Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 6-หน่วยการเรียนรู้ที่ 4-1 พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยประชาธิปไตย

6-หน่วยการเรียนรู้ที่ 4-1 พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยประชาธิปไตย

Description: 6-หน่วยการเรียนรู้ที่ 4-1 พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยประชาธิปไตย

Search

Read the Text Version

พัฒนากาสรปรมะวััติยศาสปตร์ไรทยะชาธิปไตย

เราปกครอง \"ระบอบประชาธิปไตย\" กันมากี่ปีแล้ว ?



ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเจริญรุ่งเรือง พระมหากษัตริย์ ทรัพยากร ความสัมพันธ์ แผนพัฒนา ธรรมชาติ ระหว่างประเทศ เศรษฐกิจ

พัฒนาด้านการเมืองการปกครอง

เหตุปัจจัยการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ความขัดแย้ง ความหลากหลายของ ภาวะเศรษฐกิจ ทางการเมือง แนวคิดทางการเมือง ตกต่ำ

ผู้นำคณะราษฎร์ สายพลเรือน-หลวงประดิษฐ์มนูธรรม สายทหารเรือ-หลวงสินธุสงครามชัย สายทหารบกชั้นยศน้อย-หลวงพิบูลสงคราม สายนายทหารชั้นยศสูง-พระยาพหลพลพยุหเสนา 4 ทหารเสือ

หลักการ 6 ประการ \"อุดมการณ์ในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เอกราช ปลอดภัย เศรษฐกิจ เสมอภาค เสรีภาพ การศึกษา

การเมืองการปกครองภายใต้การรัฐประหาร

พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองภายใต้กระแสเรียกร้องประชาธิปไตย เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 เกิดขึ้นหลังจากจอมพลถนอม กิตติขจร ใช้กำลัง ทหารยึดอำนาจตนเอง ทำให้เกิดกระแสต่อต้าน นำไปสู่เหตุการณ์ 14 ตุลา สิ้นสุดลงเมื่อจอมพล ถนอม จอมพลประภาส และพันเอกณรงค์เดิน ทางออกนอกประเทศ เหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 เกิดขึ้นหลังจากจอมพลถนอม กิตติขจร เดินทาง เข้ามาในประเทศไทยอีก ทำให้เกิดการชุมนุม ประท้วงของนิสิตนักศึกษา ทำให้เกิดการสลาย การชุมนุม

พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองภายใต้กระแสเรียกร้องประชาธิปไตย (ต่อ) พฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535 มีการชุมนุมประท้วงการขึ้นดำรงตำแหน่งนายก รัฐมนตรีของพลเอกสุจินดา คราประยูร รัฐบาลใช้ กำลังปราบปรามผู้ชุมนุมอย่างรุนแรง และ เหตุการณ์สิ้นสุดลง เมื่อพลเอกสุจินดา ลาออก จากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี

พัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจ เกิดจากหลักการ 6 ประการ ที่ว่า \"จะบรุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎร ในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะ หาให้ราษฎร์ทุกคนทำ รวมทั้งจะวาง โครงการทางเศรษฐกิจแห่งชาติไม่ ปล่อยให้ราษฎรอดยาก\"

พัฒนาการทางด้านเศรษฐกิจ เศรษฐกิจแบบไทยทุนนิยม เศรษฐกิจแบบไทย ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ในสมัยรัฐบาลของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้ดำเนินนโยบายเศรษฐกิจแบบทุนนิยม รัฐบาลได้ประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่ง และได้เน้นให้ประชาชนสนับสนุนงานของคน ชาติฉบับแรก ใน พ.ศ. 2504 วัตถุประสงค์ที่ ไทย โดยใช้ของที่ผลิตในประเทศไทย สำคัญ คือ การยกมาตรฐานการครองชีพของ ประชาชนให้ดีขึ้น โดยทุกๆ ๕ ปีจะมีการ \"ไทยทำ ไทยใช้ ไทยเจริญ\" ประกาศแผนฉบับต่อๆ มาจนถึงปัจจุบัน

พัฒนาการด้านสังคม สถาบันพระมหากษัตริย์ และวัฒนธรรม บริหารราชการภายใต้รัฐธรรมนูญ ผ่านรัฐสภา พระบรมวงศานุวงศ์ ถูกห้ามยุ่งเกี่ยวกับการเมือง ขุนนางข้าราชการ สนับสนุนคณะราษฎร ราษฎรทั่วไป มีสิทธิเสรีภาพมากขึ้นภายใต้ รัฐธรรมนูญ

ผลพัฒนาการทางด้านสังคมและวัฒนธรรม อาชีพหลากหลายมากขึ้น เทคโนโลยี การสื่อสารเจริญ ก้าวหน้่า เป็นสังคมเมืองมากขึ้น เกิดปัญหาสังคมมากขึ้น

บทบาทของไทย พ.ศ. 2493 สมัยประชาธิปไตย ต่อสังคมโลก ร่วมรบในสงครามเกาหลี พ.ศ. 2498 เข้าร่วมองค์การสหประชาชาติ สมาชิกก่อตั้ง SEATO พ.ศ. 2504 ร่วมจัดตั้งสมาคม ASA พ.ศ. 2537 เข้าร่วม WTO

เหตุการณ์สำคัญที่มีผลต่อพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2 ไทยยินยอมให้กองทัพญี่ปุ่นผ่านประเทศไทย โดยญี่ปุ่นจะ เคารพในเอกราชและอธิปไตยของประเทศไทยนั้น มีผลอยู่ เพียง 3 วันเท่านั้น เพราะในวันที่ 11 ธันวาคม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ก็ได้แจ้งต่อคณะรัฐมนตรีว่า ญี่ปุ่นได้เสนอให้ ไทยทำสัญญาเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่น ภาพการลงนามสัมพั นธไมตรี ไทย-ญี่ปุ่น ในวัดพระแก้ว

เหตุการณ์สำคัญที่มีผลต่อพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2 (ต่อ) ขบวนการเสรีไทย (FREE THAI MOVEMENT) เป็นขบวนการ ใต้ดินต่อต้านกองทัพญี่ปุ่น โดยมีสายปฏิบัติการ 2 สาย ในไทย นำโดย ปรีดีพนมยงค์ ต่างประเทศ นำโดย หม่อมราชงศ์เสนีย์ ปราโมช ทำใ้ห้ไทยไม่ได้ตกฐานะของผู้แพ้สงคราม และผูกสัมพันธไมตรี กับสหรัฐอเมริกา และยอมช่วยไทยไกล่เกลี่ยกับชาติอื่น ๆ ทหารฝ่ายพั นธมิตรลักลอบส่งอาวุธยุทโธปกรณ์ ให้เเก่เสรีไทยด้วยเครื่องบินของอังกฤษที่สนามบินลับเเห่งหนึ่ง ในจังหวัดเลย เมื่อ พ.ศ. 2488

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยประชาธิปไตย บทบาทพระมหากษัตริย์ไทย ในสมัยประชาธิปไตย อาจารย์บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย สิทธิเดช ศรีเคน นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พระราชประวัติ เป็นพระราชโอรสพระองค์แรก ในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทรงมีสมเด็จพระเชษฐภคินี 1 พระองค์และสมเด็จ พระอนุชา 1 พระองค์ คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชกรณียกิจที่สำคัญ เสด็จเยี่ยมประชาชนชาวไทย ทรงเปิดโรงพยาบาลอานันทมหิดล ทรงตรวจพลสวนสนามของกองทัพพันธมิตร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จมาเป็นองค์ประธาน ในพิธีสวนสนามของกองกำลังเสรีไทยและทหารพันธมิตร เมื่อวันที่ ๑๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๙

พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช พระราชประวัติ ทรงเป็นพระอนุชาธิราชในรัชกาลที่ ๘ เสด็จขึ้นครองราชย์สมบัติเป็นพระมหากษัตริย์ พระองค์ที่ ๙ ในราชวงศ์จักรี พระราชกรณียกิจที่สำคัญ โครงการทำฝนเทียม โครงการแก้มลิง กังหันน้ำชัยพัฒนา โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทอดพระเนตรกังหันนํ้าชัยพัฒนา ซึ่งเป็นสิ่งประดิษฐ์เรียบง่ายแต่มีประสิทธิภาพสูงในการบำบัดนํ้าเสีย