Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสร้างคำ

การสร้างคำ

Description: การสร้างคำ

Search

Read the Text Version

ครูเตอื นใจ เอ้อื อารมี ติ ร กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย โรงเรยี นสริ ิรตั นาธร 1

การสรา้ งคา 2

วลี คามูล คาประสม คาซอ้ น คาซ้า คาพอ้ ง 3

“คา” หน่วยทเี่ ลก็ ทส่ี ุดในภาษา ท่มี ีความหมายและใช้ตามลาพงั ได้ เมอ่ื นาคาหลายคามาประกอบกนั เป็ นหน่วยภาษาใหญ่ขนึ้ เรียกว่า “วล”ี เมื่อนาวลมี าประกอบกนั จะเป็ น “ประโยค” คา วลี ประโยค 4

คามูล เป็นคาด้งั เดิมที่มีใชใ้ นภาษาไทย มีความหมาย สมบูรณ์ชดั เจนในตวั เอง อาจเป็นคาไทยแท้ หรือคายมื จากภาษาต่างประเทศกไ็ ด้ มี ๒ ชนิด ๑. คามูลพยางค์เดยี ว ๒. คามูลหลายพยางค์ 5

คามูล ๑. คามูลพยางคเ์ ดียว เป็นคาพยางคเ์ ดียวท่ีมีความหมาย เช่น กนิ นอน รอ้ น เยน็ เกม กรรม แชร์ เทป เก๊ยี ว กง๋ โตะ๊ เมตร ๒. คามูลหลายพยางค์ คาท่ีมีสองพยางค์ข้ึนไป มคี วามหมายในตวั ไม่สามารถแยกพยางคใ์ นคาออกได้ เพราะจะทาใหไ้ ม่ได้ ความหมาย เช่น มะลิ โหระพา บะหม่ี นมสั การ เฉากว๊ ย วจิ ารณ์ สตกิ เกอร์ 6

ในภาษาไทยมีการสร้างคาใหม่ข้ึนใช้ ๓ แบบ คือ การประสมคา เรียก คาประสม การซ้อนคา เรียก คาซ้อน การซ้าคา เรียก คาซ้า 7

คาประสม  เป็ นคาทส่ี ร้างขึน้ ใหม่ โดยการนาคามูลต้งั แต่สองคาขึน้ ไปมารวมกนั เกดิ เป็ นคาใหม่ ความหมายใหม่ขึน้ คาไทย + คาไทย - คาที่มีความหมายใหม่ คาไทย + ภาษาตา่ งประเทศ - มีเคา้ ความหมายเดิม คาตา่ งประเทศ + คาตา่ งประเทศ ได้ - ความหมายเปล่ียนแปลงไปจากเดิม 8

คาประสม การประสมคา คามลู คาประสม คาไทย + คาไทย หางเสอื คาไทย + ภาษาต่างประเทศ หาง เสอื ยกเมฆ คาต่างประเทศ + คาต่างประเทศ ยก เมฆ บตั รเชญิ (คาไทย) (คาบาลสี นั สกฤต) บตั ร เชญิ (คาบาลสี นั สกฤต) (คาเขมร) 9

ตวั อยา่ งคาประสม กินเมือง ใจเสีย แม่ยาย นา้ แขง็ ไส ขีดเส้นตาย หน้าอ่อน เบาใจ หัวสูง ตีนผี หมาวดั ผ้าขีร้ ิ้ว หักใจ เตาถ่าน ราดหน้า 10

คาประสม 11

คาประสม 12

13

14

คาประสม 15

คาประสม 16

คาประสม 17

คาประสม 18

คาประสม 19

คาซอ้ น 20

คาซอ้ น การซ้อนคา เพอ่ื ให้ส่ือความหมายได้ชัดเจนขนึ้ บางคร้ังคาหนึ่งช่วยอธิบายความหมายของอกี คาหนึ่ง ให้เข้าใจยง่ิ ขึน้ โดยเฉพาะเมือ่ ไทยยมื คา ภาษาต่างประเทศหรือภาษาถ่นิ มาใช้ กน็ าคาไทยมาใช้ เข้าคู่กนั เพอ่ื บอกความหมายของคาต่างประเทศน้ัน คาทซ่ี ้อนเพอื่ อธิบายความอาจอยู่ส่วนหน้าหรือส่วน หลงั คาซ้อนกไ็ ด้ 21

คาทนี่ ามาซ้อน คาซอ้ น มีความหมายเหมอื นกนั การ งาน ภู เขา จติ ใจ ป่า ดง รา่ ง กาย ซ่ือ ตรง ทอง คา น่ิง เฉย 22

คาทน่ี ามาซ้อน คาซอ้ น มคี วามหมายคล้ายกนั แขง้ ขา แตก รา้ ว ไข มนั บีบ นวด ทบุ ตี หยดุ พกั เจบ็ แสบ ขวา้ ง ปา 23

คาทนี่ ามาซ้อน คาซอ้ น มคี วามหมายทานองเดยี วกนั กงุ้ หอย ปูปลา หรือ ขา้ วตอก ดอกไม้ เป็ นประเภทเดยี วกนั ตีรนั ฟนั แทง เยบ็ ปกั ถกั รอ้ ย 24

คาท่ีนามาซอ้ น คาซอ้ น มีความหมายตรงกนั ข้าม ใกล้ ไกล หนา้ หลงั ผิด ถกู สูงตา่ ดาขาว 25

 เพราะอะไรเธอจงึ ท้งิ ฉนั ไป ฉนั ทาใหเ้ธอผดิ หวงั ฉนั กาลงั ขอรอ้ งออ้ นวอนเธออย่าไป ฉนั ทาใหเ้ธอเจบ็ ชา้ มากมายขนาดไหน ท้งิ ตวั ลงคุกเข่ากอดขาเธอเอาไว้ ฉนั รกั เธอ มากมายเท่าไร เธอเองกร็ ูใ้ ชไ้ หม พนมสองมอื ข้นึ กราบกรานเธอโปรดอย่าไป วา่ เธอน่ะมคี วามหมายกบั ฉนั ขนาดไหน มนั คงไมม่ ปี ระโยชนถ์ า้ คนมนั หมดใจ มากเท่าไร แต่ถา้ ตวั เธอยงั รกั ยงั ห่วงใย ฉนั กาลงั ขอรอ้ งออ้ นวอนเธออย่าไป และถา้ อดตี ของเรายงั พอมคี วามหมาย ท้งิ ตวั ลงคกุ เขา่ กอดขาเธอเอาไว้ ไดโ้ ปรดอย่าจากฉนั ไป พนมสองมอื ข้นึ กราบกรานเธอโปรดอย่าไป ไดโ้ ปรดอย่าทารา้ ยกนั เลย มนั คงไมม่ ปี ระโยชนถ์ า้ คนมนั หมดใจ หากวา่ เธอยงั รกั ยงั ห่วงใย แต่ถา้ ตวั เธอยงั รกั ยงั ห่วงใย หากวา่ เธอยงั มนี า้ ใจใหฉ้ นั หน่อย และถา้ อดตี ของเรายงั พอมคี วามหมาย อย่าปลอ่ ยใหฉ้ นั ใจนอ้ ยคอยเร่อื ยไป ไดโ้ ปรดอย่าจากฉนั ไป และหากวา่ ฉนั ยงั ดไี มพ่ อ ไดโ้ ปรดอย่าทารา้ ยกนั เลย กจ็ ะขอทาดใี หเ้ธอไดเ้ขา้ ใจ ไดโ้ ปรดอย่าทารา้ ยกนั เลย ฉนั ผดิ ไป แต่ไม่ไดต้ ง้ั ใจ ตน้ เหตทุ ฉ่ี นั ผดิ พลงั้ มนั จะไม่มอี กี ครงั้ ใหเ้ธอโปรดมนั่ ใจ ฉนั ขอไดไ้ หม 26

คาซ้า เป็นการสร้างคาเพ่อื ใหเ้ กิดความหมายใหม่วิธีหน่ึง โดยการนาคาเดิมมากล่าวซ้า มี 2 วธิ ี ดงั น้ี ใชไ้ มย้ มก (ๆ) กากบั เล่นเสียงวรรณยกุ ต์ 27

ใชไ้ มย้ มก (ๆ) กากบั คาซ้า เลน่ เสยี งวรรณยุกต์ เดก็ ๆอยู่ทไ่ี หน นอ้ งสาวเธอซว้ ยสวย ความรูเ้ขาแค่งๆู ปลาๆ กบั ขา้ วแม่ อรอ้ ยอร่อย 28

คาพอ้ ง คาพอ้ งรูป • เขารบี นารถเขา้ อู่เน่อื งจากเพลาหกั • เพลาน้ขี า้ ศึกไดม้ าประชดิ เราแลว้ คาพอ้ งเสยี ง • ข้นึ ๑๕ คา่ คอื วนั ทพ่ี ระจนั ทรเ์ ตม็ ดวง • จนั ทนก์ ะพอ้ คอื ตน้ ไมช้ นดิ หน่งึ มดี อกสขี าว คาพอ้ งรูป-พอ้ งเสยี ง • บนเขามกี วางทม่ี เี ขาสวยงาม • เดก็ ชายทถ่ี อื ขนั นา้ มาทาทา่ ทางน่าขนั คาพอ้ งความหมาย • นา้ เช่น ชล นที วารี ธารา อาโป • ดวงจนั ทร์ เช่น แข ศศิ แถง จนั ทรา 29

คาพอ้ ง ผกา มาลี บปุ ผา ดอกไม้ 30

กระบอื กาสร มหงิ สา ควาย 31

กมุ ภณั ฑ์ รากษส รามสูร ยกั ษ์ 32

วจี ถอ้ ย พจนา คาพดู 33

ยุพนิ กนั ยา อนงค์ ผูห้ ญิง 34

ไอยรา กญุ ชร คช ชา้ ง 35

มนี มสั ยา มจั ฉา ปลา 36

ไถง องั ศุมาลี รวี พระอาทติ ย์ 37

อมั พร หาว ฑฆิ มั พร ทอ้ งฟ้ า 38

พงพี ชฏั เถอ่ื น ป่ า 39

การสรา้ งคา ในภาษาบาลี สนั สกฤต

๑.การสรา้ งคาดว้ ยวธิ สี มาส คอื การนาคาตั้งแต่ ๒ คาขึน้ ไปมารวมกนั ใหม้ คี วามหมายเกีย่ วเน่ืองกัน โดยให้กลนื เสียง เพื่อใหเ้ กิดเป็นเสยี งใหม่ ดว้ ยการเปลยี่ น พยัญชนะและสระ

๑.๑ คาสมาส จะต้องเปน็ คาทีม่ าจากภาษาบาลีสนั สกฤตเท่าน้นั เชน่ ศิลปะ + วิทยา สมาสเปน็ ศลิ ปวิทยา เปน็ ตน้ ๑.๒ คาสมาส เวลาอา่ นจะตอ้ งอา่ นให้มเี สยี งสระเชื่อมกนั ระหว่างคาหน้าระหว่างคาหน้ากบั คาหลัง เชน่ มนษุ ยธรรม อ่านวา่ มะ-นุด-สะ-ยะ-ทา เปน็ ต้น ๑.๓ ถา้ คาสมาสคานนั้ ไมม่ ีรปู สระให้อ่านเหมอื นมีสระอะ ประสมอยู่ เช่น วัฒนธรรม อ่านวา่ วดั -ถะ-นะ-ทา เปน็ ตน้

๑.๔ ระหว่างคาสมาสจะต้องไมม่ ปี ระวิสรรชนีย์ (-ะ) เดด็ ขาด เช่น สมณพราหมณ์ ไมใ่ ช่ สมณะพรามหมณ์ เป็นตน้ ๑.๕ คาสมาสจะต้องไม่มีเครื่องหมายทณั ฑฆาต (การนั ต)์ เช่น แพทยศาสตร์ ไมใ่ ช่ แพทยศ์ าสตร์ เป็นตน้ ๑.๖ คาว่า วร เมือ่ สมาสกับคาอื่นแล้วจะแผลงเปน็ คาว่า พระ และจะ นามาใชเ้ ปน็ คาราชาศพั ท์ เช่น วรพกั ตร์ เปน็ พระพกั ตร์ เปน็ ต้น

 ๑. คาสมาสจะต้องเปน็ คาบาลกี ับบาลี สนั สกฤต กบั สนั สกฤต หรือบาลกี ับสนั สกฤต  ๒. ถา้ คาไทยแทส้ มาสกับคาบาลี หรอื สนั สกฤต เรียกวา่ คาประสมไมใ่ ชค่ าสมาส

๒. การสรา้ งคาดว้ ยวธิ สี นธิ คือ การนาคาหลายคามาเชอื่ มตอ่ กัน โดยให้กลนื เลยี งกัน เพอื่ ทาให้คาเหล่านั้น มเี สียงสั้น

๒.๑ สระสนธิ มวี ธิ สี รา้ งดังนี้ − ถา้ สระอะหรืออา สนธกิ ับสระอะหรอื อา ด้วยกัน จะรวมเปน็ สระสระอะหรืออา เช่น เทศ+อภบิ าล เป็น เทศบาล วร+อาภรณ์ เปน็ วราภรณ์ − ถ้าสระอะหรืออา สนธิกบั สระอะหรืออา ของพยางค์ท่ีมี ตัวสะกด จะรวมกันเป็นสระอะหรอื อา และมตี วั สะกด เชน่ มหา + อัศจรรย์ เป็น มหศั จรรย์ สต + องั ค์ เป็น สตางค์

− ถา้ สระอะหรืออา สนธิกับสระอหิ รอื อี จะรวมกันเป็นสระ อิ อี หรือ เอ เช่น นร + อนิ ทร์ เปน็ นรินทร์ มหา + อสิ ี เป็น มเหสี − ถ้าสระอะหรืออา สนธกิ ับสระอุหรอื อู จะรวมเปน็ สระอุ อู หรือ โอ เช่น ราช + อุปถมั ภ์ เป็น ราชปุ ถมั ถ์ สขุ + อทุ ยั เป็น สุโขทยั − ถ้าสระอะหรืออา สนธกิ บั สระ เอ ไอ เอา จะรวมเปน็ เอ ไอ เอา เชน่ อน + เอก เป็น อเนก ปยิ + เอารส เป็น ปเิ ยารส

− ถา้ สระอิหรืออี สนธกิ บั สระอหิ รืออี จะรวมเปน็ สระอิ เชน่ นารี + อินทร์ เปน็ นารินทร์ ไพรี + อนิ ทร์ เป็น ไพรนิ ทร์ − ถ้าสระอิหรอื อี สนธิกับสระอนื่ ๆ เชน่ อะ อา อุ โอ จะมีวิธกี ารเปล่ียน อยู่ ๒ วธิ ี คอื ๑. แปลงรูป อิ หรือ อี เปน็ ย ก่อนแล้ววจงึ นาไปสนธิตามแบบ อะหรืออา และถ้าคาคานั้นมีตังสะกดหรอื ตวั ตาม จะต้องตัด ตวั สะกด หรอื ตัวตามออกก่อนแล้วจึงนามาสนธิกัน เชน่ อัคคี + โอภาส เปน็ อคั โยภาส อธิ + อาศยั เปน็ อธั ยาศยั

๒. ตดั สระอหิ รือออี อก แลว้ จงึ สนธิแบบอะหรืออา เช่น ราชินี + อุปถมั ภ์ เปน็ ราชนิ ูปถัมภ์ หสั ดี + อลงั การ เป็น หสั ดาลังการ − ถา้ สระอุหรอื อู สนธิกับสระอหุ รืออู จะรวมเปน็ สระอหุ รอื อู เช่น คุรุ + อปุ กรณ์ เป็น คุรุอปุ กรณ์ สินธุ + อุปจาร เป็น สนิ ธปู จาร − ถา้ สระอหุ รืออู สนธกิ บั สระอืน่ ๆ จะต้องเปล่ียนสระอหุ รอื อู เปน็ ว ก่อนแลว้ จึงนาไปตอ่ กับสระหลงั เช่น ธนู + อาคม เปน็ ธันวาคม จตุ + อังค์ เป็น จัตวางค์

๒.๒ พยัญชนะสนธิ สาหรับในภาษาบาลี คือ การนาคาลงทา้ ยดว้ ยสระไปสนธิ กับคาทข่ี ึ้นตน้ ด้วยสระหรือพยัญชนะ หรือในภาษาสนั สกฤต คือ การทน่ี าคาลงท้ายดว้ ยพยัญชนะไปสนธกิ บั คาทีข่ น้ึ ต้นดว้ ยสระ หรอื พยัญชนะ ๒.๓ นคิ หติ สนธิ คือ การนาคาทล่ี งทา้ ยด้วยนคิ หติ ไปสนธกิ บั คาท่ี ข้ึนตน้ ด้วยพยญั ชนะหรอื สระ มวี ธิ เี ขียนดังนี้ − ถา้ นคิ หิต สนธิกบั พยัญชนะวรรค ก ได้แก่ ก ข ค ฆ ให้เปลี่ยนเป็น ง เชน่ ส + เกต เป็น สังเกต ส + คน เป็น สงั คม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook