Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2564

คู่มือนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2564

Published by pyizone.myint, 2022-01-18 05:47:13

Description: คู่มือนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

สารจาก ผู้อำ�นวยการโรงเรียน อาจารยพ์ รพรหม ชัยฉตั รพรสุข โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกคนสู่ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ขอต้อนรับน้องใหม่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาที่ ๑ ที่กำ�ลังจะเริ่มก้าวแรกของ การเรยี นในระดับช้ันมธั ยมศึกษา ตลอดจนนกั เรียนในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒-๖ ท่ีจะค่อย ๆ เรียนรู้ และเติบโตไปพรอ้ ม ๆ กนั ในครอบครวั สาธิตจฬุ าฯ ฝ่ายมัธยม แหง่ นี้ ในปีการศึกษา ๒๕๖๔ นี้ เป็นที่ทราบกันดีว่า ทุกประเทศทั่วโลกกำ�ลังประสบกับ สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรสั COVID-19 อยา่ งหลีกเลีย่ งไม่ได้ ทงั้ นปี้ ฏิเสธไม่ได้วา่ สถานการณ์ที่เผชิญอยู่น้ีได้ส่งผลกระทบต่อการเปิดภาคเรียนและการจัดการเรียนการสอนใน รูปแบบปกติที่นักเรียนทุกคนสามารถมาโรงเรียนได้ อย่างไรก็ตามโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ยังคงมุ่งมั่นและให้ความสำ�คัญในการจัดการเรียนการสอนอย่างเต็ที่ โดยโรงเรียนได้เตรียมความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนสำ�หรับนักเรียนท้ังในรูปแบบ On Site และรปู แบบ Online ผ่านระบบ CUD PLUS+ เพื่อใหน้ กั เรยี นทุกคนได้รบั ความรคู้ รบ ถว้ นเทียบเทา่ กบั การมาเรยี นท่ีโรงเรียน ซง่ึ นอกจากการจัดการเรยี นการสอนแลว้ โรงเรยี นจะยังคง ส่งเสริมและเติมเต็มศักยภาพของนักเรียนทุกคนอย่างเต็มที่ตลอดจนให้การสนับสนุนการเข้ารว่ ม แข่งขันหรือทำ�กิจกรรมในด้านต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เท่าที่จะสามารถทำ�ได้ ภายใตม้ าตรการปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั COVID-19 อย่างเครง่ ครดั 2

ในด้านการดูแลนักเรียนเม่ือนักเรียนมาเรียนท่ีโรงเรียนในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัส COVID-19 นั้น โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ได้เตรียม มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ในโรงเรียน ตั้งแต่การวางแนวทาง การปฏิบัติในโรงเรียนของคณาจารย์และบุคลากรเพื่อให้ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกัน COVID-19 การปฏิบัติตนเมื่ออยู่ในพื้นที่โรงเรียน โดยให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างครูและนักเรียนใน การจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการติดตั้งอุปกรณ์ต่าง ๆ ทั่วโรงเรียนเพื่อการป้องกันการ แพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ทั้งนี้ในการดำ�เนินการต่าง ๆ โรงเรียนขอขอบพระคุณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมาคมนักเรียนเก่าสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่ให้การสนับสนุนเสมอมา ตลอดจน ขอบพระคุณผูป้ กครองนักเรียนท่ีคอยให้ค�ำ แนะน�ำ และความหว่ งใยแกโ่ รงเรียนมาโดยตลอด สุดท้ายนี้ แม้ว่าการจัดการเรียนการสอนในภาคการศึกษา ๒๕๖๔ จะต้องเผชิญกับ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 แต่ความร่วมมือร่วมใจกันระหว่าง โรงเรียนและบ้านนั้นจะช่วยให้นักเรียนได้รับความรู้จากการจัดการเรียนการสอนท้ังในรูปแบบ On Site และ Online ได้อย่างครบถ้วนเช่นเดิม ทั้งนี้โรงเรียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าสถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 จะคลี่คลายและทำ�ให้สามารถกลับมาจัดการเรียน การสอนในรปู แบบปกติในเรว็ วัน 3

4

สารบัญ 1 ประวัติโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม 7 2 ทำ�เนียบผู้บริหารสูงสุด โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม 11 3 สัญลักษณ์ประจำ�โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม 12 4 สถานที่สำ�คัญภายในโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม 13 5 พระพุทธรูปประจำ�โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม 14 6 แผนผังอาคารและสถานที่ในโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ๑5 7 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ๑7 8 คณะผู้บริหาร โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ๑9 9 ผู้แทนบุคลากรสายวิชาการ ๒2 10 คณาจารย์โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ๒3 - กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๒3 - กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ๒4 - กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนาธรรม ๒5 - กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ๒6 - กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒7 - กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ๒8 - กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ๒9 - กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ 30 - กลุ่มกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 31 - โครงการ CUD-EP ๓2 11 แผนภมู ิแสดงจำ�นวนบุคลากรในโรงเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ฝ่ายมธั ยม ๓3 12 นักเรียนสร้างชื่อเสียงให้แก่โรงเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ๓5 13 กิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ๖3 14 อาจารย์ประจำ�ชั้น ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ๗4 15 เจ้าหน้าที่โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ๗6 16 กำ�หนดการเปิดปิดภาคเรียน และกำ�หนดการสอบวัดผลเวลาเรียน ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ๗8 17 โครงการ/กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอน 80 18 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ๘8 - โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ ๙6 - โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ 100 - โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโครงการ CUD – English Program ๑๐7 5

สารบญั 19 ระเบียบโรงเรียนและประกาศต่าง ๆ ๑๑4 - ระเบยี บโรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ฝา่ ยมัธยม ว่าด้วยการปฏบิ ัตติ นของนกั เรียน พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑๑5 - ระเบยี บโรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ฝา่ ยมธั ยม วา่ ดว้ ยเครอ่ื งแบบและการแตง่ กาย 126 ของนกั เรยี น พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๓2 - แนวปฏิบัติการไว้ทรงผมของนักเรียน 133 - ระเบียบโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ว่าด้วยการลงโทษนักเรียน 136 พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑๔4 - ระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการตัดคะแนนความประพฤตินักเรียน โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์ ๑๔9 มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม พ.ศ. ๒๕๖๓ ๑51 - แนวปฏิบัติการขอคืนคะแนนความประพฤติ ๑๕2 - แนวปฏิบัติการใช้โทรศัพท์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ของนักเรียน ๑๕6 - ตัวอย่างบัตรประจำ�ตัวนักเรียน ๑81 - เกณฑ์การพิจารณาประกาศเกียรติคุณนักเรียนดีเด่น รางวัลพระเกี้ยวเกียรติยศ ๑๘2 20 โครงการก่อสร้างอาคารเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม ๑๘2 21 ข้อมูลการให้บริการของหน่วยต่าง ๆ ๑๘3 - หน่วยโภชนาการ ๑๘3 - ร้านค้าของโรงเรียน ๑๘4 - ศูนย์ส่งเสริมสมรรถภาพทางกาย ๑๘6 - หน่วยเทคโนโลยีทางการศึกษา ๑๘7 - หน่วยอนามัย ๑๘9 - หน่วยหลักสูตรและการสอน ๑91 - หน่วยทะเบียนและประเมินผล ๑91 - ศูนย์คอมพิวเตอร์ ๑๙4 - ศูนย์แนะแนว ๑๙5 - หน่วยห้องสมุด ๑๙6 - ศูนย์ประสบการณ์วิชาชีพ ๑๙8 - โครงการการศึกษาพิเศษเพื่อพัฒนาความสามารถทางการเรียนรู้ ๑๙9 - ฝ่ายกิจการนักเรียน - สภานักเรียน 22 ข้อมูลติดต่อ โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม 6

โรงเรียนสาธิจุฬาลงกรณ์ เม่ือโรงเรยี นก่อตั้งและเรม่ิ ดำ�เนินการน้นั ตอ้ งประสบ มหาวิทยาลัยสถาปนาขึ้นเมื่อ ปัญหาหลายประการอันเนื่องมาจากการขาดแคลนงบ วันท่ี ๒๐ มถิ นุ ายน พ.ศ.๒๕๐๑ ประมาณทำ�ให้ไม่มีสถานที่เรียนที่แน่นอน จนกระทั่ง โดยศาสตราจารย์ท่านผู้หญิง ถึงสมัยที่ศาสตราจารย์อำ�ไพ สุจริตกุล ดำ�รงตำ�แหน่ง พนู ทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยธุ ยา อาจารย์ใหญ่ โรงเรยี นก็ได้สถานที่เรยี นถาวร คือ บรเิ วณ บ้านพักอาจารย์ชาวต่างประเทศที่มาสอนภาษาเยอรมัน เพอ่ื ใหเ้ ป็นสถานฝกึ ปฏิบัตกิ าร ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (อยู่ตรงข้ามโรงเรียน ทางการศึกษาและเป็นสถานท่ี เตรียมอดุ มศกึ ษาในปจั จุบัน) คือบา้ น ดร.ไคลน์ (Kline) ฝึกการปฏิบัติงานครูของคณะ ซึ่งขณะนั้นอยู่ในสภาพทรุดโทรม ศาสตราจารย์ท่านผู้ ครุศาสตร์ก่อนท่ีนิสิตจะจบการ หญิงพูนทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา คณบดีในขณะนั้น ศึกษาและไปทำ�หน้าที่ครูต่อไป 7

จึงไดข้ อให้องคก์ าร USOM สนบั สนนุ งบประมาณปรับปรุงหอ้ งเรยี น อาคารแหง่ นีจ้ ึงเปน็ อาคารหลังแรก ของโรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ปจั จบุ นั อาคารแหง่ ประวตั ศิ าสตรข์ องโรงเรยี นหลงั นไ้ี ดร้ บั การ ปรบั ปรงุ ในพทุ ธศกั ราช๒๕๔๐ โดยจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ใหเ้ ปน็ บา้ นรบั รองแขกของจฬุ าลงกรณ์ซง่ึ ใชช้ อื่ ใหม่ ว่า “เรือนภะรตราชา” ขณะนน้ั อาจารยท์ กุ ทา่ นตอ้ งท�ำ งานหนกั เพอ่ื ใหก้ ารเรยี นการสอนด�ำ เนนิ ไปดว้ ยดี คณะกรรมการด�ำ เนนิ งานชดุ แรกของโรงเรยี นมี ๖ ทา่ น คือ ๑. อาจารย์พนู ทรพั ย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา ๒. อาจารยก์ มลกาญจน์ เกษไสว ๓. อาจารย์พวงเพชร เอ่ยี มสกลุ ๔. อาจารยป์ ระชมุ สขุ อาชวอ�ำ รงุ ๕. อาจารย์ดวงเดอื น พศิ าลบตุ ร ๖. อาจารยส์ ำ�เภา วรางกรู คณบดคี ณะครศุ าสตร์ คอื อาจารย์พนู ทรัพย์ นพวงศ์ ณ อยุธยา ไดม้ อบให้อาจารยพ์ วงเพชร เอ่ียมสกุล เป็นผวู้ างโครงการและนโยบายการบรหิ ารโรงเรียน แตท่ า่ นไดถ้ งึ แก่กรรมก่อนท่ีจะด�ำ เนนิ งานตามโครงการท่วี างไว้ เมอ่ื อาจารย์พวงเพชร เอีย่ มสกุล เสยี ชีวติ คณบดจี งึ มอบหมายให้ อาจารยป์ ระชุมสขุ อาชวอ�ำ รงุ หัวหน้าแผนกวชิ าประถมศกึ ษาในขณะนั้นใหด้ แู ลรบั ผิดชอบการเรียนการสอนระดับชน้ั ประถมศึกษา ปีที่ ๑ และอาจารย์ ดร.กมลกาญจน์ เกษไสว หัวหน้าแผนกวิชามธั ยมศกึ ษาเปน็ ผดู้ ูแลรับผดิ ชอบใน ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๐๒ คณบดคี ณะครศุ าสตรแ์ ตง่ ตง้ั อาจารยอ์ �ำ ไพ สจุ รติ กลุ ด�ำ รงต�ำ แหนง่ อาจารยใ์ หญ่ นอกจากน้ยี ังมอี าจารยป์ ระจ�ำ โรงเรยี นสาธิตจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ๗ ทา่ น ท่ีมสี ว่ นสำ�คญั ใน การด�ำ เนินงานด้านการเรยี น การสอน และจัดกิจกรรมต่าง ๆ ในระยะเร่ิมแรก ดังนี้ ๑. อาจารย์ประสาร มาลากลุ ณ อยุธยา ๒. อาจารย์อาภรณ์ ชาติบรุ ษุ ๓. อาจารยส์ ภุ ากร นาคเสวี (ปจั จบุ นั ราชากรกจิ ) ๔. อาจารยป์ ระคอง ตนั เสถยี ร (ปจั จบุ นั กรรณสตู ) ๕. อาจารยป์ ระภาศรี ศริ ิจรรยา ๖. อาจารยก์ ิติยวดี ณ ถลาง (ปัจจบุ ัน บญุ ซื่อ) ๗. อาจารย์สุรภี นาคสาร (ปัจจบุ ัน สงั ขพิชยั ) 8

เมื่อเร่มิ เปิดทำ�การนน้ั โรงเรียนรบั สมคั รนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๑ และชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ (ประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ ในปัจจบุ ัน) เมื่อนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑ รนุ่ แรกขน้ึ ไปเรยี นใน ช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ โรงเรยี นจงึ หยุดรับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ คงรับนักเรยี นเฉพาะประถมศึกษาปีที่ ๑ เท่านน้ั อดีตอาจารยใ์ หญ่ ผูบ้ รหิ ารและคณาจารย์ของโรงเรียนสาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ได้รว่ มแรง รว่ มใจพฒั นาโรงเรียนใหก้ า้ วหน้าในดา้ นวชิ าการ ด้านบคุ ลากร และอาคารสถานทจี่ นเปน็ ทย่ี อมรบั และ ไว้วางใจของผู้ปกครองทจ่ี ะส่งบตุ รหลานเข้าศกึ ษาในโรงเรยี นแหง่ น้ี สมัยท่ีศาสตราจารย์ ดร.อุบล เรียงสุวรรณ ด�ำ รงต�ำ แหนง่ อาจารย์ใหญ่ นบั ได้ว่าเปน็ สมัยที่ โรงเรยี น พัฒนาอยา่ งมากในด้านอาคารสถานทีเ่ น่อื งจากโรงเรียนได้รบั งบประมาณจากรฐั บาลมาสรา้ ง อาคารเรยี นทถ่ี าวรและทนั สมยั ในซอยจุฬาฯ ๑๑ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๗ ซงึ่ เป็นสถานที่ตั้งโรงเรียนสาธติ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ฝา่ ยมธั ยม ในปัจจุบัน ดา้ นวชิ าการโรงเรยี นสาธิตจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย นับไดว้ ่าเป็นโรงเรียนท่ีจัดระบบการเรยี น การสอนท่ีทนั สมยั รวมทงั้ มกี ารสร้างหลักสตู ร มไิ ด้ใชแ้ ตเ่ พยี งหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการเท่าน้ัน บุคลากรก็เป็นผู้ท่ีมีความรู้ความสามารถและอุทิศตนเพื่องานของโรงเรียนอย่างเต็มกำ�ลังความสามารถ จงึ ท�ำ ใหน้ กั เรยี นของโรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั เกดิ ความรกั และรสู้ กึ อบอนุ่ เสมอื นกบั โรงเรยี น เปน็ บา้ นแหง่ ที่สอง เพราะอาจารย์และผูป้ กครองดูแลนักเรียนอยา่ งใกล้ชิด และใหค้ วามช่วยเหลือทกุ คร้ัง 9

พ.ศ. ๒๕๑๒ โรงเรยี นประสบปญั หาจากจ�ำ นวนนกั เรยี นทม่ี จี �ำ นวนเพม่ิ มากขน้ึ ถงึ กวา่ ๓,๐๐๐ คน ทำ�ให้การบริหารงานของโรงเรียนซับซ้อนยิ่งขึ้น กอปรกับความแตกต่างทางวัยของนักเรียนซึ่งมีตั้งแต่ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ผู้บริหารของคณะครุศาสตร์จึงเล็งเห็นความจำ�เป็น และขอ้ ดีของการแยกโรงเรยี นสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ออกเป็น ๒ ฝา่ ย คือฝ่ายประถม และฝ่าย มธั ยม โดยมอบหมายให้ศาสตราจารย์ ดร.อบุ ล เรียงสวุ รรณ ด�ำ รงตำ�แหน่งอาจารยใ์ หญ่ โรงเรียนสาธติ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย (ฝ่ายประถม) และศาสตราจารย์ ดร.วิจติ ร ศรสี อ้าน ดำ�รงตำ�แหน่งอาจารย์ ใหญโ่ รงเรยี นสาธติ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั (ฝา่ ยมธั ยม) ตำ�แหน่งผู้บริหารสูงสุดของโรงเรยี นสาธิตจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ฝา่ ยมัธยม มกี ารเปลีย่ นชื่อ ตำ�แหนง่ จากอาจารยใ์ หญ่ เป็นดงั นี้ ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๑๘-๒๕๑๙ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ภญิ โญ สาธร ด�ำ รงตำ�แหนง่ คณบดีคณะ ครศุ าสตร์ ได้มคี �ำ ส่ังที่ ๗๕/๒๕๑๘ ลงวันที่ ๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๑๘ ใหค้ ณบดคี ณะครศุ าสตรด์ �ำ รงตำ�แหน่ง ผู้อำ�นวยการโรงเรยี นสาธิตจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัยโดยตำ�แหนง่ พ.ศ. ๒๕๑๙-๒๕๒๓ ศาสตราจารยอ์ �ำ ไพ สจุ รติ กลุ คณบดคี ณะครศุ าสตร์ ไดเ้ สนอสภามหาวทิ ยาลยั แต่งตั้งอาจารย์ใหญ่โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นรองคณบดีปฏิบัติหน้าที่อาจารย์ใหญ่ โรงเรยี นสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั พ.ศ. ๒๕๔๐ คณะครศุ าสตรไ์ ดม้ กี ารปฏริ ปู การบรหิ ารโรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั โดย มีการกำ�หนดระเบียบการบริหารโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยข้ึนซ่ึงตามระเบียบน้ีกำ�หนดให้ ผบู้ รหิ ารสงู สดุ โรงเรยี นด�ำ รงต�ำ แหนง่ ผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี นเรยี กต�ำ แหนง่ ใหมว่ า่ รองคณบดแี ละผอู้ �ำ นวยการ และเปล่ียนการเขียนช่ือโรงเรยี นจากเดิมใชโ้ รงเรยี นสาธิต-จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั (ฝา่ ยมัธยม) เป็น โรงเรียนสาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมธั ยม พ.ศ. ๒๕๔๘ จากการประชมุ สภามหาวิทยาลยั ครัง้ ท่ี ๖๖๒ วันท่ี ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๔๘ ได้อนุมตั แิ ต่งต้งั ผอู้ �ำ นวยการโรงเรียนใหด้ ำ�รงต�ำ แหน่งรองคณบดคี ณะครุศาสตรต์ ามคำ�ส่ังจฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลยั ท ่ี ๓๒๔๘/๒๕๔๘ จากน้นั ตำ�แหนง่ ผู้บรหิ ารสงู สุดของโรงเรยี นจงึ เรียกช่อื ตำ�แหนง่ ใหม่ วา่ ผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ฝา่ ยมธั ยมและรองคณบดคี ณะครศุ าสตรจ์ นถงึ ปจั จบุ นั 10

ทำ�เนียบผู้บริหาร โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ฝ่ายมัธยม อาจารยใ์ หญ่โรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจารย์พวงเพชร เอี่ยมสกลุ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๐๑ ศาสตราจารย์ ดร.ประชุมสขุ อาชวอ�ำ รุง มิถุนายน ๒๕๐๑–พฤษภาคม ๒๕๐๒ ศาสตราจารยก์ ิตตคิ ุณอำ� ไพ สจุ รติ กุล มิถุนายน ๒๕๐๒–พฤษภาคม ๒๕๐๓ ศาสตราจารย์ ดร.อบุ ล เรยี งสุวรรณ มถิ ุนายน ๒๕๐๓–ตุลาคม ๒๕๑๒ อาจารยใ์ หญ่โรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย (ฝา่ ยมธั ยม) ศาสตราจารย์ ดร.วจิ ิตร ศรีสอา้ น มิถุนายน ๒๕๑๒–พฤศจิกายน ๒๕๑๓ รองศาสตราจารย์อาภรณ์ ชาตบิ ุรุษ พฤศจกิ ายน ๒๕๑๓–เมษายน ๒๕๑๖ รองศาสตราจารย์ ดร.ธรี ะชยั ปูรณโชติ เมษายน ๒๕๑๖–มถิ นุ ายน ๒๕๑๘ รองศาสตราจารยว์ ารินทร์ มาศกลุ มถิ นุ ายน ๒๕๑๘–เมษายน ๒๕๒๐ รองคณบดปี ฏิบัตหิ นา้ ท่อี าจารย์ใหญโ่ รงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ฝา่ ยมัธยม) รองศาสตราจารยน์ ิรมล สวสั ดบิ ตุ ร เมษายน ๒๕๒๐–กนั ยายน ๒๕๒๒ รองศาสตราจารย์ ดร.อนันต์ อตั ชู ตุลาคม ๒๕๒๒–๓๐ กนั ยายน ๒๕๒๖ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์อเนก หิรญั ๑ ตุลาคม ๒๕๒๖–๑๘ ธันวาคม ๒๕๒๗ รองศาสตราจารย์ ดร.อนนั ต์ อตั ชู (รักษาการ) ๑๙ ธันวาคม ๒๕๒๗–๑๗ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๒๘ รองศาสตราจารย์นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๘–๓ มนี าคม ๒๕๓๐ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยก์ รสี ธุ า แก้วสัมฤทธ์ิ ๔ มีนาคม ๒๕๓๐–๑๖ ธนั วาคม ๒๕๓๑ ศาสตราจารย์ กิตตคิ ุณ ดร.สมหวัง พธิ ิยานุวัฒน์ (รักษาการ) ๑๗ ธันวาคม ๒๕๓๑–๒๓ มกราคม ๒๕๓๒ รองศาสตราจารย์นพพงษ์ บญุ จิตราดลุ ย์ ๒๔ มกราคม ๒๕๓๒–๑๖ ธนั วาคม ๒๕๓๕ รองศาสตราจารยน์ พพงษ์ บุญจิตราดุลย์ (รกั ษาการ) ๑๗ ธนั วาคม ๒๕๓๕–๒๕ มกราคม ๒๕๓๖ รองศาสตราจารย์นพพงษ์ บญุ จติ ราดุลย์ ๒๖ มกราคม ๒๕๓๖–๑๖ ธันวาคม ๒๕๓๙ รองศาสตราจารยน์ พพงษ์ บุญจิตราดลุ ย์ (รกั ษาการ) ๑๗ ธนั วาคม ๒๕๓๙–๑๖ มกราคม ๒๕๔๐ ศาสตราจารย์ ดร.พฤทธ์ิ ศริ ิบรรณพิทักษ์ (รกั ษาการ) ๑๗ มกราคม ๒๕๔๐–๖ พฤษภาคม ๒๕๔๐ รองคณบดแี ละผอู้ �ำ นวยการโรงเรยี นสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ฝ่ายมัธยม ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยส์ ุธรรมา บลู ภักดิ์ ๗ พฤษภาคม ๒๕๔๐–๓๑ มนี าคม ๒๕๔๔ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ชูชยั รัตนภิญโญพงษ์ ๑ เมษายน ๒๕๔๔–๓๑ มนี าคม ๒๕๔๘ ผอู้ ำ�นวยการโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ฝ่ายมัธยม และรองคณบดีคณะครุศาสตร์ รองศาสตราจารยว์ ีระชาติ สวนไพรินทร์ ๑ พฤษภาคม ๒๕๔๘–๓๑ มนี าคม ๒๕๕๒ ผชู้ ่วยศาสตราจารยช์ ชู ัย รตั นภิญโญพงษ์ ๑ เมษายน ๒๕๕๒–๓๑ มีนาคม ๒๕๕๔ อาจารยว์ ันชัย เมฆหริ ญั ศิริ ๑ เมษายน ๒๕๕๔–๓๑ มีนาคม ๒๕๕๖ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ชยั ศักด์ิ ช่งั ใจ ๑ เมษายน ๒๕๕๖–๓๑ มนี าคม ๒๕๖๐ อาจารยพ์ รพรหม ชัยฉตั รพรสุข ๑ เมษายน ๒๕๖๐–๓๑ มีนาคม ๒๕๖๔ อาจารย์พรพรหม ชัยฉัตรพรสขุ ๑ เมษายน ๒๕๖๔-ปัจจบุ ัน 11

พระเกี้ยว คือ ศิราภรณ์ประดับพระเกศาของพระราชโอรส และพระราชธิดาของ พระมหากษัตริย์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ กำ�หนดให้พระเกี้ยว เป็นพิจิตรเลขา (สัญลักษณ์) ประจำ�รัชกาลในพระองค์ และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญเป็นเครื่องหมายหน้าหมวกของนักเรียน มหาดเล็ก (สำ�นักฝึกหัดวิชาข้าราชการพลเรือน) จนเมื่อโรงเรียนมหาดเล็ก ได้พัฒนาขึ้น เป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้บริหารของสถาบันจึงทูลขอพระบรมราชานุญาตใช้เป็น สัญลักษณ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจนถึงปัจจุบัน โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยซึ่งเป็นหน่วยงานในสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงใช้เป็นสัญลักษณ์ ประจ�ำ โรงเรยี นสบื มา 12

จึงได้มีการสมทบทุนเพื่อก่อสร้างเรือนรัชพรจากกลุ่ม ผปู้ กครอง เพือ่ ใช้เป็นทเี่ รียนสำ�หรบั นักเรยี นโครงการ พเิ ศษและไดป้ รบั ปรงุ พ้ืนทโี่ ดยรอบ ไดแ้ ก่ บอ่ เล้ียง ปลาและที่น่ังสำ�หรับนักเรียนเพื่อใช้ในการพักผ่อน อา่ นหนังสอื ในเวลาวา่ ง เมื่ออาคารอเนกประสงคส์ รา้ ง เสร็จและมีห้องเรียนสำ�หรับนักเรียนในโครงการน้ี เดมิ เปน็ เรอื นเพาะช�ำ ของโรงเรยี นตอ่ มาในปพี ทุ ธ- จึงได้เปลี่ยนสถานที่เรียนจากเรือนรัชพรไปท่ีอาคาร ศักราช ๒๕๓๖ รศ.นพพงษ์ บุญจิตราดุลย์ รองคณบดี อเนกประสงค์ ปฏิบัติหน้าที่อาจารย์ใหญ่ในขณะน้ันได้ปรับปรุงเรือน พุทธศักราช ๒๕๔๑ ผศ.สุธรรมา บูลภักดิ์ เพาะชำ�ให้เป็นเรอื นไทยและใชช้ ่ือ “เรือนรชั พร” ตามช่ือ รองคณบดีและผู้อำ�นวยการโรงเรียน ได้มอบหมาย ศิษย์เก่าคือ นายรัชพร พรประภา ซึ่งได้รับอุบัติเหตุและ ให้ผศ.เปรมฉัตร แรงขำ� รองผู้อำ�นวยการฝ่าย เสียชีวิตในต่างประเทศ ผู้ปกครองคือ คุณปรีชา และ กิจการพิเศษ ผศ.สุมนต์ ภู่พงษา รองผู้อำ�นวยการ รศ.ไพพรรณ พรประภา มีความประสงค์ที่จะมอบเงิน ฝ่ายวางแผนและพัฒนา อาจารย์วันชัย เมฆหิรัญศิริ จำ�นวนหน่ึงแก่โรงเรียนเพื่อใช้ประโยชน์ทางการศึกษา และ รศ.จุฑารัตน์ วิทยา* ปรับปรุงเรือนหลังนี้ ซ่ึงเป็นเวลาเดียวกับโรงเรียนจะต้องรับนักเรียนโครงการ อกี คร้งั เพ่อื ใช้เปน็ “หอ้ งประวตั ศิ าสตร์” ของโรงเรียน พิเศษกลุ่มแรกจากโรงเรียนสาธิตจุฬาฯ ฝ่ายประถม ใช้ชื่อ “ห้องประวัติศาสตร์ เรือนไทย–เรือนรัชพร” เขา้ ศกึ ษาต่อทโ่ี รงเรยี นสาธติ จฬุ าฯ ฝ่ายมธั ยม จากนน้ั ปจั จบุ นั เรอื นหลงั นใ้ี ชช้ อ่ื “เรอื นรชั พร–หอประวตั โิ รงเรยี น” 13

เป็นพระพทุ ธรปู ทม่ี ีพทุ ธศลิ ปแ์ บบเชียงแสน สิงห์หน่ึง ปางมารวชิ ยั หน้าตกั กวา้ ง ๗๙ เซนตเิ มตร สงู ๑๒๐ เซนตเิ มตร และกวา้ ง ๕๐ เซนตเิ มตร สร้างขึ้นอันเน่ืองจากด�ำ ริของรองศาสตราจารยป์ ระสานวงศ์ บูรณพมิ พ์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์จนิ ดารตั นส์ วุ กิ รม ผู้ชว่ ยศาสตราจารยป์ นดิ า ศิรกิ ลุ วเิ ชฐ และผชู้ ่วยศาสตราจารย์ สุนันทา เอกเวชวิท โดยมีวัตถุประสงค์การหล่อพระพุทธรูปเพื่อมอบให้กับโรงเรียนเป็นเครื่องยึดเหนี่ยว จิตใจและเป็นที่สักการบูชาของคณาจารย์ นักเรียนและบุคลากรของโรงเรียน ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนเป็น อยา่ งดีจากคณาจารย์ และนักเรยี นสร้างจนแลว้ เสรจ็ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ตอ่ มาไดม้ กี ารจดั หาสถานทเี่ พอื่ ด�ำ เนนิ การจดั สรา้ งบษุ บกเพอ่ื ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ซง่ึ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ สุมนต์ ภพู่ งษา รองผอู้ �ำ นวยการฝา่ ยวางแผนและพัฒนาในขณะนน้ั เปน็ ผูร้ บั ผดิ ชอบด�ำ เนินการจนแลว้ เสร็จ พร้อมอัญเชิญพระพุทธรูปลงมาประดิษฐาน ณ บริเวณบุษบกด้านข้างหอประวัติโรงเรียน (เรือนรัชพร) ในปี พ.ศ. ๒๕๔๑ โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์วัดสระเกศราชวรมหาวิหารเป็นผู้ทำ�พิธีประดิษฐานและตั้งชื่อ เพ่อื เปน็ ท่ีเรียกขานตอ่ ไปว่า พระพุทธมงคลสพุ ลธรรมสาธติ ในปี พ.ศ.๒๕๕๙ โรงเรยี นสาธิตจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ฝา่ ยมธั ยม ได้บรู ณะปรบั ปรุงองค์พระพุทธรปู ประจำ�โรงเรียนบุษบกประดิษฐานพระพุทธรูปประจำ�โรงเรียน และบริเวณโดยรอบเพื่อให้มีความสวยงาม และสะดวกแก่ผู้มาสักการบูช โรงเรยี นไดต้ ง้ั ศาลพระศวิ ะ และ ศาลพระชยั มงคล เม่ือแรกเร่ิมก่อต้ังโรงเรียนในปีพุทธศักราช ๒๕๐๑ ตั้งอยู่บริเวณประตู ๑ ของโรงเรียน เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่คณาจารย์ บุคลากร และ นักเรียนเคารพบูชา ต่อมาในปีพุทธศักราช ๒๕๕๘ โรงเรียนได้ทำ�พิธีถอนศาลทั้งสองเพื่อ ปรับปรุงภูมิทัศน์โดยรอบให้สวยงามขึ้น และ ก่อสร้างยกพื้นสำ�หรับตั้งศาลให้สูงขึ้นและทำ� บันไดด้านข้างสำ�หรับขึ้นไปสักการบูชา เมื่อ ปรับปรุงแล้วได้ทำ�พิธีตั้งศาลอีกครั้ง 14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

37

38

39

40

41

42

43

44

45

46

47

48

49

50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook