Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการใช้ที่ราชพัสดุ ปี 2561

คู่มือการใช้ที่ราชพัสดุ ปี 2561

Published by ratchaphatsadu, 2017-12-07 23:19:55

Description: คู่มือการใช้ที่ราชพัสดุ สำหรับส่วนราชการ

Search

Read the Text Version

คำนำ ตามเจตนารมณ์ของกฎหมายว่าด้วยที่ราชพัสดุ ได้มีจุดมุ่งหมายให้ที่ราชพัสดุมีไว้หรือสงวนไว้เพ่ือใช้ประโยชน์ในทางราชการ ดงั นั้น กระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรอื่นของรัฐจึงสามารถขอใช้ที่ราชพัสดุเพื่อประโยชน์ในทางราชการได้ตามความจาเป็นและสมควร โดยเม่ือครอบครองหรือใช้ประโยชน์ในท่ีราชพัสดุแล้วจะต้องมีหน้าที่ในการปกครองดแู ล บารุงรักษา และใช้ที่ราชพัสดุให้เป็นไปตามกฎหมายระเบียบ และมตคิ ณะรัฐมนตรีเก่ยี วกบั ทีร่ าชพสั ดุท่ีเกีย่ วขอ้ ง กรมธนารักษ์จึงได้จัดทาคู่มือการใช้ที่ราชพัสดุนี้ข้ึนเพื่อเป็นการเผยแพร่ความรู้และสร้างความเข้าใจเก่ียวกับหลักเกณฑ์การใช้ท่ีราชพัสดุให้กับส่วนราชการผู้ใช้ท่ีราชพัสดุ รวมทั้งรัฐวิสาหกิจที่เป็นนิติบุคคลท่ีมีสิทธิใช้ท่ีราชพัสดุตามกฎหมายได้ทราบ เพ่ือใช้เป็นแ น ว ท า ง ใ ห้ กั บ ผู้ ใ ช้ ที่ ร า ช พั ส ดุ ใ น ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง ต า มกฎหมายท่ีราชพัสดุ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจตระหนักว่าที่ราชพัสดุน้ันมีจากัด ควรดูแลรักษาและหวงแหนไว้และเป็นทรัพย์สินของส่วนรวมของประเทศ ไม่ใช่ส่วนราชการใดส่วนราชการหน่ึงเป็นการเฉพาะ เพ่ือให้เกิดประโยชน์สงู สุดตอ่ ทางราชการตอ่ ไป กรมธนำรกั ษ์

สำรบัญส่วนท่ี 1 คานยิ ามของผู้มีสิทธขิ อใช้/ผใู้ ชท้ ร่ี าชพสั ดุ หนำ้ 1สว่ นที่ 2 หลักเกณฑ์การขอใชท้ ีร่ าชพสั ดุและมาตรฐาน 3การใช้ท่ีราชพสั ดุ2.1 การขอใชท้ ่ีราชพสั ดุ 32.2 หลักเกณฑแ์ ละขน้ั ตอนการขอใชท้ รี่ าชพัสดุ 42.2.1 กรณีกระทรวง ทบวง กรม องคก์ ร 4ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ หรือหนว่ ยงานของรัฐขอใช้ท่รี าชพสั ดุ2.2.2 กรณีองค์กรอนื่ ของรฐั ขอใชท้ ร่ี าชพสั ดุ 62.2.3 กรณีการถ่ายโอนภารกิจด้านการศกึ ษา 9ไปสังกัดองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น2.2.4 หลักฐานประกอบการขอใชท้ ่รี าชพสั ดุ 92.3 เกณฑ์มาตรฐานการใช้ท่ีราชพสั ดุ 112.3.1 การขอใช้ท่ีราชพสั ดเุ พื่อก่อสรา้ งท่ีทาการ 112.3.2 การขอใช้ทร่ี าชพสั ดเุ พ่ือก่อสรา้ ง 12บา้ นพกั ขา้ ราชการ2.3.3 การขอใช้ทรี่ าชพสั ดเุ พื่อก่อสร้างกิจการ 13สาธารณปู โภค2.3.4 การขอใช้ทร่ี าชพัสดุเพ่ือจดั สร้าง 14สาธารณปู การ

สำรบญั หนำ้2.4 เง่ือนไขการใช้ทีร่ าชพัสดุสาหรับผูใ้ ชท้ ่รี าชพสั ดุ 14สว่ นที่ 3 หนา้ ที่ที่ผูใ้ ช้ทีร่ าชพสั ดุต้องปฏิบตั ติ ามกฎหมาย 20 ว่าด้วยที่ราชพัสดุ 20 3.1 การปกครองดูแลบารุงรักษาทร่ี าชพสั ดุ 21 3.2 การขนึ้ ทะเบียนทร่ี าชพสั ดุ 24 3.3 การรังวัด การพิสจู นส์ อบสวนการทา ประโยชน์หรอื ตรวจสอบเนื้อทต่ี ามประมวล 24 กฎหมายทีด่ นิ การสอบสวนเปรยี บเทียบหรอื 25 การระงบั ขอ้ พิพาทเก่ียวกับแนวเขต 26 3.4 การใชท้ ีร่ าชพสั ดุ 27 3.5 การใช้ที่ราชพัสดุที่ได้มาโดยการบริจาค ตามวตั ถุประสงค์ของผยู้ กให้ 29 3.6 การเปล่ยี นแปลงการใชป้ ระโยชนใ์ น ทีร่ าชพสั ดุ 3.7 การตัดฟนั ตน้ ไม้ การขุดดิน การถมดิน หรือการดาเนนิ การใด ๆ ท่ีมลี ักษณะเปน็ การเปลี่ยนแปลงสภาพของท่ีราชพัสดุ 3.8 การจดั สวสั ดกิ ารในทีร่ าชพสั ดตุ ามระเบียบ สานักนายกรัฐมนตรวี ่าด้วยการจัดสวัสดกิ าร ภายในสว่ นราชการ พ.ศ. 2547

สำรบญั หนำ้3.8.1 ความหมายของการจัดสวสั ดิการ 303.8.2 ขั้นตอนการดาเนินการ 303.9 การนาท่ีราชพสั ดุไปใหส้ ่วนราชการ เอกชน 31หรอื รฐั วสิ าหกิจใช้ประโยชนเ์ พอ่ื จัดประชมุสัมมนา ฝึกอบรมและพกั อาศัย หรอื จัดกจิ กรรม3.9.1 กรณีการใหส้ ่วนราชการอนื่ เขา้ ใช้ 31ประโยชน์3.9.2 กรณีการให้เอกชนหรือรฐั วิสาหกิจ 32เข้าใชป้ ระโยชน์3.10 การรือ้ ถอนและจาหนา่ ยสง่ิ ปลกู สร้างทเี่ ปน็ 33ที่ราชพสั ดุ3.10.1 การร้อื ถอนอาคารหรอื สง่ิ ปลกู สร้าง 33ทเี่ ป็นที่ราชพสั ดุ3.10.2 การจาหน่ายอาคารหรอื 36สง่ิ ปลูกสรา้ งทีจ่ ะทาการร้ือถอนหรอืการจาหน่ายวัสดุทีไ่ ดจ้ ากการร้อื ถอน3.10.3 การนาวัสดุทไี่ ดม้ าจากทร่ี าชพสั ดุ 36ไปใชป้ ระโยชน์3.10.4 การจาหน่ายรายการสง่ิ ปลูกสรา้ ง 38ออกจากทะเบียนท่รี าชพสั ดุ

สำรบัญ หนำ้3.11 การส่งคืนที่ราชพสั ดุ 38 3.11.1 กรณีทต่ี ้องส่งคนื ที่ราชพสั ดุ 38 3.11.2 วิธีการปฏิบตั ิ 40 413.12 การผ่อนผันการส่งคืนท่รี าชพสั ดุ 433.13 การป้องกนั และแก้ไขปัญหาการบกุ รุก

สำรบัญภำคผนวก1. แบบ ทบ.2 แบบแจง้ การรือ้ ถอนสิง่ ปลกู สร้างที่เปน็ ท่รี าชพัสดุ2. แบบ ทบ.3 แบบแจง้ ขอร้ือถอนสิง่ ปลกู สร้างท่ีเปน็ ท่ีราชพสั ดุ3. แบบ ทบ.4 แบบขอใช้ที่ราชพัสดุ4. แบบ ทบ.6 แบบสง่ คืนทร่ี าชพัสดุ5. แบบ ทบ.7 แบบขอผ่อนผนั การสง่ คนื ทร่ี าชพัสดุ6. แบบ ทบ.10 แบบส่งมอบ-รบั มอบท่ีราชพัสดุ7. แบบ ทบ.12 แบบแจ้งการถ่ายโอนงาน การรับโอนงาน การเปลี่ยน ช่ือหน่วยงาน8. แบบ ทร.03 แบบสารวจรายการทีด่ นิ ข้ึนทะเบียนทรี่ าชพสั ดุ9. แบบ ทร.04 แบบสารวจรายการอาคาร/สิ่งปลูกสร้างข้ึนทะเบียน ทรี่ าชพสั ดุ10. แบบ ทร.05 แบบสารวจรายการอาคาร/ส่ิงปลูกสร้างของรัฐที่ปลูก อยบู่ นท่ีดินท่ีมิใชท่ ่ีราชพสั ดุ11. แบบ ทร.11 แบบแจง้ การร้ือถอนและจาหน่ายอาคาร/สง่ิ ปลูกสรา้ ง12. แบบ ธร.3801 (ปรับปรุง) แบบรายงานการปกครอง ดูแล บารุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์เก่ยี วกับทร่ี าชพัสดุประจาปี พ.ศ. ....13. แบบฟอรม์ การดาเนินโครงการจดั สวสั ดกิ ารเชิงธรุ กิจบนทร่ี าชพสั ดุ

14. กฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปกครอง ดูแล บารุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชนเ์ กย่ี วกับท่ีราชพัสดุ พ.ศ. 254515. กฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปกครอง ดูแล บารุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์เกี่ยวกับท่ีราชพัสดุ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 254916. กฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปกครอง ดูแล บารุงรักษา ใช้ และจดั หาประโยชน์เกี่ยวกบั ท่ีราชพสั ดุ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 254917. กฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปกครอง ดูแล บารุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์เกยี่ วกับทร่ี าชพัสดุ (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 255218. หนงั สอื สานกั เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0505/ว 109 ลงวันที่ 21 พฤษภาคม 2547 เร่ือง ขอมาตรการในการแก้ไขปัญหาการบกุ รกุ19. บัญชีรายช่ือหน่วยงานผู้มีสิทธิขอใช้ที่ราชพัสดุตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2545 และทแี่ ก้ไขเพม่ิ เตมิ ทั้งนี้ สามารถดาวนโ์ หลดค่มู ือการใชท้ ่ีราชพสั ดแุ ละเอกสารอ้างอิงในภาคผนวกได้จากเว็บไซต์กรมธนารักษ์ www.treasury.go.th หัวข้อบรกิ ารขอ้ มลู

1ส่วนที่ 1คำนิยำมของผมู้ ีสทิ ธขิ อใช้ / ผ้ใู ชท้ ่ีรำชพัสดุ ตามกฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปกครองดแู ล บารงุ รกั ษา ใช้ และจัดหาประโยชน์เกี่ยวกับท่ีราชพัสดุ พ.ศ. 2545ได้กาหนดคานยิ ามของผ้มู ีสิทธิขอใชแ้ ละผูข้ อใช้ท่ีราชพสั ดุ ไวด้ ังนี้ 1) “ผขู้ อใช้ท่รี ำชพัสดุ” หมายความว่า กระทรวง ทบวงกรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรอ่ืนของรฐั ที่ขอใชท้ ่ีราชพัสดุ 2) “ผู้ใช้ท่ีรำชพัสดุ” หมายความว่า กระทรวง ทบวงกรม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรอื่นของรัฐที่เป็นผู้ปกครอง ดูแล หรือใช้ประโยชน์ในท่ีราชพัสดุ และให้หมายความรวมถึงรฐั วสิ าหกจิ ท่ีเป็นนติ บิ คุ คลท่มี ีสิทธใิ ช้ทร่ี าชพัสดตุ ามกฎหมายคำนยิ ำมของผ้มู สี ิทธขิ อใช้ / ผู้ใชท้ ่รี ำชพสั ดุ 1

สว่ นท่ี 1หมำยเหตุ“กระทรวง ทบวง กรม” “องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน” “หน่วยงานของรัฐ”“องค์กรอ่ืนของรัฐ” และ “รัฐวิสาหกิจ” ตามกฎหมายเก่ียวกับท่ีราชพัสดุหมายถึง กระทรวง ทบวง กรม หมายถึง ส่วนราชการตามพระราชบัญญัติ ปรับปรงุ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 และที่แก้ไขเพม่ิ เตมิ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หมายถึง องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การบริหารส่วนตาบล กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ อนื่ ท่ีมีกฎหมายจดั ตง้ั หน่วยงานของรัฐ หมายถึง หน่วยงานหรือองค์กรอิสระที่เกิดตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เช่น สานักงานคณะกรรมการการ เลือกต้ัง สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่งชาติ สานกั งานการตรวจเงินแผน่ ดิน เป็นต้น องค์กรอื่นของรัฐ หมายถึง องค์การหรือหน่วยงานนอกเหนือจากส่วน ราชการ หนว่ ยงานของรฐั และรฐั วิสาหกิจ และมีบทบัญญัตกิ ฎหมายจดั ตงั้ ขน้ึ เปน็ การเฉพาะ รัฐวิสาหกิจที่เป็นนิติบุคคลท่ีมีสิทธิการใช้ท่ีราชพัสดุตามกฎหมาย หมายถึง รัฐวิสาหกิจที่ปกครองดูแลหรือใช้ประโยชน์ในท่ีราชพัสดุก่อน วันท่ี 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2519 และได้ทาความตกลงเกี่ยวกับการใช้ที่ ราชพัสดุกับกรมธนารักษ์ตามกฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ ปกครอง ดแู ล บารงุ รกั ษา ใช้ และจดั หาประโยชน์เกี่ยวกับที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2545 แล้วคำนิยำมของผ้มู ีสทิ ธขิ อใช้ / ผ้ใู ช้ทรี่ ำชพสั ดุ 2

2ส่วนท่ี 2หลกั เกณฑ์การขอใชท้ ร่ี าชพัสดุ และมาตรฐานการใช้ทรี่ าชพสั ดุ2.1 การขอใชท้ ร่ี าชพสั ดุ ในการขอใช้ท่ีราชพัสดุ ผู้ขอใช้ที่ราชพัสดุจะขอใช้ได้เฉพาะเพื่อประโยชน์ในทางราชการเท่าน้ัน โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กรณีคือ กรณีที่ราชพัสดุท่ีขอใช้เป็นท่ีว่างและไม่อยู่ในความครอบครองของหน่วยงานใด และกรณีเป็นที่ราชพัสดุท่ีอยู่ในความครอบครองของสว่ นราชการ ซง่ึ กรมธนารกั ษไ์ ดก้ าหนดแนวทางในการดาเนินการไว้ดงั นี้หลักเกณฑ์การขอใช้ทร่ี าชพัสดุ / มาตรฐานการใช้ท่ีราชพัสดุ 3

ส่วนที่ 22.2 หลกั เกณฑ์และขนั้ ตอนการขอใชท้ รี่ าชพัสดุ 2.2.1 กรณีกระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินหรอื หนว่ ยงานของรฐั ขอใชท้ ร่ี าชพสั ดุ กระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานของรัฐผู้ขอใช้ท่รี าชพสั ดจุ ะขอใช้ทีร่ าชพัสดุได้เฉพาะเพ่อื ประโยชน์ในทางราชการเท่าน้ัน โดยในการขอใช้จะต้องแจ้งเหตุผลความจาเป็นในการขอใช้ที่ราชพัสดุน้ันให้ชัดเจน และจะต้องย่ืนคาขอใช้ต่อกรมธนารักษ์ดงั นี้  กรณที รี่ าชพสั ดตุ ั้งอย่ใู นกรุงเทพมหานคร ใหย้ ่ืนคาขอใชท้ ร่ี าชพัสดุต่อกรมธนารักษ์ โดยแนบเอกสารหลักฐานประกอบคาขอใช้ตามขอ้ 2.2.4 และมีขน้ั ตอนการดาเนนิ การ ดังนี้1 *** ตอ้ งยน่ื เอกสารตาม 2 ขอ้ 2.2.4 ให้ครบถว้ น 34  กรณีท่ีราชพัสดุต้ังอยู่ในจังหวัดอ่ืน ให้ย่ืนคาขอใช้ท่รี าชพัสดตุ ่อสานกั งานธนารกั ษพ์ น้ื ท่ี โดยแบง่ เปน็ 2 กรณีคอืหลักเกณฑ์การขอใชท้ ร่ี าชพัสดุ / มาตรฐานการใชท้ รี่ าชพสั ดุ 4

ส่วนที่ 2 (1) การขอใช้ท่ีราชพัสดุเป็นการช่ัวคราวในกรณีท่ีมีความจาเป็นและเร่งด่วนเพ่ือประโยชน์ในการป้องกันหรือบรรเทาสาธาร ณะภัย แล ะการ ขอใช้ ท่ีราชพั สดุเพื่ อก่อส ร้างที่ ทากา รห รื อ บ้ า น พั ก ห รื อ กิ จ ก า ร ส า ธ า ร ณู ป โ ภ ค ต า ม เ ก ณ ฑ์ ม า ต ร ฐ า น ก า ร ใ ช้ท่ีราชพัสดุที่กรมธนารักษ์กาหนด - ให้ย่ืนคาขอใช้ต่อสานักงานธนารักษ์พื้นที่ พร้อมแนบเอกสารประกอบคาขอตามข้อ 2.2.4 โดยสานักงานธนารักษ์พื้นท่ีจะรวบรวมเอกสารหลักฐานนาเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดพจิ ารณาอนญุ าต และมีขั้นตอนการดาเนินการดังนี้1 *** ตอ้ งย่ืนเอกสารตาม ขอ้ 2.2.4 ให้ครบถว้ น 2 34 (2) กรณีการขอใช้ท่ีราชพัสดุที่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการใชท้ ่รี าชพสั ดุท่กี รมธนารักษ์กาหนด - ผู้ขอใชท้ ร่ี าชพสั ดจุ ะต้องยื่นคาขอใช้ต่อสานักงานธนารักษ์พื้นท่ี โดยแนบเอกสารหลักฐานประกอบคาขอตามข้อ 2.2.4 และสานักงานธนารักษ์พ้ืนที่จะรวบรวมเอกสารหลักฐานนาเสนอผู้ว่าราชการจังหวัดให้ความยินยอมแล้วส่งเรื่องให้กรมธนารกั ษ์พิจารณาอนญุ าต โดยมีข้นั ตอนการดาเนินการ ดงั น้ีหลักเกณฑก์ ารขอใชท้ รี่ าชพสั ดุ / มาตรฐานการใชท้ ี่ราชพัสดุ 5

สว่ นที่ 21 *** ตอ้ งยน่ื เอกสารตาม 2 ข้อ 2.2.4 ใหค้ รบถว้ น 3 4 56 ทั้งน้ี ในกรณีท่ีมีปัญหาเก่ียวกับการพิจารณาอนุญาตหรือการให้ความยินยอมให้ใช้ที่ราชพัสดุ และผู้ขอใช้ที่ราชพัสดุมีหนังสือแจ้งกรมธนารักษ์ยืนยันถึงความจาเป็นท่ีต้องใช้ท่ีราชพัสดุเพื่อประโยชน์ในทางราชการ กรมธนารักษ์จะนาเสนอปัญหาท่ีไม่อาจทาความตกลงกันได้พร้อมท้ังเหตุผลเสนอคณะกรรมการท่รี าชพัสดเุ ปน็ ผวู้ ินิจฉยั ชี้ขาด 2.2.2 กรณีองคก์ รอ่ืนของรฐั ขอใช้ท่ีราชพสั ดุ ในการขอใช้ทีร่ าชพัสดุจะขอใช้ได้เฉพาะเพ่ือประโยชน์ในทางราชการเทา่ นั้น และจะตอ้ งดาเนินการดงั นี้  ที่ราชพัสดุที่ต้ังอยู่ในกรุงเทพมหานคร ให้ยื่นคาขอใช้ต่อกรมธนารักษ์ โดยแนบเอกสารหลักฐานประกอบคาขอตามข้อ 2.2.4หลักเกณฑก์ ารขอใชท้ ีร่ าชพสั ดุ / มาตรฐานการใช้ทร่ี าชพัสดุ 6

สว่ นท่ี 2  ทร่ี าชพสั ดุท่ีต้ังอยู่ในจังหวัดอ่ืน ให้ย่ืนคาขอใช้พร้อมแนบเอกสารหลักฐานประกอบคาขอตามข้อ 2.2.4 ต่อสานักงานธนารักษ์พื้นท่ีโ ด ย ส า นั ก ง า น ธ น า รั ก ษ์ พื้ น ที่ จ ะ ร ว บ ร ว ม เ อ ก ส า ร ห ลั ก ฐ า น น า เ ส น อผู้ว่าราชการจงั หวดั พจิ ารณาให้ความยินยอมกอ่ นส่งเรื่องให้กรมธนารกั ษ์  เม่ือกรมธนารักษ์ได้รับคาขอใช้ท่ีราชพัสดุ หรือเม่ือผู้ว่าราชการจงั หวดั ใหค้ วามยนิ ยอมและจัดสง่ คาขอใหก้ รมธนารกั ษ์แลว้ กรมธนารักษ์จะนาเสนอเร่ืองดังกล่าวต่อคณะกรรมการที่ราชพัสดุเพ่ือพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนที่จะอนุญาตให้ใช้ต่อไป โดยกรมธนารักษ์จะแจ้งผู้ขอใช้ที่ราชพัสดุทราบภายใน 30 วันนบั แต่วนั ที่คณะกรรมการทีร่ าชพสั ดมุ มี ติหมายเหตุ ในการพิจารณาอนุญาตให้องค์กรอ่ืนของรัฐใช้ท่ีราชพัสดุ กรมธนารักษ์จะคานึงถึงวัตถุประสงค์ในการดาเนินงานหรือการประกอบกิจการ ฐานะทางการเงินรายได้และความสามารถในการจัดหารายได้ของผู้ขอใช้ท่ีราชพัสดุ รวมทั้งประโยชน์ท่ีจะเกดิ แก่ทางราชการเปน็ สาคัญข้นั ตอนการดาเนนิ การกรณที รี่ าชพัสดตุ ้ังอยู่ในกรุงเทพมหานคร 1 *** ตอ้ งย่นื เอกสารตาม ข้อ 2.2.4 ใหค้ รบถว้ น 2 3 4 56หลักเกณฑก์ ารขอใช้ทร่ี าชพัสดุ / มาตรฐานการใช้ท่ีราชพัสดุ 7

ส่วนที่ 2ขั้นตอนการดาเนนิ การกรณที ่รี าชพสั ดตุ ้ังอยูใ่ นจงั หวัดอื่น1 *** ตอ้ งยื่นเอกสารตาม 2 ขอ้ 2.2.4 ใหค้ รบถว้ น 345 6 78หลักเกณฑ์การขอใช้ท่รี าชพัสดุ / มาตรฐานการใช้ทรี่ าชพสั ดุ 8

สว่ นที่ 2 2.2.3 กรณีการถ่ายโอนภารกิจด้านการศึกษาไปสังกัดองคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ กรณีทมี่ กี ฎหมายใหโ้ อนภารกิจดา้ นการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไปสังกัดองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น จะต้องดาเนนิ การดงั น้ี (1) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในฐานะหน่วยงานที่มีการถ่ายโอนงาน จะต้องแจ้งข้อมูลการถ่ายโอนงานให้กรมธนารกั ษ์ทราบตามแบบ ทบ.12 รวมท้ังแจง้ ส่งคืนทร่ี าชพสั ดุตามจานวนท่ีเคยใช้ประโยชน์ให้กับกรมธนารักษ์ (รายละเอียดการส่งคืนที่ราชพัสดุตามขอ้ 3.10.2) โดยกรณที รี่ าชพัสดุตั้งอยู่ในกรงุ เทพมหานครให้แจง้ ส่งคืนต่อกรมธนารักษ์ ส่วนที่ราชพัสดุท่ีตั้งอยู่ในจังหวัดอื่นให้แจ้งส่งคืนต่อสานกั งานธนารักษ์พ้นื ที่ (2) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งเป็นผู้รับโอนงานให้แจ้งขอใช้ที่ราชพัสดุต่อกรมธนารักษ์ โดยมีรายละเอียดการดาเนินการตามขอ้ 2.2.1 2.2.4 หลักฐานประกอบการขอใชท้ ร่ี าชพัสดุหลกั ฐานประกอบการขอใชท้ ่รี าชพสั ดุมดี ังนี้(1) แบบขอใช้ท่ีราชพัสดุ (แบบ ทบ.4) โดยกรอกรายละเอียดต่าง ๆ ให้ ครบถว้ นสมบรู ณ์ และลงนามโดยหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หน่วยงานของรัฐ หรือ องค์กรอื่นของรัฐ หรือผู้ท่ีได้รับมอบอานาจจากหัวหน้าส่วนราชการ ดงั กล่าว(2) รายละเอียดเกย่ี วกบั โครงการใชป้ ระโยชนใ์ นทร่ี าชพัสดทุ ี่ขอใช้หลักเกณฑก์ ารขอใชท้ ร่ี าชพัสดุ / มาตรฐานการใช้ท่ีราชพสั ดุ 9

ส่วนท่ี 2(3) เอกสารการได้รับอนุมัติงบประมาณหรือคาขอตั้งงบประมาณของ โครงการทป่ี ระสงค์จะใชท้ ่รี าชพสั ดุ (กรณอี งคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินให้ใช้เอกสารหลักฐานแผนงานโครงการที่ ผ่านการพิจารณาหรือได้รับอนุมัติจากสภาองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน น้ัน ๆ แล้ว)(4) แผนผังแสดงการใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุแปลงท่ีมีการขอใช้ท้ังแปลง และแสดงการใช้ประโยชน์บริเวณใกล้เคียง เพ่ือใช้ประกอบการ พจิ ารณาแผนผังดังกล่าวให้เหมาะสมกับสภาพทาเลและสอดคล้องกับ แผนพฒั นาของจังหวัดและผงั เมอื ง(5) แผนผังแสดงการใช้ประโยชน์ที่ดินเฉพาะบริเวณที่ ขอใช้ตาม ความเหมาะสมและจาเป็น แสดงรายการอาคารส่ิงปลูกสร้างในที่ดิน โดยมีมาตราสว่ นถูกตอ้ งตามหลักวชิ าการและมีผู้ทรงคุณวฒุ ิรับรองผัง หมายเหตุ ผู้ทรงคุณวุฒิ หมายถึง สถาปนิก วิศวกร นายช่างโยธา หรือ นายชา่ งสารวจ(6) แผนทสี่ ังเขปแสดงท่ตี ั้งท่ีราชพัสดุและระยะห่างจากสถานที่สาคัญของ จังหวัด เชน่ ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอาเภอ สถานตี ารวจ เป็นตน้(7) สาเนาหนังสือแสดงความยินยอมจากส่วนราชการผู้ครอบครองใช้ ประโยชน์ในที่ราชพัสดุน้ันอยู่ก่อน (เฉพาะกรณีที่ราชพัสดุที่ขอใช้มี ส่วนราชการอื่นครอบครองใช้ประโยชน์อยู่ก่อนแล้ว) ท้ังนี้ ผู้ให้ความ ยินยอมจะต้องเป็นหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรอ่ืนของรัฐ หรือผ้ทู ไ่ี ด้รบั มอบอานาจจากหวั หน้าสว่ นราชการดังกลา่ ว(8) วัตถุประสงค์ในการดาเนินงานหรือการประกอบกิจการ เอกสารท่ี แสดงฐานะทางการเงิน รายได้ และผลประกอบการตามอานาจ หน้าทีข่ องหน่วยงานย้อนหลัง 3 ปี (เฉพาะกรณีผู้ขอใช้ท่ีราชพัสดุเป็น องค์กรอ่ืนของรฐั )หลกั เกณฑก์ ารขอใช้ท่รี าชพสั ดุ / มาตรฐานการใชท้ ่รี าชพัสดุ 10

สว่ นที่ 22.3 เกณฑ์มาตรฐานการใชท้ ร่ี าชพสั ดุ กรมธนารักษ์ได้กาหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาอนุญาตให้กระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรอ่ืนของรัฐซ่ึงขอใช้ท่ีราชพัสดุนั้นตามท่ีจาเป็นและสมควรเพ่ือประโยชนใ์ นทางราชการให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ดังนี้ 2.3.1 การขอใช้ที่ราชพสั ดุเพอ่ื เปน็ ทท่ี าการ หมายถึง สถานที่ทางาน เช่น อาคารที่ทาการ ห้องสมุดประชาชน ศูนย์การเรียนรู้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั เปน็ ตน้เกณฑ์มาตรฐานการใชท้ ี่ราชพสั ดุการขอใชท้ ดี่ นิ ราชพัสดุ การขอใช้อาคารราชพัสดุเน้ือที่ไมเ่ กนิ 1 ไร่ เนื้อท่ีไม่เกิน 10 ตารางเมตรต่อคน *** ในกรณีขอใช้เกินมาตรฐานหรือมิได้กาหนดมาตรฐานไว้ให้ผ้ขู อใช้ทร่ี าชพัสดุชแี้ จงเหตผุ ลความจาเปน็ พรอ้ มกบั จดั ทาแผนผังแสดงโครงการทีจ่ ะใช้ประโยชนส์ ่งให้กรมธนารักษ์เพ่ือประกอบการพจิ ารณาเปน็ ราย ๆ ไป ***หลกั เกณฑ์การขอใชท้ ี่ราชพัสดุ / มาตรฐานการใชท้ ีร่ าชพสั ดุ 11

ส่วนท่ี 22.3.2 การขอใช้ทรี่ าชพัสดุเพ่อื ก่อสร้างบ้านพักขา้ ราชการ บ้านเดี่ยว บา้ นแฝด อาคารชุด อาคารชุด ใชเ้ น้ือท่ีไมเ่ กิน ใช้เนอ้ื ท่ไี มเ่ กิน พกั อาศยั พักอาศยั 30 หนว่ ย (ตรว.) (ตรว.) 18 หน่วย ใช้เนื้อทไ่ี ม่ ใช้เนอื้ ทไ่ี ม่เกินประเภท/ระดบั ตาแหน่ง เกิน (ตรว. (ตรว.)1. ประเภทบรหิ าร 200 - - - ระดบั ตน้ และระดับสูง ประเภทวิชาการ ระดบั ทรงคณุ วุฒิ -2. ประเภทอานวยการ -ระดบั ตน้ และระดบั สูง 150 - - 650ประเภทวิชาการระดับชานาญการพเิ ศษและระดบั เช่ยี วชาญประเภททั่วไป ระดบั ทกั ษะพิเศษ3. ประเภทวชิ าการ ระดับชานาญการ 100 - - ประเภททว่ั ไป ระดับชานาญงานและ ระดบั อาวโุ ส4. ประเภทวิชาการ ระดบั ปฏิบัตกิ าร - 50 450 ประเภททั่วไป ระดับปฏบิ ตั ิงาน *** ในกรณีที่ขอใช้ท่ีดินราชพัสดุเพ่ือก่อสร้างบ้านพักข้าราชการในลักษณะรูปแบบอื่นท่ีไม่ได้กาหนดมาตรฐานไว้หรือขอใช้เกินมาตรฐานกาหนดให้ผู้ขอใช้ท่ีราชพัสดุรวบรวมเอกสารหลักฐานส่งให้กรมธนารักษ์พิจารณาความเหมาะสมเป็นกรณีไป ***หลักเกณฑก์ ารขอใช้ท่ีราชพัสดุ / มาตรฐานการใช้ที่ราชพัสดุ 12

สว่ นที่ 22.3.3 การขอใชท้ ร่ี าชพัสดุเพอื่ กอ่ สร้างกิจการสาธารณูปโภคใหใ้ ช้ที่ราชพสั ดตุ ามความจาเป็นภายใต้หลักเกณฑ์ดังน้ีกิจการสาธารณปู โภค ลกั ษณะการดาเนนิ การ1. ถนน - การขยายความกว้างหรือความยาว การปรับปรุง ซ่อมแซมถนนที่มีอยู่เดิมในที่ราชพัสดุ หรือถนนในเขต คนั คลองชลประทาน - การตัดถนนใหม่ในที่ราชพัสดุ เชื่อมระหว่างถนน สาธารณะกับถนนสาธารณะ - การตัดถนนใหม่ในที่ราชพัสดุ เชื่อมระหว่างทางหรือ ถนนภายในท่ีราชพัสดทุ ่ีมีอยู่เดมิ2. ไฟฟ้า ประปา - การปักเสา พาดสายไฟฟ้า หรือปรับปรุง ซ่อมแซมโทรศัพท์ การระบายน้า เสาหรอื สายไฟฟ้าการสอื่ สาร - การวางหรอื ปรบั ปรุง ซ่อมแซมท่อประปา ทอ่ ระบายน้า - การวางหรือปรับปรุง ซ่อมแซมสายโทรศัพท์ หรือ สายสง่ ระบบการสอ่ื สาร3. ระบบโครงข่าย - การก่อสร้างสะพาน ทางเช่ือมระหว่างถนนสาธารณะคมนาคมที่ใช้ในการ ทางยกระดบั หรอื ทางลอด หรอื อุโมงค์ข้ามแยกสญั จรไปมา - การก่อสร้างสะพานคนข้าม - หรือลักษณะการดาเนินการจัดสร้างระบบโครงข่าย การจราจรท่ีมีลักษณะเดียวกัน อน่ึง การขอใช้ที่ราชพัสดุเพื่อจัดสร้างระบบโครงข่ายคมนาคมที่ใช้ในการสญั จรไปมาดังกล่าว ตอ้ งไมเ่ ปน็ การเอือ้ ประโยชนใ์ หเ้ อกชนรายใดรายหนง่ึ โดยเฉพาะ *** การให้ใช้ท่ีราชพัสดุเพื่อกิจการดังกล่าวข้างต้น หากที่ดินอยู่ในความครอบครองของส่วนราชการอน่ื หรือเปน็ พ้นื ทที่ ี่จัดให้เชา่ จะตอ้ งได้รับความยินยอมจากสว่ นราชการผู้ครอบครองหรือผู้เช่าก่อนแล้วแต่กรณี และการดาเนินการจะต้องประสานและตรวจสอบ รวมท้ังปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับเก่ียวกับการก่อสร้างอาคารหรือสิ่งปลกู สรา้ งดว้ ยหลกั เกณฑ์การขอใช้ทร่ี าชพัสดุ / มาตรฐานการใช้ที่ราชพัสดุ 13

ส่วนท่ี 22.3.4 การขอใชท้ ่รี าชพสั ดุเพือ่ จดั สร้างสาธารณปู การ ประเภท มาตรฐานการใช้1. สวนสาธารณะ เนื้อท่ไี ม่เกนิ 10 ไร่2. สนามกีฬา ลานกีฬา 3 ไร่3. การก่อสร้างศาลาที่พักริมทาง ป้อมยาม ใหใ้ ชท้ ี่ราชพัสดจุ านวนเนอ้ื ท่ตี ามป้อมตารวจ ศูนย์บริการข้อมูลเพื่อการท่องเท่ียว ความจาเป็นหรือการดาเนินการในลักษณะทานองเดียวกันในทีร่ าชพสั ดุที่อยใู่ นเขตทางหรอื เขตชลประทาน4. การติดต้ังป้ายบอกทางหรือป้ายประชาสัมพันธ์ ใหใ้ ชท้ ่ีราชพสั ดจุ านวนเน้ือท่ีตามของทางราชการในท่ีราชพัสดุที่อยู่ในเขตทางหรือ ความจาเปน็เขตชลประทาน 2.4 เงอ่ื นไขการใช้ทร่ี าชพัสดสุ าหรับผใู้ ชท้ ีร่ าชพัสดุ (1) ต้องเข้าทาประโยชน์ในท่ีราชพัสดุตามวัตถุประสงค์ที่ขออนุญาตภายในกาหนด 2 ปี นับแต่วนั ท่ไี ด้รบั อนุญาต (2) กรณีท่ีจะดาเนินการปลูกสร้างอาคารในพื้นท่ีท่ีได้รับอนุญาตจะต้องประสานงานและตรวจสอบ รวมทั้งปฏิบัตติ ามกฎหมายและระเบียบของส่วนราชการท่เี กีย่ วขอ้ งหลกั เกณฑ์การขอใช้ท่ีราชพสั ดุ / มาตรฐานการใชท้ ี่ราชพัสดุ 14

สว่ นท่ี 2 (3) เม่ือปลูกสร้างอาคารหรือส่ิงปลูกสร้างอื่นใดซึ่งเป็นที่ราชพัสดุลงในที่ดินราชพัสดุแปลงนี้ หรือมีการดัดแปลงหรือต่อเติมอาคารหรือส่ิงปลูกสร้างที่เป็นที่ราชพัสดุและมีมูลค่าของการดัดแปลงหรือต่อเติมไม่ต่ากว่า 1 ล้านบาท จะต้องแจ้งให้กรมธนารักษ์หรือสานักงานธนารักษ์พนื้ ที่ทราบแลว้ แต่กรณีตามแบบทก่ี รมธนารกั ษก์ าหนดภายใน 30 วนั นบั แต่วันท่ปี ลูกสร้างเสรจ็ หรือดัดแปลงต่อเติมเสร็จ เพ่ือดาเนินการข้ึนทะเบียนหรือปรบั ปรุงแก้ไขทะเบยี นทร่ี าชพสั ดใุ หเ้ ป็นปัจจบุ ัน สาหรบั การปลูกสร้างสิ่งปลูกสร้างที่เป็นกรรมสิทธิ์ของหน่วยงานผู้ใช้ที่ราชพัสดุซ่ึงไม่เป็นที่ราชพัสดุ จะต้องแจ้งให้กรมธนารักษ์หรือส า นั ก ง า น ธ น า รั ก ษ์ พื้ น ท่ี แ ล้ ว แ ต่ ก ร ณี ท ร า บ ว่ า มี ก า ร ป ลู ก ส ร้ า ง แ ล ะใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ที่ได้รับอนุญาต โดยไม่ต้องดาเนินการข้นึ ทะเบียนท่ีราชพสั ดุ (4) เมื่อมีความประสงค์จะเปล่ียนการใช้ที่ราชพัสดุเพ่ือประโยชน์ในทางราชการอย่างอื่นแตกต่างไปจากท่ีได้รับอนุญาตไว้เดิม จะต้องทาความตกลงกบั กรมธนารกั ษ์หรือผ้วู ่าราชการจงั หวัดกอ่ นแล้วแต่กรณี (5) ต้องดูแลและบารุงรักษาท่ีราชพัสดุซ่ึงอยู่ในความครอบครอง ใช้ประโยชน์เสมอด้วยวิญญูชนจะพึงสงวนทรัพย์สินของตนเอง และจะต้องอนุญาตให้ผู้แทนของกรมธนารักษ์เข้าตรวจสอบที่ราชพัสดุที่ได้รับอนุญาตให้ใช้หรือครอบครองเป็นครั้งคราวตามควรแก่กรณี รวมทั้งจะต้องรับผิดชอบกรณีทมี่ ผี ู้บุกรุกเกดิ ขึน้ (6) กรณีที่มิได้ดูแลบารุงรักษาท่ีราชพัสดุจนทาให้เห็นได้ว่าจะเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายต่อที่ราชพัสดุ กรมธนารักษ์จะแจ้งให้ผู้ใช้ทรี่ าชพสั ดจุ ัดการอย่างหน่ึงอย่างใด เพอื่ บารุงรกั ษาท่ีราชพัสดุ แต่หากผู้ใช้ทร่ี าชพัสดุ ไม่จัดการโดยไมม่ เี หตุผลอนั สมควร กรมธนารักษ์จะดาเนินการแจ้งใหผ้ ูใ้ ช้ ทีร่ าชพสั ดสุ ่งคืนท่รี าชพสั ดุน้ันหลักเกณฑ์การขอใชท้ ร่ี าชพัสดุ / มาตรฐานการใชท้ รี่ าชพสั ดุ 15

ส่วนท่ี 2 (7) ต้องจัดทารายงานเก่ียวกับการปกครอง ดูแล บารุงรักษา ใช้และจัดหาประโยชน์เก่ียวกับที่ราชพัสดุท่ีอยู่ในความครอบครองหรือใช้ประโยชน์ต่อกรมธนารักษ์ภายในเดือนสิงหาคมของทุกปีตามแบบทกี่ รมธนารกั ษก์ าหนด (8) การรอ้ื ถอนอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างที่เป็นที่ราชพัสดุจะต้องได้รับอนุญาตจากกรมธนารักษ์หรือผู้ว่าราชการจังหวัดก่อนแล้วแต่กรณีเว้ น แ ต่ อ า คา รห รือ สิ่ ง ป ลู ก ส ร้ า ง ท่ี ก่อ ส ร้ า ง ม า แ ล้ ว ไ ม่น้ อย กว่ า ย่ี สิ บ ห้ า ปีอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างท่ีชารุดจนใช้ในราชการไม่ได้ อาคารหรือสิ่งปลูกสร้างท่ีเกี่ยวกับราชการลับทางทหาร อาคารหรือสิ่งปลูกสร้างเดิมเพ่ือปลูกสร้างอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างใหม่ทดแทนตามท่ีได้รับงบประมาณและเมื่อรื้อถอนเสร็จเรียบร้อยแล้วให้แจ้งกรมธนารักษ์หรือสานักงานธนารักษ์พืน้ ที่ทราบด้วย (9) กรณีร้ือถอนอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างที่เป็นที่ราชพัสดุ และอาคารสิ่งปลูกสร้างนั้นมีลักษณะท่ียังมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ศิลปกรรมหรือสถาปัตยกรรมที่ควรอนุรักษ์ไว้ หรือมีสภาพท่ียังใช้ประโยชน์ในทางราชการต่อไปได้ ก่อนแจ้งขออนุญาตร้ือถอนหรือก่อนทาการร้ือถอน(แล้วแต่กรณี) ให้แต่งตั้งคณะกรรมการจานวนไม่น้อยกว่าสามคนพิจารณาเหตุผลและความจาเป็น ตลอดจนปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมายทเ่ี กี่ยวขอ้ ง เพ่ือเสนอความเหน็ ประกอบการพจิ ารณาของหน่วยงานผู้ใช้ดว้ ย (10) การตัดฟันต้นไม้ ขุดดิน หรือดาเนินการที่เป็นการเปลี่ยนแปลงสภาพท่ีราชพัสดุท่ีได้รับอนุญาต ต้องดาเนินการโดยปกติของวิญญูชนจะพึงดแู ลรักษาทรัพย์สินให้อยู่ในสภาพสวยงาม หรือไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือทรัพย์สิน หรือเพื่อประโยชน์ในการใช้สอยที่ราชพัสดุให้เหมาะสมต่อภารกิจเท่านั้น หากดาเนินการนอกเหนือจากกรณีดังกล่าวตอ้ งขออนุญาตกรมธนารกั ษห์ รือธนารกั ษ์พน้ื ทีแ่ ล้วแตก่ รณีหลกั เกณฑ์การขอใชท้ ร่ี าชพัสดุ / มาตรฐานการใช้ท่ีราชพัสดุ 16

สว่ นท่ี 2 (11) การจาหน่ายอาคารหรือส่ิงปลูกสร้างที่เป็นที่ราชพัสดุที่จะทาการรื้อถอน หรือการจาหน่ายวัสดุที่รื้อถอนแล้ว หรือการจาหน่ายต้นไม้ดิน หรือวัสดุอ่ืน ๆ ที่ได้มาจากที่ราชพัสดุ ให้ปฏิบัติตามระเบียบที่กระทรวงการคลัง กาหนด สาหรับเงินที่ได้จากการจาหน่ายให้นาส่งคลังเป็นรายได้ของกรมธนารักษ์ และในกรณีท่ีจะนาวัสดุท่ีได้จากท่ีราชพัสดุดังกล่าวไปใช้เพ่ือประโยชน์แก่ทางราชการ หรือเพื่อประโยชน์แก่สาธารณประโยชน์หรือสาธารณกุศล จะต้องได้รับอนุญาตจากกรมธนารักษ์หรอื ธนารักษพ์ ื้นท่ีกอ่ นแลว้ แต่กรณี (12) ห้ามนาที่ราชพัสดุท่ีได้รับอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ไปจัดหาประโยชน์ไม่ว่ากรณีใด ๆ ยกเว้นกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติให้ผู้ใช้ที่ราชพัสดุมีอานาจในการปกครองดูแล บารุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์ในที่ราชพัสดแุ ละนารายได้ทไ่ี ดร้ บั ไปใชจ้ ่ายได้โดยไม่ตอ้ งนาสง่ คลังเปน็ รายได้แผน่ ดนิให้ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุสามารถดาเนินการจัดหาประโยชน์ได้เฉพาะตามกรอบวัตถุประสงค์ในการดาเนินงานของหน่วยงานท่ีได้กาหนดไว้ตามกฎหมายเท่าน้ัน และจะต้องรับภาระค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายในการดาเนินคดีแพ่ง คดีอาญา คดีปกครอง และคดีอื่น ๆ รวมท้ังภาระค่าภาษีต่าง ๆเกีย่ วกบั ทีร่ าชพัสดุและทรพั ยส์ ินในท่ีราชพัสดุดว้ ย (13) ผู้ใชท้ ่รี าชพัสดุท่มี ีสถานะเป็นกระทรวง ทบวง กรม และมเี หตุผลความจาเป็นในการใช้ท่ีราชพัสดุเพื่อประโยชน์แก่การจัดสวัสดิการภายในสว่ นราชการตามระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรวี ่าด้วยการจดั สวัสดกิ ารภายในส่วนราชการ พ.ศ. 2547 ให้ถือว่าเป็นการใช้ที่ราชพัสดุเพื่อประโยชน์ในทางราชการตามท่ีได้รับอนุญาตไว้แต่เดิม สาหรับการนาท่ีราชพัสดุทีไ่ ด้รบั อนุญาตไปจัดสวัสดกิ ารในเชิงธรุ กจิ โดยการจัดให้เชา่ หรอื โดยวิธีการจัดทาสัญญาต่างตอบแทนอ่ืนนอกเหนือจากการจัดให้เช่า จะต้องดาเนนิ การตามหลักเกณฑว์ ธิ ีการท่ีกาหนดตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ พ.ศ. 2547 และจะต้องได้รับอนุญาตจากกรมธนารกั ษก์ อ่ นหลักเกณฑ์การขอใชท้ ีร่ าชพสั ดุ / มาตรฐานการใช้ทร่ี าชพสั ดุ 17

สว่ นที่ 2 (14) เม่ือเลิกใช้ที่ราชพัสดุดังกล่าวแล้ว จะต้องส่งคืนกรมธนารักษ์ภายใน 30 วัน นับแตว่ นั ท่เี ลิกใชป้ ระโยชน์ (15) เม่ือกรมธนารักษ์ได้แจ้งให้ส่งคืนท่ีราชพัสดุตามกฎกระทรวงฯพ.ศ. 2545 และทแี่ ก้ไขเพิม่ เตมิ ตามกฎกระทรวงฯ (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2552ออกตามความในพระราชบัญญัติท่ีราชพัสดุ พ.ศ. 2518 ผู้ใช้ที่ราชพัสดุจะต้องสง่ คนื กรมธนารกั ษ์ภายใน 30 วนั นบั แตว่ นั ท่ไี ด้รบั แจ้ง และหากผู้ใช้ที่ราชพัสดุมิได้โต้แย้งภายใน 60 วันนับแต่วันท่ีได้รับแจ้งกรมธนารักษ์อาจพิจารณาอนุญาตให้ผู้ขอใช้ท่ีราชพัสดุรายอื่นเข้าใช้หรือครอบครองท่ีราชพัสดุนั้นแทน หรือนามาดาเนินการตามนโยบายของรัฐบาลและภารกิจอ่ืนที่เหมาะสมและมีความคุ้มค่ากว่า โดยไม่จาเป็นต้องรอให้ผู้ใช้ทร่ี าชพัสดุนัน้ สง่ คนื ที่ราชพสั ดกุ ่อนก็ได้ (16) ในการส่งคืนท่ีราชพัสดุกรณีที่มีผู้บุกรุกหรือผู้ละเมิดท่ีราชพัสดุผู้ใชท้ รี่ าชพสั ดจุ ะต้องดาเนนิ การกบั ผ้บู ุกรกุ หรอื ผลู้ ะเมิดกอ่ นส่งคนื (17) กรณีที่ปรากฏว่ามีความเสียหาย หรือน่าจะเกิดความเสียหายใด ๆแก่ท่ีราชพัสดุ ซ่ึงเป็นการกระทาโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง หรือมีเจตนาทุจริต หรือกระทาการโดยปราศจากอานาจหรือนอกเหนืออานาจหน้าที่ กรมธนารักษ์จะแจ้งข้อมูลการกระทาดังกล่าวใ ห้ หั ว ห น้ า ส่ ว น ร า ช ก า ร ห รื อ หั ว ห น้ า ห น่ ว ย ง า น ข อ ง ผู้ ใ ช้ ท่ี ร า ช พั ส ดุเพอ่ื ดาเนนิ การทางวนิ ัยและเกี่ยวกบั ความรับผิดทางแพง่ (18) ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุที่มีสถานะเป็นองค์กรอื่นของรัฐ จะต้องส่งรายงานผลประกอบการแต่ละปี ที่ผ่านการตรวจสอบของผู้ตรวจสอบบัญชีอนุญาตแลว้ ใหก้ รมธนารกั ษภ์ ายใน 30 วนั นับแต่วนั ทผี่ า่ นการตรวจสอบหลกั เกณฑ์การขอใช้ทร่ี าชพัสดุ / มาตรฐานการใช้ท่รี าชพัสดุ 18

ส่วนท่ี 2 (19) นอกจากเงื่อนไขดังกล่าว ข้างต้น จะ ต้องปฏิบัติตา มกฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปกครองดูแล บารุงรักษา ใช้และจัดหาประโยชน์เก่ียวกับท่ีราชพัสดุ พ.ศ. 2545 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติมออกตามความในพระราชบัญญัติที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2518 และหรือที่จะมีข้นึ ในอนาคตทกุ ประการ ตลอดจนมติคณะรฐั มนตรเี ก่ยี วกับมาตรการแก้ไขปัญหาการบุกรุกท่ีราชพัสดุตามหนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีท่ี นร 0505/ว 109 ลงวันท่ี 21 พฤษภาคม 2547 หมายเหตุ ในการอนุญาตให้ใช้ที่ราชพัสดุ กรมธนารักษ์อาจกาหนดเง่ือนไขอ่ืนตามท่ีกรมธนารักษ์เห็นสมควร นอกเหนือจากเงื่อนไขการใช้ทัง้ 19 ข้อดังกล่าวข้างต้นก็ได้หลกั เกณฑก์ ารขอใชท้ รี่ าชพัสดุ / มาตรฐานการใชท้ ร่ี าชพสั ดุ 19

3ส่วนท่ี 3หนา้ ทท่ี ี่ผใู้ ช้ทรี่ าชพัสดตุ ้องปฏบิ ัติตามกฎหมายว่าดว้ ยทีร่ าชพสั ดุ3.1 การปกครองดแู ลบารงุ รักษาทรี่ าชพสั ดุ ผใู้ ชท้ ่รี าชพสั ดุจะตอ้ งดแู ลและบารงุ รกั ษาทีร่ าชพัสดุเสมอด้วย“วิญญูชนพึงสงวนทรัพย์สินของตนเอง” ซ่ึงหมายความว่า กรณีถ้าเป็นทรัพย์สินของตนเองมีการบารุงรักษาเช่นใด การบารุงดูแลรักษาที่ราชพัสดุก็ตอ้ งปฏิบตั ิในทานองเดียวกันนั้นด้วย เช่น การรังวัด การพิสูจน์สอบสวนการทาประโยชน์ หรือตรวจสอบเน้ือท่ีตามประมวลกฎหมายท่ีดินการป้องกันมใิ หม้ ีการบกุ รุก หากมีผู้บุกรกุ ในท่รี าชพัสดกุ ็ต้องดาเนินการให้ผบู้ ุกรกุ ออกไปในทันที อาคารราชพัสดุชารุดจาเป็นต้องซ่อมแซม ก็ต้องขอต้ังงบประมาณมาดาเนินการให้อยู่ในสภาพเรียบร้อย เป็นต้น และจะต้องอนุญาตให้ผู้แทนของกรมธนารักษ์เข้าตรวจสอบสภาพท่ีราชพัสดุท่ีได้รับอนุญาตให้ใช้หรือครอบครองเป็นครั้งคราวในระยะเวลาอันควรและจะต้องจัดทารายงานเกี่ยวกับการปกครองดูแล บารุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชนเ์ กย่ี วกับท่รี าชพัสดุท่ีอยใู่ นความครอบครอง หรือใช้ประโยชน์ต่อกรมธนารักษ์ภายในเดือนสิงหาคมของทุกปีตามแบบที่กรมธนารักษ์กาหนด (แบบ ธร. 3801(ปรับปรุง) - แบบรายงานการปกครอง ดูแลบารุงรกั ษา ใช้ และจัดหาประโยชน์เกีย่ วกบั ทร่ี าชพสั ดุ ประจาปี พ.ศ.....)หน้าท่ีทีผ่ ู้ใชท้ ่รี าชพัสดตุ ้องปฏบิ ัติตามกฎหมายวา่ ดว้ ยที่ราชพัสดุ 20

ส่วนท่ี 3 ในกรณีท่ีปรากฏว่าผู้ใช้ท่ีราชพัสดุมิได้ดูแลและบารุงรักษาที่ราชพัสดุจนเป็นเหตุให้เห็นได้ว่าจะเกิดความเสียหายต่อที่ราชพัสดุนั้นกรมธนารักษ์สามารถแจ้งให้ส่วนราชการน้ัน ๆ จัดการอย่างใดอย่างหน่ึงเพื่อป้องกันหรือขจัดความเสียหายนั้น และถ้าหากผู้ใช้ท่ีราชพัสดุไม่จัดการโดยไม่มเี หตุผลอันสมควร กรมธนารกั ษจ์ ะเรยี กทรี่ าชพัสดนุ นั้ คืนก็ได้3.2 การข้นึ ทะเบยี นที่ราชพัสดุ 3.2.1 เมื่อผู้ใช้ท่ีราชพัสดุได้มาซ่ึงที่ราชพัสดุหรือดาเนินการปลูกสร้างอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างซึ่งเป็นท่ีราชพัสดุ จะต้องสารวจรายการท่ีดินและอาคารสิ่งปลูกสร้างข้ึนทะเบียนท่ีราชพัสดุ โดยกรอกรายละเอยี ดข้อมูลในแบบฟอร์มสง่ ให้กรมธนารกั ษ์หรือสานักงานธนารักษ์พ้ืนที่แลว้ แตก่ รณีภายใน 30 วันนับแต่วันได้มาหรือปลูกสร้างแล้วเสร็จ พร้อมกับส่งเอกสารสิทธิเก่ียวกับท่ีราชพัสดุไปเก็บรักษาที่กรมธนารักษ์/สานักงานธนารกั ษพ์ น้ื ทด่ี ว้ ย โดยดาเนินการดังนี้  การขึ้นทะเบียนท่ีดิน ให้ใช้แบบฟอร์ม ทร. 03 (แบบสารวจรายการทด่ี นิ ข้นึ ทะเบยี นท่รี าชพสั ด)ุ  การขึ้นทะเบียนอาคาร/ส่ิงปลูกสร้าง ให้ใช้แบบฟอร์มทร. 04 (แบบสารวจรายการอาคาร/สิง่ ปลูกสร้างขึน้ ทะเบียนทรี่ าชพัสด)ุ  การขึ้นทะเบียนอาคาร/สิ่งปลูกสร้างท่ีปลูกอยู่บนท่ีดินที่มิใช่ที่ราชพัสดุ ให้ใช้แบบฟอร์ม ทร. 05 (แบบสารวจรายการอาคาร/สิ่งปลกู สรา้ งของรัฐทปี่ ลูกอยู่บนท่ดี ินทีม่ ิใชท่ ร่ี าชพสั ด)ุ ซ่ึงสามารถ Download แบบฟอร์มดังกล่าวได้ทางInternet ผ่านทาง website กรมธนารักษ์ www.treasury.go.th หรือติดต่อรับแบบฟอร์มได้ที่กรมธนารักษ์และสานักงานธนารักษ์พ้ืนท่ีทว่ั ประเทศหนา้ ทที่ ่ผี ู้ใช้ท่รี าชพัสดุตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายวา่ ด้วยทร่ี าชพัสดุ 21

ส่วนที่ 3 ท้ังน้ี หากปรากฏวา่ ยังมีสงิ่ ปลกู สร้างที่เปน็ ที่ราชพัสดุ ทยี่ ังมไิ ด้ขนึ้ ทะเบียนทร่ี าชพัสดุ ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุจะต้องสารวจรายการสิ่งปลูกสร้างน้ันนาสง่ ขน้ึ ทะเบยี นท่ีราชพัสดดุ ้วย 3.2.2 กรณีมีการดัดแปลงหรือต่อเติมอาคารหรือส่ิงปลูกสร้างท่ีเป็นที่ราชพัสดุและมีมูลค่าของการดัดแปลงหรือต่ อเติมไม่ต่ากว่า 1 ล้านบาท จะต้องแจ้งให้กรมธนารักษ์ทราบตามแบบ ทร. 04หรือแบบ ทร. 05 แล้วแต่กรณี ภายใน 30 วันนับแต่วันท่ีดัดแปลงหรือต่อเติมแล้วเสร็จ เพ่ือดาเนินการปรับปรุงแก้ไขทะเบียนที่ราชพัสดุให้เป็นปัจจบุ นั 3.2.3 สาหรับการปลูกสร้างส่ิงปลูกสร้างท่ีเป็นกรรมสิทธ์ิของหน่วยงานผู้ใช้ท่ีราชพัสดุซึ่งไม่เป็นท่ีราชพัสดุ ผู้ใช้ที่ราชพัสดุไม่ต้องนาส่งรายการสิ่งปลูกสร้างดังกล่าวขึ้นทะเบียนที่ราชพัสดุ แต่จะต้องแจ้งให้กรมธนารกั ษห์ รอื สานกั งานธนารักษ์พืน้ ที่แล้วแตก่ รณที ราบว่ามกี ารปลกู สร้างและใชป้ ระโยชน์ตามวตั ถปุ ระสงคท์ ไ่ี ดร้ ับอนญุ าตเอกสารที่ใช้ประกอบการนาสง่ ขึ้นทะเบียน  แบบฟอรม์ การนาสง่ ข้ึนทะเบยี นในแตล่ ะกรณี ได้แก่ แบบสารวจรายการที่ดินขึน้ ทะเบียนทรี่ าชพสั ดุ (แบบ ทร. 03) แบบสารวจรายการอาคาร/ส่งิ ปลูกสร้างขนึ้ ทะเบยี นทรี่ าชพสั ดุ (แบบ ทร. 04) แบบสารวจรายการอาคาร/ส่ิงปลกู สร้างของรัฐทปี่ ลูกอยู่บนทีด่ นิ ทมี่ ิใช่ทรี่ าชพสั ดุ (แบบ ทร. 05)  เอกสารหลักฐานการได้มา หรือหนังสือสาคัญแสดงกรรมสิทธ์ิหรอื เอกสารหลักฐานแสดงการได้รับงบประมาณหรือบรจิ าค  แผนท่ีสังเขปแสดงท่ีตง้ั ทด่ี นิ และหรืออาคารสิ่งปลูกสร้าง  หลักฐานการอนุญาตให้ใช้/ให้เช่าท่ีดิน (กรณีเป็นอาคาร/สิ่งปลกู สร้างของรฐั ทีป่ ลูกอยู่บนท่ีดนิ ที่มิใช่ทีร่ าชพสั ดุ) (ถา้ มี)หน้าที่ทผ่ี ู้ใชท้ ่รี าชพัสดตุ ้องปฏิบตั ติ ามกฎหมายวา่ ด้วยทีร่ าชพสั ดุ 22

ส่วนที่ 3ขนั้ ตอนการข้ึนทะเบยี นท่ีราชพสั ดุขั้นตอนการดาเนินการกรณีดัดแปลงหรือต่อเติมอาคาร/สิ่งปลูกสร้างท่ีเป็นที่ราชพสั ดุ และมมี ลู คา่ การดดั แปลงหรือตอ่ เติมไมต่ ่ากวา่ 1 ล้านบาทหน้าทีท่ ีผ่ ใู้ ชท้ รี่ าชพัสดุต้องปฏบิ ัติตามกฎหมายวา่ ด้วยที่ราชพสั ดุ 23

สว่ นท่ี 33.3 การรังวดั การพสิ ูจน์สอบสวนการทาประโยชน์ หรือตรวจสอบ เน้ือทต่ี ามประมวลกฎหมายที่ดนิ การสอบสวนเปรียบเทยี บ หรอื การระงับขอ้ พพิ าทเกีย่ วกับแนวเขต ในการรงั วัด การพิสูจน์สอบสวนการทาประโยชน์ หรือตรวจสอบเนื้อที่ตามประมวลกฎหมายทีด่ นิ การสอบสวนเปรยี บเทยี บหรอื การระงบัข้อพิพาทเก่ียวกับแนวเขต ผู้ใช้ที่ราชพัสดุจะต้องดาเนินการร่วมกับกรมธนารกั ษ์ดังนี้  ในกรุงเทพมหานคร ผู้ใช้ที่ราชพัสดุจะต้องร่วมกับกรมธนารักษ์เป็นผู้นาทาการสารวจรังวัดให้ถ้อยคาต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ระวังช้ีแนวเขตทีด่ ินและลงนามรับรองแนวเขตที่ดนิ  ในจังหวัดอื่น ให้หัวหน้าส่วนราชการหรือหัวหน้าหน่วยงานประจาจังหวัดของผู้ใช้ท่ีราชพัสดุเป็นผู้ปฏิบัติการดังกล่าวร่วมกับสานักงานธนารกั ษ์พื้นที่3.4 การใชท้ ี่ราชพัสดุ ผู้ ใ ช้ ท่ี ร า ช พั ส ดุ จ ะ ต้ อ ง เ ข้ า ท า ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ที่ ร า ช พั ส ดุ ต า มวัตถุประสงค์ทข่ี ออนุญาตให้ครบถว้ นภายในกาหนด 2 ปีนบั แตว่ นั ทีไ่ ด้รับอนุญาต และจะตอ้ งปฏบิ ตั ิตามเงอ่ื นไขทก่ี รมธนารกั ษก์ าหนดให้ครบถว้ น ท้ังนี้ ห้ามนาที่ราชพัสดุท่ีได้รับอนุญาตให้ใช้ประโยชน์ในทางราชการไปจัดหาประโยชน์ไมว่ า่ กรณีใด ๆ ทง้ั ส้นิหนา้ ท่ที ่ผี ้ใู ช้ท่ีราชพัสดตุ ้องปฏบิ ตั ิตามกฎหมายวา่ ดว้ ยท่รี าชพสั ดุ 24

สว่ นที่ 33.5 การใช้ทร่ี าชพสั ดทุ ่ไี ด้มาโดยการบรจิ าคตามวัตถปุ ระสงค์ของ ผู้ยกให้ 3.5.1 ในกรณที ่ีผูใ้ ช้ท่ีราชพสั ดุไดร้ ับบรจิ าคที่ดินจากเอกชน โดยมเี งือ่ นไขให้เข้าใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ของการบริจาค ผู้ใช้ที่ราชพัสดุจะตอ้ งดาเนนิ การดังนี้ (1) เขา้ ใช้ประโยชนใ์ นทร่ี าชพสั ดนุ ้นั ตามวัตถุประสงคข์ องผยู้ กให้ หรือ (2) เข้าใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุนั้นตามวัตถุประสงค์ของผู้ยกให้ภายในระยะเวลาทผ่ี ้ยู กให้กาหนดไว้ หรือ (3) เข้าใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุน้ันภายใน 5 ปีนับแต่วันท่ีมีการยกทด่ี ินน้ันใหก้ บั ทางราชการ ทั้งน้ี หากผู้ใช้ท่ีราชพัสดุมิได้ดาเนินการตามที่กาหนดไว้ดังกล่าวข้างต้น จะต้องโอนกรรมสิทธ์ิที่ราชพัสดุนั้นคืนให้แก่ผู้ยกให้หรือทายาทตามนยั กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์และวิธีการโอนกรรมสทิ ธ์ิที่ราชพัสดุที่มิใชท่ ี่ดินทเ่ี ปน็ สาธารณสมบัติของแผ่นดินทใ่ี ชเ้ พ่ือประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ พ.ศ. 2550 โดยผู้ใช้ทีร่ าชพัสดมุ ีหนา้ ที่ที่จะต้องแจ้งข้อมูลต่อกรมธนารักษ์ภายใน 30 วันนับแต่วันท่ีครบกาหนดระยะเวลาดังกล่าวเพ่อื ทกี่ รมธนารักษ์จะได้แจง้ ใหผ้ ้ยู กใหห้ รือทายาทมาย่ืนเร่ืองขอรับท่ีราชพัสดุดงั กลา่ วคืนตอ่ ไป 3.5.2 หากผู้ใช้ที่ราชพัสดุไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ทันภายในกาหนดเวลาตามข้อ 3.5.1 หรอื ประสงค์จะเปลยี่ นแปลงการใชป้ ระโยชน์ตา่ งไปจากวตั ถุประสงคข์ องการยกให้ ให้ดาเนนิ การดงั น้ี (1) ส่วนราชการต้องทาความตกลงกับผู้ยกให้หรือทายาท เพื่อขอขยายระยะเวลาหรอื เปล่ียนแปลงวัตถปุ ระสงคก์ ารใช้ประโยชน์ แล้วแต่กรณี ก่อนครบกาหนดเวลาทีผ่ ยู้ กให้กาหนด หรือกอ่ นครบกาหนด 5 ปีหน้าทที่ ผี่ ใู้ ช้ท่รี าชพัสดุตอ้ งปฏิบัตติ ามกฎหมายวา่ ด้วยท่รี าชพสั ดุ 25

ส่วนที่ 3 (2) กรณีที่ผู้ยกให้หรือทายาทไม่ยินยอมและล่วงเลยเวลาท่ีกาหนดแล้ว ให้ผู้ใช้ที่ราชพัสดุแจ้งข้อมูลต่อกรมธนารักษ์ภายใน 30 วันนับแตว่ นั ทค่ี รบกาหนดระยะเวลาดังกล่าว เพื่อท่ีกรมธนารักษ์จะได้แจ้งให้ผยู้ กให้หรอื ทายาทมายื่นเร่อื งขอรับท่รี าชพัสดดุ ังกล่าวคืนตอ่ ไป หมายเหตุ ในการรับบริจาคที่ดินจากเอกชน คณะรัฐมนตรีได้มมี ตเิ มอื่ วนั ที่ 3 มกราคม 2550 ให้ทุกสว่ นราชการถือปฏิบัติว่า ในการรับบริจาคท่ีดินจากเอกชนเพ่ือใช้ประโยชน์ในทางราชการน้ัน หากส่วนราชการใดไม่มแี ผนงานหรือโครงการท่ีชัดเจนรองรับการใช้ประโยชน์ในท่ีดินตามวัตถุประสงค์ของผู้ที่แสดงความประสงค์จะยกที่ดินให้แก่ทางราชการ ส่วนราชการนนั้ ๆ ไมค่ วรรบั บริจาคที่ดินดงั กลา่ วไว้ตัง้ แตต่ น้เน่อื งจากจะเป็นปัญหาในภายหลัง หากทางราชการมิได้เข้าใช้ประโยชน์ในที่ดินนั้นจรงิ และผยู้ กใหห้ รือทายาทได้แจง้ ความประสงคข์ อทด่ี ินคืน3.6 การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ในท่ีราชพัสดุ ในกรณีทผ่ี ูใ้ ชท้ ร่ี าชพสั ดตุ อ้ งการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ในทางราชการเป็นอย่างอ่ืนนอกจากที่ได้รับอนุญาตไว้เดิม จะต้องมีหนังสือแจ้งขอเปล่ียนแปลงการใช้ประโยชน์ต่อกรมธนารักษ์ ซึ่งลงนามโดยหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวง ทบวง กรม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรอื่นของรัฐ หรือผู้ท่ีได้รับมอบอานาจจากสว่ นราชการดงั กล่าว พร้อมแจ้งเหตุผลความจาเป็นให้ชัดเจนและแนบเอกสารหลักฐานประกอบการขอเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ในทรี่ าชพสั ดุดังนี้หนา้ ท่ที ่ีผูใ้ ชท้ ร่ี าชพสั ดตุ ้องปฏิบัติตามกฎหมายวา่ ดว้ ยทรี่ าชพสั ดุ 26

ส่วนท่ี 3  รายละเอยี ดเกี่ยวกบั โครงการใช้ประโยชน์ในที่ราชพัสดุที่ขอเปลีย่ นแปลง  เอกสารการได้รับอนุมัติงบประมาณหรือคาขอต้ังงบประมาณของโครงการ  แผนผังแสดงการใช้ประโยชน์ท่ีราชพัสดุที่ได้รับอนุญาตให้ใช้อยู่เดิม และ แผนผังแสดงการใช้ประโยชน์ท่ีดินบริเวณท่ีขอเปลี่ยนแปลง โดยแสดงรายการอาคารส่ิงปลูกสร้างในท่ีดินซึ่งมีมาตราสว่ นถูกต้องตามหลักวชิ าการและมผี ทู้ รงคณุ วุฒิรับรอง ท้ังนี้ ในกรณีที่ราชพัสดุในกรุงเทพมหานคร ให้แจ้งขอเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ต่อกรมธนารักษ์ สาหรับที่ราชพัสดุในจงั หวัดอ่ืน ใหแ้ จง้ ขอเปลยี่ นแปลงการใช้ประโยชนต์ อ่ สานกั งานธนารักษ์พ้นื ท่ี3.7 การตัดฟันต้นไม้ การขดุ ดิน การถมดิน หรือการดาเนินการใด ๆ ที่มลี กั ษณะเป็นการเปล่ียนแปลงสภาพของท่ีราชพัสดุ การดาเนินการใด ๆ ท่ีมีลักษณะท่ีเป็นการทาลายหรือเปลี่ ยนแปลงสภาพท่ีราชพัสดุ จะต้ องได้รับอนุญาตจากกรมธนารักษ์ ก่อนและผใู้ ชท้ ร่ี าชพัสดจุ ะตอ้ งแสดงเหตุผลและความจาเป็นท่ีชัดเจน โดยกรณีท่ีราชพัสดุในกรุงเทพมหานคร ให้แจ้งขออนุญาตต่อกรมธนารักษ์สาหรับทรี่ าชพัสดุในจังหวัดอ่ืน ใหแ้ จ้งขออนุญาตตอ่ สานักงานธนารักษ์พน้ื ท่ี เว้นแต่ การดาเนินการที่มีลักษณะเป็นการกระทาเพื่อบารุงรักษาท่ีราชพัสดุเสมือนเช่นวิญญูชนจะพึงดาเนินการในทรัพย์สินของตนเอง ผูใ้ ชท้ ีร่ าชพัสดสุ ามารถดาเนนิ การไดต้ ามความจาเปน็ โดยไม่ต้องขออนุญาตจากกรมธนารักษ์ในกรณีดงั ต่อไปนี้หนา้ ท่ีที่ผูใ้ ช้ท่ีราชพัสดุตอ้ งปฏิบัตติ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยท่รี าชพัสดุ 27

สว่ นท่ี 3 (1) การขุดดินในที่ราชพัสดุเพ่ือปรับปรุงสภาพการใชท้ ี่ราชพัสดุ ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุสามารถดาเนินการได้ตามความจาเป็น เช่นการขุดบ่อ ขุดสระ ปรับปรุงถนนภายใน การปรับสภาพพ้ืนดิน เป็นต้นแต่หากต้องนาดินออกจากท่ีราชพัสดุให้ดาเนินการโดยวิธีการจาหน่ายตามขอ้ 3.10 ในคู่มอื นี้ สาหรับการนาดินที่ได้จากการขุดลอกแหล่งน้าในท่ีราชพสั ดใุ ห้กับผ้รู ับจ้างเพือ่ หักเปน็ ค่าจา้ งขุด ซ่ึงเป็นกรณีท่ีหน่วยงานผู้ใช้ที่ราชพสั ดุหรือหนว่ ยงานอ่ืนของรัฐเห็นสมควรจัดจา้ งเอกชนทาการขุดลอกแหล่งน้า หรือขุดสระ อ่างเก็ บน้าในที่ราชพัสดุตามระเบีย บสานกั นายกรัฐมนตรวี ่าด้วยการพัสดุเพอ่ื แก้ไขหรือบรรเทาความเดือดร้อนของราษฎรทีเ่ กิดจากปัญหาภัยแล้ง การขาดแคลนน้า หรือปญั หาน้าทว่ มโดยจะนากรวด หนิ ดิน ทรายที่ได้จากการขุดไปเป็นค่าจ้างดาเนินการนั้นจะต้องขออนุญาตตอ่ กรมธนารักษก์ อ่ น โดยในกรุงเทพมหานครให้ขออนุญาตตอ่ อธิบดีกรมธนารักษ์ ส่วนในจังหวัดอื่นให้ขออนุญาตต่อผู้ว่าราชการจังหวัดทั้งนี้ ผู้ใช้ที่ราชพัสดุจะต้องประเมินราคากรวด หิน ดิน ทราย ท่ีได้จากการขุด โดยแต่งตั้งคณะกรรมการไม่น้อยกว่า 3 คนเพ่ือทาการประเมินและกรรมการอยา่ งน้อย 1 คน จะตอ้ งเปน็ ผชู้ านาญหรือมคี วามรู้เกย่ี วกบัการประเมินในกรณีดังกล่าว แล้วให้นาไปหักกับค่าจ้างดาเนินการ โดยหากกรวด หิน ดิน ทรายท่ีขุดได้มีราคาเกินกว่าค่าจ้าง ให้เอกชน ผู้รับจ้างตอ้ งจ่ายเงนิ สว่ นท่ีเกินคืนให้กับทางราชการและให้หน่วยงานผู้ดาเนินการนาเงินส่วนเกินดังกลา่ วส่งคลงั เปน็ รายได้ของกรมธนารกั ษต์ ่อไป สว่ นกรณที ่ีผู้ใช้ท่ีราชพัสดุประสงค์จะนาดินที่ได้จากท่ีราชพัสดุไปใช้ประโยชน์ในท่ีดินแปลงอ่ืน ไม่ว่าท่ีดินแปลงน้ันจะอยู่ในความครอบครองของหน่วยงานผู้ใช้เองหรือหน่วยงานอื่น จะต้องขออนญุ าตต่อกรมธนารักษ์หรอื สานักงานธนารักษพ์ ื้นที่ (แลว้ แต่กรณี) ก่อนหน้าทที่ ผ่ี ู้ใชท้ ีร่ าชพสั ดตุ อ้ งปฏิบตั ติ ามกฎหมายวา่ ด้วยทีร่ าชพสั ดุ 28

ส่วนท่ี 3 (2) การตัดฟันต้นไม้ในที่ราชพัสดุ ผู้ใช้ที่ราชพัสดุสามารถตัดฟันได้ตามความจาเป็น เช่น เพอื่ ปลูกสรา้ งอาคารใหม่ ต้นไม้กดี ขวางสายไฟฟ้าหรืออาจจะโค่นล้มเป็นอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน หรือการตัดฟันต้นไม้ขนาดเล็กเพ่ือประโยชนใ์ นการทานบุ ารงุ รักษาที่ราชพสั ดุ เปน็ ต้น หากปรากฏว่าต้นไม้ท่ีจะตัดฟันน้ันเป็นประเภทไมห้ วงห้าม กต็ อ้ งดาเนินการให้ถกู ต้องตามกฎหมายหรือระเบียบว่าดว้ ยปา่ ไมด้ ว้ ย สาหรับการใช้ประโยชน์หรือการจาหน่ายไม้ทไ่ี ด้จากทร่ี าชพสั ดุใหถ้ ือปฏบิ ัตติ ามขอ้ 3.10 ในคู่มอื นี้3.8 การจดั สวัสดกิ ารในทร่ี าชพสั ดุตามระเบียบสานกั นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจดั สวัสดิการภายในสว่ นราชการ พ.ศ. 2547 การจัดสวัสดิการในที่ราชพัสดุจะดาเนินการได้เฉพาะกับผู้ใช้ที่ราชพัสดุที่มีสถานะเป็นกระทรวง ทบวง กรม ซ่ึงมีเหตุผลความจาเป็นในการใช้ท่ีราชพัสดุเพื่อประโยชน์แก่การจัดสวัสดิการตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ พ.ศ. 2547เท่านั้น โดยมีลักษณะในการดาเนินการ 2 ประเภท คือ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ และการจดั สวัสดกิ ารในเชงิ ธุรกจิ นอกจาก 2 ประเภทดงั กล่าวไม่ถอื เป็นการจดั สวสั ดกิ าร จึงต้องดาเนินการจดั ใหเ้ ช่าท่ีราชพัสดุตามระเบียบกฎหมายวา่ ด้วยที่ราชพสั ดุโดยตรง และต้องส่งคืนท่ีราชพัสดุใหก้ รมธนารักษด์ าเนนิ การเทา่ นน้ั เช่น การกอ่ สร้างโรงแรม การกอ่ สร้างอาคารสานกั งาน การก่อสรา้ งห้างสรรพสินคา้ การก่อสรา้ งอาคารพาณชิ ย์ เป็นต้นหนา้ ทที่ ผ่ี ใู้ ช้ทร่ี าชพสั ดุต้องปฏบิ ัตติ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยท่ีราชพัสดุ 29

สว่ นท่ี 33.8.1 ความหมายของการจัดสวสั ดิการ (1) การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ หมายถึงกิจกรรมหรือกิจการใดท่ีคณะกรรมการสวัสดิการจัดให้มีข้ึน โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือและอานวยความสะดวกให้แก่ข้าราชการ หรือเพ่ือประโยชน์แก่การดารงชีพนอกเหนือจากสวัสดิการที่ทางราชการจัดให้แก่ข้าราชการเป็นกรณีปกติ หรือเพื่อประโยชน์แก่การสนับสนุนการปฏิบัติราชการ หรือท่ีคณะกรรมการเห็นสมควรให้จัดเพ่ิมขึ้นสาหรับส่วนราชการตา่ ง ๆ โดยมไิ ด้เป็นไปในเชิงธุรกจิ (2) การจดั สวัสดิการในเชิงธุรกจิ หมายถึง การดาเนินกจิ กรรมหรือกจิ การสวัสดิการใด ๆ ท่ีจัดเป็นสวัสดิการภายในของส่วนราชการที่คณะกรรมการสวัสดิการภายในส่วนราชการจัดให้มีขึ้น ซึ่งเป็นไปในทางการคา้ กับสมาชกิ สวัสดกิ ารและบุคคลภายนอกทวั่ ไป3.8.2 ขน้ั ตอนการดาเนินการ(1) การจัดสวัสดิการภายในสว่ นราชการคณะกรรมการสวัสดิการ อนุญาต หวั หนา้ ส่วนราชการ ผจู้ ัด ส่วนราชการ ผ้จู ัด (อนญุ าต) (พจิ ารณาให้จัด) อนญุ าต = ให้ใช้ทรี่ าชพัสดุ + (คา่ นา้ + ค่าไฟฟา้ ) อยา่ งประหยัด การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ ส่วนราชการผู้จัดไม่ต้องขออนุญาตต่อกรมธนารักษ์หรือผู้รับมอบอานาจ(ในส่วนภูมิภาค) โดยหัวหน้าส่วนราชการน้นั สามารถอนญุ าตให้ใช้ที่ราชพัสดุนั้นได้เอง รวมท้ังการอนญุ าตใหใ้ ช้นา้ และไฟฟ้าของราชการได้แตต่ อ้ งใชอ้ ย่างประหยัดหนา้ ที่ทผี่ ใู้ ชท้ ร่ี าชพสั ดุต้องปฏิบตั ิตามกฎหมายวา่ ด้วยทรี่ าชพัสดุ 30

ส่วนที่ 3(2) การจดั สวัสดกิ ารในเชงิ ธรุ กจิ ขออนุญาตพจิ ารณาให้จดั อนญุ าตอนุญาต = ให้เชา่ + (คา่ เช่า + ค่าธรรมเนียม + เง่อื นไขอนื่ ) การจัดสวัสดิการในเชิงธุรกิจ ส่วนราชการผู้จัดต้องขออนุญาตกรมธนารักษ์หรือผู้รับมอบอานาจ(ในส่วนภูมิภาค)ก่อนดาเนินการ โดยการจัดให้เช่าท่ีราชพัสดุเพ่ือเป็นสวัสดิการในเชิงธุรกิจนั้นจะกระทาได้หรอื ไม่ ให้ถอื การพิจารณาของกรมธนารกั ษเ์ ปน็ ท่ีสุด3.9 การนาทีร่ าชพัสดุไปใหส้ ่วนราชการ เอกชน หรอื รัฐวสิ าหกิจ ใช้ประโยชน์เพื่อจัดประชมุ สมั มนา ฝกึ อบรมและพักอาศัย หรือ จัดกิจกรรม 3.9.1 กรณีการใหส้ ว่ นราชการอ่ืนเข้าใช้ประโยชน์ การให้ส่วนราชการหรือหน่วยงานภาครัฐท่ีมีสิทธิใช้ท่รี าชพัสดตุ ามนัยกฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปกครองดูแลบารุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์เกี่ยวกับที่ราชพัสดุ พ.ศ. 2545 เข้าใช้ประโยชน์ในสถานท่ี ถือเป็นเรื่องการใช้ประโยชน์ในทางราชการ ซ่ึงผใู้ ช้ทร่ี าชพัสดุสามารถดาเนินการได้เองโดยไมต่ ้องขออนุญาตตอ่ กรมธนารกั ษ์หน้าที่ทีผ่ ้ใู ช้ที่ราชพัสดตุ ้องปฏิบัติตามกฎหมายวา่ ดว้ ยทร่ี าชพสั ดุ 31

ส่วนท่ี 3 สาหรับค่าตอบแทนท่ีเรียกเก็บ ให้ถือเป็นค่าสาธารณูปโภคและค่าบารุงรักษาซ่อมแซมสถานท่ีและอุปกรณ์ โดยหากผู้ใช้ที่ราชพัสดุจะนาเงินส่วนนี้ไปใช้จ่ายเพ่ือบูรณะทรัพย์สินต้องขอทาความตกลงกับกระทรวงการคลังก่อน ทั้งนี้ กรมธนารักษ์ได้กาหนดค่าตอบแทนกรณีการใช้ประโยชน์ท่ีราชพัสดุเป็นห้องประชุม อบรมสมั มนา และห้องพักไวด้ ังนี้(1) ห้องประชุม อบรม สัมมนาขนาดหอ้ ง จานวนทน่ี ่ัง อตั ราคา่ ตอบแทน เลก็ ไมเ่ กนิ 50 ที่น่งั 400 บาท/ชัว่ โมงกลาง 51 - 100 ทีน่ ่งั 500 บาท/ชวั่ โมงใหญ่ ตงั้ แต่ 101 ทน่ี งั่ ขน้ึ ไป 750 บาท/ชว่ั โมง *เศษของชั่วโมงให้นับเป็น 1 ชวั่ โมง(2) ห้องพกั อัตราวนั ละ 500 บาทต่อหอ้ ง3.9.2 กรณีการให้เอกชน หรอื รฐั วิสาหกิจเขา้ ใช้ประโยชน์ กรณีดังกล่าวถือเป็นการจัดหาประโยชน์ในที่ราชพัสดุซึ่งผู้ใช้ท่ีราชพัสดุท่ีเป็นผู้ครอบครองดูแลใช้ประโยชน์สามารถดาเนินการได้โดยขออนญุ าตต่อกรมธนารกั ษห์ รือผู้ว่าราชการจังหวัดแล้วแต่กรณี และจะตอ้ งปฏิบัตดิ งั นี้ (1) หากที่ราชพัสดุน้ันตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานครตอ้ งย่ืนเรอื่ งต่อกรมธนารักษ์เพื่ออนุญาต หรือหากที่ราชพัสดุนั้นต้ังอยู่ในจงั หวดั อ่นื ต้องยืน่ เรื่องขออนญุ าตต่อผู้ว่าราชการจังหวัดเพื่ออนุญาตโดยความเหน็ ชอบของกรมธนารกั ษ์ หรือ (2) ขอใหก้ รมธนารักษ์มอบอานาจให้ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุทเ่ี ปน็ ผู้ครอบครองใชป้ ระโยชน์น้นั เป็นผู้อนุญาตแทนกไ็ ด้หน้าทีท่ ี่ผูใ้ ชท้ ี่ราชพสั ดตุ อ้ งปฏบิ ัตติ ามกฎหมายวา่ ด้วยทร่ี าชพัสดุ 32

สว่ นท่ี 3 ส า ห รั บ ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ก า ร ด า เ นิ น ก า ร จั ด ใ ห้ เ ช่ ามีรายละเอยี ดดังนี้  คณะกรรมการที่ราชพัสดุได้อนุมัติให้ดาเนินการจัดใหเ้ ช่าโดยไมต่ ้องประมลู  กระทรวงการคลังอนุมัติให้ยกเว้นการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการจัดให้เช่า การวางหลักประกันสัญญาเช่า และการประกนั อัคคภี ัยอาคาร  อัตราค่าตอบแทนให้เรียกเก็บในอัตราเดียวกับท่ีเรียกเก็บจากส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐตามข้อ 3.8.1และให้นาเงินที่ได้รับจากการให้เช่าสถานท่ีดังกล่าวนาส่งเป็นรายได้ของกรมธนารักษ์ รหัสหน่วยงาน 03003 รหัสรายได้ 671 และให้ใช้แบบบันทึกยินยอมปฏิบัติตามเง่ือนไขการใช้สถานที่แทนการจัดทาสัญญาเช่าและเมื่อดาเนินการแล้วให้แจง้ กรมธนารกั ษ์หรือจงั หวัดทราบด้วย3.10 การรอื้ ถอนและจาหน่ายสิง่ ปลกู สร้างทเี่ ป็นที่ราชพสั ดุ 3.10.1 การรอ้ื ถอนอาคารหรอื ส่งิ ปลูกสร้างที่เปน็ ทีร่ าชพัสดุ (1) ในกรณีผู้ใช้ที่ราชพัสดุประสงค์จะร้ือถอนอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างที่เป็นท่ีราชพัสดุ จะต้องขออนุญาตจากกรมธนารักษ์ก่อนโดยในกรุงเทพมหานครให้ยื่นขออนุญาตต่อกรมธนารักษ์ ส่วนในจังหวัดอื่นใหย้ ่นื ตอ่ สานักงานธนารักษ์พ้ืนที่ และเมื่อรื้อถอนแล้วให้แจ้งให้กรมธนารักษ์หรือสานักงานธนารักษ์พื้นท่ีทราบตามแบบ ทบ.2 (แบบแจ้งการร้ือถอนสง่ิ ปลูกสร้างท่ีเป็นท่ีราชพัสดุ) เพ่ือจาหน่ายรายการส่ิงปลูกสร้างออกจากทะเบยี นทร่ี าชพสั ดุหน้าที่ทผี่ ้ใู ชท้ ่รี าชพัสดตุ อ้ งปฏิบัติตามกฎหมายวา่ ด้วยท่ีราชพสั ดุ 33

ส่วนที่ 3 เอกสารประกอบการย่ืนขอร้อื ถอนส่งิ ปลกู สรา้ ง - แบบแจง้ ขอรอื้ ถอนสงิ่ ปลกู สร้างท่เี ปน็ ทรี่ าชพสั ดุ (แบบ ทบ.3) - สาเนาหนังสือแสดงการยนิ ยอมหรือการอนุมัติในการ รื้อถอนจากหน่วยงานต้นสังกัด (2) อาคารหรือส่ิงปลูกสรา้ งซึง่ เป็นท่รี าชพสั ดทุ ่ีผู้ใช้ที่ราชพัสดุไมต่ ้องขออนญุ าตรือ้ ถอนจากกรมธนารกั ษต์ าม (1) มีดังต่อไปนี้ - อาคารหรอื ส่ิงปลกู สร้างท่ีก่อสร้างมาแล้วไมน่ อ้ ยกวา่ 25 ปี - อาคารหรือสง่ิ ปลูกสร้างที่ชารดุ จนใชร้ าชการไม่ได้ - อาคารหรอื ส่ิงปลูกสรา้ งท่ีเกี่ยวกับราชการลบั ทางทหาร - อาคารหรอื สงิ่ ปลูกสร้างเดิมเพ่ือปลูกสรา้ งอาคารหรือ สง่ิ ปลกู สร้างใหมท่ ดแทนตามทไ่ี ดร้ บั งบประมาณโดยเม่ือร้ือถอนแล้วผู้ใช้ที่ราชพัสดุต้องแจ้งให้กรมธนารักษ์หรือสานักงานธนารักษ์พ้ืนที่ทราบตามแบบ ทบ.2 (แบบแจ้งการร้ือถอนสิ่งปลูกสร้างท่ีเป็นที่ราชพัสดุ) เพ่ือจาหน่ายรายการส่ิงปลูกสร้างออกจากทะเบียนทร่ี าชพัสดุตอ่ ไป (3) สาหรับกรณีที่ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุได้รื้อถอนและจาหน่ายอาคาร/สิ่งปลูกสร้าง ทั้งท่ีเป็นอาคาร/ส่ิงปลูกสร้างที่ต้องขออนุญาตร้อื ถอนและไม่ต้องขออนุญาตรอ้ื ถอนต่อกรมธนารักษ์ตามนัยกฎกระทรวงว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการปกครอง ดูแล บารุงรักษา ใช้ และจัดหาประโยชน์เก่ยี วกับทรี่ าชพัสดุ พ.ศ. 2545 โดยไดด้ าเนินการร้ือถอนและหรือจาหน่ายก่อนปี พ.ศ. 2551 และยังมิได้แจ้งการร้ือถอนและหรือจาหน่ายอาคารสิ่งปลูกสร้างออกจากทะเบียนท่ีราชพัสดุ ให้ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุดาเนินการดงั นี้หน้าทท่ี ่ีผใู้ ช้ทรี่ าชพสั ดตุ อ้ งปฏบิ ตั ิตามกฎหมายวา่ ดว้ ยท่ีราชพัสดุ 34

สว่ นท่ี 3 (3.1) กรอกรายละเอียดตามแบบแจ้งการร้ือถอนและจาหน่ายอาคาร/สงิ่ ปลกู สรา้ ง (แบบ ทร.11) (3.2) จัดส่งเอกสารท่ีเก่ียวข้อง เช่น ใบนาส่งเงินเป็นรายได้แผ่นดิน รายละเอียดการนาวัสดุที่ได้จากการรื้อถอนไปใช้ในราชการ รายละเอียดการนาวัสดุไปทาลายตามระเบียบสานักนายกรฐั มนตร(ี ถา้ ม)ี (3.3) หากไม่มีเอกสารตามข้อ (3.2) ให้รับรองข้อมูลเก่ียวกับวัสดุที่ได้จากการร้ือถอนตามแบบแจ้งการรื้อถอนและจาหน่ายอาคาร/สง่ิ ปลูกสรา้ ง (แบบ ทร.11) (4) ในกรณีท่ีอาคารหรือส่ิงปลูกสร้างที่จะรื้อถอนมีลักษณะที่ยังมีคุณภาพทางประวัติศาสตร์ ศิลปกรรม หรือสถาปัตยกรรมท่ีควรอนุรักษ์ไว้ หรือมีสภาพทยี่ ังใช้ประโยชนใ์ นทางราชการต่อไปได้ ก่อนแจ้งขออนุญาตร้ือถอนหรือก่อนทาการรื้อถอนแล้วแต่กรณี ผู้ใช้ที่ราชพัสดุจะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการจานวนไม่น้อยกว่า 3 คน เพ่ือพิจารณาเหตุผลและความจาเปน็ ตลอดจนปฏบิ ัตใิ หถ้ ูกต้องตามกฎหมายที่เก่ียวข้อง เพ่ือเสนอความเห็นประกอบการพจิ ารณาของผู้ใชท้ ี่ราชพัสดุดว้ ยหนา้ ท่ีที่ผู้ใช้ทรี่ าชพัสดตุ อ้ งปฏิบัติตามกฎหมายวา่ ด้วยท่ีราชพสั ดุ 35

ส่วนท่ี 3 3.10.2 การจาหน่ายอาคารหรือส่ิงปลูกสร้างท่ีจะทาการ รอ้ื ถอน หรือการจาหนา่ ยวัสดุท่ีรื้อถอนแล้ว หรือการจาหน่ายต้นไม้ ดิน หรือวสั ดอุ น่ื ๆ ที่ได้มาจากทรี่ าชพัสดุ ในกรณีท่ีผู้ใช้ที่ราชพัสดุจะจาหน่ายอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างที่จะทาการร้ือถอน หรือการจาหน่ายวัสดุท่ีร้ือถอนแล้ว หรือการจาหน่ายต้นไม้ ดิน หรือวัสดุอ่ืน ๆ ที่ได้มาจากที่ราชพัสดุ ผู้ใช้ที่ราชพัสดุจะต้องดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการจานวนไม่น้อยกว่า 3 คน เพื่อประเมนิ ราคาอาคารหรือส่งิ ปลกู สรา้ ง วสั ดทุ ีร่ อื้ ถอน ตน้ ไม้ ดิน หรือวัสดุอื่น ๆทจี่ ะจาหน่าย โดยกรรมการอย่างนอ้ ย 1 คนจะตอ้ งเปน็ ผชู้ านาญการหรือมีความรู้เก่ียวกับการประเมินราคาอาคาร หรือส่ิงปลูกสร้าง ต้นไม้ ดินหรือวัสดุอ่ืน ๆ ที่ได้มาจากท่ีราชพัสดุ และในการจาหน่ายให้ดาเนินการตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุโดยอนุโลม แล้วนาเงินที่ไดจ้ ากการขายสง่ คลังเป็นรายได้ของกรมธนารักษ์ 3.10.3 การนาวสั ดุท่ไี ดม้ าจากท่ีราชพสั ดุไปใชป้ ระโยชน์ ผู้ใช้ที่ราชพัสดุสามารถนาวัสดุท่ีได้จากการรื้อถอนไปใช้เพ่ือประโยชน์แก่ทางราชการ หรือเพ่ือประโยชน์แก่สาธารณประโยชน์หรือสาธารณกศุ ลตามความจาเปน็ ได้ แต่จะตอ้ งไดร้ บั อนุญาตจากกรมธนารักษ์หรือสานักงานธนารกั ษพ์ ้นื ท(ี่ แล้วแต่กรณ)ี ก่อน โดยในกรุงเทพมหานครให้ย่ืนขออนญุ าตตอ่ กรมธนารักษ์ สว่ นในจังหวัดอนื่ ใหย้ ื่นต่อสานกั งานธนารกั ษ์พนื้ ท่ีโดยมีรายละเอียดดงั น้ีหนา้ ทีท่ ีผ่ ู้ใช้ท่ีราชพัสดุตอ้ งปฏิบัติตามกฎหมายวา่ ด้วยท่รี าชพสั ดุ 36

ส่วนที่ 3 (1) การนาวัสดุที่ได้มาจากที่ราชพัสดุไปใช้เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ จะต้องเป็นการนาวสั ดุไปใช้ในกรณีดงั ต่อไปนี้ - การก่อสร้างอาคารหรอื สิ่งปลูกสร้างซ่ึงจะต้องนาส่งข้ึนทะเบียนท่รี าชพัสดุ - การจัดทาเปน็ วัสดอุ ปุ กรณต์ ่าง ๆ ทใ่ี ชเ้ พอื่ ประโยชน์แก่ทางราชการ เช่น โต๊ะ เก้าอ้ี เป็นต้น และวัสดุอุปกรณ์น้ันจะต้องลงบัญชีหรือทะเบียนเพอ่ื ควบคมุ พสั ดุตามระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรวี ่าด้วยการพัสดุ ทั้งน้ี หากผู้ใช้ที่ราชพัสดุมีความจาเป็นต้องนาวัสดุที่ได้มาจากที่ราชพัสดุไปใช้เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการอย่างอ่ืนนอกเหนือจากกรณีข้างต้น กรมธนารักษ์จะพิจารณาอนุญาตตามความเหมาะสมโดยคานึงถึงประโยชน์ทที่ างราชการจะได้รบั เป็นสาคญั (2) การนาวัสดุท่ีได้มาจากที่ราชพัสดุไปใช้เพื่อสาธารณประโยชน์หรือสาธารณกุศล ผู้ขอใช้ท่ีราชพัสดุจะต้องแสดงเหตุผลความจาเปน็ และประโยชนท์ สี่ าธารณชนจะพึงไดร้ บั ไปประกอบการพิจารณาของกรมธนารกั ษด์ ว้ ย (3) เม่ือผู้ใช้ท่ีราชพัสดุได้รับอนุญาตให้ใช้วัสดุที่ได้มาจากท่ีราชพัสดุแล้ว จะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการจานวนไม่น้อยกว่า 3 คนเพื่อตรวจนับและควบคุมการใช้วัสดุที่ได้มาจากที่ราชพัสดุ และให้จัดทาบญั ชีคมุ ยอดวสั ดุทรี่ ้ือถอนวา่ มจี านวนเท่าใด นาไปใชเ้ ท่าใด และคงเหลอืเท่าใด โดยหากมวี ัสดคุ งเหลอื จากการใช้ประโยชน์ให้ดาเนินการจาหน่ายตามหลักเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ตามข้อ 3.10.2 ท้ังนี้ ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุจะต้องนาวัสดุที่ได้มาจากท่ีราชพัสดุไปใช้เฉพาะตามที่ได้รับอนุญาตเท่าน้ัน และจะต้องไม่นาวัสดุท่ีได้มาจากท่รี าชพสั ดุไปสมทบกับเงนิ งบประมาณที่ได้รับเป็นค่าก่อสร้างอาคารใหม่ เว้นแต่ได้รับอนุมัติจากสานักงบประมาณแล้วหากมิไดร้ ับอนุมัติจากสานักงบประมาณจะต้องนาวัสดุที่ได้มาจากที่ราชพัสดุมาดาเนนิ การจาหน่ายตามหลกั เกณฑท์ กี่ าหนดไว้หน้าทีท่ ่ผี ้ใู ช้ท่รี าชพัสดตุ ้องปฏบิ ตั ิตามกฎหมายวา่ ดว้ ยทร่ี าชพัสดุ 37

สว่ นท่ี 3 3.10.4 การจาหน่ายรายการสิ่งปลูกสร้างออกจากทะเบียน ทีร่ าชพสั ดุ เมื่อผู้ใช้ที่ราชพัสดุได้รื้อถอนอาคารหรือสิ่งปลูกสร้างท่ีเป็นที่ราชพัสดุเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องแจ้งให้กรมธนารักษ์หรือสานักงานธนารักษ์พื้นที่ทราบ เพื่อจาหน่ายรายการสิ่งปลูกสร้างออกจากทะเบียนทร่ี าชพัสดุ โดยจะตอ้ งย่นื เอกสารดงั นี้  แบบแจ้งการร้ือถอนส่ิงปลูกสร้างที่เป็นที่ราชพัสดุ (แบบ ทบ.2)  หลักฐานใบนาส่งเงินรายได้แผ่นดินเป็นรายได้ของ กรมธนารกั ษ์ (กรณีประมลู ขาย)3.11 การส่งคืนทร่ี าชพัสดุ 3.11.1 กรณที ตี่ ้องสง่ คนื ท่ีราชพัสดุ ผู้ใช้ที่ราชพัสดุจะต้องส่งคืนท่ีราชพัสดุให้กรมธนารักษ์ในกรณีดงั ต่อไปนี้ (1) เลกิ ใชป้ ระโยชน์ในท่ีราชพัสดุ - กรณีดังกล่าวจะต้องสง่ คนื ทร่ี าชพัสดใุ ห้กรมธนารกั ษภ์ ายใน 30 วัน นับแต่วันที่เลิกใช้ประโยชน์ทร่ี าชพัสดุน้ัน (2) มไิ ด้ใชป้ ระโยชน์ทร่ี าชพัสดตุ ามทไี่ ด้รบั อนุญาต (3) ใชป้ ระโยชน์ที่ราชพสั ดุไมค่ รบถ้วนตามท่ีไดร้ บั อนุญาตหนา้ ที่ที่ผู้ใช้ท่ีราชพสั ดตุ อ้ งปฏบิ ัติตามกฎหมายวา่ ดว้ ยท่รี าชพัสดุ 38

ส่วนท่ี 3 (4) ใช้ประโยชน์ท่รี าชพสั ดแุ ตกตา่ งไปจากท่ไี ดร้ ับอนุญาต (5) เข้าครอบครองใช้ประโยชน์ที่ราชพัสดุโดยมิได้รับอนุญาตก่อน (6) มิได้ปฏบิ ัติตามเงอ่ื นไขที่กรมธนารักษ์กาหนด กรณีตาม (2) ถึง (6) ใหส้ ง่ คืนกรมธนารักษ์ภายใน 30 วันนับแต่วนั ครบกาหนด 2 ปีท่ีได้รับอนุญาตให้ใช้หรือครอบครองที่ราชพัสดุหรือนับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากกรมธนารักษ์ให้ส่งคืนท่ีราชพัสดุน้ัน แต่ถ้ามีความจาเป็นจะต้องใช้ท่ีราชพัสดุเพื่อประโยชน์ในทางราชการต่อไปให้ทาความตกลงกับกรมธนารักษ์ โดยชี้แจงเหตุผลและความจาเป็นภายใน 30 วัน นบั แต่วันทค่ี รบกาหนดดังกลา่ ว (7) กรณีท่กี รมธนารักษ์ได้เขา้ ตรวจสอบสภาพที่ราชพัสดุแล้วพบว่าผู้ใช้ท่ีราชพัสดุมิได้ดูแลและบารุงรักษาที่ราชพัสดุจนทาให้เห็นได้ว่าจะเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายต่อท่ีราชพัสดุ และผู้ใช้ที่ราชพัสดุไม่ได้ดาเนนิ การจดั การตามที่กรมธนารักษแ์ จ้งโดยท่ีไม่เหตผุ ลอันสมควร และกรณีทก่ี รมธนารักษ์พิจารณารายงานเก่ียวกับการปกครองดูแล บารุงรักษา ใช้และจัดหาประโยชน์เก่ียวกับที่ราชพัสดุท่ีอยู่ในความครอบครองหรือใช้ประโยชน์แล้วเห็นว่ามีท่ีว่าง หรือมีการใช้ประโยชน์ไม่เหมาะสมหรือไม่คุ้มค่ากับสภาพทาเลหรือภารกิจ และท่ีดินน้ันสามารถนามาใช้ประโยชนต์ ามนโยบายและภารกิจอื่นทเ่ี หมาะสมและมีความคุม้ ค่ากว่า กรณีนี้ให้ส่งคืนกรมธนารักษ์ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากกรมธนารักษ์ให้ส่งคืนที่ราชพัสดุนั้น แต่ถ้าผู้ใช้ที่ราชพัสดุยังมีความจาเป็นจะต้องใช้ที่ราชพัสดุเพ่ือประโยชน์ในทางราชการต่อไปจะต้องทาความตกลงกับกรมธนารักษ์พร้อมทั้งชี้แจงเหตุผลและความจาเป็นภายใน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากกรมธนารักษ์ โดยกรมธนารักษ์จะเสนอเรื่องใหค้ ณะกรรมการทีร่ าชพัสดพุ ิจารณาหน้าทีท่ ผ่ี ู้ใช้ที่ราชพัสดุต้องปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายวา่ ดว้ ยที่ราชพสั ดุ 39

สว่ นท่ี 3หมายเหตุ เม่ือกรมธนารักษ์ได้แจ้งให้ผู้ใช้ที่ราชพัสดุส่งคืนท่ีราชพัสดุท่ีต้องส่งคืนท้ัง 7 กรณีดังกล่าวข้างต้น และผู้ใช้ที่ราชพัสดุมิได้โต้แย้งภายใน 60 วนั นับแต่วันท่ไี ดร้ บั แจง้ กรมธนารกั ษอ์ าจพจิ ารณาอนญุ าตให้ผู้ขอใช้ท่ีราชพัสดุรายอ่ืนเข้าใช้ประโยชน์ในทางราชการหรือครอบครองทร่ี าชพสั ดุน้นั แทน หรือนามาดาเนินการตามนโยบายของรัฐบาลและภารกิจอน่ืทเ่ี หมาะสมและมคี วามคุ้มค่ากว่า โดยไม่จาต้องรอให้ผู้ใช้ที่ราชพัสดุน้ันส่งคืนทร่ี าชพสั ดุก่อนกไ็ ด้ 3.11.2 วธิ ีการปฏิบัติ (1) การแจ้งขอส่งคืนท่ีราชพัสดุ ให้ใช้แบบส่งคืนที่ราชพัสดุ (แบบ ทบ.6) โดยกรอกรายละเอียดพร้อมท้ังแผนที่แสดงบริเวณท่ีราชพัสดุที่ขอส่งคืนให้ครบถ้วนสมบูรณ์ โดยกรณีท่ีราชพัสดุตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานครให้แจ้งส่งคืนต่อกรมธนารักษ์ ส่วนกรณีที่ราชพัสดุทีต่ ้งั อย่ใู นจังหวดั อ่นื ให้แจ้งสง่ คนื ตอ่ สานักงานธนารักษ์พ้นื ที่ (2) กรมธนารักษ์/สานักงานธนารักษ์พื้นที่จะพิจารณาความเหมาะสมและแจง้ ให้ผใู้ ช้ที่ราชพัสดุแต่งต้ังผู้แทนเพ่ือดาเนินการส่งมอบทรี่ าชพสั ดแุ ละประสานนัดหมายวนั เวลาในการส่งมอบ-รบั มอบ โดยการสง่ คืนที่ราชพัสดุจะถือเป็นอันเสร็จสิ้นสมบูรณ์แล้วต่อเม่ือกรมธนารักษ์หรือผ้แู ทนได้รับมอบที่ราชพัสดุน้ันไว้แล้วตามแบบส่งมอบ-รับมอบที่ราชพัสดุ(แบบ ทบ.10) (3) ก ร ณี ท่ี ร า ช พั ส ดุ ที่ จ ะ ส่ ง คื น มี ก า ร บุ ก รุ ก ห รื อผู้ละเมิดท่ีราชพัสดุดังกล่าว ให้ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุมีหน้าที่ดาเนินการกับผู้บุกรุกหรือผู้ละเมิดก่อนส่งคืน เว้นแต่กรมธนารักษ์จะพิจารณาเห็นสมควรแก้ไขปญั หาเอง หรือแก้ไขปัญหาร่วมกับผู้ใช้ท่ีราชพัสดุผู้ส่งคืน ส่วนราชการอ่ืนหรือผู้เกี่ยวข้อง ซ่ึงกรณีดังกล่าวผู้ใช้ท่ีราชพัสดุจะต้องรวบรวมเอกสารหลักฐานเก่ียวกับการได้มา หลักฐานการเข้าครอบครองการใช้ประโยชน์ของผูบ้ กุ รุกหรือผูล้ ะเมดิ หรอื หลกั ฐานอนื่ ๆ ให้แกก่ รมธนารกั ษด์ ้วยหนา้ ท่ีท่ผี ู้ใช้ท่ีราชพสั ดุต้องปฏิบตั ติ ามกฎหมายวา่ ด้วยที่ราชพสั ดุ 40

สว่ นที่ 3 ท้ังนี้ หากปรากฏว่ามีความเสียหาย หรือน่าจะเกิดความเสียหายใด ๆ แก่ท่ีราชพัสดุ ซ่ึงเป็นการกระทาโดยจงใจ หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง หรือมีเจตนาทุจริตหรือกระทาการโดยปราศจากอานาจหรือนอกเหนืออานาจหน้าที่ กรมธนารักษ์จะแจ้งข้อมลู การกระทาดงั กลา่ วให้กบั หวั หนา้ ส่วนราชการหรือหัวหน้าหน่วยงานของผู้ใชท้ ร่ี าชพสั ดุ เพอื่ ดาเนินการทางวินัยและเกี่ยวกับความรับผิดทางแพ่งต่อไป และกรณีที่ราชพัสดุน้ันตั้งอยู่ในจังหวัดอื่นนอกจากกรุงเทพมหานครกรมธนารักษ์จะแจ้งใหผ้ ู้ว่าราชการจงั หวดั เพื่อทราบดว้ ย3.12 การผ่อนผนั การส่งคืนท่รี าชพัสดุ ผู้ใช้ท่ีราชพัสดุสามารถขอผ่อนผันการส่งคืนที่ราชพัสดุได้ในกรณดี ังตอ่ ไปน้ี 3.12.1 อยู่ระหว่างรอการพิจารณาอนุมัตเิ งนิ งบประมาณ -กรณนี ี้จะตอ้ งมกี ารขอต้ังงบประมาณโดยถูกต้อง และมีเอกสารการขอตั้งงบประมาณของสว่ นราชการนนั้ ดว้ ย 3.12.2 อยู่ในโครงการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ - กรณีน้ีต้องมีเอกสารการอนุมัติโครงการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาตโิ ดยถูกต้องแลว้ 3.12.3 เป็นโครงการต่อเนื่องหรือโครงการที่ได้รับอนุมัติแล้ว แต่ยังมิได้ดาเนินการ - กรณีนี้จะต้องเป็นโครงการต่อเน่ืองหรือโครงการที่ไดร้ ับอนมุ ัติใหด้ าเนินการโดยถูกตอ้ งแลว้ 3.12.4 อยู่ระหว่างการออกแบบก่อสร้าง - กรณีน้ีจะต้องมีเอกสารการอนุมตั ิเงนิ งบประมาณเพ่ือดาเนนิ การโดยถกู ต้องแล้วหนา้ ทีท่ ผ่ี ้ใู ช้ท่ีราชพัสดุตอ้ งปฏิบัติตามกฎหมายวา่ ดว้ ยท่รี าชพสั ดุ 41

สว่ นที่ 3 3.12.5 อยู่ระหว่างการประกาศแจ้งความเปิดประมูลประกวดราคาก่อสรา้ งอาคารหรือส่งิ ปลกู สร้าง - กรณีน้ีต้องมีเอกสารการอนมุ ตั เิ งนิ งบประมาณและมีการประกาศแจง้ ความมาแสดงโดยถูกตอ้ ง 3.12.6 ได้รับอนุมัติเงินงบประมาณหรือโครงการแล้วแตย่ งั เข้าใชป้ ระโยชน์ไมไ่ ด้ เน่อื งจากผู้บกุ รกุ ในที่ราชพัสดุไม่ยินยอมออกจากท่รี าชพัสดุ - กรณนี ีก้ รมธนารักษ์จะจดั เจา้ หนา้ ทไ่ี ปตรวจสอบว่ามีผู้บุกรุกจริงหรือไม่ มีกี่ราย ใช้ประโยชน์อะไร บริเวณใด จานวนเนื้อที่เท่าใดและจะดาเนินการมอบอานาจให้ผู้ใช้ที่ราชพัสดุดาเนินการตามกฎหมายกับผู้บุกรุกทุกราย โดยจะผ่อนผันระยะเวลาการส่งคืนท่ีราชพัสดุให้จนกว่าจะดาเนินการฟ้องขับไลผ่ ู้บกุ รุกออกไปไดเ้ สรจ็ ส้ิน ท้ังนี้ จะต้องชี้แจงเหตุผลและความจาเป็นต่อกรมธนารักษ์/สานักงานธนารักษ์พ้ืนท่ีภายใน 30 วันนับแต่วันที่ครบกาหนดอนุญาตหรือนับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากกรมธนารักษ์ให้ส่งคืนท่ีราชพัสดุนั้น พร้อมท้ังกรอกรายละเอียดลงในแบบ ทบ.7 (แบบขอผ่อนผันการส่งคืนที่ราชพัสดุ)และจัดส่งเอกสารหลักฐานให้กรมธนารักษ์พิจารณา โดยกรณีตามข้อ3.12.1, 3.12.2 และ 3.12.3 จะได้รับการผ่อนผันเป็นเวลา 2 ปีโดยมีเงอื่ นไขว่า หากมสี ่วนราชการอืน่ ได้รับงบประมาณเป็นค่าก่อสรา้ งแลว้ และแจ้งความประสงค์ต่อกรมธนารักษ์ว่ามีความจาเป็นต้องขอใช้ท่ีราชพัสดุที่ขอผอ่ นผนั การส่งคืน และถา้ ปรากฏว่าสว่ นราชการขอผอ่ นผันการสง่ คนื ยังมิได้รับอนุมัติเงินงบประมาณ จะต้องส่งคืนที่ราชพัสดุนั้นให้แก่กรมธนารักษ์ในทันที เพื่อที่จะได้จัดให้ส่วนราชการอื่นท่ีได้รับเงินงบประมาณเป็นคา่ กอ่ สร้างแลว้ ได้ใชป้ ระโยชนต์ ่อไปหมายเหตุ สาหรับกรณีท่ีผู้ใช้ที่ราชพัสดุแจ้งเหตุผลขอผ่อนผันการส่งคืนที่ราชพัสดุเป็นอย่างอื่นนอกเหนือไปจากทั้ง 6 กรณีดังกล่าวข้างต้นกรมธนารักษ์จะพิจารณาเหตุผลความจาเป็นเป็นราย ๆไปหนา้ ทีท่ ่ผี ใู้ ช้ทร่ี าชพัสดุตอ้ งปฏบิ ัติตามกฎหมายวา่ ด้วยท่รี าชพัสดุ 42


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook