Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มรายงานการอบรมพัฒนา สสวท.64 ครูวรรณภา อ่างทอง

เล่มรายงานการอบรมพัฒนา สสวท.64 ครูวรรณภา อ่างทอง

Published by dr.angthong, 2021-06-01 08:14:42

Description: เล่มรายงานการอบรมพัฒนา สสวท.64 ครูวรรณภา อ่างทอง

Search

Read the Text Version

คำนำ ภายในระยะเวลาไม่กี่ทศวรรษที่ผ่านมา ระบบการศึกษาในแต่ละประเทศบนโลกเป็นสิ่งที่มีความเป็นพลวัตสูง กล่าวคือ การเรียนรู้ของเยาวชนยุคใหม่มีความแตกต่างจากรูปแบบที่เคยเป็นมาอย่างสิ้นเชิง ทั้งนี้ด้วยกระแส โลกาภิวัตน์ที่ทำให้สังคมโลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว สมรรถนะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในโลกอนาคต จึงเปลี่ยนแปลงไปด้วย “ครู” ผู้เป็นหนึ่งในฟันเฟืองที่สำคญั ที่สดุ ของระบบการศึกษา จะต้องปรับเปลี่ยนบทบาท จากการเป็นเพียงผู้ถ่ายทอดวิชาความรู้ ไปเป็น “ผู้อำนวยการเรียนรู้ (learning facilitator)” การจัดการเรียนรู้ โดยการที่ครูนำเอาเพียงความรู้และประสบการณ์ในอดีตมาถ่ายทอดให้กับผู้เรียน จึงไม่เพียงพอที่จะส่งเสริม ผู้เรียนให้มีสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับสังคมในศตวรรษที่ 21 แต่ครูจะต้องทำหน้าที่สนับสนุนการเรียนรู้สำหรับ เยาวชนในยุคดิจิทัล โดยเพิ่มเติมการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ โดยเฉพาะในวิชา วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี ทเี่ ปน็ รากฐานสำคญั ของศาสตรแ์ ห่งชีวติ อีกทั้งเปน็ องคค์ วามร้สู ำคญั ท่จี ะเกดิ ขึ้นได้จากประสบการณ์ ซึ่งแต่ละคนตอ้ งตกผลกึ เป็นหลกั การเพ่ือนำมาใช้ในชวี ิตต่อไป สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ดำเนินงานตามพันธกิจด้านการพัฒนา การจัดการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี มาอย่างต่อเนื่องตลอด 5 ทศวรรษ ได้นำความรู้ และประสบการณ์ มาใช้ในการดำเนินงานและพัฒนา โครงการเพิ่มศักยภาพครูให้มีสมรรถนะของครูยุคใหม่ สำหรับการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 โดยประสานความร่วมมือกบั กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏในทุกภูมิภาค ซึ่งถือเปน็ สถาบันการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น เพื่อเป็นแกนนำในการเตรียมความพร้อมครูในทุกพื้นที่ของประเทศ สำหรับการเป็นครูยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งเน้นการยกระดับการจัดการเรียนรู้บนพื้นฐานของหลักสูตร ฐานสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ผ่านการสร้างความรู้ความเข้าใจในการจัดทำ แผนการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ ทง้ั นเ้ี พื่อพฒั นาระบบการเรียนรู้ของผ้เู รียนและทำให้ผเู้ รยี นสามารถกำกับ การเรียนรูท้ ี่เหมาะสมกบั ตนเองไดอ้ ยา่ งตอ่ เนือ่ ง แมจ้ ะสำเร็จการศึกษาจากโรงเรยี นแลว้ กต็ าม เอกสารประกอบการอบรมฉบับนี้ จัดทำขึ้นโดยความร่วมมือระหว่าง ฝ่ายบริหารโครงการริเริ่ม สสวท. คณาจารย์มหาวิทยาลัย ครูผู้สอน ศึกษานิเทศก์ และผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งได้รวบรวมเนื้อหาที่จำเป็นในการสร้าง แนวทางการปรับเปลี่ยนการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ ผ่านกลไกความร่วมมือกับ คณาจารยม์ หาวิทยาลัยราชภัฏ ทมี่ ีความรู้ ความสามารถ และความเชี่ยวชาญ เป็นผู้ถา่ ยทอดองค์ความรู้ดังกล่าว รวมท้งั เปน็ พ่เี ลยี้ งทางวชิ าการในการจัดกระบวนการชุมชนแหงการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูได้ปรับใช้องค์ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมการอบรม ในการพฒั นาคุณภาพการเรยี นรขู้ องนักเรยี นให้เหมาะสมตามบรบิ ทของโลกอนาคตต่อไป ฝ่ายบรหิ ารโครงการริเรมิ่ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี



สารบญั หนว่ ยที่ 1 ความสำคัญและองค์ประกอบของการอบรม หนา้ • ความสำคัญ วตั ถปุ ระสงค์ และรปู แบบของการอบรม 1 • เอกสาร สอื่ ประกอบการอบรม และการเตรยี มตวั กอ่ นการอบรม 2 หน่วยที่ 2 สมรรถนะทางวิทยาศาสตรต์ ามแนวทาง สสวท. 2 • การศกึ ษากำลังจะเปลย่ี น : การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 5 • องคป์ ระกอบสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวทาง สสวท. • ระดบั ความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์ 6 6 หน่วยที่ 3 สมรรถนะและตวั อยา่ งกจิ กรรมการเรยี นรู้ 7 • สมรรถนะการอธิบายปรากฏการณใ์ นเชิงวทิ ยาศาสตร์ 9 • สมรรถนะการประเมินและออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 10 ทางวิทยาศาสตร์ 14 • สมรรถนะการแปลความหมายข้อมลู และการใช้ประจักษพ์ ยาน 18 ในเชงิ วทิ ยาศาสตร์ 23 หน่วยที่ 4 PLC เพื่อการพฒั นาการจัดการเรียนรฐู้ านสมรรถนะ 24 • ความหมายของชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวิชาชพี 25 • ความสำคญั ของกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ 26 • ช่องวา่ ง (Gap) ของการพัฒนา 26 • บทบาทของผบู้ ริหารกับการขบั เคลือ่ นชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ 28 • ขัน้ ตอนการจดั กระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ 28 • สมาชิกในชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ 29 • บทบาทหน้าทีข่ องมหาวทิ ยาลัยราชภัฏในการดำเนินงานรว่ มกบั โรงเรียน 30 ท่เี ขา้ รว่ มโครงการ • ตัวอย่างแบบบันทึกการจัดกระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ 47 เอกสารอา้ งอิง 48 เอกสารสำหรบั สบื คน้ เพ่ิมเติม



1หน่วยที่ ความสำคัญและองคป์ ระกอบ ของการอบรม จดุ มุ่งหมาย • รแู้ ละเข้าใจถงึ ความสำคัญ วตั ถปุ ระสงค์ และรูปแบบของการอบรม • รู้และเขา้ ใจแนวทางในการเตรยี มตวั ศึกษาเอกสารและสื่อประกอบ กอ่ นเข้ารว่ มการอบรม เพือ่ ประโยชน์สงู สุดตอ่ ผู้เข้าร่วมการอบรม หน่วยที่ 1 ความสำคญั และองค์ประกอบของการอบรม | 1

ความสำคัญ วตั ถปุ ระสงค์ และรูปแบบของการอบรม โครงการเพิ่มศักยภาพครใู ห้มสี มรรถนะของครยู ุคใหม่สำหรับการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 เป็นความร่วมมือ ระหว่างสถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) และมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ (มรภ.) 38 แห่ง ทั่วประเทศ เพื่อยกระดับการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน มุ่งสู่การจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะที่เน้นเสริมสร้าง ผเู้ รียนให้มที กั ษะความสามารถที่จำเปน็ สำหรบั การเผชญิ หนา้ กับปญั หาและความท้าทายในโลกอนาคต สสวท. และ มรภ. เชื่อว่า ครู เป็นหนึ่งในปัจจัยที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการยกระดับคุณภาพการจัด การเรียนรู้ของผู้เรียน โครงการฯ จึงมุ่งเป้าสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพครูในการปรับเปลี่ยนกลวิธีการจัด การเรียนรู้ เพื่อเปิดห้องเรียนให้เป็นพื้นที่สำหรับนักเรียนในการฝึกฝนสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี อันเป็นศาสตร์วิชาที่เป็นพื้นฐานของการดำรงชีวิตในยุคปัจจุบันที่ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ได้เปลี่ยนแปลงวถิ ีชีวิตของผู้คนไปโดยส้ินเชงิ ดังนั้น เพื่อขบั เคลื่อนให้การจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะเกดิ ขึน้ ได้ อย่างเป็นรูปธรรม โครงการฯ จึงให้ความสำคัญกับการสนับสนุนผู้เข้าร่วมอบรม ให้ได้ทดลองปรับใช้สมรรถนะ ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีตามแนวทาง สสวท. ที่จัดทำขึ้นโดยความร่วมมือกับอาจารย์ มหาวิทยาลัย ครู ศึกษานิเทศก์ และผู้เชี่ยวชาญ เพื่อนำไปประกอบการจัดเตรียมแผนการจัดการเรียนรู้ฐาน สมรรถนะ ทั้งนี้จะมีคณาจารย์ มรภ. ที่มีความรู้ความเข้าใจ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่จะช่วยส่งเสริม แนะนำ เสนอแนะ ความคิดเหน็ และสนับสนุนเชงิ วิชาการ ตั้งแตก่ ารเรม่ิ จดั ทำแผนการเรียนรูฐ้ านสมรรถนะ การปรบั เปลี่ยนกลวธิ ี การสอนในห้องเรยี น การออกแบบการวัดและประเมินผลสมรรถนะของนกั เรียน ตลอดจนการรว่ มแก้ไขปัญหา ที่เกิดขึ้นระหว่างการดำเนินการในแต่ละขั้นตอน ผ่านการจัดกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทา งวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) เอกสาร สือ่ ประกอบการอบรม และการเตรยี มตัวกอ่ นการอบรม การจัดการอบรมของโครงการฯ จะเป็นไปในรูปแบบออนไลน์ ที่เน้นการเปิดเวทีสำหรับการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างคณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏและครูผู้เข้าร่วมการอบรม ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อม ให้การแลกเปลีย่ นเรียนรู้เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสดุ ผู้เข้าร่วมอบรมควรศึกษาเอกสาร และสอ่ื ประกอบการอบรม ดงั นี้ 1) เอกสารประกอบการอบรม โครงการเพิ่มศักยภาพครูให้มีสมรรถนะของครูยุคใหม่สำหรับการเรียนรู้ ศตวรรษที่ 21 (เอกสารฉบบั น)ี้ 2) วีดทิ ศั นอ์ ธิบายสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ 3) วดี ิทัศน์ตวั อย่างการจดั การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ วิชาวิทยาศาสตร์ โดยคณะครโู รงเรยี นปทมุ คงคา เมื่อได้ศึกษาเอกสารและสื่อประกอบการอบรมข้างต้นแล้ว ผู้เข้าร่วมการอบรมจะต้องเข้าทำแบบทดสอบ ความรู้ความเข้าใจ ก่อนเข้าร่วมการอบรมกับ มรภ. ในวันและเวลาที่แต่ละ มรภ. ที่มีเขตพื้นที่บริการในจังหวัด ของผเู้ ขา้ รว่ มการอบรมกำหนด 2 | โครงการเพมิ่ ศกั ยภาพครูให้มีสมรรถนะของครูยคุ ใหมส่ ำหรับการเรียนรู้ศตวรรษท่ี 21

กำหนดการประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ าร เพิ่มศกั ยภาพครูใหม้ ีสม ระหวา่ งวนั ท่ี เดือน ......................... 2564 ระบบออนไลน์ 08.00 – 08.30 08.30 – 09.00 09.00 – 10.00 10.00 – 10.3 วันที่ ลงทะเบยี นผ้เู ข้ารว่ มประชมุ พิธีเปิด Pre-test 1 โดย ผา่ นระบบ ............................ online วนั ท่ี ลงทะเบยี น กจิ กรรม กิจกรรมที่ 3 2 สะทอ้ นบทเรยี น การวัดและประเมนิ ผลสมรรถน โดย .....................

มรรถนะของครูยคุ ใหม่ สำหรับการเรยี นรศู้ ตวรรษที่ 21 มหาวิทยาลยั ราชภฏั ...................... สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ 30 10.30 – 12.00 13.00 – 14.30 14.30 – 16.00 16.00 – 16.30 กจิ กรรมท่ี 1 กิจกรรมที่ 2 ตรวจสอบแนวคดิ การออกแบบแผนการจัดเรียนรู้ สมรรถนะทาง ทีเ่ นน้ สมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ โดย ................................. 3 กจิ กรรมท่ี 4 Post-test นะทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการ PLC ผา่ นระบบ ......... โดย ............................. online หน่วยที่ 1 ความสำคัญและองค์ประกอบของการอบรม | 3



2หนว่ ยท่ี สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ ตามแนวทาง สสวท. จดุ ม่งุ หมาย • เล็งเหน็ และตระหนักถึงความสำคัญของการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ • ร้จู กั และเขา้ ใจสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ ตามแนวทาง สสวท. • รจู้ กั และเข้าใจระดับความสามารถทางวิทยาศาสตร์ เพอ่ื นำไปใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ฐานสมรรถนะทเ่ี หมาะสมตามชว่ งวยั ของผู้เรยี น หน่วยท่ี 2 สมรรถนะทางคณติ ศาสตร์ ตามแนวทาง สสวท. | 5

การศึกษากำลังจะเปลี่ยน : การเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม รวมถึงการเปลี่ยนผ่าน สู่ดิจิทัล (digital transformation) การมีความรู้เพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอต่อการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ปญั หาทเี่ กดิ ขึน้ ในศตวรรษท่ี 21 ซึง่ จะมาในรูปแบบทหี่ ลากหลายและไม่สามารถคาดการณ์ได้ ดังนั้นทักษะและสมรรถนะในการแก้ปัญหาจึงมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับบุคคล เพื่อให้สามารถ ปรับตัวได้เท่าทนั กับสังคมและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดข้ึนในอนาคต ตัวอย่างของทักษะการเรียนร้แู ละนวตั กรรม (learning and innovation skills) เชน่ การคิดสร้างสรรค์และนวตั กรรม (creativity and innovation) การคิด แบบมีวิจารณญาณและการแกป้ ัญหา (critical thinking and problem solving) การสือ่ สาร (communication) และความรว่ มมือ (collaboration) เป็นต้น วธิ กี ารหนง่ึ ในการเตรยี มผ้เู รียนให้พร้อมสำหรับการเปลย่ี นแปลงนี้ คือ การปรับการเรยี นเปลีย่ นการสอน โดยมุ่งเสริมสร้างให้ผู้เรียนมี สมรรถนะ (competency) ที่จำเป็น เพื่อที่จะสามารถเรียนรู้วิธีการแก้ปัญหาได้ นอกเหนือจากการทำข้อสอบในห้องเรียน เพราะการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง ไม่สามารถใช้เพียงความรู้ ที่จดจำได้จากการเรียนในชั้นเรียนเท่านั้น แต่ยังต้องอาศัยสมรรถนะและความสามารถในการเผชิญหน้าและแกไ้ ข ปญั หาที่ไม่เคยพบเจอมาก่อนดว้ ย สำหรับวิชาวิทยาศาสตร์ ฝ่ายบริหารโครงการริเริ่ม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้ร่วมมือกับผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์จากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ และมหาวิทยาลัยราชภัฏ ศึกษานิเทศก์ และครูผู้สอน ในการพัฒนา สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ตามแนวทาง สสวท. เพื่อเป็นแนวทางสำหรับการพฒั นา การจดั การเรยี นการสอนฐานสมรรถนะในอนาคต องคป์ ระกอบของสมรรถนะทางวทิ ยาศาสตร์ตามแนวทาง สสวท. การแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับบริบททางวิทยาศาสตร์ในท่ีมีความท้าทายหรือเป็นปัญหาที่พบเจอในโลก ชีวติ จรงิ เราจะต้องอาศัยการนำเอาความรดู้ า้ นเนอ้ื หาทางวิทยาศาสตร์ ผนวกเข้ากบั สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ • การอธบิ ายปรากฏการณ์ในเชงิ วทิ ยาศาสตร์ (explain phenomena scientifically) • การประเมินและออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความร้ทู างวิทยาศาสตร์ (evaluate and design scientific enquiry) • การแปลความหมายข้อมูลและการใช้ประจักษ์พยานในเชิงวทิ ยาศาสตร์ (interprete data and evidence scientifically) นอกเหนอื จากสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ทั้ง 3 ด้าน การแกป้ ัญหาทางวทิ ยาศาสตร์ จะตอ้ งใช้องค์ความรู้ ด้านเนื้อหาทางวิทยาศาสตร์ สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ ได้แก่ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตร์กายภาพ และวิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ รวมถึงทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่จะเป็น 6 | โครงการเพ่ิมศักยภาพครใู หม้ ีสมรรถนะของครูยุคใหมส่ ำหรับการเรยี นร้ศู ตวรรษท่ี 21

พื้นฐานสำคัญที่เมื่อผู้เรียนได้ฝกึ ฝนจนมีความชำนาญแล้ว จะมีสมรรถนะในด้านต่าง ๆ ที่จะใช้ในการแก้ปญั หา ทีซ่ ับซอ้ นหรือไม่เคยเผชิญหน้ามากอ่ นในอนาคตได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ระดบั ความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์ การนำเอาสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ทั้ง 3 ด้าน ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนสำหรับ ผูเ้ รยี นในแตล่ ะชว่ งวยั จะต้องคำนงึ ถึงระดับความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์ท่เี หมาะสมสำหรบั ช่วงวัยน้ัน ๆ ดว้ ย สามารถแบ่งระดับความสามารถทางวิทยาศาสตร์สำหรับผู้เรียนได้เป็น 6 ระดับ ตามบริบทและความซับซ้อน ของสถานการณ์ท่แี ตกต่างกนั ดงั แสดงในรูปที่ 2.1 รูปที่ 2.1 ระดับความสามารถทางวิทยาศาสตร์ จากรูปที่ 2.1 จะเห็นวา่ ระดบั ความสามารถ 1-2 จะมีความเกยี่ วขอ้ งกับสถานการณ์ที่ใชก้ ารแก้ไขปญั หา ด้วยวิธีการที่คุ้นเคย ไม่ซับซ้อน และเป็นการให้เหตุผลแบบตรงไปตรงมา ซึ่งอยู่ในระดับที่เหมาะสมกับการจัด การเรียนรู้สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ในระดับความสามารถ 3-4 จะมีความเกี่ยวข้องกับ สถานการณ์ที่ต้องใช้วิธีการแก้ไขปัญหาที่มีความซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น จึงเหมาะกับการจัดการเรียนรู้สำหรับ นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ซึ่งเมื่อผู้เรียนสำเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ีเป็นการศึกษา ภาคบังคับตามระบบการศึกษาของประเทศไทยแล้ว ควรมีระดับความสามารถทางวิทยาศาสตร์ในระดับ 3-4 เป็นพื้นฐาน อย่างไรก็ตาม ปัญหาสำคัญทมี่ คี วามจำเปน็ ต้องไดร้ ับการแกไ้ ขเร่งด่วน คอื การพฒั นาผู้เรียนศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 แต่ยังมีระดับความสามารถทางวิทยาศาสตร์ต่ำกว่าระดับพื้นฐาน (ระดับ 1-2) ผ่านการประยุกต์ใช้การจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อให้ผู้เรียนมีสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ที่จำเป็นเพียงพอ หน่วยที่ 2 สมรรถนะทางคณติ ศาสตร์ ตามแนวทาง สสวท. | 7

สำหรับการดำรงชวี ติ ในศตวรรษที่ 21 ทั้งนีจ้ ะต้องไมล่ ะเลยที่จะเปิดโอกาสให้กับกล่มุ นักเรียนทมี่ ีศักยภาพสูงกว่า ระดับพื้นฐาน (ระดับ 5-6 หรือสูงกว่า) โดยจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ ที่มีความซับซ้อนสูง หรืออาจเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในบริบทที่ไม่คุ้นชิน โดยต้องสามารถเสนอวิธีการแก้ไขปัญหา ในรปู แบบใหม่ เพอ่ื ให้ผูเ้ รียนกลุม่ นี้ไดร้ ับการพฒั นาอย่างเต็มตามศักยภาพของตนเอง อย่างไรก็ตาม ครูที่เป็นผู้อำนวยการเรียนรู้ในห้องเรยี นและเป็นผู้ที่เข้าใจธรรมชาติของนักเรียนมากที่สดุ อาจปรับระดับของสถานการณ์ปัญหาที่กำหนดให้นักเรียนแก้ปัญหาร่วมกันในห้องเรียน ให้เหมาะสมกับระดับ ความสามารถของนกั เรยี นแต่ละกลุ่ม ซงึ่ อาจสูงหรอื ต่ำกวา่ ระดบั ความสามารถตามชว่ งช้นั ท่กี ล่าวไปข้างต้นกไ็ ด้ 8 | โครงการเพม่ิ ศักยภาพครูให้มีสมรรถนะของครูยคุ ใหม่สำหรบั การเรียนรศู้ ตวรรษที่ 21

3หน่วยท่ี สมรรถนะและตัวอยา่ ง กจิ กรรมการเรียนรู้ จุดมงุ่ หมาย • รจู้ ักและเข้าใจสมรรถนะทางวิทยาศาสตรด์ ้านต่าง ๆ เพื่อปรับใช้ ในการจัดการเรยี นรทู้ ่ีจะฝกึ ฝนผูเ้ รียนใหม้ ีสมรรถนะทจ่ี ำเปน็ สำหรับศตวรรษท่ี 21 • สามารถนำระดบั ความสามารถของแต่ละสมรรถนะไปประยกุ ตใ์ ช้ สำหรับการจดั การเรยี นรูท้ ีเ่ หมาะสมใหก้ บั นกั เรยี นในแต่ละช่วงชน้ั ตามสาระการเรยี นรู้และบริบทที่แตกต่างกนั ในแต่ละห้องเรยี น หนว่ ยที่ 3 สมรรถนะและตัวอยา่ งกจิ กรรมการเรยี นรู้ | 9

สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ทั้ง 3 ด้าน ที่กล่าวมาข้างต้น ประกอบด้วยสมรรถนะย่อยที่เป็นองค์ประกอบ ของแต่ละสมรรถนะหลักนั้น ๆ ในหน่วยที่ 3 นี้ ได้รวบรวมคำอธิบายสมรรถนะย่อย พร้อมทั้งแบ่งสมรรถนะย่อย ตามระดับความสามารถที่เหมาะสมกับแต่ละชว่ งวัยของผู้เรยี น โดยมีเป้าประสงค์เพื่อสรา้ งความเขา้ ใจให้กับครู ผู้เข้าร่วมการอบรมถึงความหมายของแต่ละสมรรถนะ จนกระทั่งสามารถนำสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์เหล่าน้ัน ไปผนวกเข้ากับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียนให้เหมาะสมกับสาระการเรียนรู้และบริบทของห้องเรียน เพอ่ื เปดิ โอกาสให้ผู้เรียนไดฝ้ ึกฝนสมรรถนะเหล่านั้นซงึ่ มคี วามจำเป็นอยา่ งย่ิงสำหรบั การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 สมรรถนะการอธิบายปรากฏการณ์ในเชงิ วทิ ยาศาสตร์ (A) สมรรถนะการอธบิ ายปรากฏการณใ์ นเชิงวทิ ยาศาสตร์ ซงึ่ ตอ่ ไปในเอกสารนี้จะเรียกโดยยอ่ วา่ A หมายถงึ ความสามารถของบุคคลในการใช้ความรู้ด้านเนื้อหาเพื่อแปลความและให้คำอธิบายกับปรากฏการณ์ทั้งที่เกิดข้ึน ในชีวิตประจำวัน หรืออาจเป็นปรากฏการณ์ในบริบทที่ไม่คุ้นเคยได้อย่างเหมาะสม ทั้งนี้รวมถึงความสามารถ ในการบรรยายและตคี วาม คาดการณ์หรือพยากรณ์การเปลีย่ นแปลงทีอ่ าจเกิดข้ึน อีกท้งั ยงั สามารถประเมินไดว้ ่า การบรรยายหรือการอธิบายปรากฏการณ์หนึ่ง ๆ นั้นสมเหตุสมผมหรือไม่ หรือการคาดการณ์นั้นจะเป็นไปได้ หรือไม่ ด้วยเหตุผลอะไร สมรรถนะ A ประกอบด้วยสมรรถนะย่อย 5 ข้อ ดังน้ี A1 นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใชส้ รา้ งคำอธบิ ายทีส่ มเหตุสมผล A2 ระบุ ใช้ และสรา้ งแบบจำลองและตวั แทนเชงิ อธบิ าย A3 พยากรณก์ ารเปลยี่ นแปลงในเชิงวิทยาศาสตรโ์ ดยใช้ความเป็นเหตุเปน็ ผลท่ีเป็นไปได้ A4 เสนอสมมตฐิ านเพอ่ื ใชใ้ นการอธิบาย A5 อธบิ ายถึงศักยภาพของความรทู้ างวิทยาศาสตรท์ สี่ ามารถนำไปใชเ้ พอ่ื สงั คม อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ครูผูเ้ ข้าร่วมการอบรมสามารถนำสมรรถนะย่อยไปปรับใชส้ ำหรบั การจัดการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละช่วงชั้น สามารถแบ่งสมรรถนะย่อยตามระดับความสามารถของผู้เรียนได้ดังแสดง ในตารางที่ 3.1 10 | โครงการเพม่ิ ศกั ยภาพครใู หม้ สี มรรถนะของครยู คุ ใหม่สำหรับการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21

ตารางท่ี 3.1 การอธิบายปรากฏการณ์ในเชงิ วิทยาศาสตร์ (A) A A1 A2 พยากรณ นำความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์มาใช้ ระบุ ใช้ และสร้าง ในเชงิ ว สร้างคำอธิบายทส่ี มเหตสุ มผล แบบจำลองและตัวแทนเชงิ อธิบาย ความเป็น สามารถบอกขอ้ เทจ็ จริง สามารถสร้างแบบจำลอง สามารถคาด ระดับ ที่ไดจ้ ากการสังเกต ของเรอื่ งราวท่ีไดจ้ ากการสังเกต ของสถานก สถานการณ์ในชวี ิตประจำวนั ทีส่ ังเกตได้ โ 1 สถานการณ์ในชวี ติ ประจำวัน โดยใชค้ ำศัพทท์ างวิทยาศาสตร์ โดยใช้คำศพั ท์ทางวิทยาศาสตร์ สามารถบอกความรู้ สามารถสร้างและระบอุ งคป์ ระกอบ สามารถคาด ระดบั ทางวิทยาศาสตร์ทเ่ี ก่ียวข้อง ของแบบจำลองของเรื่องราวทไี่ ด้จาก ของสถานก 2 กบั สถานการณ์ในชีวิตประจำวัน การสังเกตสถานการณ์ในชีวติ ประจำวัน ทส่ี ังเกต โดยใชค้ วามร้ทู างวิทยาศาสตร์ ทาง

A3 A4 A5 ณ์การเปลยี่ นแปลง เสนอสมมติฐาน อธิบายถงึ ศักยภาพ วิทยาศาสตรโ์ ดยใช้ เพื่อใช้ในการอธิบาย ของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ นเหตเุ ป็นผลท่เี ปน็ ได้ ที่สามารถนำไปใช้เพอ่ื สงั คม สามารถเสนอสมมติฐานจากการสังเกต ดการณ์การเปลีย่ นแปลง สถานการณ์ในชวี ิตประจำวัน สามารถบอกประโยชนจ์ ากการใช้ การณ์ในชีวติ ประจำวนั ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ท่ีอาจเกดิ ข้นึ โดยใชป้ ระสบการณเ์ ดิม ที่ไม่จำเปน็ ต้องนำไปสู่การออกแบบ การตรวจสอบทางวิทยาศาสตรไ์ ด้ ในระดบั บุคคลและสงั คม ดการณ์การเปล่ยี นแปลง การณ์ในชีวติ ประจำวนั สามารถเสนอสมมติฐานจากการสงั เกต สามารถบอกประโยชนจ์ ากการใช้ ตได้ โดยใชค้ วามรู้ สถานการณ์ในชวี ติ ประจำวนั ความร้ทู างวิทยาศาสตร์ ทีอ่ าจเกิดขึน้ งวทิ ยาศาสตร์ ทีส่ ามารถนำไปสู่การออกแบบ ในระดบั สงั คมที่กว้างข้ึน การตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์ได้ หนว่ ยท่ี 3 สมรรถนะและตัวอยา่ งกจิ กรรมการเรยี นรู้ | 11

A A1 A2 พยากรณ นำความรทู้ างวทิ ยาศาสตรม์ าใช้ ระบุ ใช้ และสร้าง ในเชงิ ว สร้างคำอธบิ ายทส่ี มเหตุสมผล แบบจำลองและตวั แทนเชงิ อธิบาย ความเปน็ สามารถใช้ความรทู้ างวิทยาศาสตร์ สามารถสรา้ งแบบจำลองเชิงอธบิ าย สามารถพ ทซี่ ับซ้อน ในการสร้างคำอธิบาย ทใี่ ชค้ วามรทู้ างวิทยาศาสตร์ท่ซี ับซ้อน ความสมั พัน ระดบั เพอ่ื แสดงความสัมพันธร์ ะหว่างปัจจยั เพ่ือนำเสนอความสัมพนั ธร์ ะหว่าง ของเหตกุ 3 ทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับปรากฏการณ์นั้น องคป์ ระกอบของแบบจำลอง ทางวทิ ยาศาส ได้อย่างสมเหตุสมผล ทีเ่ ก่ียวข้องกับปรากฏการณน์ ั้น ได้อย่างสมเหตสุ มผล สามารถใชค้ วามรู้ทางวิทยาศาสตร์ สามารถสร้างแบบจำลองเชิงอธบิ าย สามารถพ ที่ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ความสมั พัน ระดบั ทีซ่ บั ซ้อนหรอื เปน็ นามธรรม ทซ่ี บั ซ้อนหรอื เปน็ นามธรรม ในการสร้างคำอธบิ าย ของเหต 4 เหตกุ ารณ์ท่ีไม่คนุ้ เคย เพอ่ื อธบิ ายเหตุการณ์ทีไ่ ม่คุน้ เคย โดยใชค้ วา ได้อยา่ งสมเหตุสมผล ท่ซี บั ซ้อน 12 | โครงการเพมิ่ ศกั ยภาพครูให้มีสมรรถนะของครูยุคใหม่สำหรับการเรยี นรูศ้ ตวรรษที่ 21

A3 A4 A5 ณก์ ารเปลีย่ นแปลง เสนอสมมตฐิ าน อธิบายถงึ ศักยภาพ วทิ ยาศาสตรโ์ ดยใช้ เพ่อื ใช้ในการอธบิ าย ของความรูท้ างวิทยาศาสตร์ นเหตุเป็นผลท่ีเปน็ ได้ ที่สามารถนำไปใชเ้ พ่ือสงั คม สามารถเสนอสมมตฐิ าน พยากรณแ์ ละอธบิ าย เพือ่ อธิบายปรากฏการณ์ สามารถบอกประโยชน์จากการใช้ นธข์ องการเปล่ียนแปลง โดยใชค้ วามรู้ทางวิทยาศาสตรท์ ซ่ี ับซ้อน ความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ ท่อี าจเกดิ ขึ้น การณ์ โดยใช้ความรู้ สตรไ์ ด้อย่างสมเหตสุ มผล อย่างสมเหตุสมผล ในระดับบคุ คลและสงั คม โดยมีเหตผุ ลสนบั สนุน พยากรณแ์ ละอธิบาย สามารถเสนอสมมติฐานเพื่ออธิบาย สามารถบอกประโยชน์จากการใช้ นธข์ องการเปลี่ยนแปลง และลงขอ้ สรุปเหตกุ ารณท์ ี่ไมค่ นุ้ เคย ความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ท่ีซบั ซอ้ น ตกุ ารณท์ ไี่ ม่คุ้นเคย โดยใช้ความร้ทู างวิทยาศาสตร์ท่ซี บั ซอ้ น หรอื เปน็ นามธรรม ทอ่ี าจเกิดข้นึ ามรทู้ างวิทยาศาสตร์ หรอื เป็นนามธรรม และใช้หลักฐาน นหรอื เปน็ นามธรรม เชิงประจกั ษ์เพ่ือสนับสนุนการอธบิ าย ในระดบั สังคมทีก่ วา้ งขน้ึ โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษส์ นับสนุน

A A1 A2 พยากรณ นำความรู้ทางวทิ ยาศาสตรม์ าใช้ ระบุ ใช้ และสรา้ ง ในเชิงว สรา้ งคำอธิบายทส่ี มเหตสุ มผล แบบจำลองและตัวแทนเชงิ อธิบาย ความเป็น สามารถใชค้ วามรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ สามารถสรา้ งแบบจำลองเชงิ อธบิ าย สามารถพ ทใี่ ชค้ วามรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ ความสมั พนั ระดบั ท่ซี บั ซ้อนและเป็นนามธรรม ท่ีซบั ซอ้ นและเป็นนามธรรม ในการสรา้ งคำอธิบาย ของปราก 5 ปรากฏการณท์ ีไ่ มค่ ้นุ เคย โดยระบคุ วามสมั พันธเ์ ชิงสาเหตุ โดยใชค้ วา เพ่อื อธิบายปรากฏการณ์ทไ่ี มค่ ุน้ เคย ท่ซี บั ซอ้ น สามารถใช้ความรู้ทางด้านวทิ ยาศาสตร์ กายภาพ ชวี ภาพ โลกและอวกาศ สามารถสรา้ งแบบจำลองเชิงอธิบาย สามารถพ ท่ีใชค้ วามรทู้ างดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ปรากฏการณ ในระดบั บรู ณาการ เพือ่ เสนอสมมติฐาน กายภาพ ชีวภาพ โลกและอวกาศ ระดับ เชิงอธิบายต่อปรากฏการณใ์ หม่ ท่ีมเี หตุผล ในระดบั บูรณาการ โดยระบุ ทางดา้ นวิทยา 6 ในการพยากรณ์เหตุการณ์ในอนาคต ความสมั พนั ธเ์ ชงิ สาเหตุ โลกและอวก เพอ่ื อธิบายปรากฏการณ์ ทซ่ี ับซอ้ นและไม่คุ้นเคย

A3 A4 A5 ณก์ ารเปลีย่ นแปลง เสนอสมมตฐิ าน อธิบายถงึ ศักยภาพ วทิ ยาศาสตรโ์ ดยใช้ เพ่ือใชใ้ นการอธบิ าย ของความรทู้ างวิทยาศาสตร์ นเหตเุ ปน็ ผลทีเ่ ปน็ ได้ ท่ีสามารถนำไปใชเ้ พือ่ สงั คม พยากรณ์และอธบิ าย สามารถเสนอสมมติฐานเพอ่ื อธิบาย สามารถบอกประโยชนจ์ ากการใช้ นธข์ องการเปลี่ยนแปลง และลงขอ้ สรุปปรากฏการณท์ ่ีไม่คนุ้ เคย ความร้ทู างวิทยาศาสตร์ทีซ่ ับซ้อน กฏการณ์ที่ไม่คนุ้ เคย โดยใชค้ วามรู้ทางวิทยาศาสตร์ท่ซี ับซ้อน และเปน็ นามธรรม ท่ีอาจสง่ ผลต่อ ามรทู้ างวิทยาศาสตร์ ปรากฏการณ์ทางสังคม โดยใชห้ ลกั ฐาน นและเปน็ นามธรรม และเป็นนามธรรม และใช้หลักฐาน เชิงประจักษแ์ ละเหตผุ ลสนับสนนุ เชงิ ประจักษ์เพ่อื สนับสนุนการอธบิ าย พยากรณ์และอธิบาย สามารถเสนอสมมติฐานเพื่ออธบิ าย สามารถบอกประโยชน์จากการใช้ ณ์ โดยสรา้ งคำกลา่ วอา้ ง และลงขอ้ สรปุ ปรากฏการณท์ ่ไี ม่คุ้นเคย ความรูท้ างวิทยาศาสตรท์ ีซ่ บั ซ้อน ลสนับสนนุ ดว้ ยความรู้ และเปน็ นามธรรม ท่อี าจส่งผลตอ่ าศาสตร์กายภาพ ชวี ภาพ โดยใชค้ วามรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ปรากฏการณ์ทางสังคม โดยใชค้ วามรู้ กาศ ในระดบั บรู ณาการ กายภาพ ชวี ภาพ โลกและอวกาศ ทางดา้ นวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ชวี ภาพ ในระดบั บรู ณาการ และใช้หลกั ฐาน โลกและอวกาศ ในระดบั บรู ณาการ เชิงประจกั ษ์ ในการสนับสนุนการอธิบาย รวมถึงเข้าใจวา่ สมมตฐิ าน สามารถเปล่ียนแปลงได้ ถ้ามหี ลกั ฐานใหมท่ ี่นา่ เชอื่ ถอื หนว่ ยท่ี 3 สมรรถนะและตวั อย่างกจิ กรรมการเรยี นรู้ | 13

สมรรถนะการประเมนิ และออกแบบกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ ทางวทิ ยาศาสตร์ (B) สมรรถนะการประเมินและออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความร้ทู างวิทยาศาสตร์ ซึ่งต่อไปในเอกสารน้ี จะเรียกโดยย่อว่า B หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการประเมินข้อค้นพบทางวิทยาศาสตร์อย่างมี วิจารณญาณ สามารถแยกแยะได้ว่าคําถามหรือปัญหาใดสามารถตอบหรือแก้ไขได้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ซ่งึ ต้องใช้ความรู้เก่ยี วกับวธิ ีการและแนวปฏิบตั ทิ ี่ดใี นการสาํ รวจตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์ เชน่ การดำเนินการ ทดสอบที่เที่ยงตรงสามารถทำได้อย่างไร ต้องเปรียบเทียบข้อมูลที่ได้กับอะไรบ้าง ตัวแปรใดบ้างที่ต้องควบคุม และตัวแปรใดบ้างที่ต้องทำการเปลี่ยนแปลงเพื่อสำรวจตรวจสอบในสิ่งที่ต้องการรู้ หรือจำเป็นจะต้องค้นคว้า ขอ้ มูลอะไรเพม่ิ เตมิ บ้าง หรอื มสี ง่ิ ใดบา้ งทีต่ อ้ งดำเนนิ การเพื่อเกบ็ ข้อมลู ที่ตอ้ งการ และจะต้องดำเนนิ การอย่างไร นอกจากนี้ ยังรวมถึงการตระหนักถึงความสําคัญและคุณค่าของงานวิจัยท่ีส่งผลต่อการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ ในอนาคต และความสําคัญของการตั้งข้อสงสัยในการรายงานการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ว่าอาจมีความคลุมเครือ ไมแ่ นน่ อน หรือมีความลำเอยี งหรอื ไม่ สมรรถนะ B ประกอบด้วยสมรรถนะย่อย 5 ขอ้ ดงั น้ี B1 สามารถระบปุ ระเดน็ ปญั หาทต่ี อ้ งการสำรวจตรวจสอบจากการศกึ ษาทางวิทยาศาสตรท์ กี่ ำหนดให้ B2 แยกแยะได้วา่ ประเด็นปญั หาหรอื คำถามใดสามารถตรวจสอบไดด้ ้วยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ B3 เสนอวิธสี ำรวจตรวจสอบปญั หาทางวิทยาศาสตรท์ ่กี ำหนดให้ B4 ประเมินวิธีสำรวจตรวจสอบปญั หาทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่กำหนดให้ B5 บรรยายและประเมินวิธีการต่าง ๆ ที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการยืนยันถึงความนา่ เชื่อถือของข้อมลู และความเป็นกลางและการสรุปอ้างอิง จากคำอธบิ าย อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ครูผู้เข้าร่วมการอบรมสามารถนำสมรรถนะย่อยไปปรับใช้สำหรับการจัดการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละช่วงชั้น สามารถแบ่งสมรรถนะย่อยตามระดับความสามารถของผู้เรียนได้ดังแสดง ในตารางที่ 3.2 14 | โครงการเพ่มิ ศักยภาพครใู ห้มีสมรรถนะของครูยุคใหมส่ ำหรบั การเรยี นรู้ศตวรรษท่ี 21

ตารางท่ี 3.2 การประเมินและออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรทู้ างวิทยาศาส B1 B2 B สามารถระบุประเด็นปัญหา แยกแยะได้วา่ ประเดน็ ปญั หาหรือ เสนอวธิ สี ำ ทีต่ อ้ งการสำรวจตรวจสอบ คำถามใดสามารถตรวจสอบไดด้ ว้ ย ทางวิทยา จากการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ ทก่ี ำหนดให้ สามารถระบุประเด็นปญั หา สามารถแยกประเด็นปัญหาอยา่ งงา่ ย สามารถเสนอ ระดับ จากสถานการณอ์ ย่างง่ายได้ ทีก่ ำหนดใหไ้ ด้ว่าประเดน็ ใดเปน็ ปัญหา จากสถา 1 (ไมเ่ กนิ 2 ตวั แปร) หรือคำถามท่สี ามารถตรวจสอบ โดยไม ไดด้ ้วยวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ การสำรวจ สามารถระบปุ ระเด็นปัญหา สามารถแยกประเด็นปัญหาอยา่ งง่าย สามารถเสนอ ทีส่ ามารถนำไปสู่การออกแบบ ที่กำหนดให้ไดว้ ่าประเดน็ ใดเปน็ ปญั หา จากสถานการ ระดับ การทดลองอย่างงา่ ยได้ หรือคำถามท่ีสามารถตรวจสอบ ไมเ่ กิน 2 ตวั แ โดยระบตุ วั แปรตน้ ตัวแปรตาม ได้ด้วยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ การสำรวจ 2 และตวั แปรควบคุมได้ (ตวั แปรตน้ ไมเ่ กิน 2 ตัวแปร) และพิจารณาจากความสามารถ ในการวดั ปริมาณของตัวแปร

สตร์ (B) B3 B4 B5 ำรวจตรวจสอบปญั หา ประเมนิ วิธีสำรวจตรวจสอบปัญหา บรรยายและประเมนิ วธิ กี ารตา่ ง ๆ าศาสตรท์ ก่ี ำหนดให้ ท่นี กั วิทยาศาสตรใ์ ช้ในการยืนยัน ทางวิทยาศาสตรท์ ก่ี ำหนดให้ ถึงความนา่ เช่ือถือของขอ้ มลู และความเปน็ กลาง และการสรปุ อา้ งองิ จากคำอธิบาย อวธิ กี ารสำรวจตรวจสอบ สามารถเลอื กวธิ กี ารสำรวจตรวจสอบ สามารถอธิบายเกณฑก์ ารตดั สินใจ านการณอ์ ย่างงา่ ย จากขอ้ มูลทก่ี ำหนดให้ เลือกวิธีการสำรวจตรวจสอบ มแ่ สดงถงึ ขั้นตอน จตรวจสอบท่ชี ัดเจน ในสถานการณอ์ ย่างง่ายโดยไมแ่ สดงถงึ เหตุผลตามกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ อวธิ กี ารสำรวจตรวจสอบ สามารถเลือกวธิ ีการสำรวจตรวจสอบ สามารถอธิบายเกณฑ์การตดั สินใจ รณอ์ ย่างง่าย (ตวั แปรต้น จากขอ้ มลู ที่กำหนดให้ ในสถานการณ์ เลอื กวิธกี ารสำรวจตรวจสอบ แปร) โดยแสดงถึงขั้นตอน อยา่ งง่าย โดยใหเ้ หตุผลด้านความรู้ จตรวจสอบท่ีชดั เจน และวธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์มาสนับสนุน ในสถานการณอ์ ย่างง่ายโดยแสดงถึง เหตุผลตามกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ หนว่ ยท่ี 3 สมรรถนะและตัวอยา่ งกิจกรรมการเรยี นรู้ | 15

B1 B2 B สามารถระบปุ ระเด็นปญั หา แยกแยะได้ว่าประเดน็ ปัญหาหรอื เสนอวธิ ีสำ ทต่ี อ้ งการสำรวจตรวจสอบ คำถามใดสามารถตรวจสอบได้ดว้ ย ทางวิทยา จากการศกึ ษาทางวทิ ยาศาสตร์ วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ ทก่ี ำหนดให้ สามารถระบปุ ระเด็นปัญหาของเหตกุ ารณ์ สามารถแยกประเดน็ ปญั หา สามารถเสนอ ท่ีระบขุ อบเขตการศกึ ษาที่จำกัด จากเหตกุ ารณท์ ่ีระบุขอบเขตการศกึ ษา เหตุการณ์ที่ร (จำกดั บางพารามิเตอร์ของเหตุการณ)์ ทีจ่ ำกัด (จำกัดบางพารามิเตอร์ของ ทจี่ ำกดั (จ ระดบั เหตุการณ์) โดยกำหนดไดว้ ่าประเด็นใด ของเหตุการณ เปน็ ปญั หาหรือคำถามท่ตี รวจสอบได้ การสำรวจ 3 ดว้ ยวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ (ตวั แปรต้น แล ไม่เกนิ 2 ตัวแปร) และพิจารณา จากความสามารถในการวัด ปรมิ าณของตัวแปร สามารถระบุประเด็นปัญหาของเหตุการณ์ สามารถแยกประเดน็ ปญั หา สามารถเสนอ จากเหตกุ ารณ์ท่ีมีความซบั ซ้อนเพิ่มขึ้น เหตกุ ารณ์ท ที่ระบุขอบเขตการศกึ ษาทจี่ ำกดั โดยกำหนดไดว้ า่ ประเดน็ ใดเปน็ ปัญหา ระบขุ อบเข (จำกัดบางพา และมตี วั แปรตน้ 2 ตัวแปรขึ้นไป หรือคำถามทีส่ ามารถตรวจสอบ และมีตวั แป ระดบั (จำกัดบางพารามิเตอร์ของเหตกุ ารณ์) ไดด้ ้วยวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ โดยแสดงถ (ตวั แปรต้น 2 ตัวแปรขน้ึ ไป) ตรวจสอบท 4 และพิจารณาจากความสามารถ ในการวัดปริมาณของตัวแปร 16 | โครงการเพ่มิ ศักยภาพครูให้มสี มรรถนะของครูยคุ ใหมส่ ำหรบั การเรยี นรู้ศตวรรษท่ี 21

B3 B4 B5 ำรวจตรวจสอบปัญหา ประเมินวิธสี ำรวจตรวจสอบปัญหา บรรยายและประเมนิ วธิ กี ารตา่ ง ๆ าศาสตรท์ ก่ี ำหนดให้ ทน่ี กั วิทยาศาสตรใ์ ช้ในการยนื ยนั ทางวิทยาศาสตรท์ ก่ี ำหนดให้ อวธิ ีการสำรวจตรวจสอบ ถงึ ความนา่ เชื่อถือของข้อมูล ระบุขอบเขตการศึกษา และความเปน็ กลาง จำกดั บางพารามเิ ตอร์ ณ์) โดยแสดงถึงขัน้ ตอน และการสรปุ อ้างองิ จากคำอธิบาย จตรวจสอบทีช่ ดั เจน ละเปน็ ระบบ สามารถประเมินวธิ ีการสำรวจตรวจสอบ สามารถอธบิ ายวิธีการสำรวจตรวจสอบ จากข้อมลู ทก่ี ำหนดให้ ในเหตุการณ์ จากขอ้ มูลทกี่ ำหนดให้ ในเหตุการณ์ ทร่ี ะบุขอบเขตการศึกษาทจี่ ำกัด ท่รี ะบุขอบเขตการศึกษาท่ีจำกัด โดยให้เหตุผลดา้ นความรู้ โดยให้เหตผุ ลทางด้านความรู้ และวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์มาสนับสนุน และวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาสนับสนุน อวิธีการสำรวจตรวจสอบ สามารถประเมินวธิ ีการสำรวจตรวจสอบ สามารถอธิบายวิธกี ารประเมิน ทีม่ ีความซับซ้อนเพ่มิ ขึ้น เหตกุ ารณท์ ่มี ีความซับซ้อนเพ่ิมขึ้น การสำรวจตรวจสอบ ในเหตกุ ารณ์ ขตการทดลองทีจ่ ำกดั ระบุขอบเขตการศึกษาทจ่ี ำกดั ารามเิ ตอร์ของเหตุการณ์) (จำกดั บางพารามเิ ตอร์ของเหตกุ ารณ์) ทมี่ ีความซับซอ้ นเพม่ิ ข้นึ ปรต้น 2 ตัวแปรขน้ึ ไป และมตี วั แปรต้น 2 ตวั แปรขึ้นไป ระบุขอบเขตการศกึ ษาที่จำกดั ถึงขั้นตอนการสำรวจ โดยให้เหตผุ ลทางด้านความรู้ (จำกัดบางพารามิเตอรข์ องเหตกุ ารณ)์ ทช่ี ัดเจนและเปน็ ระบบ และมตี วั แปรตน้ 2 ตวั แปรขึ้นไป และวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์มาสนบั สนุน โดยใหเ้ หตผุ ลทางด้านความรู้ และวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาสนบั สนุน

B1 B2 B สามารถระบปุ ระเด็นปัญหา แยกแยะได้วา่ ประเดน็ ปญั หาหรือ เสนอวธิ สี ำ ทีต่ ้องการสำรวจตรวจสอบ คำถามใดสามารถตรวจสอบไดด้ ว้ ย ทางวิทยา จากการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ทีก่ ำหนดให้ สามารถระบุประเด็นปัญหา สามารถแยกประเด็นปัญหา สามารถออกแ ของปรากฏการณท์ ่ีซบั ซ้อน จากปรากฏการณ์ที่ซับซอ้ น ปรากฏการณ สรา้ งทางเลอื กในการทดลอง โดยกำหนดได้ว่าประเดน็ ใดเปน็ ปัญหา และวิธกี ารทาง และตดั สนิ ใจเลือกวธิ ีการสำรวจตรวจสอบ หรือคำถามท่ีสามารถตรวจสอบ มีการอ้างอ ระดบั ได้อย่างเหมาะสม โดยมีความรู้ ได้ดว้ ยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ หรอื ใหเ้ 5 ทางวทิ ยาศาสตรร์ องรับ (ตัวแปรตน้ 2 ตัวแปรขนึ้ ไป) วิธกี ารทดล โดยอาศัยความรูท้ างวิทยาศาสตร์ เชน่ วธิ กี า หลกั การ ทฤษฎี ที่ต้องคำนงึ ถงึ ลกั ษณะ ที่ต้องคำน ของตัวแปรทว่ี ดั ได้และความไมแ่ น่นอน ของขอ้ ม ของข้อมลู ทางวทิ ยาศาสตร์ แล้วนำเ สามารถกำหนดประเดน็ ปัญหา สามารถแยกประเด็นปัญหา สามารถออกแ ทสี่ นใจต้องการสำรวจตรวจสอบ จากปรากฏการณท์ ี่ซบั ซ้อน ปรากฏการณ ของปรากฏการณท์ ี่ซับซอ้ น ในระดับบรู ณาการได้วา่ ประเด็นใด ทางดา้ นว ในระดบั บรู ณาการจากการเกบ็ ข้อมลู เป็นปัญหาหรือคำถามทส่ี ามารถ ชีวภาพ ระดับ ภาคสนาม การทดลอง การจำลอง ตรวจสอบได้ดว้ ยวธิ กี าร และวิธกี ารทาง 6 สถานการณ์ทซ่ี บั ซ้อนได้ ทางวทิ ยาศาสตร์ โดยอาศยั ความรู้ โดยมวี ิธกี ทางวทิ ยาศาสตร์ เช่น หลกั การ ทฤษฎี เพอ่ื หาคำต ทีต่ อ้ งคำนงึ ถึงลักษณะของตัวแปร มีการเก็บข้อม ทว่ี ัดได้ และความไมแ่ นน่ อน การสรา้ ง ของขอ้ มลู ทางวิทยาศาสตร์ ในปรากฏ แลว้ นำเ