Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาพและประวัติเทวรูปพระวิษณุกรรมในประเทศไทย หน่วยงานและวัด

ภาพและประวัติเทวรูปพระวิษณุกรรมในประเทศไทย หน่วยงานและวัด

Published by ห้องสมุดของนายอึ๊ง, 2021-01-27 01:31:31

Description: ภาพและประวัติเทวรูปพระวิษณุกรรมในประเทศไทย หน่วยงานและวัด

Keywords: เทวรูปพระวิษณุกรรมหน่วยงานและวัด

Search

Read the Text Version

หนังสือชุดพระวษิ ณุกรรมเทพ เล่ม 8 เทวรูปพระวษิ ณุกรรมในประเทศไทย ในหน่วยงานและวดั

ความเป็ นมา สืบเนื่องจากนอ้ ง กรุงเทพช่าง ช่างไฟ (ชยั ) เสนอในเฟสลูกพระวษิ ณุกรรม (ปัจจุบนั เปลี่ยนช่ือเป็ น ชมรมลูกพระวิษณุกรรม) เมื่อวนั ที่ 13 พฤศจิกายน 2557 เวลา 9.39 น. “กลุ่มลูกพระวิษณุกรรม น่าจะ รวบรวมภาพองคพ์ อ่ จากทว่ั ประเทศ แลว้ มาทาเป็ นหนงั สือดีไหมนา้ าาา สงสัยเราจะคิดดงั ไปหน่อย...อิอิ” มี กระแสตอบรับอยา่ งลน้ หลาม มีผรู้ ่วมอุดมการณ์เขา้ มาร่วมกนั 11 ทา่ น ท่ีจะร่วมกนั สานฝันของนอ้ ง กรุงเทพ ช่าง ช่างไฟ (ชยั ) ดงั น้ี คือ รายนามผู้ร่วมริเริ่มการจัดทาหนังสือรวบรวมข้อมูลภาพและประวตั พิ ระวษิ ณกุ รรมทว่ั ไทย 1. นายภูมิพฒั น์ (เอส) ทวสี ุข เฟส Poomipat Thaweesook ประธานชมรมลูกพระวษิ ณุกรรม 2. นายประเสริฐ (อ๊ึง) แซ่อ๊ึง เฟส ประเสริฐ แซ่อ๊ึง 3. อาจารยส์ ุริศกั ด์ิ (เกา้ ) บุญกิตติพร เฟส Surisak Boonkitiporn 4. นายกุลชาติ (อนั๋ ) สุทธิประสิทธ์ิ เฟส Kulachart Suttiprasit 5. นายกมล (ลง้ ) อุไรเรืองศรี เฟส งามวงศว์ าน สมบตั ิศิลป์ 6. นายจตุรงค์ (มด) หล่มศกั ด์ิ เฟส Jaturong An Ant Lomsak 7. นายปัณณทตั (ชยั ) ขนุ ทอง เฟส กรุงเทพช่าง ช่างไฟ 8. นายพลสิทธ์ิ (สิทธ์ิ) แซ่เตียว เฟส BlueBlood Sit 9. พ.จ.อ.วราวธุ (โบท๊ ) สุนทรเกตุ เฟส Boatz Ahoy 10. นายอภิชาติ (ชาติ) ออ่ นละมูล เฟส Richard Onlamun 11. นายอนุสรณ์ (โอรส) เจนเบญจธรรม เฟส โอรส หมาป่ า มีการพูดคุยเสนอขอ้ คิดเห็นในเฟส และไดเ้ ปลี่ยนชื่อเฟสจากลูกพระวิษณุกรรมเป็ นชมรมลูกพระ วิษณุกรรม ซ่ึงมีนายภูมิพฒั น์ (เอส) ทวสี ุข เฟส Poomipat Thaweesook ประธานชมรม ฯ และมีความเห็น พร้องกนั วา่ หนงั สือ เล่มน้ีต่อไปจะเป็ นที่กล่าวขาน เพราะแต่ละสถาบนั ย่อมมีประวตั ิศาสตร์ ของแต่ละ สถาบนั ซ่ึงเด็กยุคใหม่อาจไม่เคยรู้ แต่พวกเราจะทาใหน้ อ้ ง ๆ รู้วา่ พี่ นอ้ ง เคา้ อยกู่ นั แบบไหน ความสามคั คี น้นั สาคญั นกั สังคมน้ีจะอยคู่ นเดียวไมไ่ ดค้ รับ ปฐมบท กาลงั จะเกิดข้ึนจากใคร คนใดคนหน่ึงไม่ไดค้ รับ ตอ้ ง มีพี่ ๆ น้อง ๆ ร่วมมือกนั ครับ ไหน ๆ ทาแลว้ ตอ้ งทาให้ดีไปเลย เพ่ือเป็ นขอ้ มูลอา้ งอิงในอนาคตไดเ้ ลย โอกาสทาแบบน้ีไม่ง่ายครับ สายสัมพนั ธ์แห่งลูกพระวิษณุกรรมจะกลายเป็ นจุดเปล่ียนสาคญั แห่งหน้า ประวตั ิศาสน์ช่างไทยลดความขดั แยง้ เพมิ่ พนู มิตรภาพ สรรคส์ ร้างมิติใหม่แห่งชนช่างไทย

งาน น้ีงานใหญ่ที่ต้งั เป้าหมายจะเก็บให้ครบทุกองคใ์ นประเทศไทย ตอ้ งใชเ้ วลาแยะ ผูร้ ่วมริเร่ิมการ จดั ทาหนงั สือรวบรวมขอ้ มูลภาพและประวตั ิพระวษิ ณุกรรมทว่ั ไทย ของชมรมลูกพระวษิ ณุกรรมได้จดั การ ประชุมจดั ต้งั คณะทางานของชมรมลูกพระวษิ ณุกรรม เพ่ือจดั รวบรวมขอ้ มูลภาพและประวตั ิพระวษิ ณุกรรม ทวั่ ไทย และต้งั ชื่อวา่ คณะจดั ทาหนงั สือ “พระวิษณุกรรม บรมครูช่าง” โดยมอบหมายให้นายประเสริฐ แซ่อ๊ึง เป็ นหัวหน้าคณะทางาน เม่ือวนั พุธที่ 10 ธันวาคม 2557 ณ ห้อง 1606 ช้ัน 16 ไดมอนรัชดา คอนโดมิเนียม ของอาจารยส์ ุริศกั ด์ิ (เกา้ ) บุญกิตติพร ที่ประชุมมีขอ้ สรุปจะตอ้ งสร้างเครือข่าย ลูกข่ายในแต่ ละพ้ืนท่ีช่วยรวบรวมขอ้ มูลและภาพถ่ายของพระวิษณุกรรมของแต่ละสถาบนั ตามรูปแบบที่คณะทางาน กาหนด เพ่ือให้ไดข้ อ้ มูลของแต่ละสถาบนั เป็ นแนวทางเดียวกนั ทุกสถาบนั แลว้ ส่งขอ้ มูลมารวบรวมท่ี คณะทางานเก็บสะสมไว้ ในขณะที่ขอ้ มูลทยอยเขา้ มาก็ตอ้ งเริ่มเรียบเรียงและจดั เก็บใหเ้ ป็นระบบ แต่หลงั จากน้ันก็ได้มีการเดินงานไปประมาณหน่ึง ผมที่เป็ นหัวเรี่ยวหัวแรงมีภารกิจไม่มีเวลา ดาเนินการ จึงหยดุ ดาเนินการไป ต่อมาหลงั จากท่ีผมไดศ้ ึกษาเรื่องราวและตานานพระวิษณุกรรม จนรวบรวมและเรียบเรียงสาเร็จ เห็นวา่ ในประเทศไทยโดยเฉพาะสถาบนั ท่ีสอนดา้ นอาชีวศึกษาจะมีเทวรูปพระวษิ ณุกรรมประจาสถาบนั เพื่อ เป็ นศูนยร์ วมจิตใจครูอาจารยแ์ ละนกั เรียนนกั ศึกษา แทบทุกสถาบนั จึงกลบั มาคิดที่จะรวบรวมภาพเทวรู ปพระวิษณุกรรมในประเทศไทยอีกคร้ัง โดยมีวตั ถุประสงค์เพ่ือเป็ นขอ้ มูลเบ้ืองตน้ ให้ผูท้ ี่สนใจไดน้ าไป ศึกษาตอ่ ยอดในดา้ นต่าง ๆ โดยไมห่ วงั ผลดา้ นธุรกิจ แตโ่ ดยลาพงั ผมเองคงไม่สามารถเดินทางไปถ่ายภาพได้ หมด แต่ไดแ้ นวร่วมเพอื่ นพน่ี อ้ งผรู้ ่วมอุดมการณ์ในเฟส ช่วยกนั รวบรวมขอ้ มูลประวตั ิและถ่ายภาพองคพ์ ระ วษิ ณุกรรมมาให้ และที่ช่วยไดม้ ากคือระบบสืบคน้ Google และ Facebook ของสถาบนั การศึกษา จึงทาให้ โครงการน้ีดาเนินงานไดง้ ่ายข้ึนและสาเร็จในเวลาไม่นาน ขอขอบคุณเพ่ือนพี่น้องทุกท่านมากครับ น้ีคือ ประวตั ิศาสตร์อีกหน้าหน่ึงของไทยที่พวกเราไดช้ ่วยกนั สร้างสรรค์ แต่ยงั เป็ นหนังสือที่ยงั ตอ้ งปรับปรุง รูปภาพเน้ือหาและการจดั หนา้ ให้ดีข้ึน ถา้ ท่านพบวา่ มีขอ้ มูลใดผิดพลาดมีรูปภาพที่ดีกวา่ หรือมีขอ้ มูลเทวรูป พระวษิ ณุกรรมเพิ่มเติม เพราะยงั คงมีเทวรูปพระวิษณุกรรมอีกหลายสถานท่ีท่ีผมไม่ทราบ จึงไม่ไดน้ ามาลง ในหนงั สือชุดน้ี ส่งมาไดท้ ี Email : [email protected] ผมพร้อมท่ีจะปรับปรุงแกไ้ ขให้ดีข้ึน ขอบคุณมาก ครับ ประเสริฐ แซ่อ๊ึง ผศู้ ึกษาคน้ ควา้ และเรียบเรียง 1 สิงหาคม 2563

คานา หนงั สือชุดพระวษิ ณุกรรมเทพ เล่ม 8 เทวรูปพระวิษณุกรรมในประเทศไทย ในหน่วยงานและวดั เป็น 1 ใน 9 เล่มของหนงั สือชุดพระวษิ ณุกรรมเทพ หนังสือชุดพระวษิ ณกุ รรมเทพ มีดงั น้ี เล่มท่ี 1 ตานานพระวษิ ณุกรรม มหาคุรุเทพแห่งงานช่างและความสาเร็จท้งั ปวง เล่มที่ 2 เทวรูปพระวษิ ณุกรรมในประเทศไทย ประจาสถานศึกษาในกรุงเทพฯ และปริมณฑล เล่มท่ี 3 เทวรูปพระวษิ ณุกรรมในประเทศไทย ประจาสถานศึกษาในภาคกลาง เล่มท่ี 4 เทวรูปพระวษิ ณุกรรมในประเทศไทย ประจาสถานศึกษาในภาคเหนือ เล่มท่ี 5 เทวรูปพระวษิ ณุกรรมในประเทศไทย ประจาสถานศึกษาในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ เล่มที่ 6 เทวรูปพระวษิ ณุกรรมในประเทศไทย ประจาสถานศึกษาในภาคตะวนั ออก เล่มที่ 7 เทวรูปพระวษิ ณุกรรมในประเทศไทย ประจาสถานศึกษาในภาคใต้ เล่มที่ 8 เทวรูปพระวษิ ณุกรรมในประเทศไทย ในหน่วยงานและวดั เล่มที่ 9 พระวษิ ณุกรรมอินเดียและพระวษิ ณุกรรมศิลปะขอม-ลพบุรี ประเสริฐ แซ่อ๊ึง ผศู้ ึกษาคน้ ควา้ และเรียบเรียง ลูกพระวษิ ณุกรรม ช่างกลปทุมวนั รุ่น 50 ปวช ช่างวทิ ยแุ ละโทรคมนาคม สารพดั ช่างพระนคร หลกั สูตรซ่อมโทรทศั น์ 2524 วทิ ยาลยั เทคนิคกรุงเทพ ฯ ช่างอีเลก็ โทรนิคส์ รุ่น 31 ช่างกลพระนครเหนือ ป.ตรี ครุอุตสาหกรรม อิเลก็ ทรอนิกส์ – ส่ือสาร 2536 1 ธนั วาคม 2563

เทวรูปพระวษิ ณุกรรมในประเทศไทย ในหน่วยงานและวดั หน้า สารบญั พระวษิ ณกุ รรมประจาหน่วยงาน 1 กรมศิลปากร 2 สานกั ช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร 3 วศิ วกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 5 กรมทางหลวง แขวงทางหลวงสมุทรสาคร กรมทางหลวง 6 กรมทางหลวงชนบท 8 แขวงทางหลวงชนบทอา่ งทอง 9 สานกั งานทางหลวงชนบทยโสธร 10 กรมอูท่ หารเรือ 11 กรมช่างโยธาทหารเรือ 13 กรมยทุ ธโยธาทหารบก 14 กรมช่างโยธาทหารอากาศ 15 ค่ายธนะรัชต์ ศูนยก์ ารทหารราบ ปราณบุรี 16 โรงงานสร้างปื นใหญแ่ ละเครื่องยงิ ลูกระเบิด รง.ปค.ศอว.ศอพท. ลพบุรี 17 ศูนยซ์ ่อมบารุงรักษา สานกั งานไทรนอ้ ย การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย 18 โรงไฟฟ้าแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย 21 เรือนจานนทบุรี 24

สารบญั หน้า พระวษิ ณุกรรมประจาหน่วยงาน สถานีวทิ ยกุ ารบินภูเก็ต 25 บริษทั เอส.เอช.เค. เอ็นจิเนียริ่ง จากดั พระประแดง สมุทรปราการ 26 พระวษิ ณุกรรมในวดั วดั ดอนตะโก อ.เมือง ราชบุรี 27 วดั หวั กระบือ บางขนุ เทียน กรุงเทพฯ 29 วดั บุคคโล ธนบุรี กรุงเทพฯ 30 วดั โกมุทพุทธรังสี ทววี ฒั นา กรุงเทพฯ 31 วดั ราชสิทธาราม (วดั พลบั ) แขวงวดั อรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพ ฯ 32 วดั ทองนาปลง่ั อ.เมือง นนทบุรี 33 วดั ราษฎร์ประครองธรรมบางใหญ่ นนทบุรี 34 วดั บางพระ (หลวงพอ่ เปิ่ น) นครชยั ศรี นครปฐม 35 วดั สุทธาวาส วปิ ัสนา อ.ลาดบวั หลวง พระนครศรีอยธุ ยา 36 วดั ลาดระโหง อ.บางปะอิน พระนครศรีอยธุ ยา 37 อุทยานศาสนาพระโพธิสัตวก์ วนอิม แก่งกระจาน เพชรบุรี 38 วดั จุฬามณี อมั พวา สมุทรสงคราม 39 วดั มว่ ง วเิ ศษชยั ชาญ อ่างทอง 40 วดั ตน้ สน อ.เมือง อา่ งทอง 41 อาศรม รวมเทพ วิเศษชยั ชาญ อ่างทอง 42

สารบญั หน้า พระวษิ ณุกรรมในวดั วดั คลองทราย อ.บา้ นฉาง ระยอง 43 วดั ทา่ งาม วดั โบสถ์ พิษณุโลก 44 หนา้ บนั ศาลหลกั เมืองน่าน ในวดั มิ่งเมือง อ.เมือง น่าน 45 พระวษิ ณุกรรมในสถานทต่ี ่าง ๆ บา้ นช่างหล่อ แขวงบา้ นช่างหล่อ เขตบางกอกนอ้ ย กรุงเทพฯ 46 หนา้ โรงเรียนชาญวทิ ย์ (ปัจจุบนั ปิ ดดาเนินการไปแลว้ ) เขตหว้ ยขวาง กรุงเทพฯ 47 หอพกั แถวโรงพยาบาลบางพลี บางพลี สมุทรปราการ 48 สวนแถววดั คลองกระจง สวรรคโลก สุโขทยั 49 ในแคมป์ ก่อสร้างแห่งหน่ึง 50

พระวษิ ณุกรรมประจาหน่วยงาน

พระวษิ ณกุ รรมกรมศิลปากร กรมศิลปากร (Fine Arts Department) ต้งั อยทู่ ี่ วงั หนา้ พระลานเดิม ถนนหนา้ พระธาตุ แขวงพระบรมมหาราชวงั เขต พระ นคร กรุงเทพ ฯ เป็ นหน่วยงานของรัฐซ่ึงมีภารกิจคุม้ ครอง ป้องกนั อนุรักษ์ บารุงรักษา ฟ้ื นฟู ส่งเสริม สร้างสรรค์ เผยแพร่ จดั การศึกษา คน้ ควา้ วิจยั พฒั นา สืบทอดศิลปะและทรัพยส์ ิน มรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เพื่อธารงคุณค่าและ เอกลกั ษณ์ของความเป็ นชาติ อนั จะนาไปสู่การพฒั นาที่ยง่ั ยืน ของสังคมไทยและความมน่ั คงของชาติ พระวษิ ณุกรรม หน้ากรมศิลปากร น่าจะ เป็นพระวษิ ณุกรรมศิลป ไ ท ย อ ง ค์ท่ี ส า ม ข อ ง ประเทศไทย เป็ นรูป หล่อสาริด ปางประทบั บ น แ ท่ น พ ร ะ บ า ท ด้านขวานั่งราบ พระ บ า ท ด้ า น ซ้ า ย ห้ อ ย ล ง ทรงชฎา พระหัตถ์ขวา ถือผ่ึง พระหัตถ์ซ้ายถือ ดิ่ง มีชายผา้ ห้อยลงถึง ฐานท่ีประทบั ประทับ นง่ั อยบู่ นแทน่ ฐานเหนือป้ายชื่อกรมศิลปากร ประตูทางเขา้ หนา้ อาคารตึกกรมศิลปากร ผูป้ ้ันเป็ นช่างจากบา้ น ช่างหล่อชื่อนายก็อก (ไม่ทราบนามสกุล) นาข้ึนประดิษฐานในสมยั ท่ีหลวางวจิ ิตรวาทการ เป็ นอธิบดีกรม ศิลปากร (ทา่ นเป็นอธิบดีกรมศิลปกรคนแรก ช่วง พ.ศ. 2477 – 2483)

Cr : ขอ้ มูลจากหนงั สือ 84 ปี กรมศิลปากร และบุษบกธรรมาสน์ 27 มีนาคม 2538 และภาพจาก Internet พระวษิ ณกุ รรมสานักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร สานักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร ต้งั อยทู่ ี่ 93 ม. 3 ถ.พุทธมณฑลสาย 5 ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล นครปฐม เป็นหน่วยงานที่มีหนา้ ที่ 1. ผดุงรักษา ฟ้ื นฟู และสืบทอดศิลปวทิ ยาการดา้ นช่างฝีมือและเป็นศูนยข์ อ้ มูลดา้ นศิลปกรรมของชาติ 2. ศึกษา คน้ ควา้ วจิ ยั และพฒั นางานดา้ นช่างศิลปกรรมของชาติ 3. ดาเนินการดา้ นช่างและงานศิลปะในการบูรณะ ซ่อมแซม เพ่ือการอนุรักษง์ านศิลปกรรมท่ีมีคุณค่า ของชาติ 4. ดาเนินการสารวจ ออกแบบ และสร้างสรรค์งานงานประณีตศิลป์ งานจิตรกรรม และงาน ประติมากรรม รวมท้งั งานศิลปะประยกุ ตท์ ่ีเป็นเอกลกั ษณ์ของชาติ 5. ควบคุม ดูแล และสนบั สนุน การสร้างอนุสาวรียแ์ ห่งชาติ และการจาลองพระพุทธรูปสาคญั ตาม ระเบียบวา่ ดว้ ยการก่อสร้างอนุสาวรียแ์ ห่งชาติ และการจาลองพระพทุ ธรูปสาคญั 6. เผยแพร่ สนับสนุน ส่งเสริม เป็ นแหล่งเรียนรู้และให้บริการทางการศึกษางานดา้ นศิลปกรรมแก่ สถานศึกษา ชุมชน และสังคม รวมท้งั สร้างเครือข่ายดา้ นศิลปะกรรม พระวิษณุกรรมสานักช่างสิบหมู่ กรมศิลปากร เป็ นพระวิษณุกรรมผลงานป้ันของอาจารยส์ ุดสาคร ชายเสม ปางประทบั บนแท่น พระบาทด้านซ้ายน่ังราบ พระบาทด้านขวาห้อยลง พระหัตถ์ขวาถือผ่ึง พระหตั ถซ์ า้ ยถือลูกด่ิง

Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก ประพนั ธ์ แกว้ วเิ ศษ

2 พระวษิ ณกุ รรมวศิ วกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ต้งั อยูท่ ่ี 487 ซอยรามคาแหง 39 (เทพลีลา1) ถนนรามคาแหง แขวงพลับพลา เขตวงั ทองหลาง กรุงเทพฯ ได้ก่อต้ังข้ึนเม่ือ วนั ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486 ก่อนท่ีจะไดก้ ่อรูปองคก์ รมาเป็ นวศิ วกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ในปี พ.ศ. 2447 ไดม้ ีกลุ่มนายช่างชาวไทย และชาวตา่ งชาติประเทศท่ีประกอบอาชีพทางช่างอยูใ่ นประเทศไทย ซ่ึงส่วนใหญ่ เป็นชาวยโุ รป และอเมริกา ไดพ้ ยายามก่อต้งั สมาคมทางการช่างข้ึนแต่ไม่สามารถดาเนินการไดต้ ลอด เพราะ การช่างในสมยั น้นั ยงั ไม่ได้รับการสนบั สนุนเท่าที่ควร และยงั ไม่เห็นความจาเป็ นในการดาเนินการ การ บริหารของสมาคมน้ีจึงไดย้ ตุ ิลงในเวลาตอ่ มา ต่อมาในปี พ.ศ. 2471 นกั เรียนไทยกลุ่มหน่ึงท่ีไดไ้ ปศึกษาวิชาการก่อสร้างท่ีประเทศองั กฤษ และ กลบั มาทางานในประเทศไทย ไดเ้ ร่ิมรวมตวั ฟ้ื นฟูสมาคมสาหรับผูป้ ระกอบอาชีพทางช่างข้ึนอีกคร้ังหน่ึง และในปี พ.ศ. 2471 น้ีเอง ก็ไดไ้ ปขอจดทะเบียนก่อต้งั สมาคมนายช่างข้ึนใหม่โดยใชช้ ื่อวา่ “สมาคมนายช่าง แห่งกรุงสยาม” ผรู้ ิเริ่มก่อต้งั สมาคมนายช่างน้ีประกอบดว้ ย คุณพระเวชยนั ตร์รังสฤษด์ิ คุณพระชานาญ คุณ หลวงชานิและคุณพระประกอบยนั ตรกิจ ในปี พ.ศ. 2478 นายช่างท่ีจบจากจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ไดก้ ่อต้งั สมาคมวิศวกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ข้ึน โดยมีวตั ถุประสงคส์ ่วนหน่ึงในการร่วมมือทางวิชาชีพ วศิ วกรรมในหมูส่ มาชิกดว้ ยกนั ในปี พ.ศ. 2486 คุณพระประกอบยนั ตรกิจ ซ่ึงเป็นเลขาธิการสมาคมนายช่างฯ ไดพ้ บวา่ สมาชิกส่วน ใหญท่ ่ีเป็นนกั เรียนรถไฟท่ีจบการศึกษาจากตา่ งประเทศกลบั มาเป็ นนายช่างต่างก็แก่ตวั ลงเกษียณราชการไป เป็นส่วนมาก ทาใหส้ มาชิกลดลง ขณะที่สมาคมวศิ วกรรมฯ ซ่ึงประกอบดว้ ยนายช่างที่จบท้งั จากในประเทศ และต่างประเทศมีจานวนสมาชิกเพิ่มข้ึน จึงเกิดความคิดวา่ ควรรวมสองสมาคมเป็ นสมาคมเดียวกนั โดยมี รัฐบาลในสมยั น้ันเองก็มีความประสงค์ท่ีจะส่งเสริมอาชีพวิศวกรรมให้เจริญเป็ นปึ กแผ่น และจะออก พระราชบญั ญตั ิวิศวกรรมเพื่อใหม้ ีการควบคุมจดั การประกอบวชิ าชีพกนั เองในหมู่วศิ วกร จึงไดม้ ีการหารือ กบั กรรมการสมาคมวศิ วกรรมฯ ซ่ึงบางท่านเป็ นกรรมการอยใู่ นท้งั สองสมาคมไดข้ อ้ ตกลงที่ให้ต่างฝ่ ายต่าง เลิกสมาคมของตน และมารวมกนั ต้งั เป็ นสมาคมใหม่คือ สมาคมวศิ วกรรมสถานแห่งประเทศไทย ไดก้ ่อต้งั แลว้ เสร็จ เมื่อวนั ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2493 ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ ให้รับวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยไวใ้ น พระบรมราชูปถมั ภต์ ้งั แต่บดั น้นั เป็นตน้ มา

3 พระวิษณุกรรมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็ นพระวิษณุกรรมที่ บุคคลทว่ั ไปเขา้ ใจผิดคิดว่าเป็ นพระวิษณุกรรมของสภาวิศวกร เพราะพระวิษณุกรรมวิศวกรรมสถานแห่ง ประเทศไทย (วสท) มีท่ีทาการอยู่ในอาคารเดี๋ยวกนั แต่บุคคลทว่ั ไปจะรู้จกั สภาวศิ วกรมากกวา่ จดั สร้างข้ึน ตามมติท่ีประชุมของ วสท วาระครบ 70 ปี วสท โดยมี ดร.ธเนศ วีระศิริ เป็ นนายก วสท เพ่ือเป็ นพระ วษิ ณุกรรมประจาหน่วยงานศูนยร์ วมจิตใจของสมาชิก และเพ่ือให้สมาชิกและบุคคลทวั่ ไปท่ีศรัทธาสักการะ และเคารพบูชา งบประมาณในการสร้างพระวษิ ณุกรรม 7 ลา้ นบาท งบประมาณในการสร้างฐาน 2 ลา้ นบาท มีขนาด 1.5 เท่าของคนทว่ั ไป อนั เชิญมาประดิษฐาน เมื่อ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 พระวิษณุกรรม วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ปางประทบั บนแท่น พระบาทดา้ นขวานงั่ ราบ พระบาทดา้ นซา้ ยหอ้ ยลง พระหตั ถข์ วาถือผ่งึ พระหตั ถซ์ า้ ยถือลูกด่ิง Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก ศกั ด์ิณรงค์ เดชระพีพงษ์

4 พระวษิ ณุกรรมกรมทางหลวง กรมทางหลวง ต้งั อยทู่ ่ี สานกั งานใหญ่ เขตราชเทวี กทม มีหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบ 1 ดาเนินการตามกฎหมายว่าดว้ ยทางหลวงเฉพาะในส่วนที่เก่ียวกบั ทางหลวงพิเศษ ทางหลวง แผน่ ดิน และ ทางหลวงสมั ปทาน รวมท้งั กฎหมายอ่ืนที่เก่ียวขอ้ ง 2 วิจยั และพฒั นางานก่อสร้าง บูรณะ และบารุงรักษาทางหลวงพิเศษ ทางหลวงแผ่นดินและทาง หลวงสมั ปทาน 3 ร่วมมือและประสานงานดา้ นงานทางกบั องคก์ รและหน่วยงานอื่นที่เก่ียวขอ้ งท้งั ในประเทศและ ตา่ งประเทศ 4 ปฏิบตั ิการอื่นใดตามท่ีกฎหมายกาหนดให้เป็ นอานาจหนา้ ท่ีของกรม หรือตามที่รัฐมนตรีหรือ คณะรัฐมนตรีมอบหมาย พระวษิ ณุกรรมกรมทางหลวง ปางประทบั บนแท่น พระบาทดา้ นขวานง่ั ราบ พระบาท ดา้ นซา้ ยหอ้ ยลง พระหตั ถข์ วาถือผ่งึ พระหตั ถซ์ า้ ยถือลูกดิ่ง Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก Internet

5 พระวษิ ณกุ รรมแขวงทางหลวงสมุทรสาคร แขวงทางหลวงสมุทรสาคร กรมทางหลวง ต้งั อยทู่ ่ี ต.ออ้ มนอ้ ย อ.กระทุม่ แบน สมุทรสาคร มีหนา้ ที่ รับผดิ ชอบ วางแผนเก่ียวกบั งานบารุงรักษาทางหลวง งานอานวยความปลอดภยั ทางหลวง และ งานก่อสร้าง โครงการขนาดเล็ก พระวิษณุกรรมแขวงทางหลวงสมุทรสาคร ประมาณปี พ.ศ. 2560 นายกิตติ ทรัพยป์ ระสม ผอู้ านวยการแขวงทางหลวงสมุทรสงคราม ไดม้ ีปรับปรุงภูมิทศั น์ภายในแขวงทางหลวงสมุทรสงคราม พบ รูปหล่อองคพ์ ระวิษณุกรรมเดิมชารุดเสียหาย จึงได้นาไปไวท้ ี่หมวดทางหลวงนครชยั ศรี และดาเนินการ ประสานช่างสิบหมู่เพ่ือหล่อองค์ใหม่ทดแทน ท้งั น้ีระหว่างดาเนินการได้รับคาส่ังให้ไปปฏิบตั ิหน้าที่ ผอู้ านวยการแขวงทางหลวงสมุทรสงคราม แต่ความต้งั ใจยงั ดาเนินต่อไป โดยไดร้ ับความร่วมมือและการ สนบั สนุนจากอาจารยอ์ าวโุ ส ศิษยเ์ ก่ามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก วิทยาเขตอุเทนถวาย ได้ มอบองค์พระวิษณุกรรมองค์จาลองขนาดเท่าองค์จริง “รุ่นถิ่นสีน้าเงิน” ปี 59 ท่ีอยู่ภายในตึกอาคาร อานวยการมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก วิทยาเขตอุเทนถวาย มาประดิษฐาน ณ แขวงทาง หลวงสมุทรสาคร ตาบลออ้ มนอ้ ย อาเภอกระทุ่มแบน จงั หวดั สมุทรสาคร วนั ที่ 4 กรกฎาคม 2562 เวลา 13.09 น. อาจารยอ์ าวุโส ศิษยเ์ ก่ามหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล ตะวนั ออก วิทยาเขตอุเทนถวาย พร้อมดว้ ยขา้ ราชการ เจา้ หน้าที่แขวงทางหลวงสมุทรสาคร และแขวงทาง หลวงสมุทรสงคราม ร่วมกนั อญั เชิญองคพ์ ระวิษณุกรรม องคจ์ าลองขนาดเท่าองคจ์ ริง ความสูง 1.85 ม. “รุ่น ถ่ินสีน้าเงิน” ปี 59 โดยองคห์ ล่อจากโลหะ ชนวนมวลสารศกั ด์ิสิทธ์ิท่ีรวบรวมจากเกจิอาจารยท์ วั่ ประเทศ ท่ี อยู่ภายในตึกอาคารอานวยการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก วิทยาเขตอุเทนถวาย มา ประดิษฐาน ณ แขวงทางหลวงสมุทรสาคร เพื่อให้ขา้ ราชการ เจา้ หน้าท่ี และศิษยเ์ ก่าอุเทนถวายที่อยู่ทว่ั ประเทศไทยโดยเฉพาะในพ้ืนที่ภาคตะวนั ตก ไดม้ ีโอกาสสักการะเพื่อความเป็นสิริมงคล

6 Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก Internet

7 พระวษิ ณกุ รรมกรมทางหลวงชนบท กรมทางหลวงชนบท ต้งั อยูท่ ี่ สานกั งานใหญ่ เขตบางเขน กทม มีหนา้ ที่รับผิดชอบในการพฒั นา และยกระดบั มาตรฐานทางหลวงชนบท เพ่อื สนบั สนุนการคมนาคมขนส่ง การท่องเท่ียว การพฒั นาชายแดน การพฒั นาเมืองอย่างบูรณาการและยง่ั ยืน แกไ้ ขปัญหาจราจรโดยสร้างทางเช่ือม ทางเลี่ยง และทางลัด รวมท้งั เป็นพีเ่ ล้ียงดา้ นการพฒั นาทางหลวงทอ้ งถิ่นใหแ้ ก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น พระวษิ ณุกรรมกรมทางหลวงชนบท ปางประทบั บนแทน่ พระบาทดา้ นซา้ ยนงั่ ราบ พระบาท ดา้ นขวาห้อยลง พระหตั ถข์ วาถือผ่งึ พระหตั ถซ์ า้ ยถือลูกด่ิง Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก Internet

8 พระวษิ ณกุ รรมศูนย์ศิลปาชีพเกาะเกดิ (พพิ ธิ ภณั ฑ์ศิลป์ แผ่นดนิ ) ศูนย์ศิลปาชีพเกาะเกิด (พิพิธภัณฑ์ ศิลป์ แผ่นดิน) ต้ังอยู่ที่ ต.เกาะเกิด อ.บางปะอิน จ. พระนครศรีอยธุ ยา เป็ นสถานที่จดั แสดงนิทรรศการงานฝี มือช่างของสถาบนั สิริกิต์ิ สวนจิตรดา และผลงาน ศิลปหตั ถกรรมของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ ในสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราช ชนนีพนั ปี หลวง พระวิษณุกรรมศูนย์ศิลปาชีพเกาะเกิด (พิพิธภัณฑ์ศิลป์ แผ่นดิน) ศิลปากร เป็ นพระวิษณุกรรม ผลงานป้ันของอาจารยส์ ุดสาคร ชายเสม ปางประทบั บนแท่น พระบาทดา้ นซ้ายนง่ั ราบ พระบาทดา้ นขวา หอ้ ยลง พระหตั ถข์ วาถือผ่งึ พระหตั ถซ์ า้ ยถือลูกด่ิง Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก Internet

9 พระวษิ ณกุ รรมสานักงานทางหลวงชนบทอ่างทอง แขวงทางหลวงชนบทอ่างทอง ต้งั อยทู่ ่ี ต.บางพลบั อ.โพธ์ิทอง อ่างทอง มีหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบดงั น้ี 1. พฒั นาและยกระดบั มาตรฐานทางหลวงชนบท เพื่อเชื่อมโยงการคมนาคมขนส่ง การสัญจร การ ท่องเที่ยว การพฒั นาชายแดน การพฒั นาเมือง การแกไ้ ขปัญหาจราจรดว้ ยการสร้างทางต่อเชื่อม (Missing Link) ทางเลี่ยง (By Pass) และทางลดั (Shortcut) 2. พฒั นาเส้นทางใหส้ นองตอบระบบโลจิสติกส์ 3. บารุงรักษาและอานวยความปลอดภยั ให้โครงข่ายทางหลวงชนบทอยูใ่ นสภาพพร้อมใชง้ านและ ไดม้ าตรฐาน 4. ส่งเสริมและพฒั นาองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินให้มีระบบจดั การทางหลวงทอ้ งถ่ินที่ถูกตอ้ ง ได้ มาตรฐาน และบุคลากรมีความรู้ดา้ นงานทาง สามารถจดั การวางแผน สารวจออกแบบ พระวษิ ณุกรรมสานักงานทางหลวงชนบทอ่างทอง ปางประทบั บนแท่น พระบาทดา้ นซา้ ยนง่ั ราบ พระบาทดา้ นขวาห้อยลง พระหตั ถข์ วาถือผ่งึ พระหตั ถซ์ า้ ยถือลูกด่ิง Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก Internet

10 พระวษิ ณกุ รรมสานักงานทางหลวงชนบทยโสธร สานักงานทางหลวงชนบทยโสธร ต้งั อยทู่ ่ี 385 ม. 12 ถ.วารีราชเดช ต.น้าคาใหญ่ อ.เมือง ยโสธร พระวิษณุกรรมสานักงานทางหลวงชนบทยโสธร ปางประทบั บนแท่น พระบาทดา้ นซ้ายนง่ั ราบ พระบาทดา้ นขวาหอ้ ยลง พระหตั ถข์ วาถือผ่งึ พระหตั ถซ์ า้ ยถือลูกดิ่ง Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก Internet

11 พระวษิ ณุกรรมกรมอู่ทหารเรือ หน้าพระอุโบสถ วดั วงศ์มูลวหิ าร กรมอ่ทู หารเรือ เป็นหน่วยงานหน่ึงในสงั กดั กองทพั เรือ เดิมช่ือ \"อู่เรือหลวง\" มีหนา้ ที่ซ่อมสร้างเรือ กลไฟมาต้งั แต่สมยั พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั รัชกาลที่ 4 ต่อมามีเรือมากข้ึนและเรือมีขนาด ใหญข่ ้ึน พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั รัชกาลที่ 5 จึงโปรดฯ ให้สร้างอู่ไมข้ นาดใหญ่ เสด็จพระ ราชดาเนินประกอบพิธีเปิ ดเมื่อวนั ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2433 ซ่ึงถือเป็ นวนั สถาปนากรมอู่ทหารเรือ นบั ไดว้ า่ เป็นหน่วยงานทางช่างลาดบั ตน้ ๆ ของประเทศ วดั วงศม์ ูลวิหาร ต้งั อยูท่ ่ี 250 ซอย กรมอู่ทหารเรือ แขวงศิริราช เขตบางกอกนอ้ ย กรุงเทพมหานคร 10700

12 พระวิษณุกรรมกรมอู่ทหารเรือ เป็ นพระวิษณุกรรมปางประทบั บนแท่น พระบาทดา้ นซ้ายนงั่ ราบ พระบาทดา้ นขวาห้อยลง ทรงชฎา พระหตั ถข์ วาถือผ่ึง พระหตั ถ์ซ้ายถือดิ่ง ประทบั นง่ั อยู่ หนา้ พระอุโบสถ วดั วงศม์ ูลวหิ าร ต้งั แต่วนั ท่ี 9 มกราคม พ.ศ. 2510 โดย พลเรือโท อุดม สุทศั น์ ณ อยุธยา เจา้ กรมอู่ทหารเรือ ในขณะน้นั ทาพธิ ีประดิษฐาน พราหมณ์ ขาบ นาคเวทิน ทาพิธีเบิกเนตร Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก Internet

13 พระวษิ ณกุ รรมกรมช่างโยธาทหารเรือ กรมช่างโยธาทหารเรือ ต้งั อยู่ท่ี 79 ถนน อรุณอมรินทร์ แขวง วดั อรุณ เขตบางกอกใหญ่ กทม มี หน้าที่รับผิดชอบอานวยการ ประสานงาน แนะนา กากบั การ และดาเนินการ เก่ียวกบั การสร้าง ซ่อม ดดั แปลง บารุงรักษาอาคารสถานท่ี สิ่งก่อสร้าง เคร่ืองทุ่นแรง และอุปกรณ์ สายช่างโยธา การส่งกาลงั พสั ดุ สายช่างโยธา การวิจยั และพฒั นา ตลอดจนให้การฝึ ก และศึกษาวิชาการช่างโยธา และวิชาการอื่น ตามที่ ไดร้ ับมอบหมาย มีเจา้ กรมช่างโยธาทหารเรือ เป็นผบู้ งั คบั บญั ชารับผดิ ชอบ พระวิษณุกรรมกรมช่างโยธาทหารเรือ ปางประทบั บนแท่น พระบาทด้านซ้ายนั่งราบ พระบาท ดา้ นขวาหอ้ ยลง พระหตั ถข์ วาถือผ่งึ พระหตั ถซ์ า้ ยถือลูกดิ่ง Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก Internet

14 พระวษิ ณุกรรมกรมยุทธโยธาทหารบก กรมยุทธโยธาทหารบก ต้งั อยูท่ ่ี 2254 ซอย พหลโยธิน 34/1 แขวง เสนานิคม เขตจตุจกั ร กทม มี หนา้ ที่รับผิดชอบการก่อสร้าง ซ่อมแซม อาคาร ส่ิงปลูกสร้าง และสาธารณูปโภค งานอสงั หาริมทรัพย์ และ การส่งกาลงั บารุงสิ่งอุปกรณ์สายยทุ ธโยธา มีส่วนราชการเพอื่ รองรับงานตามภารกิจ พระวษิ ณุกรรมกรมยทุ ธโยธาทหารบก ปางประทบั บนแท่น พระบาทดา้ นขวานงั่ ราบ พระบาท ดา้ นซา้ ยหอ้ ยลง พระหตั ถข์ วาถือผ่งึ พระหตั ถซ์ า้ ยถือลูกด่ิง Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก Internet

15 พระวษิ ณกุ รรมกรมช่างโยธาทหารอากาศ กรมช่างโยธาทหารอากาศ ต้งั อยทู่ ี่ 171 ถนนพหลโยธิน แขวงสนามบิน เขตดอนเมือง กทม มีหนา้ ท่ี รับผดิ ชอบวางแผนการปฏิบตั ิ อานวยการ ประสานงาน ติดตาม กากบั การ พฒั นาและดาเนินการเก่ียวกบั กิจการช่างโยธา การสนามบิน การดบั เพลิงและกูภ้ ยั และการพสั ดุช่างโยธา กบั มีหนา้ ท่ีจดั การความรู้ ควบคุม ประเมินผล และตรวจตรากิจการในสายวทิ ยาการดา้ นช่างโยธา พระวษิ ณุกรรมกรมช่างโยธาทหารอากาศ ปางประทบั บนแทน่ พระบาทดา้ นขวานง่ั ราบ พระบาท ดา้ นซา้ ยหอ้ ยลง พระหตั ถข์ วาถือผ่งึ พระหตั ถซ์ า้ ยถือลูกดิ่ง Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก Internet

16 พระวษิ ณุกรรมค่ายธนะรัชต์ ศูนย์การทหารราบ ปราณบุรี ประจวบครี ีขันธ์ ต้งั อยทู่ ่ี ต.เขานอ้ ย อ. ปราณบุรี ประจวบคีรีขนั ธ์ ปางประทบั บนแท่น พระบาทดา้ นซา้ ยนง่ั ราบ พระบาทดา้ นขวาหอ้ ยลง พระ หตั ถข์ วาถือผ่งึ พระหตั ถซ์ า้ ยถือลูกดิ่ง Cr : ขอ้ มูลจาก Internet และภาพจาก ธานินทร์ ภู่เพช็ ร

17 พระวษิ ณุกรรมโรงงานสร้างปื นใหญ่และเครื่องยงิ ลูกระเบิด โรงงานสร้างปื นใหญ่และเครื่องยงิ ลกู ระเบิด รง.ปค.ศอว.ศอพท. ต้งั อยทู่ ่ี ต.เขาพระงาม อ.เมือง ลพบุรี แผนกการผลิต โรงงานสร้างปื นใหญ่และเคร่ืองยงิ ลูกระเบิด ศูนยอ์ านวยการสร้างอาวุธ ศูนยอ์ ุตสาหกรรม ป้องกนั ประเทศและพลงั งานทหาร พระวษิ ณกุ รรมโรงงานสรา้ งปืนใหญ่และเคร่อื งยงิ ลกู ระเบดิ ปางประทบั บนแท่น พระบาทดา้ นขวา นงั่ ราบ พระบาทดา้ นซา้ ยหอ้ ยลง พระหตั ถข์ วาถือผ่งึ พระหตั ถซ์ า้ ยถือลูกด่ิง Cr : ขอ้ มูลจาก Internet และภาพจาก ยทุ ธการ กลิ่นชาวนา

18 พระวษิ ณุกรรม ศูนย์ซ่อมบารุงรักษา สานักงานไทรน้อย การไฟฟ้าฝ่ ายผลติ แห่งประเทศไทย ศูนย์ซ่อมบารุงรักษา สานักงานไทรน้อย การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย ต้งั อยูท่ ่ี 18 ถนนเลียบ คลองฝรั่ง ตาบลไทรนอ้ ย อาเภอไทรนอ้ ย นนทบุรี 11150 เป็ นศูนยก์ ลางในการบารุงรักษา ดา้ นเคร่ืองกล ไฟฟ้า โยธา งานอะไหล่ และงานเคมี ในธุรกิจอุตสาหกรรมไฟฟ้าอยา่ งมีคุณภาพ ตามมาตรฐานสากล และ เป็ นศูนยร์ วมความรู้และนวตั กรรมการบารุงรักษา ใหก้ บั โรงไฟฟ้าของการไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย ทว่ั ประเทศ และงานบารุงรักษาโรงไฟฟ้าของเอกชน ซ่ึงการไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทยยงั มีศูนยซ์ ่อม บารุงรักษา อีกแห่งที่สานกั งานหนองจอก พระวิษณุกรรม ศูนย์ซ่อมบารุงรักษา สานักงานไทรน้อย การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย สืบเนื่องดว้ ย ศูนยซ์ ่อมบารุงรักษา สานกั งานไทรน้อย ประกอบดว้ ยช่างเทคนิคและวิศวกรอยูเ่ ป็ นจานวน มาก เพอื่ ใหเ้ ป็นที่ยดึ เหนี่ยวและศูนยร์ วมใจของผปู้ ฎิบตั ิงานของสานกั งานไทรนอ้ ย จึงใหส้ ร้างองคพ์ ระวิษณ กรรมข้ึนเพื่อเป็นส่ิงสกั การบูชา และเป็นสิริมงคลแก่หน่วยงาน งบประมาณในการจดั สร้าง ไดร้ ับการบริจาค จากผูป้ ฏิบตั ิงานการไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทยและผูศ้ รัทธา ออกแบบโดยอาจารยค์ ณะจิตรกรรม มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ทาการเทหล่อที่โรงหล่อพระแหลมสิงห์ ปทุมธานี ในปี พ.ศ. 2560 พระวิษณุกรรมท่ี สร้างมีขนาดหนา้ ตกั 48 นิ้ว ปางประทบั บนแทน่ พระบาทดา้ นขวานง่ั ราบ พระบาทดา้ นซา้ ยหอ้ ยลง ทรงชฎา พระหัตถ์ขวาถือผ่ึง พระหัตถ์ซ้ายถือดิ่ง ได้ทาพิธีบวงสรวงและอญั เชิญมาประดิษฐาน ท่ีหน้าอาคาร สานกั งาน ประมาณตน้ ปี พ.ศ. 2561

19

20 Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก คุณสมชาย เตชะจนั ตะ

21 พระวษิ ณกุ รรม โรงไฟฟ้าแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ ายผลติ แห่งประเทศไทย โรงไฟฟ้าแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย ต้งั อยู่ท่ี 800 ตาบลแม่เมาะ อาเภอแม่เมาะ ลาปาง 52220 ปี พ.ศ. 2515 รัฐบาลอนุมตั ิโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าแม่เมาะในระยะเริ่มแรก จานวน 2 เคร่ือง กาลงั ผลิตเคร่ืองละ 75 เมกะวตั ต์ หลงั จากน้นั เม่ือความตอ้ งการใชไ้ ฟฟ้าของประเทศไทยเพ่ิมสูงข้ึน การไฟฟ้าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย ได้ทยอยก่อสร้างโรงไฟฟ้าเพิ่มเติมข้ึนเป็ นลาดับ จนถึงปัจจุบัน โรงไฟฟ้าแม่เมาะมีโรงไฟฟ้าท้งั หมดรวม 10 เครื่อง กาลงั ผลิตรวมท้งั สิ้น 2,180 เมกะวตั ต์ เม่ือโรงไฟฟ้า ทดแทนโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ก่อสร้างแลว้ เสร็จในปี 2562 โรงไฟฟ้าแม่เมาะจะมีโรงไฟฟ้ารวมท้งั หมด 10 เครื่อง กาลงั ผลิตรวมท้งั สิ้น 2,275 เมกะวตั ต์ ผลิตพลงั งานไฟฟ้าไดป้ ระมาณ 18,000 ลา้ นหน่วยตอ่ ปี พระวษิ ณุกรรม กองโยธา โรงไฟฟ้าแม่เมาะ สร้างข้ึนปี 2552 โดยพนกั งานกองโยธา โรงไฟฟ้าแม่ เมาะร่วมกนั สมทบทุน โดยคุณสุรินทร์ วฒั นวิทย์ เป็ นผูป้ ระสานงาน เป็ นพระวิษณุกรรมปางประทบั ยืน พระหตั ถข์ า้ งขวาถือไมว้ า พระหตั ถข์ า้ งซา้ ยถือดิ่ง

22

23 พระวิษณุกรรม ศูนย์ฝึ กอบรม โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ปางประทบั บนแท่น หน้าตกั 29 นิ้ว พระบาท ดา้ นซา้ ยนง่ั ราบ พระบาทดา้ นขวาหอ้ ยลง แตพ่ ระบาทไม่แตะพ้ืน ทรงชฎา พระหตั ถข์ วาถือผ่งึ พระหตั ถซ์ ้าย ถือด่ิง จดั สร้างจากความร่วมมือรวมใจของพ่ีน้องพนกั งานสายช่างที่จบจากโรงเรียนช่างกลต่าง ๆ ของ โรงไฟฟ้าแม่เมาะ ประดิษฐานหน้าโรงไฟฟ้าแม่เมาะ 1 2 3 ประมาณปี 2523 ประมาณ ปี 2540 เม่ือศูนย์ ฝึ กอบรม กฟผ.แม่เมาะ ใหม่สร้างเสร็จ จึงได้อญั เชิญพระวิษณุกรรม มาประดิษฐานที่หน้าอาคารศูนย์ ฝึ กอบรม Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก ขนั ฑโ์ ชติ วงั กาวี (ชยั ลาปาง ไทยสุริยะ 15)

24 พระวษิ ณกุ รรมเรือนจานนทบุรี เรือนจานนทบุรี ต้งั อยทู่ ่ี 117/9 ม. 3 ถ.ประชาราษฎร์ ต.สวนใหญ่ อ.เมือง นนทบุรี พระวษิ ณุกรรมเรือนจานนทบุรี ปางประทบั ยนื พระหตั ถ์ขวาถือไมว้ า พระหตั ถซ์ า้ ยถือไมฉ้ ากและ ลูกด่ิง Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก Internet

25 พระวษิ ณกุ รรมสถานีวิทยุการบินภูเกต็ สถานีวทิ ยุการบนิ ภูเกต็ ต้งั อยทู่ ่ี 200 เขาบ่อไทร ต.ไมข้ าว อ.ถลาง ภูเกต็ พระวษิ ณกุ รรมสถานีวิทยกุ ารบินภูเกต็ ปางประทบั บนแทน่ พระบาทดา้ นซา้ ยนง่ั ราบ พระบาท ดา้ นขวาห้อยลง พระหตั ถข์ วาถือผ่งึ พระหตั ถซ์ า้ ยถือลูกด่ิง Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก Internet

26 พระวษิ ณุกรรม บริษัท เอส.เอช.เค. เอน็ จิเนียริ่ง จากดั บริษทั เอส.เอช.เค. เอน็ จิเนียร่ิง จากดั ต้งั อยทู่ ่ี พระประแดง สมุทรปราการ ประกอบธุรกิจออกแบบ และผลิตเคร่ืองจกั ร พระวษิ ณกุ รรม บริษัท เอส.เอช.เค. เอน็ จิเนียร่ิง จากดั ปางประทบั บนแท่น พระบาทดา้ นขวานง่ั ราบ พระบาทดา้ นซา้ ยหอ้ ยลง พระหตั ถข์ วาถือผ่งึ พระหตั ถซ์ า้ ยถือจกั ร Cr : ขอ้ มูลจาก Internet และภาพจาก ดร. สาเริง เนตรภู่

พระวษิ ณุกรรมในวดั

27 พระวษิ ณกุ รรมวดั ดอนตะโก วดั ดอนตะโก ต้งั อยทู่ ่ี 105 ม. 3 ถ.แมน้ ราลึก ต.ดอนตะโก อ.เมือง ราชบุรี สังกดั คณะสงฆม์ หานิกาย วดั ดอนตะโก ต้งั เมื่อ พ.ศ. 2320 ตามคาบอกเล่าของผูส้ ูงอายเุ ล่าสืบกนั มาวา่ วดั น้ีเดิมต้งั อยทู่ างทิศตะวนั ออก เฉียงใตป้ ระมาณ 15 เส้น ของท่ีต้งั วดั ในปัจจุบนั เป็ นท่ีราบลุ่ม มีบา้ นอยู่ติดกบั วดั ไม่มากนกั เดิมเป็ นท่ีพกั สงฆ์ ต่อมาชาวบา้ นดอนตะโกตอนเหนือเห็นว่าที่ต้งั วดั เป็ นท่ีกวา้ งสาหรับเล้ียงควายของชาวบา้ น มีที่พกั เกวยี นของคนเดินทางอีกดว้ ย ประกอบกบั มีประชากรอยมู่ ากกวา่ ที่เดิม จึงพร้อมใจกนั ยา้ ยวดั มาต้งั อยูท่ ี่คอก ควาย เพ่ือสะดวกแก่การทาบุญ โดยต้งั ชื่อวดั ตามชื่อหมู่บา้ นว่า “วดั ดอนตะโก” ได้รับพระราชทาน วสิ ุงคามสีมาเมื่อ 13 กุมภาพนั ธ์ 2522 พระวิษณุกรรมวดั ดอนตะโก เดิมเป็ นพระวิษณุกรรมของโรงเรียนราชบุรีโปลีเทคนิค เปิ ดการเรียน การสอนปี พ.ศ. 2527 โดยบริษทั ราชบุรีโปลีเทคนิคจากดั ปี พ.ศ. 2532 มิสซงั โรมนั คาทอลิกกรุงเทพฯ เขต ราชบุรีเขา้ รับโอนกรรมสิทธ์ิ และการบริหารวิทยาลยั เปล่ียนช่ือเป็ นโรงเรียนดรุณาราชบุรีโปลีเทคนิค โรงเรียนในเครือคริตสจกั ร จึงไดย้ า้ ยพระวิษณุกรรมมาประดิษฐานที่วดั แห่งน้ี พระวิษณุกรรมวดั ดอนตะโก ปางประทบั ยืน พระหตั ถ์ขวาทรงไมว้ า พระหตั ถ์ซ้ายถือเฟื องและลูกดิ่ง ไดร้ ับการบูรณะจากศรัทธาและ ความสามคั คีของพี่นอ้ งอาชีวะในนามกลุ่มลูกพระวษิ ณุกรรม เม่ือ ปี พ.ศ. 2557

28 Cr : ขอ้ มูลจาก อภิชาติ (ชาติ) ออ่ นละมูล และภาพจาก ชมรมลูกพระวษิ ณุกรรม

29 พระวิษณุกรรมท่ีวดั หัวกระบือ ซอยเทียนทะเล 19 ถ.บางขุนเทียนชายทะเล แขวงท่าขา้ ม เขตบาง ขนุ เทียน กรุงเทพฯ ปางประทบั บนแท่น พระบาทดา้ นซา้ ยนง่ั ราบ พระบาทดา้ นขวาหอ้ ยลง พระหตั ถข์ วาถือ ลูกดิ่ง พระหตั ถซ์ า้ ยถือผ่งึ Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก Internet

30 พระวษิ ณกุ รรมวดั บุคคโล ซอยเจริญนคร 63 แขวงดาวคะนอง เขตธนบุรี กรุงเทพฯ ปางประทบั บน แท่น พระบาทดา้ นซา้ ยนง่ั ราบ พระบาทดา้ นขวาห้อยลง พระหตั ถ์ขวาถือผ่งึ พระหตั ถซ์ า้ ยถือดอกบวั บาน น้ี เป็ นฝี มืองานป้ันของอาจารยส์ มยศ คาแสง เพาะช่าง หลงั จากปิ ดการสอนแผนกช่าง พระวิษณุกรรมถูกยา้ ย ไปท่ีอ่ืน ศิษยพ์ ยายามตามหามากวา่ 12 ปี ดว้ ยความมุ่งมน่ั และศรัทธาอนั แรงกลา้ ของเหล่าศิษยจ์ นไดพ้ บองค์ ท่านแถวตลิ่งชนั เมื่อวนั ที่ 12 กุมภาพนั ธ์ 2563 โดย พ.จ.อ.วราวธุ (โบท๊ ) สุนทรเกตุ และพี่นอ้ งชาวกุลสิริ เสาร์ที่ 15 สิงหาคม 2563 ทาพิธี บวงสรวงจดั สร้างฐานที่ประทบั องค์พระวิษณุกรรม ณ.วดั บุคคโล โดย อาจารยณ์ ฐั วรรธน์ ปภาเทพ

31 พระวษิ ณกุ รรมวดั โกมุทพุทธรังสี พุทธมณฑลสาย 3 ซอย 18/4 แขวง ศาลาธรรมสพน์ เขตทววี ฒั นา กรุงเทพฯ เป็นพระวษิ ณุกรรมวิทยาลยั เทคโนโลยีสยาม องคแ์ รก หรือองคแ์ ดง ตามคาเรียกของศิษยเ์ ก่า ปาง ประทบั บนแท่น พระบาทดา้ นขวานงั่ ราบ พระบาทดา้ นซ้ายห้อยลง พระหัตถ์ขวาถือผ่ึง พระหัตถ์ซ้ายถือ ลูกด่ิง Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก Internet

32 พระวิษณุกรรมวัดราชสิทธาราม (วัดพลบั ) 3 ซอย อิสรภาพ 23 แขวง วดั อรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพ เป็ นพระวิษณุกรรมที่คณะศิษยว์ ิทยาลยั เทคนิคราชสิทธารามจาลองมาจากองค์พระวิษณุกรรม วิทยาลยั เทคนิคราชสิทธาราม เพื่ออญั เชิญมาประดิษฐาน ณ แท่นเดิมท่ีพระวิษณุกรรมวิทยาลยั เทคนิคราช สิทธารามเคยประทบั ก่อนยา้ ยไปท่ี วทิ ยาลยั เทคนิคราชสิทธาราม บางบอน อญั เชิญมาประดิษฐาน เม่ือวนั อาทิตยท์ ่ี 12 มกราคม 2563 ปางประทบั ยนื พระหตั ถข์ า้ งขวาถือไมว้ า พระหตั ถข์ า้ งซา้ ยถือด่ิงและฉาก Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก Internet

33 พระวษิ ณกุ รรมวดั ทองนาปลง่ั ต.บางไผ่ อ.เมือง นนทบุรี ปางประทบั บนแท่น พระบาทดา้ นซ้ายนง่ั ราบ พระบาทดา้ นขวาหอ้ ยลง พระหตั ถข์ วาถือผ่งึ พระหตั ถซ์ า้ ยถือลูกด่ิง Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก Internet

34 พระวษิ ณกุ รรมวดั ราษฎร์ประครองธรรม ต.เสาธงหิน อ.บางใหญ่ นนทบุรี ปางประทบั บนแทน่ พระบาทดา้ นขวานงั่ ราบ พระบาทดา้ นซา้ ยหอ้ ยลง พระหตั ถข์ วาถือผ่งึ พระหตั ถซ์ า้ ยถือลูกด่ิง Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก Internet

35 พระวษิ ณกุ รรมวดั บางพระ (หลวงพ่อเป่ิ น) บา้ นท่ามะดนั ต.บางแกว้ ฟ้า อ.นครชยั ศรี นครปฐม พระวษิ ณุกรรมวดั บางพระ ปางประทบั บนแทน่ พระบาทดา้ นขวานง่ั ราบ พระบาทดา้ นซ้ายหอ้ ยลง พระหตั ถข์ วาถือผ่งึ พระหตั ถซ์ า้ ยถือลูกดิ่ง Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก Internet

36 พระวษิ ณุกรรมวดั สุทธาวาส วปิ ัสนา อ.ลาดบวั หลวง พระนครศรีอยุธยา ปางประทบั บนแท่น พระ บาทดา้ นขวานง่ั ราบ พระบาทดา้ นซา้ ยหอ้ ยลง พระหตั ถข์ วาถือผ่งึ พระหตั ถซ์ า้ ยถือด่ิง Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก เก๋า ฉุ่ย และ ฉตั รชยั เยาวไ์ ธสง

37 พระวษิ ณุกรรมวัดลาดระโหง ต.ตลาดเกรียบ อ.บางปะอิน พระนครศรีอยุธยา จดั สร้างและอญั เชิญ ไปประดิษฐาน ณ วดั ลาดระโหง พระนครศรีอยุธยา เมื่อวนั ท่ี 2 สิงหาคม 2563 โดยชมรมศิษย์เก่ากนก อาชีวศึกษา โดยจาลองจากองค์พระวิษณุกรรมของโรงเรียนกนกเทคโนโลยี ที่ปิ ดตวั ลงเมื่อปี พ.ศ. 2539 ต่อมาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีสารสาสน์กนกอนุสรณ์ เขา้ มาดาเนินกิจการในพ้ืนท่ีน้ีในปี พ.ศ. 2540 ดว้ ยเจา้ ของ กิจการใหม่เป็ นชาวคริสต์ จึงไดย้ า้ ยองคพ์ ระวิษณุกรรมออกจากโรงเรียนไป ไม่สามารถสืบคน้ ไดว้ า่ ยา้ ยไป อยู่ท่ีใด จนในปี พ.ศ. 2563 ชมรมศิษยเ์ ก่าโรงเรียนกนกเทคโนโลยี ไดร้ ่วมกนั จดั สร้างพระวิษณุกรรม โรงเรียนกนกเทคโนโลยขี ้ึนตามแบบองคเ์ ดิม เพ่ือให้เป็ นศูนยร์ ่วมจิตใจและความสมคั รสมานสามคั คีของพี่ นอ้ งชาวกนก โดยไดเ้ ขา้ ไปติดต่อ อ.ประสพสุข รัตน์ใหม่ ผอู้ านวยการกลุ่มประติมากรรม สานกั ช่างสิบหมู่ ท่านไดม้ อบหมายให้ อ.ภารดร เชิดชู ประติมากรชานาญการพิเศษ สานกั ช่างสิบหมู่ เป็ นผดู้ าเนินการ พระ วษิ ณุกรรมองคใ์ หม่มีขนาดหนา้ ตกั 19 นิ้ว ฐานกวา้ ง 64 ซม. สูงจากฐานถึงเศียร 98 ซม. เน้ือเป็ นทองเหลือง รมสีมะขามค่วั ที่นามาประดิษฐาน ณ วดั น้ีด้วยเจ้าอาวาส พระครูเกษมวุฒิกร เป็ นอดีตศิษย์เก่ากนก อาชีวศึกษา Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก คุณยทุ ธนา ทองแสนดี

38 อุทยานศาสนาพระโพธิสัตว์กวนอิม 40 ม. 2 ต.พุสวรรค์ อ.แก่งกระจาน เพชรบุรี ปางประทบั บน แท่น พระบาทดา้ นขวานงั่ ราบ พระบาทดา้ นซา้ ยหอ้ ยลง พระหตั ถข์ วาถือผ่งึ พระหตั ถซ์ า้ ยถือลูกดิ่ง Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก Internet

39 พระวษิ ณกุ รรมวดั จุฬามณี 325 ถ.สมุทรสงคราม - บางแพ ต.อมั พวา อ.อมั พวา สมุทรสงคราม ปาง ประทบั บนแท่น พระบาทดา้ นขวานงั่ ราบ พระบาทดา้ นซ้ายห้อยลง พระหัตถ์ขวาถือดอกบวั ตูม 2 ดอก ดอกบวั บาน 1 ดอก พระหตั ถซ์ า้ ยถือหลาวสามงา้ ม Cr : ขอ้ มูลและภาพจาก Internet