Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มรายงานการอบรมพัฒนา สสวท.64 ครูวรรณภา อ่างทอง

เล่มรายงานการอบรมพัฒนา สสวท.64 ครูวรรณภา อ่างทอง

Published by dr.angthong, 2021-06-01 08:14:42

Description: เล่มรายงานการอบรมพัฒนา สสวท.64 ครูวรรณภา อ่างทอง

Search

Read the Text Version

B3 B4 B5 ำรวจตรวจสอบปญั หา ประเมินวธิ สี ำรวจตรวจสอบปญั หา บรรยายและประเมนิ วธิ กี ารต่าง ๆ าศาสตรท์ กี่ ำหนดให้ ท่นี ักวทิ ยาศาสตรใ์ ชใ้ นการยนื ยัน ทางวทิ ยาศาสตรท์ กี่ ำหนดให้ ถึงความนา่ เชอ่ื ถอื ของข้อมลู และความเป็นกลาง และการสรปุ อ้างองิ จากคำอธบิ าย แบบการสำรวจตรวจสอบ สามารถประเมนิ วิธีการสำรวจตรวจสอบ สามารถอธบิ ายวธิ กี ารประเมิน ณท์ ซ่ี บั ซ้อน โดยใช้ความรู้ ปรากฏการณท์ ซ่ี ับซ้อน โดยใชค้ วามรู้ การสำรวจตรวจสอบปรากฏการณ์ งวทิ ยาศาสตรท์ ี่เหมาะสม และวธิ กี ารทางวิทยาศาสตรท์ ่ีเหมาะสม องิ ทฤษฎหี รือหลกั การ ทซี่ บั ซอ้ น โดยใชค้ วามรู้ เหตผุ ลในการเลือก มีการอา้ งองิ ทฤษฎีหรอื หลักการ และวิธีการทางวิทยาศาสตรท์ ่ีเหมาะสม ลอง สืบค้น หรือสำรวจ หรอื ใหเ้ หตุผลในการเลือก ารใดวิธีการหนึ่ง วธิ กี ารทดลอง สืบคน้ สำรวจ มีการอา้ งองิ ทฤษฎีหรอื หลักการ นงึ ถึงความไม่แน่นอน วธิ ีการใดวธิ ีการหน่ึง หรือให้เหตุผลในการเลือกวิธีการทดลอง มูลทางวิทยาศาสตร์ เสนอใหผ้ ู้อนื่ เข้าใจ ทีต่ ้องคำนงึ ถึงความไมแ่ น่นอน สืบค้น สำรวจ วธิ กี ารใดวิธกี ารหนงึ่ ของขอ้ มลู ทางวทิ ยาศาสตร์ ท่ีตอ้ งคำนึงถึงความไม่แนน่ อน ของข้อมลู ทางวิทยาศาสตร์ แบบการสำรวจตรวจสอบ สามารถประเมนิ วิธีการสำรวจตรวจสอบ สามารถอธิบายวิธีการประเมนิ ณ์ท่ซี บั ซ้อน โดยใช้ความรู้ ปรากฏการณท์ ซี่ บั ซอ้ น โดยใช้ความรู้ การสำรวจตรวจสอบปรากฏการณ์ วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ทซ่ี บั ซอ้ น โดยใชค้ วามรทู้ างด้าน พ โลกและอวกาศ ทางด้านวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ งวทิ ยาศาสตร์ท่ีเหมาะสม ชีวภาพ โลกและอวกาศ วิทยาศาสตร์กายภาพ ชวี ภาพ การสำรวจตรวจสอบ โลกและอวกาศ และวิธกี าร ตอบในประเด็นที่สนใจ และวิธีการทางวทิ ยาศาสตรท์ เ่ี หมาะสม ทางวทิ ยาศาสตร์ท่ีเหมาะสม มลู ภาคสนาม การทดลอง โดยมวี ิธีการสำรวจตรวจสอบ โดยมวี ธิ ีการสำรวจตรวจสอบ งสถานการณ์จำลอง เพ่อื หาคำตอบในประเด็นที่สนใจ เพ่ือหาคำตอบในประเด็นท่สี นใจ ฏการณ์ท่ไี มค่ ุน้ เคย มกี ารเก็บขอ้ มูลภาคสนาม การทดลอง เสนอใหผ้ ู้อน่ื เข้าใจ มีการเก็บข้อมลู ภาคสนาม การทดลอง การสรา้ งสถานการณ์จำลอง การสร้างสถานการณจ์ ำลอง ในปรากฏการณท์ ี่ไมค่ ้นุ เคย ในปรากฏการณ์ที่ไม่ค้นุ เคย หน่วยท่ี 3 สมรรถนะและตัวอยา่ งกจิ กรรมการเรยี นรู้ | 17

สมรรถนะการแปลความหมายขอ้ มลู และการใช้ประจักษ์พยาน ในเชงิ วทิ ยาศาสตร์ (C) สมรรถนะการแปลความหมายข้อมูลและการใช้ประจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์ ซึ่งต่อไปในเอกสารนี้ จะเรียกโดยย่อว่า C หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการตีความข้อมูลและหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้ ในการสร้างคํากล่าวอ้างหรือลงข้อสรปุ และนาํ เสนอขอ้ มลู ท่ีได้รับมาในรูปแบบอนื่ เชน่ การใชค้ ําพูดของตนเอง แผนภาพ หรอื การแสดงแทนอื่น ๆ ซึง่ จาํ เป็นจะตอ้ งใชเ้ ครอ่ื งมอื ทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะหห์ รอื สรปุ ข้อมูล รวมถึงจะต้องสามารถแปลงข้อมูลนั้นให้อยู่ในรูปของการแสดงแทนรูปแบบอื่น ๆ นอกจากน้ี จะต้องสามารถ สร้างข้อสรุปที่สมเหตุสมผลบนพื้นฐานของประจักษ์พยาน ข้อมูล หรือประเมินข้อสรุปของผู้อื่นได้ว่าสอดคล้อง กบั ประจกั ษ์พยานท่ีมีหรอื ไม่ รวมถึงสามารถใหเ้ หตุผลสนบั สนุนหรือโตแ้ ยง้ ขอ้ สรุปเหล่านัน้ ไดอ้ ย่างสมเหตุสมผล สมรรถนะ C ประกอบดว้ ยสมรรถนะย่อย 5 ขอ้ ดงั น้ี C1 แปลงขอ้ มูลทีน่ ำเสนอในรปู แบบหนง่ึ ไปสู่รปู แบบอน่ื C2 วิเคราะหแ์ ละแปลความหมายขอ้ มูลทางวทิ ยาศาสตร์ และลงข้อสรุป C3 ระบขุ อ้ สนั นิษฐาน ประจกั ษพ์ ยาน และเหตุผลในเร่อื งทเี่ ก่ยี วกับวิทยาศาสตร์ C4 แยกแยะระหวา่ งขอ้ โต้แย้งที่มาจากประจักษพ์ ยานและทฤษฎที างวิทยาศาสตร์ กบั ทมี่ าจาก การพิจารณาจากส่งิ อน่ื C5 ประเมินข้อโต้แยง้ ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละประจักษ์พยานจากแหล่งทมี่ าทหี่ ลากหลาย (เชน่ หนังสือพมิ พ์ อินเทอรเ์ น็ต และวารสาร) อย่างไรก็ตาม เพื่อให้ครผู ู้เข้าร่วมการอบรมสามารถนำสมรรถนะย่อยไปปรบั ใช้สำหรับการจัดการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละช่วงชั้น สามารถแบ่งสมรรถนะย่อยตามระดับความสามารถของผู้เรียนได้ดังแสดง ในตารางที่ 3.3 18 | โครงการเพ่มิ ศกั ยภาพครูให้มีสมรรถนะของครูยคุ ใหมส่ ำหรบั การเรียนรศู้ ตวรรษที่ 21

ตารางที่ 3.3 การแปลความหมายขอ้ มูลและการใชป้ ระจกั ษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร C1 C2 C แปลงขอ้ มูลทน่ี ำเสนอในรูปแบบหนงึ่ วเิ คราะห์และแปลความหมาย ระบุข้อสนั น ไปสรู่ ปู แบบอื่น ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ และลงข้อสรปุ และเหตผุ ว สามารถแปลงข้อมลู ดิบเชิงปรมิ าณ สามารถเปรียบเทียบ จำแนก แยกแยะ สามารถ ระดบั หรือเชิงคณุ ภาพทีก่ ำหนดให้ และแปลความหมายข้อมลู ทกี่ ำหนดให้ และบอกปร 1 แล้วนำเสนอในรปู แบบอนื่ อยา่ งง่าย จากขอ้ สามารถแปลงข้อมลู ดบิ เชิงปรมิ าณ สามารถเปรียบเทยี บ จำแนก แยกแยะ สามารถ ระดบั และเชิงคุณภาพทม่ี าจากสถานการณ์ แปลความหมาย และลงขอ้ สรุปขอ้ มูล เพ่ืออธิบายสถา ในชวี ิตประจำวันท่ีกำหนดให้ จากสถานการณใ์ นชีวิตประจำวนั เกยี่ วกับวทิ 2 แล้วนำเสนอในรปู แบบอ่ืน ทก่ี ำหนดให้ โดยใช้ความรู้ โดยใช ทางวทิ ยาศาสตร์ และเ

ร์ (C) C3 C4 C5 นษิ ฐาน ประจกั ษ์พยาน แยกแยะระหวา่ งข้อโตแ้ ย้ง ประเมินขอ้ โตแ้ ยง้ ทางวิทยาศาสตร์ ผลในเรื่องท่เี ก่ียวกับ ท่ีมาจากประจกั ษ์พยานและทฤษฎี และประจกั ษพ์ ยานจากแหลง่ ท่มี า วิทยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ กบั ท่ีมาจาก ทห่ี ลากหลาย (เชน่ หนังสือพมิ พ์ การพิจารณาจากสิ่งอ่นื ถระบุขอ้ สันนิษฐาน อินเทอรเ์ น็ต และวารสาร) ระจักษพ์ ยานสนบั สนุน สามารถแยกแยะข้อโต้แย้ง อมูลทกี่ ำหนดให้ ทีม่ าจากประจักษ์พยานและทฤษฎี สามารถประเมินขอ้ โต้แย้ง และประจกั ษ์พยานโดยใช้ความรู้เดมิ ถระบุข้อสนั นิษฐาน ทางวทิ ยาศาสตร์ กับท่ีมาจาก านการณ์ในชวี ิตประจำวนั การพจิ ารณาส่ิงอนื่ อย่างงา่ ยจากข้อมลู ทก่ี ำหนดให้ ทยาศาสตรท์ ก่ี ำหนดให้ จากขอ้ มลู ทีก่ ำหนดให้ ช้ประจักษ์พยาน สามารถประเมนิ ข้อโต้แยง้ เหตผุ ลสนบั สนุน สามารถแยกแยะข้อโตแ้ ยง้ และประจักษพ์ ยานโดยใช้ความรู้ ที่มาจากประจกั ษ์พยานและทฤษฎี ทางวิทยาศาสตร์ ในสถานการณ์ ทางวทิ ยาศาสตร์ กบั ท่ีมาจาก ในชีวติ ประจำวนั การพิจารณาสิง่ อืน่ ในสถานการณ์ในชีวิตประจำวนั หน่วยท่ี 3 สมรรถนะและตัวอย่างกิจกรรมการเรยี นรู้ | 19

C1 C2 C แปลงข้อมูลทน่ี ำเสนอในรปู แบบหนง่ึ วิเคราะห์และแปลความหมาย ระบุขอ้ สันน ไปสรู่ ูปแบบอ่ืน ขอ้ มูลทางวิทยาศาสตร์ และลงข้อสรปุ และเหตผุ ว สามารถแปลงข้อมูลดบิ เชิงปรมิ าณ สามารถวิเคราะหแ์ ละแปลความหมาย สามารถ และเชงิ คุณภาพที่มาจากสถานการณ์ ข้อมลู เพ่ือแสดงรูปแบบของขอ้ มลู เพ่ืออธิบาย ระดบั ภายใตเ้ ง่ือนไขจำกัด แล้วนำเสนอ ท่ีมาจากสถานการณ์ภายใต้เงื่อนไขจำกดั วิทยาศาสตร 3 ในรูปแบบที่เขา้ ใจได้งา่ ย และลงข้อสรุป โดยใช้ความรู้ และเ ทางวทิ ยาศาสตร์ท่ซี ับซอ้ น สามารถแปลงข้อมูลดิบเชงิ ปรมิ าณ สามารถวเิ คราะหแ์ ละแปลความหมาย สามารถ เพือ่ อธิบาย และเชงิ คณุ ภาพท่ซี บั ซอ้ น ขอ้ มูล เพื่อแสดงรูปแบบของข้อมูล วิทยาศาส ระดับ และมีท่ีมาจากเหตุการณ์ท่ีไม่ค้นุ เคย ทีม่ าจากเหตกุ ารณ์ทไี่ มค่ ุ้นเคย หรอื ไ โดยเลอื ก 4 แลว้ นำเสนอในรูปแบบทเ่ี ขา้ ใจได้ง่าย และลงข้อสรปุ ที่กว้างขึน้ และเหตุผล เพ่อื สร้างทางเลือกในการตดั สนิ ใจ โดยใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตรท์ ซี่ ับซ้อน เพอื่ สรา้ งทางเลอื กในการตัดสนิ ใจ 20 | โครงการเพมิ่ ศกั ยภาพครูใหม้ ีสมรรถนะของครยู ุคใหม่สำหรบั การเรยี นรศู้ ตวรรษท่ี 21

C3 C4 C5 นษิ ฐาน ประจักษ์พยาน แยกแยะระหว่างขอ้ โต้แยง้ ประเมินข้อโตแ้ ยง้ ทางวิทยาศาสตร์ ผลในเรอ่ื งท่เี กีย่ วกบั ท่ีมาจากประจักษ์พยานและทฤษฎี และประจักษ์พยานจากแหลง่ ทีม่ า วทิ ยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ กบั ทีม่ าจาก ท่ีหลากหลาย (เชน่ หนังสอื พิมพ์ การพิจารณาจากส่ิงอ่นื ถสรา้ งขอ้ สันนิษฐาน อินเทอร์เนต็ และวารสาร) ยเหตุการณท์ ่ีเกี่ยวกับ สามารถแยกแยะข้อโต้แย้ง สามารถประเมินขอ้ โตแ้ ย้ง ร์ โดยใช้ประจกั ษพ์ ยาน ทมี่ าจากประจักษพ์ ยานและทฤษฎี และประจกั ษ์พยานโดยใชค้ วามรู้ เหตุผลสนบั สนุน ทางวิทยาศาสตรท์ ่ีซับซอ้ น ทางวทิ ยาศาสตร์ กับท่ีมาจาก และใหเ้ หตผุ ลสนับสนุนการประเมนิ นั้น ถสร้างข้อสนั นษิ ฐาน การพจิ ารณาสิ่งอื่น โดยระบุเหตุผล ยเหตุการณ์ท่เี ก่ียวกบั สามารถประเมนิ ขอ้ โต้แยง้ สตรท์ ี่ซับซ้อนมากข้นึ สนับสนุนการแยกแยะ และประจกั ษ์พยานโดยใช้ความรู้ ไมค่ ุน้ เคยมากอ่ น จากข้อมูลในเหตุการณ์ กใช้ประจักษ์พยาน ภายใต้เงื่อนไขจำกัด ทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่ซับซอ้ น ลสนบั สนุนที่เหมาะสม หรอื เป็นนามธรรม และให้เหตุผล สามารถแยกแยะข้อโตแ้ ย้ง ท่มี าจากประจกั ษ์พยานและทฤษฎี สนบั สนนุ การประเมินน้นั ในเหตุการณ์ที่ไมค่ ุ้นเคย ทางวิทยาศาสตร์ กับทม่ี าจาก การพิจารณาสง่ิ อนื่ โดยระบเุ หตุผล สนับสนนุ การแยกแยะ เพ่อื ตดั สินใจ เลือกประจกั ษพ์ ยานทเ่ี หมาะสม จากข้อมลู ในเหตกุ ารณ์ทีไ่ ม่คนุ้ เคย

C1 C2 C แปลงขอ้ มลู ที่นำเสนอในรปู แบบหนง่ึ วเิ คราะห์และแปลความหมาย ระบขุ อ้ สนั น ไปส่รู ูปแบบอืน่ ขอ้ มลู ทางวิทยาศาสตร์ และลงข้อสรปุ และเหตผุ ว สามารถแปลงขอ้ มูลดิบเชงิ ปริมาณ สามารถวิเคราะห์และแปลความหมาย สามารถ และเชงิ คุณภาพทซ่ี บั ซ้อน ขอ้ มลู เพ่ือแสดงรปู แบบของขอ้ มลู เพอ่ื อธิบายป และมที ีม่ าจากการสำรวจตรวจสอบ ท่ีมาจากปรากฏการณท์ ่ีไม่คุ้นเคย วิทยาศาส ระดับ หรือการสืบคน้ ข้อมูล และลงข้อสรปุ ทีก่ วา้ งข้นึ หรอื ไ 5 แล้วนำเสนอความคดิ รวบยอด โดยใชค้ วามรทู้ างวิทยาศาสตร์ท่ีซบั ซ้อน โดยเลือก เพอื่ ใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ เพอ่ื สรา้ งทางเลอื กในการตดั สินใจ และเหตผุ ล ต่อปรากฏการณ์ทางสังคม รวมถงึ ระบขุ อ้ จำกัดของแหล่งท่มี า และการแปลความหมายข้อมูล และความไม่แน่นอนของขอ้ มลู สามารถแปลงขอ้ มูลดบิ เชงิ ปริมาณ สามารถวเิ คราะห์ข้อมูล แยกแยะสาระ สามารถ และเชงิ คุณภาพทซ่ี บั ซอ้ น ท่สี อดคลอ้ งและไมส่ อดคลอ้ งออกจากกนั เพ่ืออธิบายปรา และมที ่มี าจากการสำรวจตรวจสอบ และแปลความหมายขอ้ มูล และต้องใช หรือการสบื คน้ ขอ้ มูล เพือ่ แสดงรูปแบบของขอ้ มูลทม่ี าจาก ทางดา้ นว แลว้ นำเสนอความคิดรวบยอด ปรากฏการณ์ท่ไี มค่ นุ้ เคย ชวี ภาพ ระดบั แบบบูรณาการ เพอ่ื ใช้ให้เกิดประโยชน์ และลงข้อสรปุ ทีก่ ว้างขึ้น โดยเลอื ก และเหตุผล 6 ต่อปรากฏการณ์ทางสังคม โดยใชค้ วามรทู้ างวิทยาศาสตรท์ ซ่ี บั ซ้อน เพอ่ื สร้างทางเลอื กในการตัดสินใจ รวมถึงระบขุ ้อจำกัดของแหล่งทม่ี า การแปลความหมายขอ้ มูล และความไมแ่ น่นอนของข้อมลู จนไดแ้ นวโน้มของข้อมูลทส่ี ามารถ นำไปพยากรณแ์ ละตัดสินใจได้

C3 C4 C5 นิษฐาน ประจกั ษ์พยาน แยกแยะระหวา่ งขอ้ โตแ้ ยง้ ประเมนิ ขอ้ โต้แยง้ ทางวทิ ยาศาสตร์ ผลในเร่อื งที่เกีย่ วกับ ที่มาจากประจกั ษ์พยานและทฤษฎี และประจกั ษ์พยานจากแหลง่ ท่ีมา วทิ ยาศาสตร์ ทางวิทยาศาสตร์ กับท่ีมาจาก ทีห่ ลากหลาย (เชน่ หนังสือพิมพ์ การพจิ ารณาจากสิ่งอ่ืน ถสรา้ งข้อสันนิษฐาน อินเทอรเ์ นต็ และวารสาร) ปรากฏการณ์ทีเ่ ก่ยี วกบั สามารถแยกแยะข้อโตแ้ ย้ง สตร์ที่ซับซ้อนมากขน้ึ ที่มาจากประจักษพ์ ยานและทฤษฎี สามารถประเมนิ ขอ้ โตแ้ ย้ง ไมค่ นุ้ เคยมาก่อน และประจักษ์พยานโดยใชค้ วามรู้ กใชป้ ระจักษ์พยาน ทางวทิ ยาศาสตร์ กับท่มี าจาก ลสนบั สนุนทีเ่ หมาะสม การพจิ ารณาสง่ิ อน่ื เพอื่ ตัดสินใจ ทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่ซับซ้อน เลือกประจักษ์พยานทเ่ี หมาะสม หรอื เปน็ นามธรรม และใหเ้ หตผุ ล จากข้อมูลในปรากฏการณท์ ไ่ี มค่ ้นุ เคย สนับสนนุ การประเมนิ นั้น ในปรากฏการณท์ ่ีไม่คนุ้ เคย ถสรา้ งข้อสันนษิ ฐาน สามารถแยกแยะข้อโต้แยง้ สามารถประเมนิ ขอ้ โตแ้ ยง้ ากฏการณ์ท่มี ีความซบั ซอ้ น ท่ีมาจากประจกั ษ์พยานและทฤษฎี และประจักษพ์ ยานโดยใชค้ วามรู้ ช้การบูรณาการความรู้ ทางดา้ นวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ชวี ภาพ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ ทางวทิ ยาศาสตร์ กบั ทีม่ าจาก โลกและอวกาศ และใหเ้ หตุผล พ โลกและอวกาศ การพจิ ารณาสิ่งอ่ืน เพ่ือตดั สนิ ใจ กใชป้ ระจกั ษพ์ ยาน เลือกประจกั ษพ์ ยานท่เี หมาะสม สนบั สนุนการประเมินนัน้ ลสนบั สนุนท่ีเหมาะสม ในปรากฏการณใ์ นระดบั บรู ณาการ จากขอ้ มลู ในปรากฏการณ์ ในระดบั บูรณาการ หนว่ ยที่ 3 สมรรถนะและตวั อยา่ งกจิ กรรมการเรียนรู้ | 21



4หนว่ ยที่ PLC เพ่อื การพัฒนา การจดั การเรียนรู้ ฐานสมรรถนะ จุดมงุ่ หมาย • สร้างความรคู้ วามเข้าใจ รวมท้งั ตระหนกั ถึงความสำคัญของ PLC ในการขบั เคลอ่ื นการจดั การเรยี นร้ฐู านสมรรถนะ • เนน้ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจถงึ บทบาทหน้าที่ของบคุ คลที่มีสว่ นเกีย่ วข้องกบั กระบวนการ PLC โดยเฉพาะอย่างยิ่งผูบ้ ริหารโรงเรียน • สามารถขับเคล่อื นกระบวนการ PLC ใหเ้ กดิ ขน้ึ ในโรงเรยี นทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ ร่วมกับอาจารย์มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ หน่วยท่ี 4 PLC เพอื่ การพฒั นาการจดั การเรยี นรูฐ้ านสมรรถนะ | 23

ความหมายของชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) เป็นกระบวนการ สร้างการเปลี่ยนแปลง โดยเรียนรู้จากการปฏิบัติงานของกลุ่มนักการศึกษาที่มีความสนใจตรงกัน มารวมตัวกัน อย่างต่อเนื่องเพื่อทำงานร่วมกัน แบ่งปันประสบการณ์ และสนับสนุนซึ่งกันและกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อร่วม วางเปา้ หมายในการยกระดับการจัดการเรยี นรู้ของครู รวมทั้งแก้ปญั หาท่เี กิดขึน้ ม่งุ เน้นส่งเสริมการพฒั นาคณุ ภาพ การเรยี นรูข้ องผ้เู รียน รวมทงั้ ตรวจสอบ และสะท้อนผลการปฏบิ ตั ิงาน ทั้งในสว่ นบุคคลและผลทเ่ี กิดขน้ึ โดยรวม ผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การวิพากษ์วิจารณ์ การทำงานร่วมกัน และการร่วมมือรวมพลัง เพื่อส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นร้อู ย่างเป็นองคร์ วม โดยมกี ารดำเนินการอยา่ งน้อย 5 ประการ ดังนี้ 1) การสรา้ งบรรทดั ฐานและค่านยิ มร่วมกัน (shared values and norms) 2) การปฏบิ ัตทิ ีม่ เี ปา้ หมายมุง่ สกู่ ารเรยี นรขู้ องผ้เู รียน (collective focus on student learning) 3) การร่วมมอื กนั ทำงานของนกั การศกึ ษาและบคุ คลท่ีเก่ยี วข้อง (collaboration) 4) การสังเกตชั้นเรียนและการเปิดรับฟังการสะท้อนความคิด (expert advice and study visit and classroom observation) 5) การสนทนาทส่ี รา้ งสรรค์สะทอ้ นผลการปฏิบัติ (Reflection dialogue and constructive feedback) ผา่ นการสรา้ ง HOPE (เรวณี ชัยเชาวรัตน,์ 2558) ให้บุคคลที่ อนั ประกอบดว้ ย • honesty & humanity เป็นการยึดขอ้ มลู จรงิ ทเี่ กิดขน้ึ และให้การเคารพกันอยา่ งจรงิ ใจ • option & openness เป็นการเลือกสรรสิ่งที่ดีที่สุดให้ผู้เรียนและพร้อมเปิดเผยเปิดใจเรียนรู้ จากผู้อ่นื • patience & persistence เปน็ การพัฒนาความอดทนและความมุง่ ม่ันทุ่มเทพยายามจนเกิดผล ชดั เจน • efficacy & enthusiasm เป็นการสร้างความเชื่อมั่นในผลของวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม กับผ้เู รยี นว่าจะทำให้ผู้เรยี นเรยี นรู้และกระตอื รอื รน้ ท่ีจะพัฒนาตนเองอย่างเตม็ ท่ี ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี มุง่ ตอบสนองวตั ถปุ ระสงคส์ ำคัญ 2 ประการ ประการแรก คอื ม่งุ ยกระดบั ศักยภาพในการจัดการเรียนรู้ของครูและนักการศึกษาที่เกี่ยวขอ้ ง ผ่านกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน การแลกเปลี่ยน ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญ และการพูดคุยกันอย่างมืออาชีพ ประการที่สอง คือ มุ่งสร้างแรงบันดาลใจ ในการเรยี นใหก้ บั นักเรยี น เพือ่ ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิและความสำเรจ็ ในการเรียนรู้ การดำเนินการจดั กระบวนการ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพให้ตอบโจทย์วัตถุประสงค์สำคัญสองประการข้างต้นนั้น ควรจัดให้มีรูปแบบ การดำเนินการในลักษณะเดียวกันกับการวิจัยปฏิบัติการ (action research) นั่นคือจะต้องมีการตั้งคำถาม อย่างต่อเนื่อง การหมั่นทบทวนและทดสอบผลสัมฤทธิ์ การคิด วิเคราะห์ และพิจารณาอย่างรอบคอบรอบด้าน รวมถงึ การยกระดับกลยทุ ธ์การจดั การเรียนการสอน 24 | โครงการเพม่ิ ศักยภาพครูให้มีสมรรถนะของครยู ุคใหม่สำหรับการเรยี นรู้ศตวรรษที่ 21

ความสำคัญของกระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรยี นการสอนที่ผ่านมา บุคคลที่มีส่วนเก่ียวข้องกับการจดั การเรียนการสอน ในโรงเรียนมักมีความเชื่อว่า การดูแลชั้นเรียนและการเรียนการสอนในแต่ละชั่วโมงและแต่ละวิชาเป็นหน้าที่ ของครูแต่ละคนที่รับผิดชอบในวิชานั้น ๆ เสมือนกับครูคนนั้นเป็นเจ้าของห้องเรียนแต่เพียงผู้เดียว (king of the classroom) ซึ่งการที่ทุกคนมอบความไว้วางใจและทุก ๆ สิ่งในห้องเรียนให้กับครูคนหนึ่งเข้าปฏิบัติการ จัดการเรียนการสอนกับนักเรียนจำนวนหนึ่งในชั้นเรียน ครูคนนั้นจะมีแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน อย่างไร จะเตรียมการสอนมาดีหรือไม่ จะให้ความสนใจนักเรียนทุกคนทั่วถึงกันทั้งห้องเรียนหรือไม่ ไม่มีใคร ล่วงรู้ได้ นอกจากนักเรียนที่เป็นผู้สัมผัสกับครูคนนั้น การจัดการเรียนการสอนในลักษณะนี้ ตั้งอยู่บนพื้นฐาน ความเชื่อดั้งเดิมของระบบโรงเรียนในประเทศไทย ซึ่งแตกต่างจากแนวคิดของการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวิชาชพี โดยส้ินเชงิ การผลกั ดนั ใหเ้ กิดชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชพี ทมี่ ีประสทิ ธภิ าพนั้น จึงจำเปน็ จะต้อง สรา้ งการรบั รใู้ หม่และความเช่อื พ้นื ฐานของบุคคลที่มสี ว่ นเกีย่ วข้อง ดังน้ี 1) มงุ่ ลดความโดดเด่ียวของครูในการจดั การเรียนการสอนแต่เพียงลำพงั คนเดียว 2) สร้างความรับผิดชอบร่วมกันของบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับความสำเร็จของการเรียนรู้ของนักเรียน โดยมงุ่ ผลใหน้ ักเรยี นเกิดการเรียนรทู้ ดี่ ีที่สดุ 3) ให้ความสำคัญกับการตอบสนองต่อการแก้ปัญหานักเรียนที่เรียนรู้ไม่ได้หรือไม่สำเร็จเป็นรายบุคคล โดยหาแนวทางช่วยเหลอื ส่งเสริม และสนบั สนนุ ให้นกั เรียนเหล่านนั้ ได้มโี อกาสเรียนรู้อยา่ งท่วั ถึงเท่ากนั ทุกคน 4) สร้างวฒั นธรรมการทำงานรว่ มกันอยา่ งมคี ณุ ภาพและเป็นกัลยาณมิตร 5) การแก้ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนจะต้องทำอย่างต่อเนื่อง จนกว่าจะเกิดความสำเร็จของการเรียนรู้ ของนักเรียนอย่างแท้จริง สิ่งที่หลงเหลือจากการแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ผ่านกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวิชาชพี คอื แนวปฏิบตั ิทีด่ ที ีส่ ุด (best practice) ภายใตบ้ รบิ ท (context) หรอื ปรากฏการณ์ (phenomena) หน่ึง ๆ ซ่งึ นับเป็นนวตั กรรมการแก้ปญั หาท่ีเหมาะสมทสี่ ุดสำหรับแตล่ ะโรงเรยี น การจะนำแนวทางการแก้ปัญหา เดียวกันน้นั ไปใช้ในโรงเรยี นอื่น ๆ ทีม่ ีบรบิ ทหรือปรากฏการณ์ท่แี ตกต่างกัน บคุ คลที่เกยี่ วข้องจำเป็นจะตอ้ งเร่ิม เรยี นร้รู ่วมกันใหมอ่ กี ครั้งหนึ่ง จากที่กล่าวมาขา้ งต้น สามารถสรุปความสำคัญของการจดั กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ท่มี ีต่อผูเ้ รียนและครูได้ ดังน้ี ดา้ นผ้เู รยี น • ปญั หาการเรยี นรู้ของนักเรียนเปน็ สิ่งสำคญั ท่สี ดุ • คน้ หาวิธกี ารแกป้ ัญหาทเี่ หมาะสมท่สี ดุ สำหรับนกั เรียนแต่ละคน แต่ละห้องเรียน และแต่ละโรงเรยี น • ตอบสนองต่อพฤตกิ รรมการเรียนรขู้ องนกั เรียนด้วยความรวดเรว็ • เพ่ิมพลงั อำนาจคุณภาพการจดั การเรยี นการสอนให้มีการปฏิบตั ิทีด่ ีและเหมาะกบั ผูเ้ รยี น หน่วยที่ 4 PLC เพ่ือการพฒั นาการจดั การเรยี นรูฐ้ านสมรรถนะ | 25

ด้านครูผู้สอน • เปล่ียนวฒั นธรรมการทำงานของครูเพอื่ นักเรยี น • ลดความโดดเด่ียวของครู • ร่วมกนั แบง่ ปนั ความรับผิดชอบตอ่ ความสำเร็จของนกั เรียน • สรา้ งวฒั นธรรมการทำงานร่วมกนั อย่างมีคณุ ภาพและเป็นกัลยาณมิตร • ทำให้เกดิ แนวปฏิบัตทิ ่ีดที ส่ี ุดสำหรับบริบทนน้ั ๆ ช่องว่าง (Gap) ของการพฒั นา การสร้างเป้าหมายร่วมกันภายในโรงเรียน ถือเป็นองค์ประกอบพื้นฐานของการพัฒนาคุณภาพการจัด การเรียนการสอน โดยมีกุญแจสำคัญ คือ ผบู้ ริหารโรงเรียนท่ีมภี าวะผนู้ ำทางวชิ าการ (academic leadership) และภาวะผู้นำทางด้านการจัดการเรียนการสอน (instructional leadership) กล่าวคือผู้อำนวยการโรงเรียน จะต้องเป็นผู้นำท่ีเชื่อมั่นและศรัทธาในกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพอย่างจริงใจ มิใช่กระทำ เพียงเพื่อตอบสนองนโยบายหรือทำตามอย่าง อย่างไรก็ตาม การสร้างให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทกุ องค์กรยอ่ มมี อุปสรรคและแรงต้าน ด้วยทุกคนมีความเคยชิน มีพื้นที่ปลอดภัยของตนเอง ซึ่งโดยธรรมชาติแล้วการกระตุ้น ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงย่อมทำให้เกิดความกลัว ความไม่ปลอดภัย ความไม่สะดวกสบายเหมือนที่เคยปฏิบตั ิมา แรงบันดาลใจ (inspiration) ของผู้บริหารโรงเรียนจึงเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการก้าวข้ามอุปสรรคต่าง ๆ เหล่านั้น และผลักดันให้การดำเนินการตามวงจรชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเกิดขึ้นได้ แม้จะต้องเริ่มต้น จากครกู ลมุ่ เล็ก ๆ ก็ตาม บทบาทของผู้บรหิ ารกบั การขับเคลอื่ นชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มิใช่แค่การสร้างกลุ่มครูเพยี งกลุ่มเล็ก ๆ ขึ้นมาเพื่อพฒั นา หรอื แก้ไขปญั หาการเรียนรู้ของนักเรียนเท่านั้น หากแตเ่ ป็นการสร้างใหเ้ กิดความร่วมมือร่วมใจของครทู ้ังโรงเรียน การจะทำให้เกิดภาพดังกล่าวขึ้นในโรงเรียนได้นั้น ผู้บริหารเป็นบุคคลสำคัญในการสร้างบรรยากาศของการเรียนรู้ แนวทางการแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนร่วมกันอย่างเป็นกัลยาณมิตร พร้อมทั้งขับเคลื่อนกระบวนการ ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพด้วยความสุข ความสนุกสนาน และความอิ่มเอมใจกับผลสำเร็จท่ีเกิดขึ้นกบั ลูกศษิ ย์ จนกระทั่งเกิดขนึ้ เปน็ โรงเรยี นแหง่ การเรยี นรู้ (School as Learning Community: SLC) สามารถสรุปบทบาท ของผบู้ ริหารในชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพได้ ดังน้ี 1) ผู้นำทางวิชาการ ที่มีวิสัยทัศน์ทางวิชาการที่คมชัด รวมทั้งมีทิศทางที่ชัดเจนในการกำหนดแนวทาง การดำเนินงานให้ตอบโจทย์ของชุมชนและนโยบายของรัฐ โดยไม่ได้ใช้เพียงอำนาจสั่งการ แต่จะต้องเป็นผู้ที่มี ภาวะผู้นำแบบแบ่งปัน (shared leadership) สร้างให้เกิดความรับผิดชอบร่วมกันของบุคคลในทุก ๆ ระดับ 26 | โครงการเพม่ิ ศกั ยภาพครใู หม้ สี มรรถนะของครูยุคใหม่สำหรบั การเรียนรศู้ ตวรรษที่ 21

และตำแหน่ง อีกทง้ั ผู้บริหารโรงเรยี นควรจะตอ้ งเคารพ ใหเ้ กยี รติ ใหค้ วามสำคญั และรบั ฟังความเหน็ ของทุกฝ่าย เพือ่ นำมาประมวลและลงข้อสรปุ อย่างมีศิลปะเพอ่ื ใหเ้ กิดการทำงานรว่ มกันได้อย่างมคี ณุ ภาพ 2) ผู้นำในการกระตุ้นและอำนวยการจัดตั้ง Professional Learning Team (PLT) ให้สามารถเกิดข้ึน ในโรงเรียนอย่างกว้างขวางและทั่วถึง พร้อมทั้งสนับสนุนสิ่งอำนวยความสะดวกที่จะทำให้การทำงานเป็นไป อยา่ งราบร่ืนและตอ่ เนื่อง ตัวอยา่ งคำถามท่ีผ้บู รหิ ารจะต้องสามารถตอบไดเ้ กี่ยวกับการดำเนินงานของ PLT เช่น • ประเด็นปัญหาที่ครูในโรงเรียนกำลังเผชิญหน้าอยู่มีอะไรบ้าง และมีทิศทางในการแก้ไขปัญหา ผ่านกระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพไดอ้ ย่างไร • ลักษณะการดำเนนิ งานของ PLT ในแตล่ ะกลุ่มสาระการเรยี นร้เู ป็นอย่างไร อาจแสดงโดยใชแ้ ผนภาพ การดำเนินงานแบง่ ตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ และระดบั ชั้น เพอ่ื แสดงให้เหน็ ภาพรวมของโรงเรยี น • แผนการดำเนินงานของแต่ละ PLT เป็นอย่างไร อาจแสดงโดยใช้กำหนดการการจัดกระบวนการ ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชพี ของแตล่ ะ PLT โดยระบุว่าแตล่ ะขน้ั ตอนจะเกิดข้นึ เม่อื ใดบ้าง • ความก้าวหน้าการดำเนนิ งานตามกำหนดการของแต่ละ PLT เป็นอย่างไร อาจแสดงโดยใช้แผนภาพ แสดงความก้าวหนา้ (PLT progress chart) ของแต่ละทีมวา่ ขั้นตอนใดมกี ารดำเนินการไปแล้วบ้าง • นวตั กรรมการศึกษาหรอื แนวปฏิบตั ิทดี่ ที สี่ ดุ ของครูแต่ละคน หรอื ของแต่ละ PLT ทใี่ ช้ในการแกไ้ ข ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนได้ประสบความสำเรจ็ เป็นอยา่ งไรบ้าง นอกจากนี้ ผู้บริหารยังควรส่งเสริมและสนับสนุน PLT ในการจัดกิจกรรมเพ่ือสนบั สนุนการจัดกระบวนการ ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ ดังน้ี • จัดให้มีการประชุมวิชาการย่อยภายในโรงเรียนเป็นระยะ ๆ เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กระบวนการแกไ้ ขปญั หาการเรียนรู้ของนกั เรยี นรว่ มกนั • ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการร่วมสังเกตชั้นเรียน (open class) เป็นครั้งคราว เพื่อเป็นการพัฒนาครู ผ่านการสังเกตการณ์การจัดการเรียนรู้สอนของเพื่อนครูท่ีมีแนวทางการจัดการเรียนรู้และศิลปะ การสอนทีด่ ี จนสามารถเปน็ แบบอยา่ งใหค้ รูคนอนื่ ๆ นำไปใชต้ ่อได้ โดยสรปุ แล้ว การบริหารกระบวนการพัฒนานกั เรียนผ่านชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชพี จะต้องเกิดจาก ผู้บริหารที่มีความเข้าใจถึงหลักการ ปรัชญาพื้นฐาน รวมถึงกระบวนการทำงานที่ถูกต้องเหมาะสมเป็นลำดับแรก จากนั้นผู้บริหารจะต้องใช้บทบาทของการบริหารของตนเองในการจัดการให้เกิดความร่วมมือร่วมใจจนกระทั่ง ครูในโรงเรียนมีเป้าหมายร่วมกัน ไม่ใช่การใช้อำนาจสั่งการ แต่เป็นการเปิดเวทีให้เกิดการแสดงความคิดเห็น เพือ่ ใหไ้ ดข้ อ้ สรุปทบี่ ุคคลทมี่ ีส่วนเกี่ยวข้องจะรับผิดชอบร่วมกัน นอกจากนี้ ผู้บริหารโรงเรียนจะต้องเป็นผู้ที่เข้าใจ กระบวนการการทำงานของแตล่ ะ PLT ในโรงเรียน เพือ่ กำหนดทิศทางการดำเนินงานของชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพทั้งโรงเรียนให้เป็นไปในรูปแบบเดียวกัน รวมถึงสร้างทีมประเมนิ กลยทุ ธ์ ภารกิจ และความก้าวหน้า ของการดำเนินงานตามเป้าหมายรวมของโรงเรียน ถ้าผู้บริหารสามารถดำเนินงานได้ดังกล่าวข้างต้น จะทำให้ การขับเคลื่อนชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเป็นไปอย่างมีแบบแผนและมีเป้าหมายที่ชัดเจน ครูและบุคคล ท่มี ีสว่ นเกี่ยวข้องไมจ่ ำเป็นจะตอ้ งรอคำสง่ั รายวันจากผู้บริหาร ดว้ ยรู้และเข้าใจความรับผิดชอบของตนเองที่ไดร้ ับ หนว่ ยท่ี 4 PLC เพื่อการพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ฐานสมรรถนะ | 27

มอบหมายเป็นอย่างดี ผลสำเร็จที่เกิดขึ้นจากการทำให้นักเรียนได้รับการเรียนรู้ที่ดีที่สุดจะเป็นความภาคภูมิใจ ของครูและบคุ คลท่ีมีส่วนเกีย่ วขอ้ งในการทำงานรว่ มกนั อย่างมีคณุ ภาพและเป็นกลั ยาณมิตร ขน้ั ตอนการจดั กระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรียนรูท้ างวชิ าชพี การจัดกระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชพี ประกอบด้วย 3 ขนั้ ตอน ดังนี้ 1) ขัน้ ตอนการวางแผน (Plan) ประกอบด้วย • การสรา้ งทีม • การกำหนดปญั หา • การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ • การสะทอ้ นกิจกรรมการเรียนรกู้ ารนำไปใช้สอน 2) ข้ันสงั เกตขัน้ เรยี น (Do) ประกอบด้วย • ครูผสู้ อนนำกจิ กรรมการเรียนรูท้ ีผ่ ่านการสะทอ้ นสู่การจัดการเรยี นรู้ในชั้นเรียน • สมาชกิ ในทมี รว่ มสังเกตชน้ั เรยี น พรอ้ มบนั ทกึ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรขู้ อง • ครูผู้สอนตามประเดน็ ท่ีได้ตกลงรว่ มกนั 3) ข้นั การสะท้อนผลการสงั เกตชนั้ เรยี น (See) ประกอบด้วย • ครูผูส้ อนเปน็ ผู้สะทอ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรขู้ องตนเอง ทั้งในสิง่ ที่ทำไดด้ ีและสิง่ ท่ีต้องปรับปรุง แก้ไข หรือพัฒนาใหด้ ีขน้ึ • เพื่อนครูร่วมสะท้อนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ของครูผู้สอน ทั้งในสิ่งท่ีทำได้ดีและส่ิงทีต่ ้องปรับปรงุ แกไ้ ข หรือพัฒนาใหด้ ีขึน้ • ฝา่ ยบรหิ ารร่วมสะท้อนและสรปุ สิง่ ทจี่ ะสนบั สนนุ หรอื เสรมิ แรงให้แกค่ รูผสู้ อน • ศึกษานิเทศก์หรือบุคคลภายนอกที่เข้าร่วมสังเกตชั้นเรียน (ถ้ามี) ร่วมสะท้อนปัจจัยทีช่ ่วยส่งเสรมิ ประสทิ ธิภาพในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ สมาชิกในชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี ในการจัดกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ประกอบด้วยบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เรียกว่า Professional Learning Team (PLT) ดงั น้ี 1) model teacher คือ ครูผสู้ อน 2) buddy teacher คือ เพ่ือนครคู ู่คิด 3) administrator คือ ผู้บริหารหรือฝ่ายบริหารที่จะคอยช่วยสนับสนุน ทั้งในด้านวัสดุอุปกรณ์ วิธีการ ตลอดจนเสรมิ แรงและใหข้ วญั กำลังใจ 28 | โครงการเพมิ่ ศักยภาพครูให้มีสมรรถนะของครยู ุคใหม่สำหรับการเรยี นรูศ้ ตวรรษท่ี 21

4) mentor คือ ผู้มีความรู้ความสามารถท่ีจะเป็นพี่เลี้ยงดูแลอย่างใกล้ชิดจนครูผู้สอนสามารถปฏิบัติ ในเรื่องหน่ึง ๆ ได้ดี โดยอาจเปน็ ครูในโรงเรียนท่มี ีความรคู้ วามสามารถ เชน่ หวั หน้ากลุ่มสาระ หรือศึกษานิเทศก์ 5) expert คือ ผู้เชี่ยวชาญท่ีสามารถให้คำแนะนำแก่ครูผู้สอนได้ โดยอาจเป็นศึกษานิเทศก์ อาจารย์ มหาวทิ ยาลยั ครหู รือบุคลากรในโรงเรียน วิทยากรทอ้ งถนิ่ หรอื ปราชญช์ ุมชนทีม่ คี วามเชี่ยวชาญในเรือ่ งน้ัน ๆ ** หมายเหตุ การจดั กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี ไม่จำเปน็ จะตอ้ งมีสมาชิกครบท้ังหมด ที่กล่าวมาข้างต้น มีเพียง model teacher ท่ีเป็นครูผู้สอนจริงในห้องเรียน และ buddy teacher ที่เป็นเพื่อนครู คู่คิดก็สามารถจัดกระบวนการให้เกิดขึ้นได้เช่นกัน ทั้งนี้การมี administrator mentor และ expert ใน PLT จะช่วยยืนยันถึงความน่าเชื่อถือของข้อมูล แนวทางการแก้ไขปัญหา และข้อเสนอแนะที่สมาชิกได้สะท้อนคิด และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน รวมถึงสามารถกำหนดแนวทางเพื่อสนับสนุนการพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ใหเ้ หมาะสม และมีคณุ ภาพสงู สุดสำหรบั นักเรียน บทบาทหน้าท่ีของมหาวิทยาลยั ราชภฏั ในการดำเนนิ งาน รว่ มกบั โรงเรยี นทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการ การขับเคลือ่ นการจัดกระบวนการชมุ ชนแห่งการเรียนรูท้ างวิชาชพี ใหเ้ กิดขึ้นอย่างเป็นรปู ธรรมในโรงเรียน รวมถึงการทำให้องค์ความรู้ที่ได้จากชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพถูกนำไปใช้พัฒนาบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง อย่างแท้จริง อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏถือเป็นบุคลากรที่มีความสำคัญยิ่งในการดำเนินงาน สามารถสรุป บทบาทหน้าท่ีของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ได้ ดังน้ี 1) สร้างความตระหนักให้กับผู้บริหารและคณะครูในโรงเรียนให้เห็นถึงความสำคัญของการสร้างชุมชน แหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชีพตอ่ คณุ ภาพของการพัฒนาการจดั การเรียนรู้ 2) ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้บริหารได้นำกระบวนการนิเทศ กำกับติดตาม และประเมินผลการจัด การเรียนรู้ของครู เพื่อสร้างให้เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ โดยการมี ส่วนรว่ มของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาและคณะครู 3) เปน็ หน่วยงานกลางในการเชือ่ มโยงองคค์ วามรู้ระหว่าง สสวท. กับโรงเรียนในแต่ละท้องถ่นิ ทั้งนี้เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดการเริ่มต้นกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ มหาวิทยาลัยราชภัฏ แตล่ ะแห่งอาจดำเนนิ การรว่ มกบั โรงเรียนที่เขา้ ร่วมโครงการตามขัน้ ตอน ดังต่อไปน้ี 1) เขา้ พบคณะผบู้ รหิ ารโรงเรยี นเพือ่ ชี้แจงวตั ถปุ ระสงคท์ ำความเขา้ ใจโครงการฯ 2) ประชุมกับคณะคณุ ครู เพ่ือกำหนดปฏทิ นิ การดำเนินการ PLC 3) ดำเนนิ การตามกระบวนการ PLC หนว่ ยที่ 4 PLC เพ่อื การพัฒนาการจดั การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ | 29

ตัวอย่างแบบบนั ทกึ การจัดกระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี เพ่ือใหก้ ารจดั กระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชีพระหวา่ งมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏและครูท่ีเข้าร่วม การอบรมในโครงการเพิ่มศักยภาพครูให้มีสมรรถนะของครูยุคใหม่สำหรับการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 เป็นไป ในทิศทางเดียวกัน รวมทั้งมีรูปแบบที่แน่นอนและถูกต้องเหมาะสม มีการเก็บข้อมูลที่จำเป็นเพียงพอสำหรับ การจัดกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ในรูปแบบของการวิจัยปฏิบัติการ (action research) ตวั อย่างแบบบนั ทกึ การจดั กระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชีพเปน็ ดงั นี้ 30 | โครงการเพิม่ ศักยภาพครใู ห้มีสมรรถนะของครูยุคใหมส่ ำหรบั การเรยี นรูศ้ ตวรรษท่ี 21

[ตัวอย่าง] แบบบันทึกจำนวนชั่วโมง PLC ประจำปกี ารศึกษา ............................... ชอ่ื สกุล....................................................................... ตำแหนง่ ....................................................................... โรงเรยี น.................. อำเภอ................... จงั หวัด........ สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา............. หน่วยท่ี 4 PLC เพือ่ การพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ฐานสมรรถนะ | 31

คำนำ 32 | โครงการเพ่มิ ศกั ยภาพครใู หม้ สี มรรถนะของครยู คุ ใหม่สำหรบั การเรียนรศู้ ตวรรษท่ี 21

สารบัญ หน่วยท่ี 4 PLC เพอ่ื การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ | 33

PLC 00 [ตวั อยา่ ง] ปฏิทนิ การจดั กระบวนการชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี ชอ่ื ....................................................................................... ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ .......................................... โรงเรยี น ................................................................................................................................................................ ท่ี วนั วนั ที่ คาบ เวลา กิจกรรม 1 พฤหัสบดี จัดต้งั ทีมชุมชนแห่งการเรียนรู้ 2 ศกุ ร์ กำหนดปัญหาและหาแนวทางการแก้ปญั หา 3 พฤหสั บดี รว่ มออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรวู้ งรอบที่ 1 4 ศกุ ร์ รว่ มออกแบบและสะท้อนสอ่ื /แบบฝกึ /ใบงาน วงรอบที่ 1 5 พฤหสั บดี ร่วมสะทอ้ นคิดกิจกรรมการเรยี นรู้ก่อนเปิดชั้นเรียนวงรอบท่ี 1 6 ศุกร์ รว่ มสะทอ้ นคิดหลังเปดิ ชนั้ เรียนวงรอบท่ี 1 7 พฤหัสบดี ร่วมออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรวู้ งรอบท่ี 2 8 ศุกร์ ร่วมออกแบบและสะท้อนสอ่ื /แบบฝกึ /ใบงาน วงรอบท่ี 2 9 พฤหสั บดี ร่วมสะท้อนคดิ กิจกรรมการเรียนรกู้ ่อนเปดิ ชัน้ เรียนวงรอบที่ 2 10 ศกุ ร์ รว่ มสะท้อนคดิ หลังเปิดชนั้ เรยี นวงรอบที่ 2 11 พฤหสั บดี รว่ มออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้วงรอบท่ี 3 12 ศุกร์ รว่ มออกแบบและสะท้อนสื่อ/แบบฝกึ /ใบงาน วงรอบท่ี 3 13 พฤหัสบดี รว่ มสะท้อนคิดกิจกรรมการเรยี นรูก้ ่อนเปดิ ช้ันเรียนวงรอบท่ี 3 14 ศุกร์ รว่ มสะท้อนคดิ หลงั เปิดชน้ั เรยี นวงรอบที่ 3 ลงชื่อ ................................................ ผูบ้ ันทึก ลงช่ือ ................................................ ผรู้ บั รอง (..............................................) (..............................................) ครูเจา้ ของปฏทิ ิน ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน.......... 34 | โครงการเพิ่มศักยภาพครใู ห้มีสมรรถนะของครยู คุ ใหม่สำหรับการเรยี นรู้ศตวรรษท่ี 21

PLC 01 [ตวั อยา่ ง] แบบบันทึกการสรา้ ง Professional Learning Team (PLT) ชื่อทีม .......................................................................... โรงเรียน ......................................................................... อำเภอ .......................................... จังหวดั .......................................... วนั ทีจ่ ัดตั้งทีม ......................................... ชอื่ ครผู ู้สอน ...................................................................... กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ................................................. ลำดับที่ ชือ่ – สกุล บทบาทในทีม ลายมอื ชือ่ 1 Model Teacher 2 (ตอ้ งมี Buddy Teacher อยา่ งนอ้ ย 1 คน) Buddy Teacher 3 Buddy Teacher 4 (ต้องมผี ู้บรหิ าร/ตัวแทน เป็น Administrator อยา่ งน้อย 1 คน) Administrator 5 (ตอ้ งมีอาจารย์ มรภ. เป็น Mentor/Expert อย่างน้อย 1 คน) Mentor/Expert 6 Mentor/Expert * จำนวนสมาชิกใน PLT สามารถปรบั เปล่ยี นไดต้ ามบรบิ ทของโรงเรียน สรปุ เวลา ...................... นาที/ชัว่ โมง ความเหน็ /ขอ้ เสนอแนะ ................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ................................................................... หวั หน้ากลุ่มสาระ................................................ ................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ................................................................... หัวหนา้ วชิ าการ/รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ ................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ................................................................... ผู้อำนวยการโรงเรยี น........................................... หนว่ ยที่ 4 PLC เพ่อื การพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ฐานสมรรถนะ | 35

PLC 02 [ตวั อยา่ ง] การกำหนดปญั หาและวิธกี ารแก้ปญั หา ชื่อทีม .......................................................................... โรงเรยี น ......................................................................... อำเภอ ................................... จงั หวัด ................................... วันทป่ี ระชมุ กำหนดปญั หา ................................... ชือ่ ครูผ้สู อน ...................................................................... กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ................................................. รายชอื่ สมาชกิ ในทีมทร่ี ่วมกำหนดปัญหา จำนวน ...... คน ไดแ้ ก่ ลำดับท่ี ช่ือ – สกุล บทบาทในทมี ลายมอื ชอ่ื 1 2 3 4 5 6 1. ประเดน็ ปญั หาทีร่ ่วมกบั ทีมกำหนดให้นำสกู่ ารหาวิธีการแก้ไข ประเดน็ ปญั หา สาเหตุ วิธีการแกป้ ญั หา 36 | โครงการเพิ่มศกั ยภาพครูให้มสี มรรถนะของครยู คุ ใหมส่ ำหรบั การเรียนร้ศู ตวรรษท่ี 21

2. วิธีการแกป้ ญั หาท่จี ะนำสูก่ ารปฏบิ ัติไดจ้ ากการร่วมคิดของทมี คือ ................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. เปา้ หมายทีจ่ ะพฒั นา (สงิ่ ท่ีต้องการแก้ไขให้ดขี น้ึ ) ................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. ตัวชี้วดั ความสำเร็จ (จะรไู้ ด้อยา่ งไรวา่ สำเร็จ) ................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. กลุม่ เปา้ หมายนักเรียน นกั เรยี นชน้ั .................................................................................. จำนวน ....................... คน กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ............................................................................................................... 6. วิธีการวดั ผลประเมนิ ผล ................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. สรปุ เวลา ...................... นาที/ช่ัวโมง ลงชอื่ ................................................ ผบู้ ันทกึ ลงช่อื ................................................ ผู้รับรอง (..............................................) (..............................................) ครโู รงเรยี น.......... ผู้อำนวยการโรงเรียน.......... หน่วยท่ี 4 PLC เพ่อื การพฒั นาการจดั การเรยี นรฐู้ านสมรรถนะ | 37

PLC 03 [ตัวอย่าง] การสะท้อนแผนการจดั การเรยี นร้กู ่อนใชส้ อน วงรอบท่ี ....... ชอ่ื ทมี .......................................................................... โรงเรยี น ......................................................................... อำเภอ .......................................................................... จงั หวดั .......................................................................... วนั ที่สะทอ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ก่อนเปดิ ช้ันเรยี น ................................... เวลา .................................... น. นกั เรยี นชน้ั .......................................................................... จำนวนนกั เรยี น ............................................... คน ชอ่ื ครูผู้สอน ........................................................... วิชา ................................................. รหสั ........................... จำนวนผเู้ ขา้ รว่ มสะท้อนแผน จำนวน ...... คน ไดแ้ ก่ ลำดบั ท่ี ชือ่ – สกลุ บทบาทในทมี ลายมือชอ่ื 1 2 3 4 5 6 ประเดน็ นำสะทอ้ นกิจกรรมการเรยี นรู้ก่อนนำไปใช้สอน 1. องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้ 2. การออกแบบจดุ ประสงค์การเรียนรู้ท่ีสอดคลอ้ งกบั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 3. กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่ครผู ้สู อนออกแบบมคี วามสอดคลอ้ งตามตัวชว้ี ดั 4. ช้นิ งาน/ภาระงาน /การวดั ประเมินผล สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ 5. วธิ กี ารแก้ปญั หาทมี่ กี ารวางแผนสกู่ ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้มคี วามเหมาะสม สรุปเวลา ...................... นาท/ี ช่ัวโมง ลงชอ่ื ................................................ ผู้บนั ทึก ลงชอื่ ................................................ ผ้รู บั รอง (..............................................) (..............................................) ผอู้ ำนวยการโรงเรียน.......... 38 | โครงการเพ่ิมศักยภาพครใู หม้ สี มรรถนะของครูยุคใหม่สำหรบั การเรียนรู้ศตวรรษท่ี 21

PLC 04(1) [ตวั อย่าง] การเปิดชน้ั เรียน – สงั เกตชน้ั เรยี น วงรอบท่ี ..... (สำหรบั ครผู สู้ อนสะทอ้ นตัวเองหลังสอน) ช่ือทีม .......................................................................... โรงเรียน ......................................................................... อำเภอ .......................................................................... จังหวัด .......................................................................... วันทเี่ ปิดช้นั เรียน ............................................................................................... เวลา .................................... น. นกั เรยี นชน้ั .......................................................................... จำนวนนกั เรยี น ............................................... คน ชือ่ ครผู ้สู อน ........................................................... วิชา ................................................. รหัส ........................... จำนวนผูเ้ ขา้ ร่วมการสังเกต จำนวน ...... คน ได้แก่ ลำดับท่ี ช่ือ – สกุล บทบาทในทมี ลายมอื ชือ่ 1 2 3 4 5 6 1. สงิ่ ที่ครูผ้สู อนทำได้ดี และควรรกั ษาไวใ้ ห้มีต่อไป ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 2. สิ่งทีเ่ ปน็ ปัญหาและอุปสรรคทท่ี ำใหก้ ารจดั กจิ กรรมการเรยี นร้ใู นครั้งนีไ้ มเ่ ปน็ ไปตามเป้าหมาย ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... หน่วยท่ี 4 PLC เพอ่ื การพฒั นาการจดั การเรยี นรูฐ้ านสมรรถนะ | 39

3. สิ่งทีค่ รตู อ้ งปรับใหด้ ขี ้นึ เพ่ือพัฒนาการเรียนรขู้ องนกั เรียนมปี ระเดน็ ใดบา้ ง และจะทำอย่างไร ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 4. นกั เรยี นบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรใู้ นครง้ั นจ้ี ำนวน กีค่ น ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 5. วธิ ีการแกป้ ญั หาทนี่ ำมาใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรเู้ กดิ ผลอย่างไร ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... เวลาทใี่ ช้ในการในการเปิดช้นั เรยี นทั้งหมด ...................... นาที/ชว่ั โมง ลงช่ือ ................................................ ผบู้ นั ทกึ ลงชอ่ื ................................................ ผรู้ บั รอง (..............................................) (..............................................) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น.......... 40 | โครงการเพิ่มศกั ยภาพครูใหม้ ีสมรรถนะของครยู คุ ใหมส่ ำหรบั การเรยี นร้ศู ตวรรษที่ 21

PLC 04(2) [ตัวอยา่ ง] การเปดิ ชนั้ เรยี น – สงั เกตชน้ั เรยี น วงรอบที่ ..... (สำหรบั ผสู้ อนสังเกตการสอน) ช่อื ทมี .......................................................................... โรงเรยี น ......................................................................... อำเภอ .......................................................................... จงั หวัด .......................................................................... วนั ที่เปิดชัน้ เรียน ............................................................................................... เวลา .................................... น. นกั เรยี นชน้ั .......................................................................... จำนวนนักเรยี น ............................................... คน ชือ่ ครผู ู้สอน ........................................................... วิชา ................................................. รหัส ........................... จำนวนผเู้ ขา้ รว่ มการสงั เกต จำนวน ...... คน ไดแ้ ก่ ลำดับที่ ช่อื – สกุล บทบาทในทีม ลายมอื ชอ่ื 1 2 3 4 5 6 ประเดน็ คำถามนำสกู่ ารสงั เกตชนั้ เรยี น 1. ส่ิงทีค่ รผู ู้สอนทำได้ดี และควรรกั ษาไวใ้ ห้มตี ่อไป ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 2. ส่ิงท่เี ปน็ ปญั หาและอุปสรรคท่ที ำใหก้ ารจัดกิจกรรมการเรยี นรูใ้ นคร้ังนีไ้ ม่เป็นไปตามเปา้ หมาย ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... หนว่ ยท่ี 4 PLC เพอื่ การพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ฐานสมรรถนะ | 41

3. สง่ิ ที่ครูต้องปรบั ให้ดขี ึ้นเพื่อพฒั นาการเรียนรขู้ องนกั เรยี นมปี ระเด็นใดบา้ ง และจะทำอย่างไร ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 4. นกั เรยี นบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ในครง้ั นจ้ี ำนวนกค่ี น ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 5. วิธกี ารแกป้ ัญหาทนี่ ำมาใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนรูเ้ กดิ ผลอยา่ งไร ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... เวลาท่ีใชใ้ นการในการเปดิ ชนั้ เรยี นทั้งหมด ...................... นาท/ี ช่วั โมง ลงช่อื ................................................ ผู้บันทกึ ลงชื่อ ................................................ ผรู้ บั รอง (..............................................) (..............................................) ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น.......... 42 | โครงการเพิม่ ศกั ยภาพครูให้มีสมรรถนะของครยู ุคใหม่สำหรับการเรยี นรูศ้ ตวรรษท่ี 21

PLC 05 [ตัวอย่าง] การสะทอ้ นคิดหลังการสังเกตช้ันเรียน วงรอบที่ ..... ชอื่ ทีม .......................................................................... โรงเรยี น ......................................................................... อำเภอ .......................................................................... จังหวดั .......................................................................... วนั ที่สะท้อนคดิ หลงั การสงั เกตชน้ั เรียน ............................................................. เวลา .................................... น. นกั เรยี นชน้ั .......................................................................... จำนวนนักเรยี น ............................................... คน ชอื่ ครผู สู้ อน ........................................................... วิชา ................................................. รหัส ........................... ชื่อผนู้ ำการสะทอ้ นการเปดิ ช้ันเรียน ..................................................................................................................... รายชอ่ื ผู้ร่วมสะทอ้ นคดิ หลงั เปิดชนั้ เรยี น จำนวน ...... คน ได้แก่ ลำดับที่ ช่ือ – สกุล บทบาทในทีม ลายมือชื่อ 1 2 3 4 5 6 1. ส่งิ ทค่ี รูผู้สอนทำไดด้ ี และควรรักษาไวใ้ ห้มีตอ่ ไป ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 2. สิง่ ทเ่ี ป็นปญั หาและอปุ สรรคทที่ ำใหก้ ารจดั กิจกรรมการเรยี นรใู้ นครั้งน้ีไมเ่ ป็นไปตามเปา้ หมาย ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... หน่วยที่ 4 PLC เพื่อการพัฒนาการจดั การเรียนรฐู้ านสมรรถนะ | 43

3. สิง่ ทีค่ รูตอ้ งปรับให้ดีขน้ึ เพือ่ พฒั นาการเรยี นรขู้ องนักเรยี นมปี ระเดน็ ใดบา้ ง และจะทำอยา่ งไร ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 4. นกั เรยี นบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ในครง้ั นจ้ี ำนวนกค่ี น ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 5. วิธกี ารแก้ปัญหาทีน่ ำมาใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรเู้ กดิ ผลอยา่ งไร ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... เวลาทใี่ ชใ้ นการสะท้อนคิดหลงั เปิดชนั้ เรียน ........... นาที/ชว่ั โมง ลงชื่อ ................................................ ผู้บนั ทึก ลงช่อื ................................................ ผูร้ ับรอง (..............................................) (..............................................) ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น.......... 44 | โครงการเพิ่มศักยภาพครใู ห้มีสมรรถนะของครูยคุ ใหม่สำหรบั การเรียนร้ศู ตวรรษที่ 21

[ตัวอย่าง] แบบรายงานการใชน้ วัตกรรมที่เกิดจากการเปดิ ชนั้ เรยี น จำนวน ..... วงรอบ หนว่ ยการเรยี นรู้ ..................................................................................... จำนวน .................................... ชวั่ โมง วชิ า ........................................................... รหัส .................................... กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ........................... ชน้ั .......................................................................... ช่อื ครผู ูส้ อน ......................................................................... ช่ือนวัตกรรม ....................................................................................................................................................... 1. ความเปน็ มาและความสำคัญของวิธีการแก้ปัญหา 2. วัตถปุ ระสงค์ของการดำเนนิ การ 3. กระบวนการในการดำเนินการ 4. ผลการดำเนินการ 5. ปจั จัยความสำเร็จ 6. ผลทเี่ กดิ กับตวั ครมู ีประเดน็ ใดบ้าง 7. มีการเผยแพรน่ วัตกรรมทเี่ กิดข้ึนอยา่ งไร (ภายในโรงเรียน/เครอื ขา่ ยต่างโรงเรยี น) หน่วยที่ 4 PLC เพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนรูฐ้ านสมรรถนะ | 45



เอกสารอา้ งอิง PISA 2018 Assessment and Analytical Framework ประเภท: รายงาน ผแู้ ต่ง: OECD ปีที่แต่ง: 2018 url: https://www.oecd-ilibrary.org/education/ pisa-2018-assessment-and-analytical- framework_b25efab8-en PISA for Development Assessment and Analytical Framework: Reading, Mathematics and Science ประเภท: รายงาน ผแู้ ต่ง: OECD ปที ี่แต่ง: 2018 url: https://doi.org/10.1787/9789264305274-en ผลการประเมนิ PISA 2015 ผลการประเมนิ PISA 2015 วิทยาศาสตร์ การอ่าน วทิยาศาสตริการอิาน และคณติศาสตริ และคณิตศาสตร์ ความเปน็ เลศิ และความเท่าเทียมทางการศึกษา ประเภท: รายงาน ความเปนิ เลศิและ ความเทาิเทยิมทางการศกิษา ผแู้ ต่ง: สสวท. ปที ี่แต่ง: 2018 PISA Thailand url: https://pisathailand.ipst.ac.th/isbn- สถาบินสิงเสริมการสอนวิทยาศาสตริและ เทคโนโลยิ กระ ทรวงศิกษาธิการ 9786163627179/ ความฉลาดรดู้ า้ นวิทยาศาสตร์ ประเภท: เว็บไซต์ ผแู้ ต่ง: สสวท. แก้ไขลา่ สุด: 11 พฤศจิกายน 2563 url: https://pisathailand.ipst.ac.th/about- pisa/scientific-literacy/ เอกสารอา้ งองิ | 47

เอกสารสำหรับสืบคน้ เพิม่ เติม ตัวช้วี ดั และสาระการเรียนรูแ้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ประเภท: หนงั สือ ผแู้ ต่ง: สสวท. ปีทแี่ ต่ง: 2560 url: https://drive.google.com/file/d/1_ALwE9xu CL3Fjet3XI4gYjBj8p_1zLaA/view?usp=drivesdk คูม่ อื การใช้หลกั สตู ร กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ระดับประถมศึกษา ประเภท: หนงั สอื ผแู้ ต่ง: สสวท. แกไ้ ขลา่ สดุ : 24 พฤษภาคม 2562 url: https://www.scimath.org/ebook- science/item/8922-2018-10-01-01-54-11 คูม่ อื การใชห้ ลักสูตร กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ประเภท: หนงั สอื ผแู้ ต่ง: สสวท. แกไ้ ขลา่ สดุ : 1 ตุลาคม 2561 url: https://www.scimath.org/ebook- science/item/8923-2018-10-01-01-59-16 คู่มือการใชห้ ลกั สตู ร ประเภท: เว็บไซต์ ผแู้ ต่ง: สสวท. แกไ้ ขล่าสดุ : 26 สิงหาคม 2563 url: https://www.scimath.org/coursemanual 48 | โครงการเพ่มิ ศักยภาพครใู หม้ สี มรรถนะของครยู ุคใหมส่ ำหรบั การเรียนรู้ศตวรรษท่ี 21


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook