รากฏตามสอื่ ตา่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเป็ นเรอ่ื งเกยี่ วกบั ยาเสพตดิพฤตกิ รรมทางเพศ การใชช้ วี ติ ฟ้งุ เฟ้อยดึ ตดิ วตั ถุ การขาดความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสงั คมรอบขา้ งรวมถงึ การแกป้ ัญหาตา่ ง ๆ ดว้ ยความรนุ แรง เป็ นตน้จนทาใหห้ ลายฝ่ ายอดเป็ นหว่ งกงั วลถงึ อนาคตของประเทศชาตทิ ฝ่ี ากไวก้ บัเยาวชนคนรนุ่ ใหมเ่ หลา่ นเี้ สยี ไมไ่ ด ้ อยา่ งไรก็ตามทา่ มกลางเสยี งวพิ ากษ์วจิ ารณ์ทัง้ หลาย เราคงปฏเิ สธไมไ่ ดว้ า่ ปัญหาของวยั รนุ่ กค็ อื ภาพสะทอ้ นของปัญหาสงั คมไทยนั่นเอง ศนู ยว์ จิ ัยกรงุ เทพโพลล์ สถาบันวจิ ัยมหาวทิ ยาลยักรงุ เทพ ไดด้ าเนนิ การสารวจขอ้ มลู เพอื่ รับทราบสถานการณเ์ กย่ี วกบัปัญหาความทกุ ข์ และทางออกของวัยรนุ่ ไทย เพอ่ื เป็ นขอ้ มลู ใหห้ น่วยงานที่เกย่ี วขอ้ งไดใ้ ชเ้ ป็ นแนวทางในการดาเนนิ งานเพอื่ ปรับเปลย่ี นแนวคดิ และพฤตกิ รรมของวยั รนุ่ ไทย โดยสมุ่ ตวั อยา่ งจากผทู ้ ม่ี อี ายุ 15 - 22 ปี ซง่ึ อาศยั อยใู่ นกรงุ เทพฯ ปรมิ ณฑล และจังหวดั หัวเมอื งใหญใ่ นแตล่ ะภาคของประเทศ ไดแ้ ก่เชยี งใหม่ อบุ ลราชธานี จันทบรุ ี และสงขลา ระหวา่ งวนั ท่ี 9 - 17พฤศจกิ ายน 2547 ไดต้ วั อยา่ งทัง้ สนิ้ จานวน 1,850 คน เป็ นชาย รอ้ ยละ44.1หญงิ รอ้ ยละ 55.9 ผลการสารวจ พบวา่ วยั รนุ่ ถงึ รอ้ ยละ 87.5 ระบวุ า่ในชว่ งระยะ 3 เดอื นทผ่ี า่ นมาไดป้ ระสบกบั ปัญหาทท่ี าใหร้ สู ้ กึ เครยี ด เป็ น

ทกุ ข์และวติ กกงั วลอนั สง่ ผลตอ่ สภาพจติ ใจและการดาเนนิ ชวี ติ โดยวยั รนุ่ ทอ่ี ยู่กบั พอ่ หรอื แมท่ แี่ ยกกนั อยมู่ ปี ัญหาความเครยี ดและเป็ นทกุ ขม์ ากทส่ี ดุ ทงั้ น้ีวัยรนุ่ ทอี่ ยกู่ บั พอ่ มปี ัญหารอ้ ยละ 91.3 และอยกู่ บั แมม่ ปี ัญหารอ้ ยละ 90.7 เมอ่ื พจิ ารณาตามระดบั การศกึ ษา พบวา่ วยั รนุ่ ที่ศกึ ษาในระดบั มัธยมศกึ ษา มปี ัญหาความเครยี ดและเป็ นทกุ ขม์ ากทสี่ ดุคอื รอ้ ยละ89.3 รองลงมาคอื กลมุ่ ทไ่ี มไ่ ดศ้ กึ ษาแลว้ รอ้ ยละ 87.9 ระดับปรญิ ญาตรีรอ้ ยละ 87.5 และระดับปวช./ปวส. รอ้ ยละ 85.5 ทัง้ นก้ี ารทวี่ ยั รนุ่ ในระดบั มัธยมศกึ ษามปี ัญหาความเครยี ดและเป็ นทกุ ขม์ ากทสี่ ดุ น่าจะเป็ นเพราะเพง่ิ ยา่ งเขา้ สวู่ ยั รนุ่ จงึ ตอ้ งปรับตัวในหลาย ๆ เรอ่ื ง ประกอบกบั นักเรยี นในระดบั มัธยมศกึ ษาตอ้ งรับภาระดา้ นการเรยี นทคี่ อ่ นขา้ งหนักเพอื่ เตรยี มตวั สอบเขา้ เรยี นในระดับมหาวทิ ยาลยัจงึ มปี ัญหาความเครยี ดและเป็ นทกุ ขก์ งั วลมากกวา่ กลมุ่ อนื่ เมอ่ื ถามวยั รนุ่ ถงึ ปัญหาทท่ี าใหเ้ ครยี ดและเป็ นทกุ ข์พบวา่ อันดบั แรกคอื ปัญหาเรอื่ งการเรยี น รองลงมาไดแ้ ก่ ปัญหาการเงนิ ปัญหา

ความรัก ปัญหาการคบเพอ่ื น ปัญหาครอบครวั ปัญหาสขุ ภาพ ปัญหาการพนัน ปัญหาการไมม่ สี ง่ิ ของแบบทคี่ นอน่ื มี และปัญหายาเสพตดิ ตามลาดบั ทัง้ นเี้ มอื่ เปรยี บเทยี บระหวา่ งวยั รนุ่ ชายกบัหญงิ พบวา่ ทงั้ สองเพศมคี วามเครยี ดและเป็ นทกุ ขจ์ ากปัญหาดา้ นการเรยี นเป็ นหลักและรองลงมาคอื ปัญหาดา้ นการเงนิ เหมอื นกนั แตป่ ัญหาอนื่ ๆ ทเี่ หลอื นัน้วยั รนุ่ ชายจะมปี ัญหาดา้ นการพนัน เพศสมั พันธ์ และยาเสพตดิ มากกวา่ขณะที่เพศหญงิ จะมปี ัญหาดา้ นสขุ ภาพมากกวา่ สาหรับสาเหตขุ องความเครยี ดและเป็ นทกุ ขท์ ี่ประสบอยนู่ ัน้ รอ้ ยละ 31.1 บอกวา่ เกดิ จากการกระทาของตัวเอง ขณะทร่ี อ้ ยละ 17.7เกดิ จากการกระทาของผอู ้ น่ื และรอ้ ยละ 49.9 เกดิ จากการกระทาของทงั้ ตวัเองและผอู ้ นื่ รว่ มกนั ในสว่ นของวยั รนุ่ ทบ่ี อกวา่ สาเหตขุ องความเครยี ดและเป็ นทกุ ขเ์ กดิ จากการกระทาของตวั เอง ใหร้ ายละเอยี ดวา่ เกดิ จากการขาดวนิ ัยและความรับผดิ ชอบ รอ้ ยละ 30.1 ขาดการยงั้ คดิ หักหา้ มใจ รอ้ ยละ 24.3ประมาทรเู ้ ทา่ ไมถ่ งึ การณ์ รอ้ ยละ 17.1 ดอื้ รัน้ ตอ้ งการเอาชนะ รอ้ ยละ 16.7ดอ้ ยความสามารถ รอ้ ยละ 9.8 และอน่ื ๆ อกี รอ้ ยละ 2.0 ผลสารวจดงั กลา่ วชใ้ี หเ้ ห็นวา่ อยา่ งนอ้ ยทสี่ ดุวัยรนุ่ ไทยกย็ ังรจู ้ ักมองตวั เอง และยอมรับในขอ้ บกพรอ่ งของตวั เอง ไมไ่ ด ้คอยแต่จะโทษผอู ้ นื่ หรอื โทษสภาพแวดลอ้ มเพยี งอยา่ งเดยี ว ประเด็นทน่ี ่าสนใจถัดมาก็คอื สาเหตแุ หง่ความเครยี ดและเป็ นทกุ ขข์ องวยั รนุ่ ในสว่ นทเี่ กดิ จากการกระทาของผอู ้ น่ืนัน้ อนั ดบั แรกระบวุ า่ เกดิ จากพอ่ แม่ รอ้ ยละ 42.4 รองลงมาคอื เกดิ จากคร/ู อาจารย์ รอ้ ยละ 33.2 และเกดิ จากเพอ่ื น รอ้ ยละ 24.4 ในสว่ นของวยั รนุ่ ทบ่ี อกวา่ สาเหตแุ หง่ ความเครยี ดและเป็ นทกุ ขเ์ กดิ จากการกระทาของพอ่ แม่ ใหร้ ายละเอยี ดวา่ เกดิ จากการที่พอ่ แม่คาดหวังสงู เกนิ ไปจนเกดิ ความกดดนั รองลงมาคอื การไมย่ อมรับฟัง

ความเห็นของลกู ชอบดดุ า่ วา่ กลา่ วโดยไมม่ เี หตผุ ล ไมม่ เี วลาดแู ลเอาใจใส่เขม้ งวดเกนิ ไป ทะเลาะเบาะแวง้ กนั และทารา้ ยรา่ งกาย สว่ นสาเหตทุ เ่ี กดิ จากการกระทาของคร/ูอาจารย์ ไดแ้ ก่ ครใู หท้ างานและการบา้ นทเ่ี กนิ ความสามารถของลกูศษิ ย์ รองลงมาไดแ้ ก่กดดนั ใหเ้ กดิ การแขง่ ขนั ดา้ นการเรยี นมากเกนิ ไป ไมย่ ตุ ธิ รรม ไมร่ ับฟังความคดิ เห็น ชอบดดุ า่ วา่ ใหอ้ ับอาย และทารา้ ยรา่ งกาย สว่ นสาเหตทุ เี่ กดิ จากการกระทาของเพอ่ื น ไดแ้ ก่ถกู กลนั้ แกลง้ ลอ้ เลยี น ไมย่ อมคบหาหรอื ใหเ้ ขา้ กลมุ่ ขม่ ขรู่ ดี ไถ และทารา้ ยรา่ งกายตามลาดบั เมอ่ื ถามถงึ ทพ่ี ง่ึ ในยามมคี วามทกุ ข์ พบวา่ เพอ่ื นคอืทพ่ี งึ่ อนั ดบั แรกของวยั รนุ่ รองลงมาคอื พอ่ แม่ ตนเอง ญาตพิ น่ี อ้ งอนิ เทอรเ์ น็ตคร/ู อาจารย์ ศาสนา สงิ่ ศักดส์ิ ทิ ธ์ิ และศนู ยฮ์ อตไลน์ ตามลาดบั ผลสารวจในสว่ นนจี้ ะสะทอ้ นใหเ้ ห็นวา่ ในบรรดาบคุ คลรอบขา้ ง วยั รนุ่ มองวา่ พอ่ แม่ คอื ผทู ้ เี่ ป็ นสาเหตแุ หง่ ปัญหาความเครยี ดและเป็ นทกุ ขข์ องพวกเขามากทส่ี ดุ แตใ่ นยามทมี่ คี วามทกุ ขพ์ อ่ แมก่ ลบั

ไมไ่ ดเ้ ป็ นทพ่ี ง่ึ อันดบั แรกของวัยรนุ่ ขณะเดยี วกนั ยงั มวี ยั รนุ่ ถงึ รอ้ ยละ 20.5 เลอื กทจี่ ะพง่ึ ตวั เองในยามมที กุ ข์ ซงึ่ หากมองในแงด่ กี อ็ าจกลา่ วไดว้ า่ วยั รนุ่ กลมุ่ นม้ี ีความคดิเป็ นผใู ้ หญพ่ อทจี่ ะหาทางแกป้ ัญหาของตัวเองโดยไมต่ อ้ งพง่ึ พาผอู ้ น่ื แต่ในทางกลบั กนั ก็อาจเป็ นเรอ่ื งน่าเศรา้ หากการพง่ึ ตวั เองของเขาเกดิ จากการทเ่ี ขาไมม่ ใี ครใหเ้ ป็ นทพ่ี งึ่ ได ้ วัยรนุ่ กลมุ่ นยี้ อ่ มเกดิ ความรสู ้ กึ โดดเดยี่ วไรค้ า่ และอาจเลอื กทางออกของปัญหาทคี่ นรอบขา้ งคาดไมถ่ งึ ก็เป็ นได ้ นอกจากน้ี ผลสารวจยงั แสดงใหเ้ ห็นวา่ วยั รนุ่ ไทยในปัจจบุ นั หา่ งไกลศาสนา ซง่ึ หากเรายังคงยดึ มน่ั ในหลกั ทว่ี า่ มนุษยค์ วรมีศาสนาเป็ นทพ่ี งึ่ พงิ ยดึ เหนย่ี วจติ ใจโดยเฉพาะในยามมที กุ ข์ แตผ่ ลการสารวจกลับชใี้ หเ้ ห็นวา่ ศาสนาไมไ่ ดม้ บี ทบาทเป็ นทพ่ี งึ่ ของวยั รนุ่ อยา่ งทค่ี วรจะเป็ น โดยมีบทบาทนอ้ ยกวา่ อนิ เทอรเ์ น็ตเสยี ดว้ ยซ้า ทัง้ ๆ ทว่ี ยั รนุ่ สว่ นใหญย่ งั คงเชอ่ื วา่ หลกั คาสอนของศาสนาน่าจะเป็ นทางออกในการแกป้ ัญหาความทกุ ข์ของพวกเขาได ้ แตก่ ารทวี่ ยั รนุ่ ไมส่ ามารถใชศ้ าสนาเป็ นทพ่ี ง่ึ ในยามมคี วามทกุ ขเ์ ป็ นเพราะขาดความรคู ้ วามเขา้ ในใจหลกั คาสอนของศาสนาอยา่ งถกู ตอ้ งเพยี งพอทจ่ี ะนาไปใชแ้ กป้ ัญหาของตวั เอง เนอ่ื งจากขาดการชแี้ นะและปลกู ฝังจากผทู ้ เ่ี กยี่ วขอ้ ง นอกจากน้ี วยั รนุ่ บางสว่ นยงั เห็นวา่ หลักคาสอนของศาสนาทเี่ ผยแพรอ่ ยทู่ กุ วนั นไ้ี มต่ รงกบั ปัญหาของพวกเขา เขา้ ใจยาก และเนน้ แตเ่ รอื่ งชาตนิ ชี้ าตหิ นา้ ซง่ึ ไกลตวั เกนิ ไป ผลสารวจครัง้ นสี้ รปุ ไดว้ า่ วัยรนุ่ ไทยในปัจจบุ นักาลงั เผชญิ กบั สภาวะความกดดันจากสงั คมรอบขา้ งอยา่ งทว่ี ยั รนุ่ ยคุ กอ่ นๆ ไมเ่ คยประสบ ไมว่ า่ จะเป็ นการเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเร็วของโลกในยคุ สงั คมขา่ วสาร ทแี่ มแ้ ตผ่ ใู ้ หญซ่ ง่ึ ผา่ นรอ้ นผา่ นหนาวมานาน มปี ระสบการณ์ชวี ติ มาอยา่ งโชกโชนกย็ ังแทบรับมอื ไมไ่ หว และบางรายตอ้ งตกเป็ นเหยอ่ื ของผทู ้ รี่ จู ้ ักใช ้

ขอ้ มลู ขา่ วสารใหเ้ ป็ นประโยชนก์ บั ตนเองมากกวา่ โดยรไู ้ มเ่ ทา่ทนั นอกจากน้ีการดารงชวี ติ ของผคู ้ นในสงั คมปัจจบุ นั ทต่ี กอยภู่ ายใตก้ ระแสวตั ถนุ ยิ ม ซงึ่ดาเนนิ ไปในลกั ษณะแกง่ แยง่ แขง่ ขนั กนั โดยผชู ้ นะเทา่ นัน้ จงึ จะประสบความสาเร็จและกา้ วหนา้ ในอาชพี การงาน สง่ ผลใหแ้ นวทางการอบรมเลย้ี งดแู ละการใหก้ ารศกึ ษาแกเ่ ด็กไทยมงุ่ เนน้ ทกี่ ารแขง่ ขนั เพอ่ื เอาชนะเหนอื คนอนื่รอบขา้ ง จนดเู หมอื นวา่ โลกนไี้ มม่ มี ติ รมแี ตศ่ ตั รคู แู่ ขง่ เทา่ นัน้ ยงิ่ ไปกวา่ นัน้สภาพครอบครัวไทยยคุ ใหมซ่ งึ่ เป็ นครอบครัวเดย่ี วทคี่ อ่ นขา้ งวา้ เหว่เนอ่ื งจากไมม่ ปี ่ ยู า่ ตายายคอยใหค้ าชแี้ นะในยามทพ่ี อ่ แมต่ อ้ งออกไปทางานหาเลยี้ งชพี นอกบา้ น สภาพการณ์ตา่ ง ๆ เหลา่ นลี้ ว้ นสง่ ผลกระทบโดยตรงตอ่วัยรนุ่อยา่ งไมอ่ าจหลกี เลย่ี งได ้ ดงั นัน้ การปรับเปลยี่ นแนวคดิ และพฤตกิ รรมของวัยรนุ่ ไทยคงไมไ่ ดเ้ ป็ นความรับผดิ ชอบของผทู ้ เ่ี ป็ นวัยรนุ่ เองเทา่ นัน้ แตท่ กุคนในสงั คม กล็ ว้ นแลว้ แตจ่ ะตอ้ งมสี ว่ นรับผดิ ชอบดว้ ยกนั ทัง้ สน้ิ http://research.bu.ac.th/extra/article018.html


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook