Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปี62 กศน.พนัสนิคม

แผนปี62 กศน.พนัสนิคม

Published by 420st0000051, 2021-02-26 15:50:07

Description: แผนปี62 กศน.พนัสนิคม

Search

Read the Text Version

แผนปฏบิ ัติการประจำปง บประมาณ 2562 ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพนสั นคิ ม สำนกั งานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัดชลบรุ ี สำนกั งานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ

ก คํานํา แผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ 2562 ของ กศน.อําเภอพนัสนิคม จัดทําขึ้นเพ่ือเปนแนวทางใน การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2562 โดยยึดแนวทางตาม ยุทธศาสตรและจุดเนนการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจําปงบประมาณ 2561 สอดคลองกับยุทธศาสตรและจุดเนนการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดชลบุรี และยุทธศาสตรและจุดเนนการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอพนัสนิคม ตลอดจนบรบิ ท ความตองการของกลุมเปาหมายในพ้ืนที่เพ่ือกําหนดเปน แนวปฏิบัติ และแนวทางในการดําเนินงาน กศน.อําเภอพนัสนิคม ใหเปนไปตามเปา หมายทต่ี ง้ั ไวอยา งมีประสทิ ธภิ าพ แผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ 2562 ของ กศน.อําเภอพนัสนิคม เลมน้ี สําเร็จลุลวงดวยดี ดวย ความรวมมือของภาคีเครือขาย และผูเกี่ยวของรวมกันระดมความคิดเห็น โดยนําสภาพปญหาและผลการ ดําเนินงานมาปรับปรุงเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ กศน. อําเภอพนัสนคิ ม เพอื่ สนองตอบความตอ งการของประชาชนในพน้ื ที่อยางแทจริง คณะผูจัดทําหวังเปนอยางย่ิงวา แผนปฏิบัติการประจําปงบประมาณ 2562 ของ กศน.อําเภอ พนัสนิคม เลมน้ี จะเปนแนวทางในการดําเนินงานของบุคลากรและผูเกี่ยวของ เพ่ือใหการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยใหบรรลุตามวัตถุประสงค และมีคุณภาพตามเปาหมาย ตลอดจนเปนประโยชนตอผูมี สว นเกยี่ วขอ ง ประชาชน ชุมชน สงั คม และประเทศชาติตอไป ผูจ ดั ทาํ กศน.อาํ เภอพนสั นคิ ม

ข สารบัญ คํานํา................................................................................................................................................................ก สารบัญ ............................................................................................................................................................ข สวนท่ี 1 ................................................................................................................................................................... 1 ขอมูลพน้ื ฐานของสถานศึกษา............................................................................................................................. 1 สว นท่ี 2 .................................................................................................................................................................23 ทศิ ทาง นโยบาย กศน.อําเภอพนสั นิคม..................................................................................................................23 ทิศทาง นโยบายและจุดเนนของ กศน.อาํ เภอพนสั นคิ ม ....................................................................................23 นโยบายจดุ เนนการดําเนนิ งาน ของสํานักงาน กศน. .........................................................................................26 ผลการวิเคราะห SWOT (SWOT ANALYSIS) ของ กศน.อาํ เภอพนสั นิคม ........................................................38 นโยบายและจดุ เนน ของ กศน.อําเภอพนสั นคิ ม.................................................................................................41 สวนท่ี 3 .................................................................................................................................................................51 รายละเอียดแผนงาน/โครงการ ประจําป 2562......................................................................................................51 ตารางแผนปฏบิ ัตกิ ารประจําป 2562 กศน.อาํ เภอพนัสนคิ ม .............................................................................51 สวนที่ 4 .................................................................................................................................................................63 กลยุทธก ารดาํ เนนิ งาน............................................................................................................................................63 การดาํ เนินงานตามแนวทางวงจร PDCA...........................................................................................................63 สว นท่ี 5 .................................................................................................................................................................64 ภาคผนวก ..............................................................................................................................................................64 รายช่ือคณะกรรมการ กศน.อาํ เภอพนัสนิคม.....................................................................................................64

สวนท่ี 1 ขอ มลู พนื้ ฐานของสถานศกึ ษา สภาพทวั่ ไปของสถานศึกษา ช่อื สถานศกึ ษา ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอพนสั นิคม ท่ีอยู 18/1 หมู 1 ตำบลบานชา ง อำเภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบรุ ี รหสั ไปรษณีย 20140 โทรศพั ท 038-474970 โทรสาร 038-474970 E - mail [email protected] Website http://chon.nfe.go.th/panus/ สังกัด สำนักงานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั ชลบุรี สำนกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ ประวัตคิ วามเปน มาของสถานศกึ ษา ศนู ยบรกิ ารการศึกษานอกโรงเรียนอาํ เภอพนสั นคิ ม ประกาศจดั ตงั้ เมือ่ วนั ท่ี 27 เดอื น สิงหาคม พ.ศ. 2536 ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอ่ื ง จัดต้ังศูนยบรกิ ารการศกึ ษานอกโรงเรยี นอาํ เภอ/กิง่ อาํ เภอ สถานภาพเปนสถานศึกษาในราชการสว นกลาง สังกัด ศูนยการศึกษานอกโรงเรียนจังหวดั ชลบุรี กรมการศกึ ษา นอกโรงเรยี น กระทรวงศกึ ษาธิการ ทําการเดิมตั้งอยูที่ หองสมุดประชาชนอําเภอพนัสนิคม ถนนเมืองเกา อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี วันท่ี 1 กมุ ภาพันธ 2539 มคี วามจําเปนตองรือ้ อาคารหองสมุดประชาชนอําเภอพนัสนิคม เพ่ือเปนสถานที่กอสรางท่ีวาการ อําเภอพนัสนิคมหลังใหม จึงเชาอาคารเลขท่ี 56/39 หมู 6 ถนนสุขประยูร ตําบลกุฎโงง อําเภอพนัสนิคม จังหวัด ชลบรุ ี เปน ทที่ าํ การช่ัวคราว วันที่ 1 กันยายน 2542 ไดย ายจากที่ทาํ การชั่วคราวมายงั ทที่ ําการหลงั ใหม เลขท่ี 18/1 หมู 1 ตําบลบานชาง อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ตั้งอยูดานหลังสํานักงานที่ดินจังหวัดชลบุรี (สาขาพนัสนิคม) ซงึ่ ไดรับบริจาคท่ีดินจากนายศิริพงศ ชลดารัตน จํานวน 468 ตารางวา โฉนดเลขที่ 2598 และดําเนินการกอสราง ดวยเงินงบประมาณจากกรมการศึกษานอกโรงเรียน สวนหองสมุดประชาชนดานลางไดรับการสนับสนุนเพ่ิมเติม จาก นายประเสริฐ ศิวทัศน ปจจบุ ัน ศนู ยบรกิ ารการศึกษานอกโรงเรียนอาํ เภอพนสั นคิ ม ไดเปลี่ยนชือ่ มาเปน ศูนยการศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอําเภอพนัสนิคม สังกดั สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยจังหวัดชลบุรี สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง บัญชีรายช่ือสถานศึกษา ในสังกัดสํานักบริหารงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

2 กระทรวงศกึ ษาธิการที่มีความพรอมในการปฏิบัติภารกิจของสถานศกึ ษาตามพระราชบญั ญัติสงเสริมการศกึ ษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั พ.ศ. 2551 ลงวันที่ 10 มีนาคม 2551 ทำเนียบผูบ รหิ ารศูนยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอพนัสนคิ ม ลำดับที่ ชอ่ื – สกลุ ตำแหนง ระยะเวลาที่ ดำรงตำแหนง 1 นายภชุ งค ฉมิ พาลี ผูอาํ นวยการ กศน.อาํ เภอพนสั นคิ ม พ.ศ. 2536 - 2548 2 นายธีรยล แสงอํานาจเจริญ ผอู ํานวยการ กศน.อาํ เภอพนสั นิคม พ.ศ. 2548 – 2553 3 นางสาวพวงสวุ รรณ พนั ธมุ ะมวง รักษาการตําแหนง ผูอํานวยการ พ.ศ. 2553 – 2554 กศน.อําเภอพนสั นิคม 4 นายทองพูล เพิ่มดี ผูอํานวยการ กศน.อําเภอพนสั นิคม พ.ศ. 2554 – 2554 5 นายทศพล ทพิ ยไพฑรู ย ผอู ํานวยการ กศน.อําเภอพนัสนิคม พ.ศ. 2554 – 2558 6 นางรุจมิ า ปรัชญาโณทยั ผูอํานวยการ กศน.อําเภอพนัสนิคม พ.ศ. 2558 - 2560 7 นางณัชธกญั หม่ืนสา ผอู าํ นวยการ กศน.อาํ เภอพนสั นิคม พ.ศ. 2560 – ปจ จุบนั จำนวนบุคลากร (ปปจ จุบัน) ต่ำกวา ป.ตรี จำนวน (คน) รวมจำนวน ป.ตรี ป.โท ป.เอก 1 ประเภท/ตำแหนง 2 1 1 1 ผูบรหิ าร 2 1 2 ขาราชการครู 4 1 22 บุคลากรทางการศึกษา 1 ลกู จา งประจํา 21 1 1 พนกั งานราชการ 1 2 ครูศูนยการเรียนชุมชน 1 บรรณารกั ษอ ัตราจา ง 31 พนกั งานบรกิ าร/ยาม 25 2 รวมท้ังส้ิน

3 สภาพของชุมชน(สภาพท่วั ไปและสภาพทางเศรษฐกจิ และสังคม) 1. สภาพทั่วไป เนือ้ ที่และลกั ษณะภมู ิประเทศ อําเภ อพนัสนิคม ต้ังอยูทางทิศตะวันออกของจังหวัดชลบุรีมีเน้ือที่ 451ตารางกิโลเมตร ท่ีวาการอําเภอพนัสนิคมอยูในเขตเทศบาลเมืองพนัสนิคม หางจากจังหวัดชลบุรี ประมาณ 22 กิโลเมตร ตามเสน ทางถนนสุขประยูร (ทางหลวงหมายเลข 315) อาณาเขต ทศิ เหนอื ตดิ ตอกบั อาํ เภอบา นโพธิ์ และอาํ เภอแปลงยาว จงั หวัดฉะเชิงเทรา ทศิ ใต ตดิ ตอ กับ อาํ เภอบอทอง และอําเภอบานบงึ จงั หวัดชลบรุ ี ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอกบั อาํ เภอบอ ทอง และอาํ เภอเกาะจันทร จังหวดั ชลบุรี ทิศตะวนั ตก ติดตอกบั อําเภอพานทอง จังหวดั ชลบุรี และอําเภอบานโพธ์ิ จังหวัดฉะเชิงเทรา ลักษณะภูมิประเทศ สภาพพื้นท่ี เปนที่ราบสูงและราบลุมทางทิศตะวันออกเปนปา ไรออย ไรมันสําปะหลัง ทางทิศเหนือ และ ทิศตะวันออกเฉียงใต พ้ืนที่สวนใหญราบลุมทํานา บางสวนเลี้ยงกุง ปลา บางสวนเปนภูเขาไมมีแมน้ําไหล ผานจะมีบางเฉพาะลําคลอง เชน คลองหลวง ซ่ึงไหลมาจากอําเภอบอทอง และคลองสาลิกาไหลมาจากอําเภอ บา นบึงไปลงที่อําเภอพานทองและคลองชลประทาน พ้นื ทแี่ ละการใชประโยชน พ้ืนที่ทางการเกษตร 193,589 ไร การถือครองที่ดินอําเภอพนัสนิคม การออกเอกสารสิทธิใหแก ราษฎรมีรายละเอยี ดดงั นี้ 1. โฉนดท่ดี นิ จาํ นวน 48,555 แปลง 2. หนงั สือรบั รองการใชป ระโยชน (น.ส. 3 ก.) จาํ นวน 1,923 แปลง 3. หนังสือรับรองการทําประโยชน (น.ส.3) จาํ นวน 1,398 แปลง 4. หนังสือสําคัญสาํ หรับทีห่ ลวง (น.ส.ล.) จํานวน 77 แปลง 5. ใบจอง จาํ นวน 136 แปลง 6. ตราจอง จํานวน 208 แปลง 7. แบบแจงการครอบครองท่ดี ิน จํานวน 1,431 แปลง ลักษณะภมู ิอากาศ ลกั ษณะภมู ิอากาศเปนแบบมรสุม 1. ฤดูรอน เริ่มต้ังแตเดอื นมีนาคม – พฤษภาคม อากาศรอนจัดในเดือนเมษายน

4 2. ฤดูฝน เริ่มต้ังแตเดือนมิถุนายน – ตุลาคม มีฝนตกหนักในเดือนตุลาคม บางปตอถึงเดือน พฤศจกิ ายน 3. ฤดูหนาว เริ่มต้ังแตเดือนพฤศจิกายน – กุมภาพันธ อากาศคอนขางเย็นในเดือนธันวาคม อากาศไมแ หง แลง มากนกั แตจะไปแลงมากเดือนมกราคม – กุมภาพันธ ลักษณะการเมืองการปกครอง - แบงเขตการปกครองตาม พรบ. มีลักษณะการปกครองทองท่ี พ.ศ. 2475 ประกอบดวย 16 ตําบล 185 หมูบาน คือ ตําบลหนาพระธาตุ ตําบลไรหลักทอง ตําบลวัดหลวง ตําบลวัดโบสถ ตําบลโคกเพลาะ ตําบลทาขาม ตําบลสระสี่เหล่ียม ตําบลหนองปรือ ตําบลนาวังหิน ตําบลนาเริก ตําบลบานชาง ตําบลนามะตูม ตาํ บลทุงขวาง ตาํ บลหนองเหยี ง ตาํ บลหนองขยาด และตาํ บลบา นเซิด - เทศบาล จาํ นวน 4 แหง คอื เทศบาลเมอื งพนัสนคิ ม เทศบาลตําบลหมอนนาง เทศบาลตาํ บลกฎุ โงง และเทศบาลตําบลหวั ถนน ศาสนาและศิลปวฒั นธรรม 1. การศาสนา ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาพุทธประมาณรอยละ 97 ศาสนาอื่น ๆ ประมาณ รอ ยละ 3 มสี ถาบันหรอื องคก รทางศาสนา 1.1 วดั , ทพ่ี ักสงฆ จาํ นวน 74 แหง 1.2 มัสยิด จาํ นวน 8 แหง 1.3 ศาลเจา จํานวน 6 แหง 2. ศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนยี มประเพณี ไดแก งานบญุ กลางบาน,งานสงกรานต, การทายโจก , เทศกาลวันไหวพระจนั ทร และงานกองขาว การสาธารณสขุ 1. การใหบ รกิ ารดา นสาธารณสุข โดยมีสถานบริการ ดงั น้ี 1.1 โรงพยาบาล ขนาด 120 เตียง จำนวน 1 แหง 1.2 สำนักงานสาธารณสขุ อำเภอ จำนวน 1 แหง 1.3 สถานอี นามัยประจำตำบล / หมบู า น จำนวน 21 แหง 1.4 สถานพยาบาลเอกชน จำนวน 19 แหง 1.5 รา นขายยาแผนปจ จบุ ัน จำนวน 17 แหง 2. บคุ ลากรทางดานสาธารณสุข 2.1 แพทย จำนวน 11 คน 2.2 ทนั ตแพทย จำนวน 4 คน 2.3 เภสชั กร จำนวน 8 คน 2.4 พยาบาล จำนวน 84 คน 2.5 เจาหนาทอ่ี ื่น ๆ จำนวน 58 คน 2.6 ลกู จา ง จำนวน 140 คน

5 ความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยสิน มสี ถานตี ำรวจภธู ร จำนวน 1 แหง คือ สถานีตำรวจภธู รพนัสนิคม การคมนาคมและสาธารณูปโภค 1. การคมนาคม ติดตอระหวา งอำเภอและจังหวดั รวมทง้ั การคมนาคมภายในตำบลและหมบู า น มรี ายละเอยี ดดังนี้ 1.1 ทางหลวงแผน ดนิ สาย 315 (ถนนสุขประยูร) จังหวัดชลบรุ ี – จังหวัดฉะเชิงเทรา 1.2 ทางหลวงแผนดิน สาย 331 นครราชสีมา – ฉะเชงิ เทรา – สัตหบี 1.3 ทางหลวงแผน ดิน สายอำเภอพนสั นคิ ม –บานหนองชาก 1.4 ทางหลวงแผนดนิ สายอำเภอพนัสนคิ ม – หนองเสม็ด 1.5 ทางหลวงแผน ดิน สายอำเภอพนัสนิคม – ทา บญุ มี –เกาะจนั ทร 1.6 ทางหลวงชนบท สายอำเภอพนสั นิคม – สระส่ีเหลยี่ ม 1.7 ทางหลวงชนบท สายอำเภอพนัสนิคม –วดั กลางคลองหลวง 1.8 ทางหลวงชนบท สายอำเภอพนัสนิคม – พานทอง 1.9 ทางหลวงชนบท สายอำเภอพนสั นคิ ม –ทาขาม 1.10 เสนทางเช่อื มตอระหวา งตำบลและหมบู าน เปน สภาพถนนลกู รัง จำนวน 210 สาย 2. การโทรคมตดิ ตอส่ือสาร 2.1 ที่ทำการไปรษณียโ ทรเลข จำนวน 1 แหง 2.2 การใหบริการติดตอสอ่ื สารทางโทรศัพท โดยมีจำนวนคูสาย 4,650 คสู าย 2.3 หนวยบริการผูใ ชไ ฟฟา สังกดั ไฟฟา สว นภูมภิ าคจังหวัด จำนวน 1 แหง คอื การไฟฟา สว นภมู ภิ าคอำเภอพนัสนิคม 3. การสาธารณปู โภค 3.1 การประปาระดบั อำเภอและตำบล หมบู าน มีดงั นี้ 3.1.1 การประปาสวนภมู ิภาค จำนวน 1 แหง ไดแ ก ประปาพนัสนิคม 3.1.2 การประปาหมูบาน จำนวน 25 แหง 3.2 แหลงน้ำกิน –นำ้ ใช ประเภทอื่น ๆ มีดังน้ี 3.2.1 บอนำ้ บาดาล จำนวน 124 แหง 3.2.2 บอนำ้ ตื้น จำนวน 6,054 แหง 3.2.3 ถังเกบ็ นำ้ จำนวน 152 แหง 3.2.4 โอง นำ้ ขนาดใหญ จำนวน 38,893 แหง ทรัพยากรธรรมชาติ 1. ทรัพยากรดิน สภาพดนิ ของอำเภอพนสั นิคม มีลักษณะเปน ดินรวนปนทราย และบางสว นเปนพื้นท่ี ราบลุมลกั ษณะดินเปร้ยี ว

6 2. ทรัพยากรน้ำ สภาพท่วั ไปไมมีแมนำ้ ไหลผานตัวอำเภอ มเี ฉพาะลำคลองไหลผาน เชน คลองหลวง คลองสาลิกา 3. ทรพั ยากรปา ไม อำเภอพนัสนคิ มไมม ีพ้ืนที่ท่เี ปน ปาไมสำคัญ สภาพทางสังคม – ประชากร สภาพชมุ ชนอำเภอพนสั นคิ ม ประชากร ประชากรทัง้ สิน้ 100,974 คน ชาย 48,402 คน หญิง 52,572 คน ที่ ตำบล ชาย หญงิ รวม 1 ตำบลไรหลกั ทอง 1,110 1,236 2,346 2 ตำบลบานชาง 2,982 3,368 6,350 3 ตำบลหนองปรือ 1,850 2,681 4,531 4 ตำบลบา นเซิด 2,712 2,922 5,643 5 ตำบลนาเรกิ 3,973 4,123 8,096 6 ตำบลกุฎโงง 3,067 3,415 6,482 7 ตำบลหนาพระธาตุ 2,186 2,341 4,527 8 ตำบลหนองเหียง 6,708 6,897 13,605 ที่ ตำบล ชาย หญงิ รวม 9 ตำบลโคกเพลาะ 1,088 1,229 2,317 10 ตำบลทาขา ม 1,494 1,593 3,087 11 ตำบลวดั โบสถ 1,501 1,622 3,123 12 ตำบลวัดหลวง 906 1,082 1,988 13 ตำบลหนองขยาด 2,051 2,092 4,143 14 ตำบลหมอนนาง 4,985 5,335 10,320 15 ตำบลทุงขวาง 2,132 2,296 4,428 16 ตำบลนามะตูม 1,274 1,432 2,706 17 ตำบลนาวงั หิน 2,511 2,713 5,224 18 ตำบลสระสเ่ี หล่ยี ม 3,421 3,522 6,943 19 ตำบลหัวถนน 2,451 2,664 5,115 48,402 52,572 100,974 รวม

7 ขอ มูลดานการศึกษา จำนวน (คน) หมายเหตุ ระดับการศกึ ษา 2,560 8,335 1. ผไู มรหู นังสือ 33,116 2. กอ นประถมศึกษา (อา นออกเขยี นได) 19,903 3. ประถมศึกษา 16,605 4. มัธยมศึกษาตอนตน 20,455 5. มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 6. สงู กวา มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 100,974 รวม สภาพทางเศรษฐกิจ ดา นเศรษฐกิจ 1. การเกษตรกรรม อำเภอพนสั นคิ มมีพ้ืนท่ีการเกษตรทั้งส้นิ 239,369 ไร ครอบครัวเกษตรกร จำนวน 9,399 ครอบครวั 2. การปศสุ ัตว สว นใหญเกษตรกรทำการปศสุ ตั ว โค,กระบือ,สุกร 3. การอุตสาหกรรม มรี าษฎรประกอบอตุ สาหกรรมอยูหลายรปู แบบ เชน อุตสาหกรรมในครวั เรอื น อตุ สาหกรรมขนาดเลก็ และขนาดใหญ มีอยูป ระมาณ 130 แหง 4 . การพาณิชย 4.1 สถานบริการนำ้ มนั เช้ือเพลงิ ขนาดใหญ จำนวน 18 แหง 4.2 ธนาคาร จำนวน 9 แหง ไดแก ธนาคารกสกิ รไทย ธนาคารกรงุ เทพฯ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกรงุ ศรีอยุธยา ธนาคารทหารไทย ธนาคารออมสนิ ธนาคารไทยพาณชิ ย ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ และธนาคารอาคารสงเคราะห 4.3 สหกรณ จำนวน 5 แหง 5. การบริการ มโี รงแรม จำนวน 3 แหง 6. การทองเท่ียว มีสถานทที่ องเทย่ี วทสี่ ำคัญ ไดแ ก โบราณสถานโบราณวัตถตุ าง ๆ เชน หอพระพนสั บดี หอไตรวดั ใตตน ลาน ตลาดจักสานเมืองพนสั นคิ ม เปนตน ดา นการประกอบอาชพี 1. รับจา ง 2. เกษตรกรรม การเพาะปลูก เล้ียงสตั ว 3. อุตสาหกรรม 4. คาขาย

ขอมลู ปญหาและความตองการทางการศึกษา (จำแนกกลุมเปาหมาย) 8 จำนวนกลมุ เปา หมายแยกตามอายุอำเภอพนัสนิคม รวม 2,346 ที่ ตำบล ตำ่ กวา 15 ป 15 - 59 ป 60 ปขนึ้ ไป 6,350 963 4,531 1 ตำบลไรห ลกั ทอง 265 1,118 918 5,643 778 8,096 2 ตำบลบา นชาง 1,127 4,305 1,087 6,482 1,260 4,527 3 ตำบลหนองปรือ 705 3,048 1,233 13,605 644 2,317 4 ตำบลบานเซิด 758 3,798 1,292 3,087 495 3,123 5 ตำบลนาเรกิ 1,202 5,634 937 1,988 1,024 4,143 6 ตำบลกุฎโงง 1,010 4,239 1,039 10,320 791 4,428 7 ตำบลหนา พระธาตุ 582 3,301 1,905 2,706 3,119 5,224 8 ตำบลหนองเหียง 3,963 8,350 470 6,943 923 5,115 9 ตำบลโคกเพลาะ 333 1,489 1,484 100,974 1,087 10 ตำบลทาขา ม 547 1,603 21,449 11 ตำบลวัดโบสถ 468 1,631 12 ตำบลวดั หลวง 168 781 13 ตำบลหนองขยาด 552 2,800 14 ตำบลหมอนนาง 1,337 7,078 15 ตำบลทงุ ขวาง 217 1,092 16 ตำบลนามะตูม 577 1659 17 ตำบลนาวังหนิ 680 3,621 18 ตำบลสระสเี่ หลยี่ ม 1,172 4,287 19 ตำบลหัวถนน 712 3,316 รวม 16,375 63,150

9 จำนวนขอ มูลทางการศกึ ษารายตำบล ท่ี ตำบล ผูไมร ู กอ น ประถม ม.ตน ม.ปลาย สงู กวา รวม หนงั สือ ประถม ม.ปลาย 306 453 2,346 1 ตำบลไรหลกั ทอง 33 153 690 1,005 934 711 6,350 886 594 1,531 4,531 2 ตำบลบานชาง 441 312 2,127 1,125 1,034 479 5,643 1,826 970 1,229 8,096 3 ตำบลหนองปรือ 71 330 2,171 925 1,804 1,058 6,482 793 560 2,563 4,527 4 ตำบลบา นเซิด 47 557 1,651 3,066 2,571 960 13,605 334 272 3,560 2,317 5 ตำบลนาเรกิ 85 628 3,529 1,014 803 450 3,087 872 1,064 655 3,123 6 ตำบลกุฎโงง 45 389 756 302 309 750 1,988 1,075 739 471 4,143 7 ตำบลหนา พระธาตุ 119 324 1,771 2,036 1,537 453 10,320 726 469 1,878 4,428 8 ตำบลหนองเหียง 136 1,752 2,520 402 465 568 2,706 882 578 746 5,224 9 ตำบลโคกเพลาะ 97 140 1,024 1,482 930 667 6,943 846 519 980 5,115 10 ตำบลทาขาม 63 262 290 19,903 16,605 746 100,974 20,455 11 ตำบลวัดโบสถ 18 108 311 12 ตำบลวัดหลวง 28 95 783 13 ตำบลหนองขยาด 72 186 1,618 14 ตำบลหมอนนาง 404 897 3,568 15 ตำบลทุงขวาง 157 396 2,112 16 ตำบลนามะตูม 41 190 862 17 ตำบลนาวังหิน 142 400 2,555 18 ตำบลสระสี่เหลี่ยม 459 759 2,333 19 ตำบลหวั ถนน 102 457 2,445 รวม 2,560 8,335 33,116 ปญหาและความตอ งการทางการศึกษาของประชาชน สภาพปญ หาของชุมชน 1.ประชากรมีหนีส้ นิ ทงั้ ในระบบและนอกระบบ 2 ประชากรสว นใหญประกอบอาชพี เกษตรกรรมผลผลิตการเกษตรราคาไมแนนอน ตน ทนุ การผลติ สูง 3.อัตราคาครองชพี สงู รายไดไมเพียงพอตอ รายจา ย 4 ปญหาแหลง น้ำไมเพยี งพอตอการอุปโภค บรโิ ภค 5. การอพยพแรงงานตา งดาวผดิ กฎหมายเขามาในพื้นท่ี แรงงานแฝง 6. การขาดแคลนแรงงานดานการเกษตร 7. ประชาชนขาดการศกึ ษาตอเนอ่ื ง 8. พื้นทีอ่ ำเภอพนสั นิคม มปี ญหาน้ำทวมในชวงน้ำหลาก

10 ความตองการทางการศกึ ษาของประชาชน 1. ตองการยกระดบั การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานเพ่อื นำวฒุ ิการศึกษาไปศกึ ษาตอหรือประกอบอาชีพ 2. ตอ งการฝก อาชีพระยะสน้ั เพื่อนำไปพัฒนาอาชพี และประกอบอาชพี เสรมิ 3. ตอ งการใหค วามรกู ารศึกษาเพือ่ พฒั นาสงั คมชมุ ชนเพอื่ พฒั นาคุณภาพชวี ติ 4. ตอ งการทำกิจกรรมเกี่ยวกับการพฒั นาสังคมและชมุ ชน 5. ตองการการสงเสริมการดำเนินชีวติ ดา นปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 6. ตอ งการการสงเสรมิ การอา นในชุมชน 7. ตองการการใหบ ริการอินเตอรเน็ตในชมุ ชน

11 โครงสรางการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอพนัสนิคม ผูอำนวยการ คณะกรรมการสถานศึกษา กลมุ อำนวยการ กลุม จัดการศกึ ษานอกระบบและ กลมุ ภาคีเครือขา ย การศกึ ษาตามอัธยาศัย และกจิ การพเิ ศษ - งานธรุ การและสารบรรณ - งานสง เสรมิ การรูห นงั สอื - งานสง เสริม สนับสนุน ภาคี - งานการเงนิ และบญั ชี - งานการศึกษาพ้ืนฐานนอกระบบ เครอื ขาย - งานงบประมาณและระดมทรพั ยากร - งานการศกึ ษาตอเนื่อง - งานกิจการพิเศษ - งานพัสดุ - งานบคุ ลากร - งานการศึกษาเพอื่ พัฒนาอาชีพ - งานโครงการอนั - งานอาคารสถานทแ่ี ละยานพาหนะ - งานการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชวี ิต เนอื่ งมาจาก พระราชดำริ - งานแผนงานและโครงการ - งานการศึกษาเพอื่ พัฒนาสงั คมและ - งานประชาสัมพันธ ชมุ ชน - งานปอ งกนั แกไ ข - งานขอ มลู สารสนเทศและการรายงาน ปญ หายาเสพติด/ โรคเอดส - ศนู ยราชการใสสะอาด ฯลฯ - งานควบคมุ ภายใน - งานการศกึ ษาตามอัธยาศัย - งานสง เสรมิ กจิ กรรม - งานนิเทศภายใน ติดตามและ ประชาธปิ ไตย ประเมนิ ผล - งานจัดและพัฒนาแหลงเรยี นรูและ - งานเลขานุการคณะกรรมการ ภมู ปิ ญญาทอ งถนิ่ - งานสนบั สนุน สงเสริม สถานศกึ ษา นโยบายจังหวัด/อำเภอ ฯลฯ - งานประกนั คณุ ภาพภายใน - งานจดั และพัฒนาศูนยก ารเรียนชมุ ชน - งานการศึกษาเคลอื่ นท่ี - งานกจิ การลกู เสือและ สถานศึกษา - งานการศกึ ษาทางส่อื สารมวลชน ยวุ กาชาด ฯลฯ - งานพัฒนาหลักสตู ร สอื่ นวัตกรรม และ เทคโนโลยีทางการศึกษา - งานทะเบยี นและวดั ผล - งานศูนยบ ริการใหค ำปรึกษาแนะนำ

12 แหลงเรยี นรแู ละภาคีเครอื ขาย กศน.ตำบล ท่ีตง้ั ผรู ับผดิ ชอบ ไรห ลักทอง 8/2 หมูที6่ ตาํ บลไรห ลกั ทอง อาํ เภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบรุ ี นางสาวจันทกานต ทาํ เนาว บา นชา ง 222 หมูท ี่1 ตําบลบานชาง อาํ เภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี น า ง ส า ว เ บ ญ จ ม า ศ นอ ยประเสรฐิ หนองปรอื ศูนยถายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตร หมูท่ี 3 ตําบล นางสาวนฤมล อินทศร หนองปรือ อาํ เภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบุรี บานเซิด ศูน ยพั ฒ น าเด็กเล็กตําบล บ านเซิด อําเภ อพ นั สนิ คม นางสาวสนุ ทรี เพชรประเสริฐ จังหวดั ชลบรุ ี กุฎโงง อาคารอเนกประสงคเทศบาลตําบลกุฎโงง หมูท่ี 6ตําบลกุฎโงง นายธรี พงศ เขยี วหวาน อําเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี นาเริก หมูที่ 10 อาคารวิทยุชุมชน(องคการบริหารสวนตําบลนาเริก) นางสาวอมุ าพร ฤกษง าม ตาํ บลนาเรกิ อาํ เภอพนสั นิคม จังหวัดชลบรุ ี หนาพระธาตุ ศูนยอปพร. หมูท่ี3 ตําบลหนาพระธาตุ อําเภอพนัสนิคม นางสาวพจนยี  ประทุมทอง จงั หวัดชลบรุ ี หนองเหียง 1 2 5 ห มู ท่ี 6 ตํ า บ ล ห น อ งเหี ย ง อํ า เภ อ พ นั ส นิ ค ม น า ง ส า ว ณั ฐ ว ร ร ณ จังหวัดชลบุรี เลอื ดสงคราม โคกเพลาะ โร งเรี ย น วั ด เนิ น ต า ม า ก ห มู ท่ี 7 ตํ า บ ล โค ก เพ ล า ะ นางสาวเนตรณภษิ พยงุ วงษ อาํ เภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบุรี ทุงขวาง 4 หมทู ่ี 9 ตาํ บลทุงขวาง อําเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบรุ ี นางสาวนิตยา นํา้ ฟา หมอนนาง 111 หมทู ี่ 6 ตาํ บลหมอนนาง อาํ เภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี นางสาวชญั ญานุช พทิ กั ษเ มฆา สระส่เี หลยี่ ม 131 หมทู ่ี 7 ตําบลสระสเี่ หล่ียม อําเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี นางสาวศรยิ า พุทธมาลี วัดโบสถ อาค ารโรงเรีย น ชุ ม ช น บ าน วัด โบ ส ถ ตํ าบ ล วัด โบ ส ถ นางสาววิภา หนรู อง อําเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี ทา ขา ม 1/1 หมทู ี่ 1 ตําบลทาขา ม อําเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี นางสาวณฏั ฐา เนาวอ ุดม หวั ถนน 333 หมทู ่ี 9 ตําบลหัวถนน อาํ เภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี นางสาวทวีพร เคนรํา นาวงั หนิ 49 หมูท่ี 9 ตําบลนาวังหิน อําเภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบรุ ี นายไพรชั ขวญั คีรี นามะตมู หมูท่ี 4 ตําบลนามะตมู อําเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบุรี นางสาววภิ าษณยี  เนื่องจํานงค วดั หลวง หมทู ี่ 7 ตาํ บลวัดหลวง อําเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี นางสาวชลิตดา ใจพรหม หนองขยาด หมทู ่ี 7 ตาํ บลหนองขยาด อําเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบุรี นางสาวนฤมล เอมเปย ศนู ยการเรียนชมุ ชน ท่ีต้ัง ผูร ับผดิ ชอบ ศรช.บานหนองพลบั หมูท่1ี ตำบลบา นชาง อำเภอพนสั นิคม นางสาวกนกกร ฮกโก จังหวดั ชลบุรี

แหลง เรียนรูอ นื่ ประเภทแหลงเรียนรู 13 วดั เนินสังข แหลง เรยี นรปู ระเภทส่งิ ท่ีมนษุ ยสรา งข้นึ ทตี่ งั้ หมทู ่ี 1 ตาํ บลไรห ลักทอง วดั ไรหลักทอง แหลง เรียนรปู ระเภทส่ิงท่ีมนษุ ยสรางขน้ึ อําเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบรุ ี วดั เกาะแกว คลองหลวง แหลง เรยี นรปู ระเภทสิง่ ทมี่ นุษยส รา งขน้ึ หมทู ่ี 2 ตาํ บลไรห ลักทอง อําเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี วดั ใตตนลาน แหลงเรยี นรูประเภทส่งิ ทม่ี นษุ ยส รา งขึ้น หมทู ี่ 6 ตําบลไรห ลักทอง วดั กลางคลองหลวง แหลง เรยี นรูประเภทสง่ิ ที่มนษุ ยส รา งขนึ้ อาํ เภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบรุ ี ศู น ย เรี ย น รู ส ร ร พ สิ่ ง แหลงเรยี นรปู ระเภทบคุ คล หมทู ี่ 9 ตาํ บลไรห ลักทอง เศรษฐกิจพอเพยี ง อําเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบรุ ี ศนู ยฝก อาชีพชุมชน แหลงเรียนรปู ระเภทบุคคล หมทู ี่ 9 ตําบลไรหลกั ทอง กลมุ จักสาน “บา นปา ไร” แหลง เรียนรปู ระเภทสง่ิ ที่มนษุ ยส รางขึ้น อาํ เภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบรุ ี 36 หมูท่ี 6 ตําบลไรหลักทอง วดั หนองปรือ แหลงเรยี นรปู ระเภทสิง่ ที่มนุษยส รางขึน้ อําเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี 21 หมูท่ี 1 ตําบลไรหลักทอง วัดทรงธรรม แหลง เรียนรูประเภทสิง่ ทม่ี นษุ ยส รางขน้ึ อาํ เภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบรุ ี หมูท่ี 5 ตาํ บลบา นชาง วดั ทรายมูล แหลง เรียนรปู ระเภทส่งิ ทมี่ นษุ ยส รา งขึ้น อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี หมทู ี่ 1 ตําบลหนองปรือ วดั หนองไผ แหลง เรียนรปู ระเภทสิง่ ท่มี นษุ ยส รา งขึ้น อาํ เภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี ศู น ย เรีย น รูเศ รษ ฐ กิ จ แหลงเรียนรูประเภทส่ิงท่ีมนุษยส รา งขน้ึ หมทู ี่ 2 ตําบลหนองปรอื พอเพยี งตามรอยพอ อําเภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบรุ ี ศู น ย เรีย น รูเศ รษ ฐ กิ จ แหลงเรยี นรูประเภทบุคคล หมทู ี่ 9 ตําบลหนองปรอื พอเพยี งบา นหนองเซง อําเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบุรี สหกรณออมทรัพย - เงิน แหลง เรียนรปู ระเภทบคุ คล หมทู ี่ 7 ตําบลหนองปรอื ออมทรพั ย อาํ เภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี ขาว การแปรรูปขา ว โรงสี แหลง เรียนรปู ระเภทบคุ คล ขา ว หมทู ่ี 8 ตาํ บลหนองปรอื อําเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี หมทู ี่ 10 ตําบลหนองปรือ อําเภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบุรี หมทู ี่ 1 ตาํ บลหนองปรือ อาํ เภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบรุ ี หมูที่ 3 ตาํ บลหนองปรือ อําเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี

การปลูกมะนาวจากบอ แหลงเรียนรูป ระเภทสิง่ ท่มี นุษยส รา งขน้ึ 14 1 หมทู ่ี 4 ตาํ บลบานเซิด ซเี มนต อําเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี วดั บา นชา ง แหลง เรยี นรปู ระเภทส่ิงท่ีมนุษยส รา งข้นึ หมทู ่ี 1 ตําบลกุฎโงง อําเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบุรี วัดไตรรัตนว นาราม แหลงเรียนรูประเภทสิ่งทม่ี นุษยส รางขึ้น หมทู ่ี 4 ตําบลกฎุ โงง วัดกฎุ โงง ปทุมคงคา แหลง เรยี นรปู ระเภทส่ิงท่ีมนษุ ยสรางข้ึน อําเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบุรี ศู น ย เรีย น รูเศ รษ ฐ กิ จ แหลงเรียนรปู ระเภทบคุ คล หมทู ่ี 5 ตาํ บลกฎุ โงง พอเพียง บา นเนินพลับ อําเภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี แหลงเรียนรูบานคุณอุไร แหลง เรียนรูประเภทบคุ คล 19/2 หมูที่ 3 ตาํ บลกุฎโงง กนั ทะคํา อําเภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี กลุมแมบานเกษตรหนอง แหลงเรียนรปู ระเภทบุคคล 31 หมูท่ี 7 ตาํ บลนาเรกิ โมกขพ ฒั นา อาํ เภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบรุ ี ศนู ยเมล็ดพนั ธุขา วอาํ เภอ แหลง เรียนรปู ระเภทบคุ คล 83/5 หมทู ่ี 13 ตาํ บลนาเรกิ พนสั นคิ ม อําเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบรุ ี กลมุ จักสาน “บา นปา ไร” แหลงเรยี นรูประเภทส่ิงทมี่ นษุ ยส รา งขึน้ หมูท ี่ 10 ตําบลนาเริก วัดหนา พระธาตุ แหลง เรียนรปู ระเภทสง่ิ ทม่ี นษุ ยส รางขน้ึ อาํ เภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี เจดยี เ นนิ ธาตุ แหลง เรียนรปู ระเภทสิ่งท่ีมนุษยสรา งขนึ้ หมทู ่ี 5 ตาํ บลบา นชาง อําเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบุรี วัดบา นใหม แหลงเรยี นรปู ระเภทสิ่งที่มนุษยส รา งขึ้น ตําบลหนาพระธาตุ อําเภอ วัดใหมเ ชงิ เนิน แหลง เรียนรปู ระเภทสิง่ ทมี่ นษุ ยส รางขน้ึ พนสั นคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี วดั บา นกลาง แหลง เรยี นรปู ระเภทสงิ่ ที่มนุษยสรางข้ึน ตําบลหนาพระธาตุ อําเภอ พนสั นิคม จังหวัดชลบุรี ศู น ย เ รี ย น รู ชุ ม ช น แหลง เรยี นรูประเภทสิ่งทม่ี นษุ ยส รางข้ึน ตําบลหนาพระธาตุ อําเภอ เศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง บ า น พนสั นคิ ม จังหวดั ชลบุรี หนองอุดม ตําบลหนาพระธาตุ อําเภอ พนัสนิคม จังหวัดชลบุรี วัดเนินตามาก แหลง เรยี นรูประเภทสงิ่ ที่มนุษยส รางขึ้น ตําบลหนาพระธาตุ อําเภอ พนัสนคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี 2 1 4 / 1 ห มู ท่ี 8 ตํ า บ ล หนองเหียง อําเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบรุ ี หมทู ่ี 7 ตําบลโคกเพลาะ อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี

วดั โคกเพลาะ แหลง เรยี นรปู ระเภทส่งิ ทีม่ นษุ ยส รางขึ้น 15 หมูท่ี 2 ตาํ บลโคกเพลาะ วัดทา กระดาน แหลง เรยี นรปู ระเภทสง่ิ ทม่ี นษุ ยส รา งข้ึน อําเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี หมูที่ 4 ตาํ บลโคกเพลาะ ศู น ย ถ า ย ท อ ด แหลง เรียนรปู ระเภทสงิ่ ท่ีมนษุ ยส รา งขนึ้ อําเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบุรี หมทู ี่ 5 ตําบลโคกเพลาะ เทคโนโลยีการเกษตร อาํ เภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบรุ ี หมทู ่ี 7 ตาํ บลโคกเพลาะ โรงสีขา วชุมชน แหลง เรยี นรูประเภทสิ่งท่ีมนษุ ยส รา งขึ้น อาํ เภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี บานหนองกมุ ภณั ฑ หมทู ่ี 5 แหลงเรียนรูแพทยแผน แหลงเรียนรปู ระเภทสงิ่ ท่ีมนษุ ยสรางขนึ้ ตําบลทุงขวาง อําเภอพนัสนคิ ม ไทย ยาสมุนไพร จงั หวัดชลบุรี 49 หมูท ่ี 6 ตําบลทงุ ขวาง แ ห ล ง เรี ย น รู เก ษ ต ร แหลงเรยี นรูประเภทส่ิงที่มนษุ ยส รางข้ึน อาํ เภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบรุ ี หมทู ี่ 2 ตําบลหมอนนาง อินทรีย อาํ เภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบุรี หมทู ่ี 4 ตําบลหมอนนาง วดั หนองไทร แหลงเรียนรปู ระเภทส่งิ ที่มนุษยสรางข้ึน อําเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบรุ ี หมูท่ี 9 ตําบลหมอนนาง วัดทงุ เหียง แหลงเรยี นรูประเภทส่ิงท่มี นษุ ยส รา งขึน้ อําเภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบรุ ี หมูที่ 10 ตาํ บลหมอนนาง วัดหมอนนาง แหลง เรียนรปู ระเภทส่งิ ทีม่ นษุ ยส รางขน้ึ อําเภอพนสั นิคม จังหวัดชลบุรี หมูท ี่ 12 ตําบลหมอนนาง วดั ชมุ แสง แหลงเรยี นรูประเภทส่ิงท่ีมนุษยส รา งขนึ้ อําเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี หมทู ่ี 4 ตําบลหมอนนาง ถํ้านางสิบสอง แหลง เรยี นรูป ระเภทส่ิงทม่ี นษุ ยส รางขึน้ อําเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบรุ ี ศูนยเรียนรูเกษตรทฤษฎี แหลงเรยี นรปู ระเภทสง่ิ ทม่ี นุษยสรางขนึ้ ห มู ท่ี 6 บ า น ต ม ตํ า บ ล สระสี่เหลี่ยม อําเภอพนัสนิคม ใหมตามหลักของปรัชญา จงั หวัดชลบรุ ี หมทู ่ี 10 บา นในบน เศรษฐกิจพอเพียงตําบล ตําบลสระส่ีเหล่ียม อําเภ อ พนัสนคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี หมอนนาง สระสเี หลย่ี ม แหลงเรียนรปู ระเภทสิ่งท่ีมนษุ ยสรา งขึ้น วดั บานในบน แหลง เรยี นรูประเภทสง่ิ ทมี่ นษุ ยสรา งขน้ึ

วดั แกว ศิลาราม แหลงเรียนรูประเภทสิ่งที่มนุษยสรา งขึ้น 16 วัดแหลมประดู แหลงเรยี นรูประเภทสง่ิ ทีม่ นษุ ยสรางขน้ึ หมทู ่ี 4 บา นเนนิ แพง ตําบลสระส่ีเหล่ียม อําเภ อ วดั เขาดนิ วังตาสี แหลงเรียนรปู ระเภทสง่ิ ทม่ี นษุ ยส รา งขึ้น พนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี โรงเรียนวดั แกวศิลาราม แหลง เรยี นรปู ระเภทสิ่งทม่ี นุษยสรางขึ้น หมูที่ 2 บานนอก ตําบลสระ ส่ีเห ลี่ยม อําเภ อพ นั สนิ คม โรงเรยี นบา นสระสเ่ี หล่ียม แหลงเรียนรูประเภทสิ่งทม่ี นษุ ยส รา งขึน้ จงั หวดั ชลบุรี โร ง เรี ย น บ า น เข า ดิ น แหลงเรียนรปู ระเภทส่ิงท่มี นุษยส รางข้ึน หมทู ่ี 11 บานเขาดินวังตาสี วังตาสี ตําบลสระสี่เหลี่ยม อําเภ อ พนสั นิคม จังหวัดชลบรุ ี โร งพ ย า บ า ล ส ง เส ริ ม แหลงเรยี นรปู ระเภทสง่ิ ทีม่ นุษยสรา งขน้ึ หมทู ่ี 4 บานเนนิ แพง สุขภาพตำบลสระส่ีเหลี ตําบลสระสี่เหล่ียม อําเภ อ พนสั นคิ ม จังหวัดชลบุรี ยม หมูที่ 9 บานโคก ตําบลสระ ศูนยพฒั นาเดก็ เล็ก แหลงเรยี นรูประเภทสิ่งทีม่ นษุ ยส รางขน้ึ ส่ีเห ลี่ยม อําเภ อพ นั สนิ คม จังหวัดชลบรุ ี กลมุ การแปรรูปผลิตภัณฑ แหลงเรยี นรูประเภทสิ่งทม่ี นษุ ยสรา งขึน้ สมนุ ไพรบานตม หมทู ี่ 11 บานเขาดนิ วงั ตาสี ตําบลสระส่ีเหล่ียม อําเภ อ ก ลุ ม ก า ร ส า น ต ะ ก ร า แหลง เรยี นรูประเภทสง่ิ ทมี่ นษุ ยสรางขึ้น พนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี ทางมะพรา ว หมูที่ 9 บานโคก ตำบลสระ สี่เห ล่ียม อำเภ อพ นั สนิ คม การทำปุยอินทรีย (นาง แหลง เรยี นรูประเภทบคุ คล จังหวดั ชลบรุ ี วิไล บูรณเจริญกจิ ) หมูที่ 9 บานโคก ตำบลสระ สี่เห ลี่ยม อำเภ อพ นั สนิ คม จังหวดั ชลบุรี 46/4 หมูท ี่ 6 บา นตม ตำบลสระส่ีเหลี่ยม อำเภ อ พนัสนิคม จังหวัดชลบุรี หมูท่ี 1 บานในและหมูท่ี 9 บานโคก ตำบลสระสี่เหลี่ยม อำเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบรุ ี 20/1 หมูท่ี2 ตำบลหัวถนน อำเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี

แหลงเรยี นรูอ น่ื ประเภทแหลง เรียนรู 17 วัดใหมน าวงั หิน แหลง เรยี นรูประเภทส่งิ ท่มี นุษยสรางขึ้น ท่ตี ้ัง วดั อัมพวนาราม แหลงเรียนรูประเภทสง่ิ ทมี่ นษุ ยสรา งข้ึน หมูที่ 7 ตําบลนาวังหิน อาํ เภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี วัดตระพงั ทอง แหลงเรยี นรปู ระเภทสง่ิ ทีม่ นษุ ยส รางข้นึ หมทู ่ี 8 ตาํ บลนาวังหนิ อําเภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบรุ ี สถาบันการเงินชุมชนบานสระ แหลง เรยี นรปู ระเภทสงิ่ ทมี่ นษุ ยสรา งขน้ึ หมูที่ 5 ตําบลนาวงั หนิ อําเภอพนสั นิคม จังหวัดชลบุรี นา หมูท ่ี 5 ตําบลนาวังหนิ อําเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี วดั นามะตูม แหลงเรยี นรปู ระเภทส่งิ ทม่ี นุษยส รา งขึ้น หมูที่ 3 ตําบลนามะตูม อําเภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบุรี รร.วดั ใหมท าโพธ์ิ แหลง เรียนรปู ระเภทส่งิ ท่ีมนษุ ยส รา งข้นึ หมูท่ี 2ตาํ บลนามะตูม อําเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี กลุม สตรีการทาํ ขนมไทย แหลงเรียนรูประเภทสิง่ ทม่ี นุษยส รางขึ้น หมูท ี่ 2 ตาํ บลนามะตมู อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี ศนู ยเ ศรษฐกิจพอพยี ง แหลงเรียนรปู ระเภทสิง่ ทมี่ นุษยส รา งขนึ้ หมทู ี่ 3 ตาํ บลนามะตมู อาํ เภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบรุ ี วดั หลวงพรหมาวาส แหลงเรยี นรูประเภทส่งิ ทม่ี นษุ ยสรางขนึ้ หมทู ี่ 7 ตําบลวัดหลวง อําเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี วดั แกว นอ ย แหลงเรียนรูประเภทสง่ิ ที่มนุษยสรางข้นึ หมทู ่ี 7 ตําบลวัดหลวง อาํ เภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี สวนสมนุ ไพร แหลงเรียนรูประเภทบคุ คล หมทู ่ี 7 ตาํ บลวัดหลวง อาํ เภอพนสั นิคม จังหวัดชลบุรี ศูนยเ ศรษฐกิจพอเพียง แหลง เรียนรูประเภทสิ่งท่มี นษุ ยสรางขน้ึ 13 หมทู ่ี 8 ตาํ บลหนองขยาด อําเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี ภมู ิปญ ญาทองถ่นิ ความรูความสามารถ นางบญุ ธรรม วเิ ชียร การจักสานไมไ ผ ทอ่ี ยู หมูที่ 10 ตําบลนาวังหนิ นางสาวจารพุ รรณ อารยิ วฒั น ศลิ ปหตั ถกรรม อําเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบุรี หมูที่ 10 ตําบลนาวงั หนิ นางณฐั ณิกา คาํ สิงห ศิลปหตั ถกรรมและการจกั สาน อาํ เภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี หมทู ี่ 4 ตําบลนาวงั หิน อําเภอพนสั นิคม จังหวัดชลบุรี

นางสมนกึ สุจิตธรรมรัตนะ การจักสานไมไ ผ 18 หมูท ่ี 8 ตาํ บลนาวงั หนิ นางรชั นีกร มะมี จักสานไมไผ อาํ เภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบุรี 21 หมูที่ 1ตําบลไรหลักทอง อําเภอ นางจรนิ ทร จนั ทนา การทาํ ปลารา พนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี 9 หมทู ่ี 9 ตําบลไรหลักทอง นายสนั ติ หมวกสีปาน เกษตรผสมผสาน อาํ เภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบุรี 35 หมูที่ 7 ตําบลไรหลักทอง อําเภอ นายสมรกั คําวงษ เกษตรผสมผสาน พนสั นคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี 36 หมูที่ 6 ตําบลไรหลักทอง อําเภอ นางสาวราํ ไพ ตนั วัฒนกลุ การจกั สานไมไผ พนสั นคิ ม จังหวดั ชลบุรี 87 หมทู ่ี 5 ตําบลบา นชา ง นางวชั รียภ รณ มานูเจริญ เศรษฐกิจพอเพยี ง อาํ เภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบุรี 24/1 หมทู ่ี7 ตําบลบา นชา ง นางรชั ภร วฒุ ิทรงยศ การเกษตรกรรม อําเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบุรี นายวชิ ัย กา นบัว การพฒั นาดิน / ปุยชวี ภาพ หมูที่ 8 ตําบลหนองปรืออําเภอพนัส นายเสาวภา สวสั ดี ดานสขุ ภาพอนามยั นคิ ม จังหวัดชลบุรี นานิชาภา อําภยั บุญ ดานศิลปหตั ถกรรม หมทู ี่ 10 ตําบลหนองปรอื นางรัก เหรยี ญทอง ดา นศลิ ปหัตถกรรม – กองทนุ ออมทรัพย อาํ เภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบรุ ี นางเพ็ญภกั ด์ิ แกวสุข ศลิ ปะหัตถกรรม – จักรสาน หมูที่ 7 ตําบลหนองปรอื นายดลิ ก พวงภู ขาว การแปรรูปขาว โรงสีขา ว อาํ เภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบรุ ี นางน่มิ นวล ทรงจิตรัตน ดอกไมจากผา ใยบัว นายบุญเจตน ภูมะโครต เกษตรผสมผสาน หมทู ี่ 6 ตาํ บลหนองปรอื อําเภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี หมทู ี่ 1 ตาํ บลหนองปรอื อําเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี หมูที่ 9 ตําบลหนองปรือ อําเภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบุรี หมทู ่ี 3 ตาํ บลหนองปรือ อําเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี 47/17 หมทู ี่ 1 ตาํ บลกุฎโงง อําเภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี 32/1 หมทู ่ี 6 ตําบลกฎุ โงง อาํ เภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบุรี

ภูมปิ ญ ญาทองถ่นิ ความรคู วามสามารถ 19 นางเสาว วชริ วทิ ยากร จกั สาน ทอ่ี ยู 83/5 หมทู ี่ 13 ตาํ บลนาเริก นายอําพล พงศพัชรา เกษตรผสมผสาน อําเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี พันธุ 77 หมูท่ี 3 ตําบลนาเริก นายสมภพ เจริญวุฒิวน ตรวจวเิ คราะหดนิ ปุย อาํ เภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบุรี พนั ธ 218 หมทู ่ี 11 ตําบลนาเรกิ นางประไพ สรุ นิ ทร ดานเศรษฐกจิ พอเพยี ง อําเภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี นางอุดม เบาภาระ การจกั สาน อาหาร หมูที่ 11 ตําบลหนาพระธาตุ อาํ เภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี นางสาวชตุ ิมา เบา ภาระ การจักสาน หมทู ี่ 10 ตาํ บลหนา พระธาตุ นางวนั เพ็ญ มิษเกตุ การจักสาน อาํ เภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี หมูท ี่ 10 ตําบลหนา พระธาตุ นายทํานนท แซล้ี เกษตรอินทรยี  อาํ เภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบุรี หมูที่ 11 ตาํ บลหนาพระธาตุ นางสมศรี ทองแพง การแปรรปู สมนุ ไพร อาํ เภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบรุ ี 214/1 หมูท่ี 8 ตําบล หนอง นางลัดดา พลาชีวะ หตั ถกรรม เหียง อําเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี 56/1 หมทู ่ี 8 ตําบลหนองเหียง นางสาวอัญชลี ทองนพ เกษตรอนิ ทรยี  อาํ เภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบุรี คุณ 20 หมทู ี่ 15 ตําบลหนองเหียง อําเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบรุ ี นางละมัย จันทนา การทาํ หมี่กรอบ 43/2 หมูที่ 7 ตําบลโคกเพลาะอําเภอ นางนพ เอมเปย การทาํ จกั สาน (ตะกราไก) พนสั นิคม จงั หวดั ชลบรุ ี นางประไพ หนายคอน การทําขนมหวาน 30 หมทู ี่ 4 ตาํ บลโคกเพลาะ อําเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบุรี นายสามารถ กระจา ง แพทยแผนไทย ยาสมนุ ไพร 14 หมูท่ี 7 ตําบลโคกเพลาะ อาํ เภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบุรี 34 หมูที4่ ตาํ บลโคกเพลาะ อําเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบรุ ี บา นหนองกุมภณั ฑ หมทู ่ี 5 ตําบลทุงขวาง อําเภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบุรี

20 นายสธุ น ลบแทน การทําน้ํามันมะพราวสกัดเย็น การทํายาหมองสมุนไพร 13 หมูท ่8ี ตําบลหนองขยาด การทาํ เตาชวี มวล เกษตรผสมผสาน แปรรปู สมุนไพร อําเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี นางศศินันท เกียรตธิ นิ นั ต การทาํ นา้ํ สมุนไพร การทําขนมไทย 23 หมทู 7่ี ตาํ บลหนองขยาด อาํ เภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบรุ ี นางอําพร แซต ๊ัน การทาํ ขนมไทย แปรรปู สมุนไพร ตดั เยบ็ เสื้อผา 13 หมทู 8่ี ตําบลหนองขยาด อาํ เภอพนสั นิคม จังหวัดชลบรุ ี ภาคีเครอื ขาย ที่อยู/ ที่ตงั้ ที่วาการอําเภอพนสั นคิ ม ตาํ บลพนสั นคิ ม อําเภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบุรี สาํ นกั งานสาธารณสุขอาํ เภอพนัสนคิ ม ตําบลพนสั นคิ ม อาํ เภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี สํานกั งานพัฒนาชมุ ชนอาํ เภอพนสั นิคม ตาํ บลพนสั นิคม อําเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบุรี เทศบาลเมอื งพนสั นคิ ม ตําบลพนสั นคิ ม อําเภอพนสั นิคม จังหวัดชลบุรี สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาชลบรุ ีเขต 2 ตําบลบา นชา ง อําเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี โรงเรยี นอนุบาลพนสั ศกึ ษาลัย ตาํ บลกฎุ โงง อาํ เภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบุรี องคก ารบรหิ ารสวนตําบลตําบลไรหลกั ทอง หมทู ี่ 9ตาํ บลไรห ลกั ทอง อาํ เภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบุรี โรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพประจําตําบลไรหลกั ทอง หมทู ี่ 4ตาํ บลไรหลกั ทอง อําเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี โรงเรียนวดั กลางคลองหลวง หมทู ี่ 9ตาํ บลไรห ลักทอง อาํ เภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบรุ ี โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตาํ บลบา นชา ง หมทู ่ี 6 ตาํ บลบานชา ง อําเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี องคการบรหิ ารสวนตําบลบานชา ง 222 หมูท่ี 1 ตําบลบา นชาง อาํ เภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบุรี โรงพยาบาลสง เสรมิ สุขภาพตาํ บลหนองปรอื หมูท ่ี 7 ตําบลหนองปรอื อาํ เภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบุรี องคการบริหารสว นตําบลหนองปรือ หมทู ่ี 3 ตําบลหนองปรือ อําเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบุรี เทศบาลตาํ บลกฎุ โงง หมทู ี่ 5 ตําบลกุฎโงง อาํ เภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบรุ ี โรงพยาบาลพนสั นิคม หมทู ่ี 6 ตาํ บลกุฎโงง อาํ เภอพนสั นคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี โรงเรียนพนสั พทิ ยาคาร หมทู ่ี 6 ตาํ บลกุฎโงง อําเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี องคก ารบรหิ ารสวนตาํ บลนาเรกิ หมทู ี่ 10 ตําบลนาเริก อําเภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบรุ ี โรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตาํ บลนาเรกิ หมทู ี่ 3 ตาํ บลนาเรกิ อาํ เภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี โรงพยาบาลสง เสริมสุขภาพตาํ บล นาเริก (บานเนนิ แร) หมทู 1่ี 0 ตาํ บลนาเรกิ อาํ เภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตาํ บลหนาพระธาตุ หมทู ี่ 6 ตําบลหนา พระธาตุ อําเภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบุรี องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บล หมูท่ี11 ตาํ บลหนาพระธาตุ อาํ เภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบรุ ี อาสาสมคั รสงเสรมิ สุขภาพตาํ บล ตาํ บลหนาพระธาตุ อําเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบรุ ี โรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพตําบลหนองเหียง (บา นหนองขา ) หมทู ่ี 11 ตาํ บลหนองเหียง อําเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี โรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพตาํ บลหนองเหยี ง (บา นไรเสธ ) หมทู ี่ 13 ตาํ บลหนองเหียง อาํ เภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี องคการบรหิ ารสว นตาํ บลหนองเหยี ง หมทู ่ี 12 ตําบลหนองเหียง อําเภอพนัสนิคม จงั หวดั ชลบุรี

โรงเรยี นวดั เนินตามาก 21 โรงเรียนวัดโคกเพลาะ หมูที่ 7 ตาํ บลโคกเพลาะ อาํ เภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี โรงพยาบาลสง เสรมิ สุขภาพตําบลโคกเพลาะ หมทู ่ี 2 ตาํ บลโคกเพลาะ อาํ เภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบุรี องคการบรหิ ารสวนตําบลโคกเพลาะ หมทู ่ี 5 ตําบลโคกเพลาะ อําเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี โรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพตําบลทงุ ขวาง หมทู ่ี7 ตําบลโคกเพลาะอาํ เภอพนัสนคิ ม จังหวัดชลบุรี องคก ารบริหารสวนตําบลทุงขวาง 95 หมู 9 ตําบลทงุ ขวาง อาํ เภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบุรี ชมรมกาํ นนั -ผใู หญบานตาํ บลทงุ ขวาง 43 หมู 3 ตําบลทุงขวาง อาํ เภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบุรี เทศบาลตาํ บลหมอนนาง ตําบลทงุ ขวาง อําเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี โรงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพตําบลหมอนนาง(บานหนองไทร) 111 หมูท ่ี 6 ตาํ บลหมอนนาง อําเภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบุรี โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตาํ บลหมอนนาง(บา นทุงเหียง) หมูที่ 2 ตาํ บลหมอนนาง อาํ เภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี โรงเรียนทงุ เพยี งพทิ ยาคม หมูท่ี 4 ตําบลหมอนนาง อาํ เภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี โรงเรียนบา นตลาดทุงเหียง หมทู ี่ 4 ตาํ บลหมอนนาง อําเภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบุรี โรงเรยี นบานหนองพรหม หมทู ่ี 4 ตาํ บลหมอนนาง อาํ เภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบุรี องคการบริหารสวนตาํ บลสระส่เี หลย่ี ม หมูที่ 2 ตําบลหมอนนาง อําเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี เลขท่ี 99 หมู 6 บานตม ตําบลสระส่ีเหล่ียม อําเภอพนัสนิคม โรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพตําบลสระสีเ่ หลียม จงั หวัดชลบุรี หมู 9 บานโคก ตาํ บลสระสเ่ี หลีย่ ม อาํ เภอพนสั นิคม องคการบริหารสวนตําบลตาํ บลวดั โบสถ จังหวัดชลบรุ ี โรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพตําบลวัดโบสถ ตําบลวัดโบสถ อําเภอพนสั นิคม จงั หวดั ชลบุรี องคการบรหิ ารสวนตาํ บลทา ขา ม ตาํ บลวดั โบสถ อําเภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบรุ ี โรงพยาบาลสง เสริมสุขภาพตําบลทา ขา ม หมูท่ี 1 ตาํ บลทา ขาม อาํ เภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี ชมรมสูงอายุตําบลทา ขาม หมูท ่ี 1 ตาํ บลทา ขา ม อาํ เภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี เทศบาลตาํ บลหวั ถนน หมูที่ 1 ตําบลทา ขาม อําเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี โรงพยาบาลสง เสริมสุขภาพตาํ บลหวั ถนน หมูที่ 9 ตาํ บลหวั ถนน อําเภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบุรี อาคารรพสตําบลหวั ถนน หมทู ี่ 1 ตาํ บลหวั ถนน ชมรมผสู งู อายตุ ําบลหัวถนน อาํ เภอพนัสนิคม จังหวัดชลบรุ ี อาคารรพสตาํ บลหัวถนน หมูที่ 1 ตาํ บลหวั ถนน กลมุ สตรตี ําบลหวั ถนน อําเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบุรี เทศบาลตําบลหวั ถนน หมทู ี่ 9 ตําบลหวั ถนน โรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพตาํ บลนาวงั หนิ อําเภอพนสั นคิ ม จังหวดั ชลบุรี องคการบรหิ ารสว นตาํ บลนาวังหนิ หมูท่ี 10 ตาํ บลนาวงั หนิ อําเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบุรี องคก ารบริหารสว นตําบลนามะตูม หมทู ี่ 9 ตําบลนาวังหิน อาํ เภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี โรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพตําบลนามะตูม หมูท่ี 4 ตําบลนามะตูม อําเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบุรี หมูท่ี 4 ตาํ บลนามะตูม อําเภอพนัสนคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี

22 เจา หนา ท่เี กษตรตาํ บลนามะตูม หมทู ่ี 4 ตําบลนามะตมู อาํ เภอพนัสนคิ ม จังหวดั ชลบุรี องคก ารบริหารสวนตําบลวดั หลวง หมทู ่ี 1 ตําบลวัดหลวง อําเภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบุรี วดั หลวงพรหมาวาส หมทู ี่ 7 ตาํ บลวดั หลวง อาํ เภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี โรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพตําบลวดั หลวง หมทู ี่ 7 ตําบลวัดหลวง อาํ เภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี องคก ารบริหารสวนตาํ บลหนองขยาด หมทู ่ีท่ี 5 ตําบลหนองขยาด อาํ เภอพนัสนิคม จังหวดั ชลบรุ ี โรงพยาบาลสงเสริมสขุ ภาพตาํ บล หมูท่ี 4 ตําบลหนองขยาด อําเภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบรุ ี วัดหนองขยาด หมูท่ี 7 ตาํ บลหนองขยาด อําเภอพนสั นิคม จังหวดั ชลบรุ ี วดั หนองมว งใหม หมูท่ี 6 ตําบลหนองขยาด อาํ เภอพนัสนคิ ม จงั หวดั ชลบุรี หมายเหตุ ประเภทแหลงเรยี นรู สามารถจำแนกไดเปน 4 ประเภท ประกอบดวย 1. แหลง เรยี นรปู ระเภทบุคคล 2. แหลง เรยี นรูประเภทสิง่ ทีม่ นษุ ยส รา งข้นึ 3. แหลง เรยี นรปู ระเภททรัพยากรธรรมชาติ 4. แหลงเรียนรปู ระเภทกิจกรรมทางสังคม

23 สวนท่ี 2 ทิศทาง นโยบาย กศน.อาํ เภอพนัสนิคม ทิศทาง นโยบายและจดุ เนนของ กศน.อําเภอพนสั นิคม ปรัชญา ยกระดบั การศึกษา พฒั นาคุณภาพชีวิต ดว ยแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพยี ง วิสยั ทัศน กศน.อำเภอพนัสนคิ ม จัดและสงเสริม สนับสนนุ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหกับ ประชาชนกลุม เปา หมายอำเภอพนสั นคิ มไดอยา งมคี ุณภาพดวยแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง อตั ลักษณสถานศึกษา ใฝเ รียนรู เอกลกั ษณส ถานศกึ ษา ทีมงานเขมแข็ง พนั ธกิจของสถานศกึ ษา 1. จดั และสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ท่ีมคี ุณภาพ เพ่ือยกระดับ การศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรูของประชาชนทุกกลุมเปาหมายใหเหมาะสมทุกชวงวัย และพรอมรับการ เปลี่ยนแปลงบริบททางสังคมและสรา งสังคมแหง การเรยี นรูตลอดชวี ติ 2. สงเสริมสนบั สนุนและประสานการมสี วนรวมของภาคีเครือขายและชุมชน ในการจดั การศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย และกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิตของชุมชนรวมท้ังการดําเนินกิจกรรมของศูนยการ เรียน และแหลงการเรียนรูในรูปแบบตางๆ 3. สงเสริมและพัฒนาการนาํ เทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารมาใชใหเ กิด ประสทิ ธิภาพในการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ใหก บั ประชาชน อยา งทว่ั ถึง 4. พฒั นาหลกั สตู รรปู แบบการจัดกิจกรรมการเรยี นรูเทคโนโลยสี ่อื และนวตั กรรม การวดั และประเมนิ ผลใน ทุกรูปแบบใหสอดคลอ งกบั บรบิ ทในปจ จบุ ัน 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจดั การใหมีประสิทธภิ าพ เพ่ือมุงจัดการศกึ ษาที่มีคุณภาพ โดยยึด หลกั ธรรมาภบิ าลและการมีสว นรวม

24 เปา ประสงค และตัวช้ีวดั ความสำเร็จ เปาประสงค ตัวชีว้ ดั ความสำเรจ็ 1. จดั และสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา 1. จำนวนกลุมเปาหมาย ผูดอย พลาด และขาดโอกาสทาง ตามอธั ยาศยั ใหมคี ุณภาพใหกับกลุม เปา หมาย อยา งเทา การศึกษาท่ีไดรับบริการการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา เทียมและทวั่ ถงึ ข้นั พื้นฐาน ทสี่ อดคลองกับสภาพ ปญ หาและความตองการ ที่มี คุณภาพอยางเทา เทียมและทั่วถึง 2. รอยละของผูไมรูหนังสือที่ผานการประเมินการรหู นังสือตาม หลักสูตรสงเสริมการรูห นังสือ 2. สงเสริมการมสี ว นรวมของภาคีเครือขา ยในการจัด 3. รอยละภาครัฐและเอกชนทุกภาคสวน รวมเปนภาคี การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย เครือขายในการจัด สงเสริม และสนับสนุนการดำเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 3. สงเสริมใหประชาชน นักศึกษา กศน.ไดรับการ 4. รอยละของประชาชน นักศึกษา กศน. ไดรับการสรางเสริม ยกระดับการศึกษาสรางเสริมและปลูกฝงคุณธรรม และปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมสูความเปนพลเมืองที่ดีในระบอบ จริยธรรมและความเปนพลเมือง อันนำไปสูการยกระดับ ประชาธิปไตย คุณภาพชีวิตและเสริมสรางความเขมแข็งใหชุมชน เพ่ือ พฒั นาไปสูสงั คมทีย่ ่งั ยืน 4. พัฒนาบคุ ลากร ผเู รียน ผูรบั บรกิ าร และสง เสริมการ 5. รอยละบุคลากร ผูเรียน ผูรับบริการ ไดรบั การพัฒนาการนำ นำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการยกระดับ การจัดการ เทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือการสื่อสารมาใชในการปฏิบัติงาน เรียนรู และเพิ่มโอกาสทางการเรียนรูใหกับประชาชน การศกึ ษา และการดำเนินชวี ิตประจำวันใหเกดิ ประสิทธิภาพ และนักศึกษา กศน. โดยยึดหลักธรรมาภิบาลและการมี สวนรวม 5. จัดทำหลักสูตร และพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัด 6. สถานศึกษามีหลักสูตร และพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัด กจิ กรรมการเรียนรู เทคโนโลยี ส่ือและนวตั กรรม การวัด กิจกรรมการเรียนรู เทคโนโลยี ส่ือและนวัตกรรม การวัดและ และประเมินผลในทุกรูปแบบใหสอดคลองกับบริบทใน ประเมนิ ผลในทกุ รปู แบบใหสอดคลอ งกบั บรบิ ทในพื้นท่ี พนื้ ท่ี 6. ประชาชนไดรับการสรางและสงเสริมใหมีนิสัยรักการ 7.รอ ยละการอานของประชาชนในพ้นื ที่ เพ่ิมมากขน้ึ อานเพอื่ การแสวงหาความรูด วยตนเอง 7. สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพภายในและมกี าร 8. รอยละสถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพภายในและมีการ จัดทำรายงานการประเมินตนเอง จดั ทำรายงานการประเมินตนเอง

25 กลยุทธ กลยุทธท ่ี 1 บรหิ ารงานตามนโยบาย กลยุทธท่ี 2 มากมายแหลง เรียนรู กลยทุ ธท ่ี 3 ควบคูเ ครอื ขาย กลยทุ ธท่ี 4 หลากหลายกิจกรรม กลยุทธที่ 5 นำสกู ลมุ เปาหมาย

26 นโยบายจดุ เนน การดาํ เนนิ งาน ของสํานกั งาน กศน. นโยบายเรง ดวนเพื่อรวมขับเคล่ือนยทุ ธศาสตรการพัฒนาประเทศ 1.ยทุ ธศาสตรด า นความมน่ั คง 1.1 พัฒนาและเสริมสรางความจงรักภักดีตอสถาบันหลักของชาติ โดยปลูกฝงและสรา งความตระหนัก ถงึ ความสำคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงคเสริมสรางความรักและความภาคภูมิใจในความเปน คนไทยและชาติ ไทย นอ มและเผยแพรสาสตรพระราชา หลกั ประชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รวมถึงแนวทางพระราชดำรติ า งๆ 1.2 สงเสริมความรูความเขาใจท่ีถูกตอง และการมีสวนรวมอยางถูกตองกับการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีความเปนพลเมืองดี ยอมรับและเคารพความแตกตางใน สังคมพหวุ ัฒนธรรม และความหลากหลายทางความคิดและอดุ มการณ 1.3 รวมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืนโดยบูรณาการขับเคลื่อนการทำงาน ตามแนวทางประชารัฐ ดำเนินโครงการ/กิจกรรมในพื้นท่ีทั้งระดับตำบล หมูบาน โดยทีมขับเคล่ือนการพัฒนา ประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ระดับตำบลเปนแกนหลัก และสนับสนุนกลไกการขับเคลื่อนในพื้นท่ีทุกระดับ ตงั้ แตจ งั หวัด อำเภอ ตำบล และหมูบ า น 1.4 พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในเขตพัฒ นาพิเศษเฉพาะกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต และพื้นที่ 1) พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหมคี วามสอดคลอ งบรบิ ท ของสงั คม วัฒนธรรม และพนื้ ท่ี เพือ่ สนับสนนุ การแกไ ขปญ หาและพัฒนาพื้นที่ 2) เรงจัดทำแผนเรงจัดทำแผนและมาตรการดานความปลอดภัยที่ชัดเจนสำหรับหนวยงานและ สถานศึกษา รวมทั้งบุคลากรทีป่ ฏิบัติงานในพ้ืนทีเ่ ขตพิเศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใต โดยบูรราการแผนและ ปฏบิ ตั ิงานรวมกับหนวยงานความม่นั คงในพ้ืนท่ี 3) สงเสริมและสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนในสถาบันศึกษาปอเนาะในรูปแบบตางๆ ท่ี หลากหลายตรงกับความตองการของผูเรียน อาทิ การเพ่ิมพูนประสบการณ การเปดโลกทัศน การยึดมั่นในหลัก คณุ ธรรมและสถาบนั หลกั ของชาติ 4) สนับสนุนใหมีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทใหมีสมรรถนะท่ีสูงขึ้น เพื่อใหสามารถ ปฏบิ ตั ิงานไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ 2. ยุทธศาสตรดา นการสงเสรมิ ความสามารถในการแขงขนั 2.1 เรงรัดดำเนินดารจัดการศึกษาอาชพี เพือ่ ยกระดับทักษะอาชพี ของประชาชนสูฝมือแรงงาน 1) จัดการศึกษาอาชพี เพอื่ การมีงานทำที่สอดคลองกับศักยภาพของชุมชน และความตอ งการตลาด ใหประชาชนสมารถนำไปประกอบอาชีพไดจริง โดยเนนหลักสูตรการศึกษาอาชีพชางพ้ืนฐาน โดยประยุกตใช เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนดานอาชีพ เชน การเรียนผาน Youtubeการเรียนผาน Facebook Live ระบบการเรียนรูเปดสำหรับมหาชน (Massive Open Courses : MOOCs) คอมพิวเตอรชวยสอน (Computer Assisted Instruction: CAI) เปนตนรวมถึงสนับสนุนใหเกิดระบบการผลิตท่ีครอบวงจร และเปดพ้ืนที่สวนราชการ เปน ท่ีแสดงสนิ คา ของชมุ ชนเพอื่ เปนการสรา งรายไดใหกบั ชมุ ชน

27 2) บูรณาการความรวมมือในการพัฒนาฝมือแรงงานกับสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา ผาน ศูนยประสานงานการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาภาคทั่วประเทศ เพ่ือมุงพัฒนาทักษะของประชาชน โดย ใชประโยชนจากศักยภาพและภูมิสังคมเฉพาะของพ้ืนที่ และการดำเนนิ งานเชิงรุกเพอ่ื เสริมจุดเดนในระดบั ภาค ใน การเปนฐานการผลิตและการบริการเปนสำคัญ รวมถึงมุงเนนสรางโอกาสในการสรางรายได เพ่ือตอบสนองตอ ความตอ งการของตลาดแรงงานทง้ั ภาคอุตสาหกรรมและการบริการ 3) พัฒนากลุมอาชีพพ้ืนฐานที่รองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ เชน เขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออก เขตเศรษฐกจิ ภาคตะวนั ตก ท่ีสามารถพัฒนาศักยภาพไปสูร ะดับฝม อื แรงงาน 2.2 พัฒนาทักษะใหป ระชาชนเพื่อการสรา งมูลคาเพิม่ ใหกบั สินคา และบรกิ าร 1) พัฒนาทักษะและสงเสริมใหประชาชนประกอบธุรกิจการคาออนไลน (พาณิชยอ ิเลก็ ทรอนิกส) มี การใชความคิดสรางสรรคเชิงนวัตกรรมในการประกอบอาชีพ สรางทักษะอาชีพสูงขึ้นใหกับประชาชนเพื่อรวม ขบั เคล่ือนเศรษฐกจิ ดจิ จิทัล 2) สงเสริมใหประชาชนใชเทคโนโลยี ในการทำชองทางเผยแพรและจำหนายผลิตภัณฑของ วิสาหกิจชุมชนใหเปนระบบครบวงจร และสนับสนุนการจัดจำหนายสินคาและผลิตภัณฑผานศูนยจำหนายสินคา และผลิตภัณฑออนไลน กศน. (ONIE Online Commerce Center : OOCC) เพ่ือจำหนายสินคาออนไลนระดับ ตำบล รวมทั้งเปดศูนยใหคำปรึกษา OOCC กศน. เพ่ือเปดชองทางใหคำปรึกษากับประชาชนเกี่ยวกับการคา ออนไลนเบ้ืองตน 3) พัฒนาทักษะภาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบตางๆ อยางเปนรูปธรรม โดย เนนทักษะภาเพ่ืออาชีพท้ังภาคธุรกิจ การบริการ และการทองเท่ียว รวมทั้งพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษ เพื่อสง เสรมิ การใชภ าษาเพอ่ื การสือ่ สารและการพัฒนาอาชพี 3. ยทุ ธศาสตรด านการพัฒนาและเสริมสรางศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย 3.1 ส งเส ริม ก ารจั ด กิ จ ก รรม ก ารเรีย น รูที่ ป ลุ ก ฝ งคุ ณ ธ รรม ส รางวินั ย จิ ต ส าธ ารณ ะ ความรับผิดชอบตอสวนรวม และการมีจิตอาสา ผานกิจกรรมรปู แบบตางๆ เชน กจิ กรรมลกู เสือ กศน. กิจกรรม จิตอาสา ตลอดจนสนับสนุนใหม กี ารจัดกจิ กรรมเพอ่ื การปลูกฝงคณุ ธรรม จริยธรรมใหกับบุคลากรในองคกร 3.2 สงเสริมการจัดกระบวนการเรียนรูท่ีตอบสนองความตองการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21รวมทั้ง ความตอ งการของประชาชนและชมุ ชน ในรูปแบบท่ีหลากหลายใหประชาชนคิดเปน วิเคราะหได ตัดสินใจภายใต ขอมลู ที่ถกู ตอ ง 3.3 พัฒนาศักยภาพคนดา นทกั ษะและความเขาใจในการใชเทคโนโลยีดจิ ทิ ัล (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรูและทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือใหสามารถใช Social Media และ Application ตางๆ ในการพฒํ นารปู แบบการจัดการเรียนการสอน 2) สงเสริมการจัดกาเรียนรูดานเทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือใหประชาชนมีทักษะความรูความเขาใจและ ใชเทคโนโลยดี ิจิทัล ทส่ี ามารถนำไปใชป ระโยชนใ นชวี ติ ประวัน รวมทงั้ สรางรายไดใ หก บั ตนเองได 3.4 พฒั นาทกั ษะดา นภาองั กฤษ และภาษาอืน่ ๆ เพอ่ื รองรับการพฒั นาประเทศ 1) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนภาอังกฤษ และภาษาอ่ืนๆ ท่ีสอดคลองกับบริบทของ พน้ื ที่ โดยใชส อ่ื เทคโนโลยีดิจิทลั Social Media และ Application ตางๆ

28 2) จัดและสงเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และภาษาอื่นๆท่ีสอดคลองกับบริบทของพื้นท่ี และความตองการของประชาชน เพือ่ รับรองการพัฒนาประเทศ 3.5 สงเสริมการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทุกชวงวัย โดยสรางความรูความเขาใจการสนับสนุน กิจกรรมสุขภาวะ และสรา งเครือขายภาคประชาชน ในการเปาระวัง ปองกัน และควบคุมโรคใหกับประชาชนทุก ชวงวยั โดยเฉพาะพ้นื ท่ีหางไกล พื้นทช่ี ายแดน และชายแดนภาคใต โดยประสานงานรวมกับโรงพยาบาลสงเสริม สุขภาพตำบล และเจาหนาที่ อสม. ในการใหความรเู กี่ยวกับการดแู ลสุขภาวะอนามยั ใหก ับประชาชน รวมทั้งผลิต ชดุ ความรเู ก่ยี วกบั สุขภาวะ สุขอนามยั เพอื่ ใหประกอบการเรยี นรูใ นหลกั สูตรการศกึ ษา กศน. 3.6 เพิ่มอัตราการอานของประชาชน โดยการจัดกิจกรรมสงเสริมการอานในรูปแบบตางๆ เชน อาสาสมัครสงเสริมการอาน หองสมุดประชาชน บานหนังสือชุมชน หองสมุดเคล่ือนท่ี ผลักดันใหเกิดหองสมุดสู การเปนหองสมุดเสมือนจริงตนแบบ เพื่อพัฒนาใหประชาชนมีความสามารถในระดับการอานคลอง เขาใจความ คิดวิเคราะหพื้นฐาน และสามารถรับรูขอมูลขาวสารที่ถูกตองและทันเหตุการณ รวมท้ังนำความรูท่ีไดรับไปใช ปฏิบตั จิ ริงในชีวิตประจำวนั 3.7 เตรียมความพรอ มการเขา สูส งั คมผสู งู อายุที่เหมาะสมและมคี ุณภาพ 1) สงเสริมการจัดกิจกรรมใหกับประชาชนเพ่ือสรางความตระหนังถึงการเตรียมความพรอมเขาสู สังคมผูสูงอายุ (Aging Society) มีความเขาใจพัฒนาการของชวงวัย รวมท้ังเรียนรูและมีสวนรวมในการดูแล รับผดิ ชอบผสู งู อายทุ ีเ่ หมาะสมและมคี ณุ ภาพ 2) พัฒนาการจัดบรกิ ารการศึกษาและการเรียนรูส ำหรับประชาชนในการเตรียมความพรอมเขาสวู ัน สูงอายุทเ่ี หมาะสมและมีคณุ ภาพ 3) จัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ สำหรับผูสูงอายุภายใตแนวคิด “Active Aging” การศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ใหสามารถดูแลตนเองท้ังสุขภาพกายและสุขภาพจิต และรูจักใช ประโยชนจ ากเทคโนโลยี 4) สรางความตระหนักถึงคุณคาและศักดิ์ศรีของผูสูงอายุ เปดโอกาสมีการเผยแพรภูมิปญญาของ ผสู ูงอายุ และใหม ีสวนรว มในกิจกรรมดา นตางๆในชมุ ชน เชน ดา นอาชพี กีฬา ศาสนาและวฒั นธรรม 5) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ โดยบูรณาการความรวมมือกับหนวยงานท่ี เกีย่ วขอ งทุกระดับ 3.8 พัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใชกระบวนการ “สะเต็ม ศึกษา” (STEM Education) 3.9 การสง เสรมิ วิทยาศาสตรเ พอ่ื การศกึ ษา 1) จัดกจิ กรรมวทิ ยาสาสตรเชิงรุกทั้งในสถานศึกษา และชมุ ชน 2) ใหความรูวิทยาศาสตรอยางงาย วิทยาศาสตรในวิถีชีวิต วิทยาสาสตรในชีวิตประจำวันกับ ประชาชน 3) รวมมือกับหนวยงานวิทยาศาสตรอ่ืน ในการพัฒนาสื่อและรูปแบบการจัดกิจกรรมทาง วิทยาศาสตร

29 3.10 สงเสริม และพัฒนาระบบการสะสมและเทียบโอนหนวยการเรียน (Credit Bank System) ของ สถานศึกษา ใหมีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการงกลุมเปาหมาย เพื่อประโยชนในการ ดำเนินงานเทียบโอนความรูและประสบการณไ ดอยา งมปี ระสิทธิภาพ 3.11 สรางกระบวนการเรียนรูแบบ E-learning ท่ีใชระบบเทคโนโลยีเขามาบริหารจัดการเรียนรู เพื่อ เปนการสรางและขยายโอกาสในกาเรียนรูใหกับกลุมเปาหมายไดสะดวก รวดเร็ว ตรงตามความตองการของ ประชาชนผูรับบริการ เชน ระบบการเรียนรูในระบบเปดสำหรับมหาชน (Massive Open Online Course : MOOCs) คอมพวิ เตอรชวยสอน (Computer Assisted Instruction: CAI) 3.12 สงเสริมการรูภาษาไทย เพิม่ อตั ราการรูหนังสือ และยกระดบั การรหู นังสอื ของประชาชน 1) สงเสริมการรูภาษาไทย ใหกับประชาชนในรูปแบบตางๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพัฒนา พิเศษเฉพาะกิจชายแดนภาคใต ใหสามารถฟง พูด อาน และเขียนภาษาไทย เพ่ือประโยชนในการใช ชวี ิตประจำวนั ได 2) เรงจัดการศึกษาเพื่อเพิ่มอัตราการรูหนังสือ และคงสภาพการรูหนังสือ ใหประชาชนสามารถ อานออก เขียนได และคิดเลขเปน โดยเปนการวัดระดับการรูหนังสือ การใชสื่อ กระบวนการ และกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะในรปู แบบตา งๆที่เหมาะสม และสอดคลอ งกบั สภาพพื้นทีแ่ ละกลมุ เปา หมาย 3) ยกระดับการรูหนังสือของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการรูหนังสือในรูปแบบตางๆ รวมทั้งพัฒนาใหป ระชาชนมีทักษะท่จี ำเปน ในศตวรรษท่ี 21 เพื่อเปนเคร่ืองมอื ในการเรยี นรูตลอดชวี ิตของประชาชน 4. ยทุ ธศาสตรดานการสรา งโอกาสและเสมอภาคทางสงั คม 4.1 เพม่ิ โอกาสทางการศกึ ษาใหก บั ประชากรวัยเรียนท่อี ยูนอกระบบการศึกษา 1) เรงดำเนินการหาตัวของประชากรวัยเรียนที่อยูนอกระบบการศึกษา ใหกลับเขาสูระบบ การศึกษา โดยใชกลวิธี “เคาะประตูบาน รุกถึงที่ ลุยถึงถ่ิน” โดยประสานสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด เพอ่ื ดำเนินการตรวจสอบขอมลู ทะเบียนราษฎรเ ทียบกับขอมลู การลงทะเบยี นเรียนของทุกหนวยงาน คนหาผูทีไ่ มได อยูในระบบการศึกษาเปนรายบุคคล และรวบรวมจัดทำเปนฐานขอมูล และลงพื้นท่ีติดตามหาตัวตนของ กลุมเปาหมาย หาสาเหตุของการไมเขาเรียน และสอบถามความตองการในการศึกษาตอ พรอมท้ังจำแนกขอมูล ตามประเภทของสาเหตุ และประเภทความตองการของการศึกษาตอ และสงตอกลุมเปาหมายเพื่อใหรับการศึกษา ตอตามความตอ งการของกลมุ เปา หมายไดอยา งมีประสิทธภิ าพ 2) ติดตามผลของกลุมเปาหมายประชากรวยั เรียนที่อยูนอกระบบการศึกษาท่ไี ดร บั การจัดหาที่เรยี น และท้ังจัดทำฐานขอมูลผูสำเร็จการศึกษาของกลุมเปาหมาย รวมท้ังพัฒนาระบบเพื่อการติดตามกลุมเปาหมายท่ี ไดรบั การชว ยเหลอื ใหก ลบั เขา สรู ะบบการศึกษาแบบครบวงจร โดยตดิ ตามตงั้ แตการเขา ศกึ ษาตอ จนจบการศึกษา 4.2 พัฒนารูปแบบการศึกษาทางไกล ใหมีความทันสมัย มีหลักสูตรและสาระการเรียนรู ทหี่ ลากหลาย และสถานศกึ ษา กศน. สามารถนำไปใชใ นการจัดการเรยี นรใู หก บั กลุมเปาหมายไดอยา งเหมาะสม 4.3 ยกระดับการศึกษาใหกับกลุมเปาหมายทหารกองประจำการ รวมท้ังกลุมเปาหมายพิเศษอื่นๆ เชน ผูต องขัง คนพิการ เด็กออกกลางคัน ใหจ บการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานใหกับกลุมเปาหมายได อยา งเหมาะสม

30 4.4 สงเสริมและสนับสนุนใหเกิดตนแบบเมืองแหงการเรียนรู เพ่ือสงเสริมการรูอยางตอเน่ืองใหกับ ประชาชนในชมุ ชน โดยกำหนดพน้ื ทนี่ ำรอ งทผี่ า นมาตรฐานเทียบวัด (Benchmark) ของสำนกั งาน กศน. 4.5 พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะส้ัน ใหมีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับ บริบทของพ้ืนที่ และตอบสนองความตอ งการของประชาชนผรู บั บรกิ าร 4.6 ขบั เคล่อื นการดำเนินงานภายใตแ ผนพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค 1) สรางความรูความเขาใจใหกับบุคลากรของสำนักงาน กศน. เก่ียวกับการดำเนินงานภายใต แผนพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค เพอื่ รวมขับเคล่ือนยทุ ธศาสตรก ารพัฒนาภาค 2) เรงจัดทำยุท ธศาส ตรแล ะแผนพั ฒ นาการศึกษ าระดับ ภ าค ของสำนักงานกศน . ใหส อดคลอ งกับแผนพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค 5. ยุทธศาสตรด า นสรางการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ิตที่เปน มิตรกบั สง่ิ แวดลอ ม 5.1 สงเสริมใหมีการใหความรูกับประชาชนเก่ียวกับการปองกันผลกระทบและปรับตัว ตอ การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและภัยพบิ ัติธรรมชาติ 5.2 สรางความตระหนักถึงความสำคัญของการสรางสังคมสีเขียว สงเสริมความรูใหกับประชาชน เกีย่ วกับการคัดแยก การแปรรปู การกำจดั ขยะ รวมท้ังการจดั การมลพิษในชุมชน 5.3 สงเสริมใหหนวยงานและสถานศึกษาใชพลังงานที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม รวมทั้งลดการใช ทรัพยากรที่สงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมเชน รณรงคเร่ืองการลดการใชถุงพลาสติก การประหยัดไฟฟา เปน ตน 6. ยทุ ธศาสตรด า นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครฐั 6.1 พัฒนาระบบวิธีการปฏิบัตริ าชการใหทันสมัย มีความโปรงใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ บริหารจัดการบนขอมูลและหลักฐานเชิงประจักษ มุงผลสัมฤทธ์มิ ีความโปรงใส นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีระบบ การทำงานทีเ่ ปน ดจิ ทิ ลั มาใชในการบริหารและการตดั สนิ ใจ 6.2 พัฒนาระบบฐานขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาเพ่ือการบริหารจัดการอยางเปนระบบ และ เชื่อมโยงกับฐานขอมูลกลางของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อการบริหารจัดการและบุรราการขอมูลของประชาชน อยา งเปน ระบบ 6.3 สง เสรมิ การพัฒนาบคุ ลากรทุกระดบั อยา งตอ เนือ่ ง ใหมคี วามรูและทักษะตามมาตรฐานตำแหนงให ตรงกับสายงาน ความชำนาญ และความตองการของบคุ ลากร ภารกิจตอ เนอ่ื ง 1.ดา นการจัดการศึกษาและเรียนรู 1.1 การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน 1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแตปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยการ ดำเนินการใหผูเรียนไดรับการสนับสนุนคาจัดซ้ือหนังสือเรียน คาจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน และคาจัดการ เรียนการสอน อยางท่ัวถึงและพอพียง เพ่ือเพ่ิมโอกาสในการเขาถึงบริการทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพโดยไมเสีย คาใชจ า ย

31 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานใหกับกลุมเปาหมายผูดอย พลาด และขาด โอกาส ทางการศึกษา ท้ังระบบการใหบริการ ระบบการเรียนการสอน ระบบการวัดและประเมินผลการเรียน ผาน การเรยี น แบบเรยี นรดู ว ยตนเอง การพบกลมุ การเรยี นแบบช้ันเรียน และการจดั การศึกษาทางไกล 3) จัดใหมีการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณ ท่ีมี ความโปรงใส ยุติธรรม ตรวจสอบได มีมาตรฐานตามที่กำหนด และสามารถตอบสนองความตองการ ของกลุมเปา หมายไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ 4) จัดใหม ีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู รียนท่ีมคี ุณภาพท่ีผูเ รียนตองเรียนรูและเขารวมปฏิบตั ิ กิจกรรม เพื่อเปนสวนหนงึ่ ของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสรางความสามัคคี กิจกรรมเก่ียวกับ การปอ งกันและแกไข ปญหายาเสพติด การบำเพญ็ สาธารณประโยชนอ ยา งตอเนื่อง การสง เสริมการปกครอง ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรม จิตอาสา และการจัดต้ังชมรม/ ชมุ นมุ พรอมท้งั เปดโอกาสใหผูเรียนนำกิจกรรมการบำเพ็ญประโยชนอื่น ๆ นอกหลักสูตร มาใชเพ่ิมชั่วโมงกจิ กรรม ใหผูเรยี นจบตามหลกั สตู รได 1.2 การสงเสริมการรหู นงั สอื 1) พัฒนาระบบฐานขอมูลผูไมรหู นังสือ ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัยและเปนระบบเดียวกัน ท้ังสวนกลางและสว นภมู ิภาค 2) พัฒนาหลักสูตร สื่อ แบบเรียน เครื่องมือวัดผลและเคร่ืองมือการดำเนินงานการสงเสริม การรู หนงั สอื ท่สี อดคลอ งกบั สภาพแตล ะกลมุ เปา หมาย 3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือขายท่ีรวมจัดการศึกษา ใหมีความรู ความสามารถ และทักษะ การจัดกระบวนการเรยี นรูใหกับผูไมรูหนังสืออยางมปี ระสิทธิภาพ และอาจจัดใหมีอาสาสมัครสงเสริมการรู หนังสือ ในพนื้ ทท่ี ่ีมคี วามตองการจำเปนเปน พิเศษ 4) สง เสรมิ สนบั สนนุ ใหสถานศึกษาจัดกจิ กรรมสงเสรมิ การรูหนังสอื การคงสภาพการรูหนังสือ การ พัฒนาทักษะการรูหนังสือใหกับประชาชนเพ่ือเปนเครื่องมือในการศึกษาและเรียนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิต ของ ประชาชน 1.3 การศกึ ษาตอ เน่อื ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทำอยางยั่งยืน โดยใหความสำคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการมีงานทำในกลุมอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมคหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง หรือการ บ ริก าร รว ม ถึ งก ารเน น อ าชี พ ช างพ้ื น ฐ าน ที่ ส อ ด ค ล อ งกั บ ศั ก ย ภ าพ ข อ งผู เรีย น ค วาม ต อ งก าร และศักยภาพของแตละพื้นท่ี ตลอดจนสรางความเขมแข็งใหกับศูนยฝกอาชีพชุมชน โดยจัดใหมีหน่ึงอาชีพเดนตอ หน่ึงศูนยฝกอาชีพ รวมทั้งใหมีการกำกับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำอยาง เปน ระบบและตอเน่อื ง 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตใหกับทุกกลุมเปาหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผูสูงอายุ ที่ สอดคลองกับความตองการจำเปนของแตละบุคคล และมุงเนนใหทุกกลุมเปาหมายมีทักษะการดำรงชีวิต ตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได มีความรูความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเอง ใหอยูในสงั คมไดอยางมีความสุข สามารถเผชญิ สถานการณตา ง ๆ ทเ่ี กดิ ข้ึนในชวี ิตประจำวนั ไดอ ยางมี ประสิทธิภาพ

32 และเตรียมพรอมสำหรับการปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของขาวสารขอมูลและเทคโนโลยี สมัยใหมในอนาคต โดยจัดกิจกรรมที่มีเน้ือหาสำคัญตางๆ เชน สุขภาพกายและจิต การปองกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและ คานิยมท่ีพึงประสงค ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ผานการศึกษารปู แบบตาง ๆ อาทิ คายพัฒนาทักษะชีวิต การจดั ต้ังชมรม/ชมุ นมุ การสงเสริมความสามารถพิเศษตาง ๆ 3) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใชหลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู แบบ บูรณาการในรูปแบบของการฝกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู การจัดกิจกรรม จิตอาสา การสรางชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ที่เหมาะสมกับกลุมเปาหมาย และบริบทของชุมชน แตละพื้นที่ เคารพ ความคิดของผูอื่น ยอมรับความแตกตางและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ รวมทั้ง สังคมพหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการใหบุคคลรวมกลุมเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน สรางกระบวนการจิต สาธารณะ การสราง จิตสำนึกความเปนประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบตอหนาท่ีความเปน พลเมืองดี การสงเสริม คุณธรรม จริยธรรม การบำเพ็ญประโยชนในชุมชน การบริหารจัดการน้ำ การรับมือกับสา ธารณภัย การอนุรักษ พลังงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอม ชวยเหลือซึ่งกันและกนั ในการพฒั นาสังคม และชุมชนอยา งย่ังยืน 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผานกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิต ในรูปแบบตางๆ ใหกับประชาชน เพ่ือเสริมสรางภูมิคุมกัน สามารถยืนหยัดอยูไดอยางม่ันคง และมีการบริหาร จัดการความเสีย่ งอยางเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสคู วามสมดลุ และย่งั ยืน 1.4 การศกึ ษาตามอัธยาศัย 1) สงเสริมใหมีการพัฒนาแหลงการเรียนรูในระดับตำบล เพื่อการถายทอดองคความรู และจัดกจิ กรรม เพ่ือเผยแพรองคความรใู นชุมชนไดอ ยางทว่ั ถงึ 2) จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูเพ่ือปลูกฝงนิสัยรักการอาน และพัฒนาความสามารถในการอาน และศกั ยภาพการเรยี นรขู องประชาชนทุกกลมุ เปา หมาย 3) สงเสริมใหมีการสรางบรรยากาศ และสิ่งแวดลอมท่ีเอื้อตอการอานใหเกิดข้ึนในสังคมไทย โดย สนับสนุนการพัฒนาแหลงการเรียนรูใหเกิดข้ึนอยางกวางขวางและท่ัวถึง เชน พัฒนาหองสมุดประชาชน ทุกแหงให เปนแหลง เรียนรูตลอดชวี ิตของชมุ ชน สง เสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอาน การสรา งเครือขา ย สงเสริม การอาน จัดหนวยบริการเคล่ือนท่ีพรอมอุปกรณเพื่อจัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรูท่ีหลากหลาย ใหบริการกับประชาชนในพื้นที่ตางๆ อยางท่ัวถึง สม่ำเสมอ รวมท้ังเสริมสรางความพรอมในดานสื่ออุปกรณ เพ่ือ สนบั สนนุ การอา น และการจัดกิจกรรมเพ่อื สงเสริมการอา นอยา งหลากหลาย 4) จัดสรางและพัฒนาศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา ใหเปนแหลงเรียนรูวิทยาศาสตรตลอดชีวิต ของประชาชน และเปนแหลงทองเที่ยวประจำทองถิ่น โดยจัดทำ และพัฒนานิทรรศการ สื่อและกิจกรรม การศึกษาที่เนนการเสริมสรางความรูและสรางแรงบันดาลใจ สอดแทรกวิธีการคิดและปลูกฝงเจตคติ ทางวิทยาศาสตร ผานการฝกทักษะกระบวนการที่บูรณาการความรูดานวิทยาศาสตร ควบคูกับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร รวมท้ังสอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของ ชุมชน และประเทศ รวมท้ังการเปล่ียนแปลงระดับภูมิภาคและระดับโลก เพื่อใหประชาชนมีความรูและ ความสามารถ ในการคิดเชิงวิเคราะห มีทักษะท่ีจำเปนในโลกศตวรรษที่ ๒๑ มีความสามารถในการปรับตัวรองรับ ผลกระทบ จากการเปลย่ี นแปลงในอนาคตไดอยา งมีประสิทธภิ าพ และสามารถนำความรแู ละทกั ษะไปประยุกตใ ชใน

33 ก าร ด ำเนิ น ชี วิ ต ก าร พั ฒ น า อ าชี พ ก ารรั ก ษ าส่ิ งแ ว ด ล อ ม ก ารบ ร รเท าแ ล ะ ป อ งกั น ภั ย พิ บั ติ ทางธรรมชาติ 1.5 พัฒนา กศน. ตำบล สู “กศน.ตำบล 4G” 1) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรท่ีเกี่ยวของกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู : Good Teacher ใหเปนตัวกลางในการเช่ือมโยงความรกู ับผูร ับบรกิ าร มคี วามเปน “ครมู ืออาชพี ” มีจิตบรกิ าร มีความ รอบ รูและทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคม เปนผูจัดกิจกรรมการเรียนรูและบริหารจัดการความรูที่ดี รวมทั้ง เปน ผปู ฏิบัติงานอยา งมคี วามสุข 2) พัฒนา กศน.ตำบล ใหมีบรรยากาศและสภาพแวดลอมเอ้ือตอการเรียนรูอยางตอเนื่อง : Good Place Best Check-In มีความพรอ มในการใหบ ริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู เปนแหลงขอมูลสาธารณะที่ งายตอการเขาถึง และสะดวกตอการเรียนรูตลอดชีวิตอยางสรางสรรค มีส่ิงอำนวยความสะดวก ดึงดูดความสนใจ และมีความปลอดภยั สำหรับผูรับบริการ 3) สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรยี นรูภายใน กศน.ตำบล : Good Activities ใหมีความหลากหลาย นาสนใจ ตอบสนองความตองการของชุมชน เพ่ือพัฒนาศักยภาพการเรียนรูของประชาชน รวมท้ังเปดโอกาส ให ชมุ ชนเขา มาจดั กิจกรรมเพอื่ เชอื่ มโยงความสมั พันธข องคนในชมุ ชน 4) เสริมสรางความรวมมือกับภาคีเครือขาย : Good Partnership ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และ องคก รปกครองสวนทองถิ่น รวมทั้งสงเสรมิ และสนับสนนุ การมสี วนรว มของชุมชน เพ่อื สรางความเขาใจ และให เกิด ความรว มมอื ในการสง เสริม สนับสนุน และจัดการศกึ ษาและการเรยี นรใู หก ับประชาชนอยา งมีคุณภาพ 1.6 ประสานความรวมมือหนวยงาน องคกร หรือภาคสวนตางๆ ที่มีแหลงเรียนรูอ่ืนๆ เชน พิพิธภัณฑ ศูนยเรียนรู แหลงโบราณคดี หองสมุด เพื่อสงเสริมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีรูปแบบที่หลากหลาย และ ตอบสนองความตอ งการของประชาชน 2. ดา นหลักสูตร สอ่ื รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู การวดั และประเมินผล งานบริการทาง วิชาการ และการประกนั คุณภาพการศึกษา 2.1 สงเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู และกิจกรรมเพ่ือสงเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีหลากหลาย ทันสมัย รวมทั้งหลักสูตรทองถิ่นที่สอดคลองกับ สภาพบริบทของพ้นื ที่ และความตองการของกลุมเปาหมายและชมุ ชน 2.2 สงเสริมการพัฒนาส่ือแบบเรียน ส่ืออิเล็กทรอนิกสและส่ืออ่ืนๆ ที่เอื้อตอการเรียนรูของผูเรียน กลุมเปา หมายท่วั ไปและกลมุ เปา หมายพเิ ศษ 2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลใหมีความทันสมัยดวยระบบหองเรียนและการควบคุม การ สอบออนไลน 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณ ให มีคณุ ภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของกลมุ เปา หมายไดอยา งมีประสิทธภิ าพ 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใหไดมาตรฐาน โดยการน าแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส (e- Exam) มาใชอ ยา งมีประสิทธภิ าพ

34 2.6 สงเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู การวัด และประเมินผล และเผยแพรรูปแบบการจัด สงเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม อัธยาศยั เพอื่ ใหมกี ารน าไปสกู ารปฏิบตั อิ ยางกวา งขวางและมีการพฒั นาใหเ หมาะสมกบั บริบทอยา งตอเนื่อง 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหไดมาตรฐาน เพื่อพรอมรับการประเมิน คณุ ภาพ ภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสำคัญของระบบการประกัน คุณภาพ และ สามารถดำเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาไดอยางตอเนื่องโดยใชการประเมิน ภายในดวยตนเอง และจัดใหมีระบบสถานศึกษาพ่ีเล้ียงเขาไปสนับสนุนอยางใกลชิด สำหรับสถานศึกษาท่ียังไมได เขารับการประเมิน คุณภาพภายนอก ใหพ ัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาใหไดคุณภาพตามมาตรฐานท่กี ำหนด 3. ดา นเทคโนโลยเี พือ่ การศึกษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศนเพ่ือการศึกษาใหเชื่อมโยงและตอบสนอง ตอ การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา เพ่ือกระจายโอกาส ทางการศึกษาสำหรับกลุมเปาหมายตางๆ ใหมีทางเลือกในการเรียนรูท่ีหลากหลายและมีคุณ ภาพ สามารถพัฒนา ตนเองใหรูเทาทันส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เชน รายการพัฒนาอาชีพเพ่ือการมี งานทำ รายการติวเขมเติมเต็มความรู ฯลฯ เผยแพรทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทัศนเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร (ETV) และทางอนิ เทอรเ น็ต 3.2 พัฒนาการเผยแพรการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ผานระบบ เทคโนโลยีดิจิทัล และ ชองทางออนไลนตางๆ เชน Youtube Facebook หรือ Application อื่นๆ เพื่อสงเสริม ใหครู กศน. นำเทคโนโลยี ดิจทิ ัลมาใชใ นการสรางกระบวนการเรียนรดู วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศนเพื่อการศึกษา เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต และการออกอากาศใหกลุมเปาหมายสามารถใชเปนชองทางการเรียนรูที่มีคุณภาพไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต โดย ขยายเครือขายการรบั ฟงใหสามารถรบั ฟงไดทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นท่ีทัว่ ประเทศ และเพิ่มชอ งทาง ใหสามารถ รับชมรายการโทรทัศนไดท้ังระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอินเทอรเน็ต พรอมที่จะรองรับ การ พัฒนาเปน สถานวี ทิ ยโุ ทรทัศนเพื่อการศึกษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการใหบริการสื่อเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาใหไดหลายชองทางทั้งทางอินเทอรเ น็ต และ รูปแบบอื่น ๆ เชน Application บนโทรศัพทเคล่ือนที่ และ Tablet, DVD, CD, VCD และ MP3 เปนตน เพ่ือให กลุม เปาหมายสามารถเลือกใชบริการเพื่อเขา ถงึ โอกาสทางการศกึ ษาและการเรียนรูไดตามความตองการ 3.5 สำรวจ วิจัย ติดตามประเมินผลดานการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอยางตอเนื่อง และนำผลมาใชในการพัฒนางานใหมีความถูกตอง ทันสมัยและสามารถสงเสริมการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต ของประชาชนไดอยางแทจรงิ 4. ดานโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดำริ หรอื โครงการอันเกี่ยวเนือ่ งจากราชวงศ 4.1 สงเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ หรือโครงการ อันเก่ียวเนอ่ื งจากราชวงศ

35 4.2 จัดทำฐานขอมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน. ที่สนองงานโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดำริ หรือโครงการอันเกี่ยวเน่ืองจากราชวงศ ท่ีสามารถนำไปใชในการวางแผน การติดตามประเมนิ ผล และ การพฒั นางานไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ 4.3 สงเสริมการสรางเครอื ขา ยการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เพ่ือให เกิดความเขม แขง็ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 4.4 พัฒนาศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง” ใหมีความพรอมในการจัดการศึกษา นอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตามบทบาทหนาที่ที่กำหนดไวอยา งมปี ระสิทธภิ าพ 4.5 จัดและสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตใหสอดคลองกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพ้ืนท่ีสูง ถ่นิ ทรุ กนั ดาร และพน้ื ทีช่ ายขอบ 5. ดานการศึกษาในจังหวดั ชายแดนภาคใต พ้ืนท่ีเขตเศรษฐกจิ พิเศษ และพ้นื ที่บรเิ วณชายแดน 5.1 พฒั นาการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ในจงั หวดั ชายแดนภาคใต 1) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมสงเสริมการศึกษาและการเรียนรูท่ีตอบสนองปญหา และ ความตอ งการของกลมุ เปาหมาย รวมทั้งอตั ลกั ษณแ ละความเปนพหวุ ฒั นธรรมของพ้ืนที่ 2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานอยางเขมขนและตอเนื่อง เพ่ือให ผูเรยี นสามารถนำความรูทีไ่ ดร บั ไปใชป ระโยชนไดจรงิ 3) ใหหนวยงานและสถานศึกษาจัดใหมีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแกบุคลากร และ นักศึกษา กศน. ตลอดจนผูม าใชบ รกิ ารอยา งทั่วถงึ 5.2 พัฒนาการจัดการศึกษาแบบบรู ณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 1) ประสานความรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของในการจัดทำแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร และ บรบิ ทของแตละจังหวดั ในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ 2) จัดทำหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นที่ โดยเนนสาขาท่ีเปนความตองการของตลาด ให เกดิ การพัฒนาอาชพี ไดตรงตามความตองการของพื้นที่ 5.3 จัดการศึกษาเพอ่ื ความมน่ั คง ของศนู ยฝก และพฒั นาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน (ศฝช.) 1) พัฒนาศูนยฝกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนใหเปนศูนยฝกและสาธิต การ ประกอบอาชพี ดานเกษตรกรรม และศูนยการเรียนรูตน แบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดำรปิ รัชญา เศรษฐกิจ พอเพียง สำหรบั ประชาชนตามแนวชายแดน ดว ยวิธกี ารเรียนรทู ห่ี ลากหลาย 2) มุงจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใชวิธีการหลากหลาย ใชรูปแบบเชิงรุกเพื่อการเขาถึง กลุมเปาหมาย เชน การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความรวมมือกับเครือขาย การจดั อบรมแกนนำดานอาชีพ ท่ี เนน เรอ่ื งเกษตรธรรมชาตทิ ่ีสอดคลองกบั บรบิ ทของชมุ ชนชายแดน ใหแ กประชาชนตามแนวชายแดน 6. ดา นบุคลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมสี วนรวมของทกุ ภาคสว น 6.1 การพฒั นาบคุ ลากร 1) พัฒ นาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภ ทใหมีสมรรถนะสูงข้ึนอยางตอเน่ือง ทั้งกอน และระหวาง การดำรงตำแหนงเพ่ือใหมีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการ

36 ดำเนินงาน ของหนวยงานและสถานศึกษาไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ รวมทงั้ สงเสริมใหขาราชการในสังกดั พัฒนาตนเอง เพ่ือเลอื่ นตำแหนง หรือเล่อื นวิทยฐานะ โดยเนน การประเมินวิทยฐานะเชิงประจักษ 2) พัฒนาศึกษานิเทศก กศน. ใหมีสมรรถนะท่ีจำเปนครบถวน มีความเปนมืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการนิเทศไดอยางมีศักยภาพ เพ่ือรวมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยในสถานศกึ ษา 3) พั ฒ นาหั วห นา กศน. ตำบล/แขวง ให มีส มรรถนะสูงข้ึน เพื่ อการบริห ารจัดการ กศน. ตำบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนการเปนนักจัดการความรู และผูอำนวย ความสะดวกในการเรียนรูเพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรียนรูท่ีมีประสิทธิภาพอยางแทจริง 4) พฒั นาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวของกบั การจดั การศกึ ษาใหสามารถจดั รปู แบบการเรียนรู ได อยางมีคุณภาพ โดยสงเสรมิ ใหมีความรูความสามารถในการจัดทำแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู การวัด และประเมินผล และการวจิ ัยเบอ้ื งตน 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู ใหมีความรู ความสามารถและมคี วามเปนมอื อาชีพในการจัดบริการสง เสรมิ การเรยี นรูตลอดชีวติ ของประชาชน 6) สงเสริมใหคณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีสวนรวมในการ บริหาร การดำเนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน. อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 7 พฒั นาอาสาสมคั ร กศน. ใหสามารถทำหนาท่ีสนบั สนุนการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศยั ไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสรางความสัมพันธระหวางบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือขาย ทั้งในและ ตา งประเทศในทุกระดับ โดยจัดใหมีกิจกรรมเพื่อเสริมสรางสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการ ทำงานรวมกัน ในรปู แบบทีห่ ลากหลายอยางตอเนอื่ ง 6.2 การพฒั นาโครงสรา งพ้ืนฐานและอตั รากำลัง 1) จัดทำแผนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและดำเนินการปรับปรุงสถานท่ี และวัสดุอุปกรณ ใหมี ความพรอ มในการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู 2) บริหารอัตรากำลังท่ีมีอยู ท้ังในสวนที่เปนขาราชการ พนักงานราชการ และลูกจาง ใหเกิด ประสิทธิภาพสงู สดุ ในการปฏิบตั ิงาน 3) แสวงหาความรวมมือจากภาคีเครือขายทุกภาคสวนในการระดมทรัพยากรเพื่อนำมาใชในการ ปรับปรุงโครงสรางพ้ืนฐานใหมีความพรอมสำหรับดำเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการสง เสรมิ การเรียนรูสำหรบั ประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ 1) พัฒนาระบบฐานขอมูลใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันทั่วประเทศ อยาง เปน ระบบเพ่ือใหหนว ยงานและสถานศกึ ษาในสงั กดั สามารถนำไปใชเปนเคร่ืองมือสำคัญในการบรหิ าร การวางแผน ก ารป ฏิ บั ติ งาน ก ารติ ด ต าม ป ระเมิ น ผ ล รว ม ทั้ งจั ด บ ริก ารก ารศึ ก ษ าน อ ก ระ บ บ แ ล ะ ก ารศึ ก ษ า ตามอัธยาศัยอยางมปี ระสิทธิภาพ

37 2) เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกำกับ ควบคุม และเรง รัด การเบกิ จายงบประมาณใหเ ปน ตามเปา หมายท่กี ำหนดไว 3) พัฒนาระบบฐานขอมูลรวมของนักศึกษา กศน. ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันท่ัวประเทศ สามารถสืบคนและสอบทานไดทันความตองการเพื่อประโยชนในการจัดการศึกษา ใหก ับผเู รียนและการบรหิ ารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ 4) สงเสริมใหมีการจัดการความรูในหนวยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมท้ังการศึกษาวิจัย เพ่ือ สามารถนำมาใชในการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานท่ีสอดคลองกับความตองการของประชาชน และชุมชน พรอ มทงั้ พัฒนาขดี ความสามารถเชงิ การแขงขันของหนวยงานและสถานศกึ ษา 5) สรางความรวมมือของทุกภ าคสวนท้ังในประเทศและตางประเทศ ในการพัฒ นา และสง เสรมิ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรยี นรตู ลอดชีวติ 6) สงเสริมการใชระบบสำนกั งานอิเล็กทรอนิกส (E-office) ในการบริหารจัดการ เชน ระบบการลา ระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนิกส ระบบการขอใชร ถราชการ ระบบการขอใชห อ งประชมุ เปน ตน 6.4 การกำกบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผล 1) สรางกลไกการกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดำเนินงานการศึกษา นอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหเ ชอื่ มโยงกบั หนว ยงาน สถานศกึ ษา และภาคีเครือขา ยท้ังระบบ 2) ใหหนวยงานและสถานศึกษาที่เก่ียวของทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกำกับ ติดตาม และ รายงานผลการนำนโยบายสูการปฏิบัติ ใหสามารถตอบสนองการดำเนินงานตามนโยบายในแตละเร่ือง ไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ 3) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และส่ืออื่น ๆ ท่ีเหมาะสม เพื่อการกำกับ นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยางมีประสิทธภิ าพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำป ของหนวยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำป ของสำนักงาน กศน. ใหดำเนินไปอยา งมีประสทิ ธิภาพ เปนไปตามเกณฑ วธิ ีการ และระยะเวลาทีก่ ำหนด 5) ใหมีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท้ังหนวยงานภายในและภายนอกองคกร ต้ังแต สวนกลาง ภูมิภาค กลุมจังหวัด จังหวัด อำเภอ/เขต และตำบล/แขวง เพ่ือความเปนเอกภาพในการใชขอมูล และ การพฒั นางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

38 ผลการวิเคราะห SWOT (Swot Analysis) ของ กศน.อําเภอพนัสนคิ ม 1. การวิเคราะหส ภาพแวดลอมภายใน 1.1 จดุ แขง็ (Strengths – s) ดา นบคุ ลากร 1. กศน.อำเภอ มีคณะกรรมการสถานศกึ ษาเปนที่ปรึกษาใหคำแนะนำการดำเนนิ งานการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย กศน.อำเภอ 2. กศน.ตำบล มคี ณะกรรมการ กศน.ตำบล เปนท่ีปรึกษาใหคำแนะนำการดำเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย กศน.ตำบล 3. บุคลากรสถานศึกษา/วทิ ยากรมศี ักยภาพ มีความรู ความชำนาญทีห่ ลากหลายสาขา 4. บุคลากรสถานศึกษามกี ารทำงานเปน ทีมที่ดี 5. บคุ ลากรสถานศึกษาสามารถแสดงความคิดเหน็ แลกเปล่ยี นในการทำงานไดในการประชุม 6. บุคลากรสถานศึกษาไดรับการพฒั นาศกั ยภาพอยา งตอเน่อื งจากโครงการพัฒนาบุคลากร 7. มกี ารประชมุ บุคลากรประจำเดือนทำใหการรับรูข าวสารเปนปจจุบนั ดานงบประมาณ 1. การบรหิ ารงบประมาณมีความคลองตวั 2. ระบบการตดิ ตามการบรหิ ารงบประมาณเปน แบบรายเดือน รายไตรมาส และรายป ดานอาคารสถานที่ สื่อ วัสดุอุปรณ 1. สภาพตัวอาคารมีความเปน เอกเทศ 2. สภาพแวดลอมรมร่นื สงบ เอ้ือตอบรรยากาศเรยี นรู 3. มีหองสมดุ ประชาชนอำเภอ หอ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี”และ กศน ตำบล ใหบริการ สื่อ ในทุกพืน้ ที่ 4. มี กศน.ตำบล ใหบ รกิ ารดานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ครอบคลุม ทกุ พืน้ ที่ ดา นโครงสรา งองคก ร/การบริหารจัดการ คา นิยมองคก ร 1. สถานศกึ ษามีโครงสรางองคก รในการบรหิ ารท่ชี ัดเจน 2. การบรหิ ารงาน มีความยืดหยุนและบูรณาการ 3. สถานศึกษาดำเนินการจัดตง้ั คณะกรรมการองคกรนักศึกษา 4. สถานศกึ ษามีการนเิ ทศ กำกับ ติดตามการดำเนินงานอยางตอ เน่ือง 5. ผบู ริหารมีอำนาจในการพจิ ารณาอนุมัติโครงการไดเอง การปฏบิ ัตงิ านไดรวดเร็ว 6. มีการสรา งขวัญและกำลงั ใจใหกบั การปฏบิ ตั งิ านอยา งสมำ่ เสมอ

39 7. มกี ารจัดแผนการปฏิบตั ิงานอยา งชดั เจน 1.2 จดุ ออน (Weaknesses – W) ดานบคุ ลากร 1. ครสู วนใหญม วี ฒุ ิครวู ชิ าเอกไมต รงกบั วิชาทีส่ อน 2. บุคลากรสถานศึกษามีการเปลี่ยนแปลงบอยจากการขอยาย การเปลีย่ นงาน การปฏบิ ตั งิ านจงึ ขาดความตอเน่ือง 3. บุคลากรสถานศึกษาขาดทักษะการทำวิจยั ในการพัฒนาจัดกระบวนการเรยี นรู 4. กลุมเปา หมายมีความรูพื้นฐานทแี่ ตกตางกัน ดานงบประมาณ 1. งบประมาณในการดำเนนิ งานมาลาชา 2. การขาดงบประมาณในการพฒั นา กศน.ตำบล ดา นอาคารสถานที่ สอ่ื วัสดอุ ุปรณ 1. สถานศึกษาอยหู า งไกลชมุ ชน 2. กศน.ตำบลบางแหงสภาพตัวอาคารยงั ไมเ ปนเปน เอกเทศ 3. กศน.ตำบล มสี อื่ การจดั การเรยี นการสอนไมเ พียงพอตอกลุมเปาหมาย 4. วัสดอุ ปุ กรณ โสตทัศนปู กรณ กศน.ตำบลขาดแคลนไมเ พียงพอตอ การปฏบิ ัตงิ าน 5. สื่อดา นเทคโนโลยี กศน.ตำบลไมเพียงพอ ดา นโครงสรา งองคกร/การบริหารจดั การ คา นยิ มองคก ร 1. การประชาสมั พนั ธง าน กศน.ขาดความตอเนอื่ ง และครอบคลุมพนื้ ที่ 2. การเขา ถงึ กลมุ เปาหมายยงั ไมค รอบคลมุ ทกุ กลมุ เปาหมายและทุกพืน้ ท่ี 1.3 โอกาส(Opportunities – O) ดานนโยบาย กฎหมายท่เี กี่ยวขอ ง การเมือง 1. องคกรทอ งถ่นิ ใหการสนับสนุนงบประมาณการดำเนินงาน กศน.ตำบล 2. มนี โยบาย กฎระเบยี บขอบงั คบั ที่ชดั เจน ดานความปลอดภยั ในพน้ื ที่ 1. มสี ถานตี ำรวจ จดุ ตรวจ ครอบคลมุ ในทกุ พืน้ ท่ี ดานสงั คม – วัฒนธรรม 1. เครือขา ยทหี่ ลากหลายใหก ารสนบั สนนุ การจดั กิจกรรมสถานศึกษาเปนอยางดี 2. แหลง การเรียนรแู ละภูมิปญญาทห่ี ลากหลาย

40 3. วฒั นธรรมและประเพณีทอ งถ่ิน มคี วามชัดเจนเปนเอกลักษณ 4. เปนอำเภอขนาดใหญม ีกลุมเปาหมายจำนวนมากทหี่ ลากหลาย 5. ภาคเี ครอื ขา ยใหค วามรว มมือในการดำเนนิ งาน กศน เปนอยา งดี ดานเศรษฐกจิ 1. มกี ารรวมกลุม อาชพี กลุมแมบาน กลมุ อสม. กลมุ เกษตร ในการประกอบอาชีพ 2. มีโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นท่ี 3. มีกลุมวิสาหกิจชมุ ชนในพนื้ ทีท่ หี่ ลากหลายอาชพี ดา นเทคโนโลย/ี การคมนาคม ตดิ ตอ สอ่ื สาร 1. มีเสน ทางการคมนาคมทสี่ ะดวก 2. ระบบการตดิ ตอสือ่ สารมคี วามสะดวกไดห ลากหลายรูปแบบ 3. ชองทางการประชาสมั พนั ธมีหลากหลายชองทาง เชน วทิ ยุชมุ ชน หอกระจายขา ว ดา นส่ิงแวดลอ ม 1. อำเภอพนัสนิคมมีทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่อี ุดมสมบูรณ 1.4 อปุ สรรค/ความเสยี่ ง(Threats – T) ดา นนโยบาย กฎหมายท่เี กย่ี วขอ ง 1. กฎระเบียบ ขอบังคับ และแนวทางปฏบิ ัตติ างๆ บางอยา งไมเอ้อื ตอการปฏิบตั งิ าน ทำใหก ารปฏบิ ตั ิงานลา ชา ดานความปลอดภยั ในพ้นื ท่ี 1. มแี รงงานตา งดาวในพื้นท่ี 2. มีปญ หาการระบาดยาเสพติดในบางพ้ืนที่ ดา นสังคม – วฒั นธรรม 1. ศาสนาที่มคี วามหลากหลาย ความเช่อื และคานยิ มท่มี ีความหลากหลาย 2. ประชาชนสว นหน่ึงยงั ไมเ หน็ ความสำคญั การศึกษา 3. อำเภอพนัสนิคมมีพน้ื ที่ขนาดใหญในบางครง้ั การประสานงานจงึ เปนไปดวยความลา ชา ดา นเศรษฐกจิ 1. ขอจำกัดในเร่อื งเวลาในการประกอบอาชีพไมมเี วลาในการเขา รวมกจิ กรรม กศน. 2. ประชาชนสวนใหญย งั มฐี านะยากจน 3. การวางงานของประชาชนในพื้นท่ี ดา นเทคโนโลย/ี การคมนาคม ติดตอสือ่ สาร

41 1. ประชาชนสว นหนง่ึ ยังขาดความรู ความเขาใจ การใชเทคโนโลยีในการติดตอส่ือสารได 2. ประชาชนสวนหนง่ึ ยงั ไมส ามารถเขา ถงึ การใชเ ทคโนโลยีที่ทนั สมัยในการติดตอสือ่ สารได นโยบายและจุดเนนของ กศน.อาํ เภอพนัสนิคม นโยบายเรงดว นเพอ่ื รวมขบั เคลอื่ นยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ 1.ยทุ ธศาสตรดา นความมน่ั คง 1.1 พัฒนาและเสริมสรางความจงรักภักดีตอสถาบันหลักของชาติ โดยปลูกฝงและสรางความตระหนัก ถงึ ความสำคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงคเสริมสรางความรกั และความภาคภูมิใจในความเปนคนไทยและชาติ ไทย นอ มและเผยแพรส าสตรพ ระราชา หลกั ประชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รวมถึงแนวทางพระราชดำรติ างๆ 1.2 สงเสริมความรูความเขาใจที่ถูกตอง และการมีสวนรวมอยางถูกตองกับการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีความเปนพลเมืองดี ยอมรับและเคารพความแตกตางใน สงั คมพหุวัฒนธรรม และความหลากหลายทางความคิดและอดุ มการณ 1.3 รวมขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืนโดยบูรณาการขับเคลื่อนการทำงาน ตามแนวทางประชารัฐ ดำเนินโครงการ/กิจกรรมในพื้นท่ีทั้งระดับตำบล หมูบาน โดยทีมขับเคลื่อนการพัฒนา ประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ระดับตำบลเปน แกนหลัก และสนับสนุนกลไกการขับเคลื่อนในพน้ื ท่ีทกุ ระดับ ตัง้ แตจังหวดั อำเภอ ตำบล และหมูบาน 2. ยทุ ธศาสตรดา นการสง เสรมิ ความสามารถในการแขงขนั 2.1 เรง รัดดำเนนิ ดารจัดการศึกษาอาชพี เพอ่ื ยกระดับทักษะอาชพี ของประชาชนสูฝม ือแรงงาน 1) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทำท่ีสอดคลองกับศักยภาพของชุมชน และความตองการ ตลาด ใหประชาชนสมารถนำไปประกอบอาชีพไดจริง โดยเนนหลักสูตรการศึกษาอาชีพชางพ้ืนฐาน โดย ประยุกตใชเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนดานอาชีพ เชน การเรียนผาน Youtubeการเรียนผาน Facebook Live ระบบการเรียนรูเปดสำหรับมหาชน (Massive Open Courses : MOOCs) คอมพิวเตอรชวย สอน (Computer Assisted Instruction: CAI) เปน ตนรวมถงึ สนับสนุนใหเ กดิ ระบบการผลติ ที่ครอบวงจร และเปด พืน้ ที่สว นราชการเปน ทแี่ สดงสินคา ของชมุ ชนเพื่อเปน การสรางรายไดใหก บั ชมุ ชน 2) บูรณาการความรว มมือในการพัฒนาฝมือแรงงานกับสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา ผาน ศูนยประสานงานการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาภาคทั่วประเทศ เพื่อมุงพัฒนาทักษะของประชาชน โดย ใชประโยชนจ ากศักยภาพและภูมิสังคมเฉพาะของพื้นท่ี และการดำเนินงานเชิงรุกเพอ่ื เสริมจุดเดนในระดับภาค ใน การเปนฐานการผลิตและการบริการเปนสำคัญ รวมถึงมุงเนนสรางโอกาสในการสรางรายได เพื่อตอบสนองตอ ความตองการของตลาดแรงงานท้งั ภาคอุตสาหกรรมและการบริการ 3) พัฒนากลุมอาชีพพ้ืนฐานที่รองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ เชน เขตพัฒนาพิเศษภาค ตะวันออก เขตเศรษฐกิจภาคตะวนั ตก ทส่ี ามารถพฒั นาศักยภาพไปสูร ะดับฝมือแรงงาน

42 2.2 พฒั นาทักษะใหประชาชนเพ่อื การสรา งมลู คา เพิ่มใหกบั สนิ คาและบรกิ าร 1) พัฒนาทักษะและสงเสริมใหประชาชนประกอบธุรกิจการคา ออนไลน (พาณชิ ยอิเล็กทรอนิกส) มี การใชความคิดสรางสรรคเชิงนวัตกรรมในการประกอบอาชีพ สรางทักษะอาชีพสูงข้ึนใหกับประชาชนเพ่ือรวม ขับเคล่อื นเศรษฐกิจดจิ จิทัล 2) สงเสริมใหประชาชนใชเทคโนโลยี ในการทำชองทางเผยแพรและจำหนายผลิตภัณฑของ วิสาหกิจชุมชนใหเปนระบบครบวงจร และสนับสนุนการจัดจำหนายสินคาและผลิตภัณฑผานศูนยจำหนายสินคา และผลิตภัณฑออนไลน กศน. (ONIE Online Commerce Center : OOCC) เพ่ือจำหนายสินคาออนไลนระดับ ตำบล รวมท้ังเปดศูนยใหคำปรึกษา OOCC กศน. เพ่ือเปดชองทางใหคำปรึกษากับประชาชนเก่ียวกับการคา ออนไลนเบอื้ งตน 3) พัฒนาทักษะภาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารของประชาชนในรูปแบบตางๆ อยางเปนรูปธรรม โดย เนนทักษะภาเพื่ออาชีพท้ังภาคธุรกิจ การบริการ และการทองเท่ียว รวมท้ังพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ภาษาองั กฤษ เพื่อสง เสริมการใชภ าษาเพ่ือการสอ่ื สารและการพัฒนาอาชพี 3. ยทุ ธศาสตรด า นการพัฒนาและเสรมิ สรา งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย 3.1 ส งเส ริม ก ารจั ด กิ จ ก รรม ก ารเรีย น รูที่ ป ลุ ก ฝ งคุ ณ ธ รรม ส รางวิ นั ย จิ ต ส า ธ ารณ ะ ความรับผิดชอบตอสวนรวม และการมีจิตอาสา ผานกิจกรรมรูปแบบตางๆ เชน กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจนสนับสนุนใหมีการจัดกิจกรรมเพ่ือการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมใหกับบุคลากรใน องคก ร 3.2 สงเสริมการจัดกระบวนการเรียนรูท่ีตอบสนองความตองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21รวมทั้ง ความตอ งการของประชาชนและชุมชน ในรปู แบบท่ีหลากหลายใหประชาชนคิดเปน วเิ คราะหได ตัดสนิ ใจภายใต ขอ มลู ทถี่ กู ตอ ง 3.3 พัฒนาศักยภาพคนดา นทักษะและความเขา ใจในการใชเ ทคโนโลยดี ิจทิ ัล (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรูแ ละทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือใหสามารถใช Social Media และ Application ตางๆ ในการพฒํ นารูปแบบการจดั การเรียนการสอน 2) สงเสริมการจัดกาเรียนรดู านเทคโนโลยีดิจิทลั เพ่ือใหประชาชนมที ักษะความรูความเขาใจและ ใชเ ทคโนโลยดี ิจิทลั ทส่ี ามารถนำไปใชป ระโยชนใ นชีวิตประวัน รวมทั้งสรางรายไดใหกบั ตนเองได 3.4 พัฒนาทกั ษะดานภาองั กฤษ และภาษาอื่นๆ เพ่อื รองรับการพฒั นาประเทศ 1) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนภาอังกฤษ และภาษาอื่นๆ ท่ีสอดคลองกับบริบทของ พืน้ ท่ี โดยใชสอื่ เทคโนโลยดี จิ ิทลั Social Media และ Application ตา งๆ 2) จัดและสงเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ และภาษาอ่ืนๆที่สอดคลองกับบริบทของพ้ืนท่ี และความตอ งการของประชาชน เพอื่ รบั รองการพฒั นาประเทศ 3.5 สงเสริมการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทุกชวงวัย โดยสรางความรูความเขาใจการสนับสนุน กิจกรรมสุขภาวะ และสรา งเครอื ขายภาคประชาชน ในการเปาระวัง ปอ งกัน และควบคุมโรคใหกบั ประชาชนทุก ชวงวัย โดยเฉพาะพ้ืนทหี่ างไกล พื้นทช่ี ายแดน และชายแดนภาคใต โดยประสานงานรวมกบั โรงพยาบาลสง เสริม

43 สขุ ภาพตำบล และเจาหนาที่ อสม. ในการใหความรเู กีย่ วกับการดูแลสุขภาวะอนามยั ใหก ับประชาชน รวมทัง้ ผลิต ชุดความรเู ก่ยี วกับสขุ ภาวะ สุขอนามัย เพือ่ ใหป ระกอบการเรียนรใู นหลักสูตรการศกึ ษา กศน. 3.6 เพิ่มอัตราการอานของประชาชน โดยการจัดกิจกรรมสงเสริมการอานในรูปแบบตางๆ เชน อาสาสมัครสงเสริมการอาน หองสมุดประชาชน บานหนังสือชุมชน หองสมุดเคล่ือนท่ี ผลักดันใหเกิดหองสมุดสู การเปนหองสมุดเสมือนจริงตนแบบ เพื่อพัฒนาใหประชาชนมีความสามารถในระดับการอานคลอง เขาใจความ คิดวิเคราะหพ้ืนฐาน และสามารถรับรูขอมูลขาวสารที่ถูกตองและทันเหตุการณ รวมท้ังนำความรูท่ีไดรับไปใช ปฏิบตั จิ ริงในชวี ติ ประจำวนั 3.7 เตรียมความพรอมการเขาสูส งั คมผูสูงอายุทเ่ี หมาะสมและมีคณุ ภาพ 1) สงเสริมการจัดกิจกรรมใหกับประชาชนเพ่ือสรางความตระหนังถึงการเตรียมความพรอมเขาสู สังคมผูสูงอายุ (Aging Society) มีความเขาใจพัฒนาการของชวงวัย รวมทั้งเรียนรูและมีสวนรวมในการดูแล รับผิดชอบผูสงู อายทุ ่ีเหมาะสมและมีคุณภาพ 2) พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรูสำหรับประชาชนในการเตรียมความพรอมเขาสู วันสูงอายทุ ่เี หมาะสมและมีคณุ ภาพ 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคณุ ภาพชีวิตสำหรับผสู ูงอายุภายใตแนวคดิ “Active Aging” การศกึ ษา เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ใหสามารถดูแลตนเองทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต และรูจักใช ประโยชนจ ากเทคโนโลยี 4) สรางความตระหนักถึงคุณคาและศักด์ิศรีของผูสูงอายุ เปดโอกาสมีการเผยแพรภูมิปญญาของ ผสู ูงอายุ และใหม สี วนรวมในกิจกรรมดา นตา งๆในชุมชน เชน ดา นอาชีพ กฬี า ศาสนาและวฒั นธรรม 5) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ โดยบูรณาการความรวมมือกับหนวยงานที่ เกี่ยวของทกุ ระดบั 3.8 พัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใชกระบวนการ “สะเต็ม ศึกษา” (STEM Education) 3.9 การสงเสรมิ วิทยาศาสตรเพอ่ื การศึกษา 1) จัดกจิ กรรมวิทยาสาสตรเ ชิงรุกทง้ั ในสถานศึกษา และชมุ ชน 2) ใหความรูวิทยาศาสตรอยางงาย วิทยาศาสตรในวิถีชีวิต วิทยาสาสตรในชีวิตประจำวันกับ ประชาชน 3) รวมมือกับหนวยงานวิทยาศาสตรอื่น ในการพัฒนาสื่อและรูปแบบการจัดกิจกรรมทาง วิทยาศาสตร 3.10 สงเสริม และพัฒนาระบบการสะสมและเทียบโอนหนวยการเรียน (Credit Bank System) ของ สถานศึกษา ใหมีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการงกลุมเปาหมาย เพ่ือประโยชนในการ ดำเนนิ งานเทียบโอนความรแู ละประสบการณไ ดอ ยา งมีประสิทธภิ าพ 3.11 สรางกระบวนการเรียนรูแบบ E-learning ที่ใชระบบเทคโนโลยีเขามาบริหารจัดการเรียนรู เพื่อ เปนการสรางและขยายโอกาสในกาเรียนรูใหกับกลุมเปาหมายไดสะดวก รวดเร็ว ตรงตามความตองการของ

44 ประชาชนผูรับบริการ เชน ระบบการเรียนรูในระบบเปดสำหรับมหาชน (Massive Open Online Course : MOOCs) คอมพวิ เตอรชวยสอน (Computer Assisted Instruction: CAI) 3.12 สง เสรมิ การรภู าษาไทย เพ่ิมอตั ราการรหู นงั สอื และยกระดับการรูหนงั สือของประชาชน 1) สงเสริมการรูภาษาไทย ใหกับประชาชนในรูปแบบตางๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพัฒนา พิเศษเฉพาะกิจชายแดนภาคใต ใหสามารถฟง พูด อาน และเขียนภาษาไทย เพื่อประโยชนในการใช ชวี ติ ประจำวันได 2) เรงจัดการศึกษาเพ่ือเพ่ิมอัตราการรูหนังสือ และคงสภาพการรูหนังสือ ใหประชาชนสามารถ อานออก เขียนได และคิดเลขเปน โดยเปนการวัดระดับการรูหนังสือ การใชส่ือ กระบวนการ และกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะในรปู แบบตางๆทเี่ หมาะสม และสอดคลองกับสภาพพื้นทแ่ี ละกลุมเปา หมาย 3) ยกระดับการรหู นงั สือของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการรหู นังสอื ในรปู แบบตางๆ รวมท้งั พฒั นาใหประชาชนมีทักษะทจี่ ำเปนในศตวรรษท่ี 21 เพอ่ื เปน เครอ่ื งมือในการเรียนรูต ลอดชีวติ ของประชาชน 4. ยุทธศาสตรด านการสรางโอกาสและเสมอภาคทางสังคม 4.1 เพมิ่ โอกาสทางการศึกษาใหก ับประชากรวัยเรียนท่ีอยูนอกระบบการศกึ ษา 1) เรงดำเนินการหาตัวของประชากรวัยเรียนที่อยูนอกระบบการศึกษา ใหกลับเขาสูระบบ การศึกษา โดยใชกลวิธี “เคาะประตูบาน รุกถึงท่ี ลุยถึงถิ่น” โดยประสานสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด เพ่ือดำเนินการตรวจสอบขอ มลู ทะเบียนราษฎรเ ทียบกับขอมลู การลงทะเบียนเรียนของทกุ หนวยงาน คนหาผูทไ่ี มได อยูในระบบการศึกษาเปนรายบุคคล และรวบรวมจัดทำเปนฐานขอมูล และลงพ้ืนท่ีติดตามหาตัวตนของ กลุมเปาหมาย หาสาเหตุของการไมเขาเรียน และสอบถามความตองการในการศึกษาตอ พรอมท้ังจำแนกขอมูล ตามประเภทของสาเหตุ และประเภทความตองการของการศึกษาตอ และสงตอกลุมเปาหมายเพ่ือใหรับการศึกษา ตอตามความตองการของกลุม เปา หมายไดอยางมีประสิทธภิ าพ 2) ติดตามผลของกลุมเปาหมายประชากรวัยเรียนที่อยูนอกระบบการศึกษาท่ีไดรับการจัดหาที่ เรียน และทั้งจัดทำฐานขอมูลผูสำเร็จการศึกษาของกลุมเปาหมาย รวมทั้งพัฒนาระบบเพื่อการติดตาม กลุมเปาหมายที่ไดรับการชวยเหลือใหกลับเขาสูระบบการศึกษาแบบครบวงจร โดยติดตามต้ังแตการเขาศึกษาตอ จนจบการศกึ ษา 4.2 สงเสริมและสนับสนุนใหเกิดตนแบบเมืองแหงการเรียนรู เพ่ือสงเสริมการรูอยางตอเน่ืองใหกับ ประชาชนในชุมชน โดยกำหนดพ้ืนที่นำรองทีผ่ านมาตรฐานเทยี บวดั (Benchmark) ของสำนักงาน กศน. 4.3 พฒั นาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะสั้น ใหม ีความหลากหลาย ทนั สมัย เหมาะสมกับบรบิ ท ของพน้ื ท่ี และตอบสนองความตอ งการของประชาชนผรู ับบริการ 4.4 ขับเคล่ือนการดำเนินงานภายใตแ ผนพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค 1) สรางความรูความเขาใจใหกับบุคลากรของสำนักงาน กศน. เกี่ยวกับการดำเนินงานภายใต แผนพัฒนาการศกึ ษาระดบั ภาค เพอ่ื รว มขับเคลื่อนยุทธศาสตรการพฒั นาภาค 2) เรงจัดทำยุทธศาสตรและแผนพั ฒ นาการศึกษาระดับภ าค ของสำนักงานกศน. ใหส อดคลองกบั แผนพฒั นาการศึกษาระดับภาค

45 5. ยทุ ธศาสตรดานสรา งการเตบิ โตบนคณุ ภาพชวี ติ ที่เปน มติ รกบั สง่ิ แวดลอม 5.1 สงเสริมใหมีการใหค วามรูกับ ป ระชาชน เกี่ยวกับ การปองกัน ผลกระทบ และป รับตัว ตอ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและภัยพบิ ตั ิธรรมชาติ 5.2 สรางความตระหนักถึงความสำคัญของการสรางสังคมสีเขียว สงเสริมความรูใหกับประชาชน เกี่ยวกับการคัดแยก การแปรรปู การกำจดั ขยะ รวมทัง้ การจัดการมลพิษในชุมชน 5.3 สงเสริมใหหนวยงานและสถานศึกษาใชพลังงานท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม รวมท้ังลดการใช ทรัพยากรท่ีสงผลกระทบตอส่ิงแวดลอมเชน รณรงคเรื่องการลดการใชถุงพลาสติก การประหยัดไฟฟา เปน ตน 6. ยุทธศาสตรดา นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ 6.1 พัฒนาระบบวิธกี ารปฏบิ ัติราชการใหท ันสมัย มีความโปรงใส ปลอดการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ บริหารจัดการบนขอมูลและหลักฐานเชิงประจักษ มุงผลสัมฤทธ์มิ ีความโปรงใส นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีระบบ การทำงานทเี่ ปนดิจทิ ัลมาใชใ นการบริหารและการตดั สนิ ใจ 6.2 พัฒนาระบบฐานขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาเพื่อการบริหารจัดการอยางเปนระบบ และ เช่ือมโยงกับฐานขอมูลกลางของกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือการบริหารจัดการและบุรราการขอมูลของประชาชน อยางเปน ระบบ 6.3 สงเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอยางตอเนื่อง ใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตำแหนงให ตรงกบั สายงาน ความชำนาญ และความตอ งการของบุคลากร ภารกจิ ตอ เน่ือง 1.ดานการจดั การศกึ ษาและเรียนรู 1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน 1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแตปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยการ ดำเนินการใหผูเรยี นไดรับการสนับสนุนคาจัดซ้ือหนังสือเรียน คาจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน และคาจัดการ เรียนการสอน อยางทั่วถึงและพอพียง เพ่ือเพิ่มโอกาสในการเขาถึงบริการทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพโดยไมเสีย คาใชจาย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานใหกับกลุมเปาหมายผูดอย พลาด และขาด โอกาส ทางการศึกษา ทั้งระบบการใหบริการ ระบบการเรียนการสอน ระบบการวัดและประเมินผลการเรียน ผาน การเรียน แบบเรียนรูด ว ยตนเอง การพบกลมุ การเรยี นแบบชนั้ เรียน และการจัดการศกึ ษาทางไกล 3) จัดใหมีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณ ท่ีมี ความโปรงใส ยุติธรรม ตรวจสอบได มีมาตรฐานตามที่กำหนด และสามารถตอบสนองความตองการ ของกลุม เปา หมายไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ 4) จัดใหมีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนท่ีมีคุณภาพที่ผูเรียนตองเรียนรูและเขารวมปฏิบัติ กิจกรรม เพื่อเปนสวนหนง่ึ ของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสรางความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับ การปองกัน และแกไขปญหายาเสพติด การบำเพ็ญสาธารณประโยชนอยางตอเนื่อง การสงเสริมการปกครอง ในระบอบ

46 ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรม จิตอาสา และการจัดตั้งชมรม/ชมุ นุม พรอมทั้งเปดโอกาสใหผูเรยี นนำกิจกรรมการบำเพ็ญประโยชนอื่น ๆ นอกหลักสูตร มา ใชเพิม่ ชั่วโมงกิจกรรมใหผเู รียนจบตามหลกั สตู รได 1.2 การสง เสรมิ การรูหนังสือ 1) พัฒนาระบบฐานขอมูลผูไมรูหนังสอื ใหม ีความครบถว น ถูกตอง ทนั สมัยและเปนระบบเดียวกัน ทงั้ สว นกลางและสวนภมู ภิ าค 2) พัฒนาหลักสูตร ส่ือ แบบเรียน เครื่องมือวัดผลและเคร่ืองมือการดำเนินงานการสงเสริม การรู หนงั สือท่สี อดคลอ งกับสภาพแตล ะกลมุ เปาหมาย 3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือขายท่ีรวมจัดการศึกษา ใหมีความรู ความสามารถ และทักษะ การจัดกระบวนการเรยี นรูใหกับผูไมรูหนังสืออยางมปี ระสิทธิภาพ และอาจจัดใหมีอาสาสมัครสงเสริมการรู หนังสือ ในพื้นทที่ ี่มคี วามตองการจำเปน เปนพิเศษ 4) สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาจัดกิจกรรมสงเสริมการรูหนังสือ การคงสภาพการรูหนังสือ การพัฒนาทักษะการรูหนงั สือใหกับประชาชนเพื่อเปนเครื่องมือในการศึกษาและเรยี นรูอยางตอเนื่องตลอดชวี ิต ของ ประชาชน 1.3 การศึกษาตอ เน่ือง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำอยางยั่งยืน โดยใหความสำคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพ่ือการมีงานทำในกลุมอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรมคหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง หรือการ บ ริก าร รว ม ถึ งก ารเน น อ าชี พ ช างพื้ น ฐ าน ท่ี ส อ ด ค ล อ งกั บ ศั ก ย ภ าพ ข อ งผู เรีย น ค วาม ต อ งก าร และศักยภาพของแตละพื้นท่ี ตลอดจนสรางความเขมแข็งใหกับศูนยฝกอาชีพชุมชน โดยจัดใหมีหนึ่งอาชีพเดนตอ หน่ึงศูนยฝกอาชีพ รวมทั้งใหมีการกำกับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำอยาง เปน ระบบและตอ เน่อื ง 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตใหกับทุกกลุมเปาหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผูสูงอายุ ที่ สอดคลองกับความตองการจำเปนของแตละบุคคล และมุงเนนใหทุกกลุมเปาหมายมีทักษะการดำรงชีวิต ตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได มีความรูความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเอง ใหอ ยใู นสงั คมไดอยางมีความสุข สามารถเผชญิ สถานการณตา ง ๆ ทเ่ี กดิ ขึ้นในชีวิตประจำวันไดอยางมี ประสิทธิภาพ และเตรียมพรอมสำหรับการปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของขาวสารขอมูลและเทคโนโลยี สมัยใหมในอนาคต โดยจัดกิจกรรมท่ีมีเนื้อหาสำคัญตางๆ เชน สุขภาพกายและจิต การปองกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและ คานิยมที่พึงประสงค ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ผานการศึกษารปู แบบตาง ๆ อาทิ คายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดตง้ั ชมรม/ชมุ นุม การสง เสรมิ ความสามารถพิเศษตาง ๆ 3) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใชหลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู แบบ บูรณาการในรูปแบบของการฝกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู การจัดกิจกรรม จิตอาสา การสรางชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ท่ีเหมาะสมกับกลุมเปาหมาย และบริบทของชุมชน แตละพื้นท่ี เคารพ ความคิดของผูอื่น ยอมรับความแตกตางและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ รวมทั้ง สังคมพหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการใหบุคคลรวมกลุมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน สรางกระบวนการจิต สาธารณะ การสราง

47 จิตสำนึกความเปนประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบตอหนาท่ีความเปน พลเมืองดี การสงเสริม คุณธรรม จริยธรรม การบำเพ็ญประโยชนในชุมชน การบริหารจัดการน้ำ การรับมือกับสา ธารณภัย การอนุรักษ พลังงานทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ ม ชว ยเหลือซ่งึ กันและกันในการพัฒนาสงั คม และชมุ ชนอยา งย่งั ยนื 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงผานกระบวนการเรียนรูตลอดชวี ิต ในรูปแบบตางๆ ใหกับประชาชน เพื่อเสริมสรางภูมิคุมกัน สามารถยืนหยัดอยูไดอยางม่ันคง และมีการบริหาร จัดการความเสี่ยงอยางเหมาะสม ตามทศิ ทางการพัฒนาประเทศสูค วามสมดลุ และยง่ั ยนื 1.4 การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 1) สงเสริมใหมีการพัฒนาแหลงการเรียนรูในระดับตำบล เพ่ือการถายทอดองคความรู และจัดกิจกรรม เพอื่ เผยแพรองคค วามรใู นชมุ ชนไดอ ยางท่ัวถงึ 2) จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูเพื่อปลูกฝงนิสัยรักการอาน และพัฒนาความสามารถในการอาน และศกั ยภาพการเรียนรขู องประชาชนทกุ กลุมเปาหมาย 3) สงเสริมใหมีการสรางบรรยากาศ และส่ิงแวดลอมท่ีเอื้อตอการอานใหเกิดขึ้นในสังคมไทย โดย สนับสนุนการพัฒนาแหลง การเรียนรูใหเกิดขึน้ อยางกวางขวางและทั่วถึง เชน พัฒนาหองสมุดประชาชน ทุกแหงให เปน แหลง เรียนรูตลอดชวี ิตของชุมชน สงเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสง เสริมการอาน การสรา งเครือขา ย สงเสริม การอาน จัดหนวยบริการเคล่ือนท่ีพรอมอุปกรณเพื่อจัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรูที่หลากหลาย ใหบริการกับประชาชนในพื้นท่ีตางๆ อยางทั่วถึง สม่ำเสมอ รวมทั้งเสริมสรางความพรอมในดานส่ืออุปกรณ เพ่ือ สนับสนุนการอา น และการจดั กจิ กรรมเพ่อื สง เสริมการอา นอยางหลากหลาย 4) จดั สรา งและพัฒนาศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา ใหเปนแหลงเรียนรูวิทยาศาสตรตลอดชีวิต ของประชาชน และเปนแหลงทองเท่ียวประจำทองถ่ิน โดยจัดทำ และพัฒนานิทรรศการ สื่อและกิจกรรม การศึกษาที่เนนการเสริมสรางความรูและสรางแรงบันดาลใจ สอดแทรกวิธีการคิดและปลูกฝงเจตคติ ทางวิทยาศาสตร ผานการฝกทักษะกระบวนการที่บูรณาการความรูดานวิทยาศาสตร ควบคูกับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร รวมทั้งสอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของ ชุมชน และประเทศ รวมท้ังการเปล่ียนแปลงระดับภูมิภาคและระดับโลก เพ่ือใหประชาชนมีความรูและ ความสามารถ ในการคิดเชิงวิเคราะห มีทักษะท่ีจำเปนในโลกศตวรรษท่ี ๒๑ มีความสามารถในการปรับตัวรองรับ ผลกระทบ จากการเปล่ยี นแปลงในอนาคตไดอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถนำความรูแ ละทักษะไปประยุกตใ ชใ น ก าร ด ำเนิ น ชี วิ ต ก าร พั ฒ น า อ าชี พ ก ารรั ก ษ าส่ิ งแ ว ด ล อ ม ก ารบ ร รเท าแ ล ะ ป อ งกั น ภั ย พิ บั ติ ทางธรรมชาติ 1.5 พฒั นา กศน. ตำบล สู “กศน.ตำบล 4G” 1) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวของกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู : Good Teacher ใหเ ปนตวั กลางในการเชอ่ื มโยงความรูกับผรู บั บริการ มีความเปน “ครูมอื อาชีพ” มจี ติ บริการ มีความ รอบ รูและทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคม เปนผูจัดกิจกรรมการเรียนรูและบริหารจัดการความรูที่ดี รวมทั้ง เปน ผูปฏบิ ตั งิ านอยางมีความสขุ 2) พัฒนา กศน.ตำบล ใหมีบรรยากาศและสภาพแวดลอมเอื้อตอการเรียนรูอยางตอเนื่อง : Good Place Best Check-In มีความพรอมในการใหบริการกิจกรรมการศึกษาและการเรยี นรู เปนแหลงขอมูลสาธารณะที่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook