Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทฤษฎีว่าด้วยความผูกผันหรือครอบครัว

ทฤษฎีว่าด้วยความผูกผันหรือครอบครัว

Published by Analyze Studio, 2018-09-10 11:40:51

Description: ทฤษฎีว่าด้วยความผูกผันหรือครอบครัว

Search

Read the Text Version

ทฤษฎีว่าด้วยความผูกพันแบบครอบครัวหรือหุ้นส่วน (The Fathernalistic Theory of Labour Welfare) 441 – 222 Welfare Management and Social Insurance

แนวคดิ ทฤษฎี แนวคิดด้านการร่วมมือแบบหุ้นส่วน คือ ไม่ได้มีการดาเนินการอย่างง่ายเพราะจะมีการดาเนินการร่วมกันทางด้านทักษะ แรงงานและทรัพยากร การร่วมมือแบบหุ้นส่วนเป็นเหตุปัจจัยหลักทีท้าท้ายและก่อให้เกิดสิ่งที่คาดหวังสูง เช่น การเสริมแรงให้กับชุมชน ถ้าความคาดหวังนี้เป็นสิ่งทีจริงจัง การร่วมมือแบบหุ้นส่วนต้องการการเ ป ลี ่ย น แ ป ล ง เ ช ิง ก ร ะ บ ว น ก า ร ข อ ง อ ง ค ์ก ร แ ล ะ ก า ร เ ป ลี ่ย น แ ป ล งว ัฒ น ธ ร ร ม ข อ ง ก า ร ท า ง า น ท ีขึ ้น อ ยู ่ก ับ ร ะ ด ับ ค ว า ม เ ข ้ม ข ้น ข อ ง ก า รเปลี่ยนแปลง

แนวคิดทฤษฎี (ต่อ) แนวคิดนี้มีพื้นฐานมาจากความเชื่อที่ว่า ในการประกอบธุรกิจนั้น นายจ้างและลูกจ้างเป็นหุ้นส่วนกัน คือ นายจ้างมีฐานะเป็นเจ้าของทรัพย์สิน เมื่อจะใช้จ่ายทรัพย์สินใดๆ จึงควรคานึงประโยชน์ของลูกจ้างที่จะได้รับด้วย เพราะลูกจ้างยังคงเป็นผู้ที่ไม่สามารถช่วยตนเองได้ทุกเรื่องมีลักษณะที่พึ่งพานายจ้างอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการจัดการ

ทฤษฎีงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่ 1 ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา ในอดีตมีการกาหนดให้บุคลากรที่ ปฏิบตั ิหนา้ ทีร่ าชการในสถาบนั อุดมศกึ ษา มีสถานะ เปน็ ข้าราชการพละเรือนใน สถาบันอดุ มศึกษา ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2542 คณะรัฐมนตรีได้มีมตใิ ห้จัดจ้าง พนักงาน ทดแทนอัตราข้าราชการพละเรือนในมหาวทิ ยาลัย เพือ่ รองรับการออกนอกระบบใน ปี พ.ศ. 2545 โดยให้ไดร้ บั เงินเดือนในอัตราทีม่ ากกว่าข้าราชการ คือ เพม่ิ ขึน้ 1.7 เทา่ สาหรับ ขา้ ราชการ สาย ก. และเพ่มิ ขนึ้ 1.5 เท่า สาหรับขา้ ราชการ สาย ข. และ สาย ค. ตามข้อเสนอของ คณะกรรมการ กาหนดเปา้ หมายและนโยบาย กาลังคนภาครฐั (ค.ป.ร.) ซ่งึ มีนายพชิ ัย รตั ตนกุล รองนายกรัฐมนตรี เป็น ประธาน จึงเป็นจุดเรมิ่ ต้นของการ กาหนดอัตราพนักงานมหาวทิ ยาลัย ทดแทน อัตราขา้ ราชการ

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาถึงความต้องการสวัสดิการของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ตะวันออก วิทยาเขตบางพระ จังหวัดชลบุรี 2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความต้องการสวัสดิการของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ จังหวัดชลบุรี ซึ่งจาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ระดับการศึกษาและประเภทพนักงาน

ขอบเขตการวิจัย การวิจัยครง้ั นีม้ ุง่ ศกึ ษาความตอ้ งการสวสั ดิการของพนักงานมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วทิ ยาเขตบางพระ จังหวดั ชลบุรี เป็นการวจิ ัยเชิงปริมาณ กาหนดขอบเขตการวจิ ัย ดังนี้1. ขอบเขตของเนอ้ื หา ผู้วิจัยทาการศึกษาความต้องการสวสั ดิการของพนกั งาน มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ จังหวดั ชลบุรี แยกเป็น 3 ด้าน คือ ด้าน คา่ ตอบแทน ดา้ นสวสั ดกิ ารของหน่วยงาน และดา้ นสุขภาพและอนามัย2. ขอบเขตของประชากร ประชากรในการวิจัยครง้ั นีไ้ ดแ้ ก่ พนักงานมหาวทิ ยาลัย เทคโนโลยีราช มงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ จังหวดั ชลบุรี สายสนับสนุนการสอนและสายวชิ าการ รวม จานวนทัง้ ส้ิน 135 คน (ข้อมูลจากกองบรหิ ารงานบคุ คล วนั ที่ 31 ตุลาคม 2555)3. ขอบเขตของระยะเวลาทีท่ าการศึกษาตามแผนพัฒนาบุคลากร ของปกี ารศกึ ษา 2556 โดยทา การเก็บรวบรวมขอ้ มูลต้งั แต่เดือนพฤศจกิ ายน 2555 ถงึ เดือนเมษายน 2556

ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ1. ทาให้ทราบถึงความต้องการสวัสดิการของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล ตะวันออก วิทยาเขตบางพระ จังหวัดชลบุรี2. ใช้เป็นแนวทางในการให้ผู้บริหารและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องนาผลการศึกษาวิจัย ไปใช้ เป็นแนวทางในการกาหนดนโยบาย การวางแผน และดาเนินการ ให้ เป็นไปตามผลการศึกษา ความต้องการสวัสดิการของ พนักงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ จังหวัดชลบุรี โดยยอมรับว่าผลที่ได้รับอาจแตกต่างกัน แต่สอดคล้องตามสภาพจริง

เอกสารและงานวจิ ัยที่เกยี่ วขอ้ ง บทที่ ๒ การวิจัยเรื่อง ความต้องการสวัสดิการของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ตะวันออก วิทยาเขตบางพระจงั หวดั ชลบุรี เพื่อให้เกดิ ความเข้าใจในเรื่องที่จะศกึ ษาและนามาสร้างเปน็ กรอบแนวคิดในการวิจัย โดยผู้วจิ ัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้องในประเด็นสาคัญ

ทฤษฎีเก่ียวกับแรงจูงใจ การจูงใจ หมายถึง การที่ผู้นาจะใช้ปัจจัยภายนอกหรือปัจจัยภายในของแต่ละบุคคลมาใช้ ในการกระตุ้นให้พนักงานใช้ศักยภาพท่ีตนมีอยู่ในการทางานเพื่อให้ได้ประสิทธิผลสูงปัจจัยภายนอก ได้แก่ ส่ิงต่าง ๆ ที่จะเป็นสิ่งกระตุ้น (Stimulus) จากภายนอก (Extrinsic) ทาให้บุคคลพึงพอใจ และนา ความสามารถของตนออกมาใช้ในการทางาน เช่น รายได้ ผลตอบแทน และสวัสดิการต่าง ๆการเลื่อนตาแหน่งเป็นต้น แนวคดิ ทฤษฎีเกีย่ วกับขวญั กาลังใจ ความหมายของขวญั และกาลังใจ สรุ างค์ โค้วตะกูล (2514 อา้ งถึงใน ลัดดา แสงเมือง, 2548, หนา้ 11) ใหค้ า จากัดความขวัญ และกาลังใจ หมายถึง สภาพที่ทุกคนภายในกลุ่ม ทราบถึง วตั ถุประสงคแ์ หง่ การทางานของกลุม่ หรือ วตั ถุประสงค์ของแตล่ ะคนในการที่ จะทางานนั้นเปน็ วัตถุประสงค์ทีม่ าขัดขวางอย่างสุดความสามารถ และ พยายามทีจ่ ะให้ถึงจุดหมายปลายทางทีว่ างไว้

ประชากร ประชากรท่ีนามาใช้ในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ คือ พนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ตะวันออก วิทยาเขตบางพระ จังหวัดชลบุรี ซ่ึงประกอบด้วย พนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ จังหวัดชลบุรี สายสนับสนุนการสอนและพนักงานสาย วิชาการ มีจานวน 119 คน จากจานวน 135 คน (กองบริหารงานบุคคล วันที่ 31ตุลาคม 2555)การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยทาการเก็บข้อมูล โดยดาเนินการตามข้ันตอน ดังนี้1.ขอหนังสือแนะนาตัวจากวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา เพื่อขอความร่วมมือในการแจกแบบสอบถามแก่พนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ จังหวัดชลบุรี2.นาหนังสือแนะนาตัวพร้อมแบบสอบถาม จานวน 119 ฉบับ แจกที่มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตบางพระ โดยทาการแจกแบบสอบถามและเก็บแบบสอบถามคืน ด้วยตนเองเพื่อนามาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์

วิธีดาเนนิ การวจิ ัย บทที่ ๓วิธีดาเนินการวิจัย ในการวิจัยเรื่องความต้องการสวัสดิการของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ จังหวัดชลบุรี เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการความต้องการสวัสดิการของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ จังหวัดชลบุรี และเปรียบเทียบความต้องการสวัสดิการของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ จังหวัดชลบุรี ซึ่งจาแนกตามปัจจัย ส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ระดับการศึกษา และประเภทพนักงานวิธีการวิจัยการศึกษาวิจัยครั้งนี้ใช้การศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ได้ดาเนินการศึกษา 2 แบบ คือ1. การศึกษาข้อมูลเอกสาร (Documentary Research) เป็นการศึกษารวบรวมข้อมูลจากเอกสารต่างๆทั้งที่เป็นแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เก่ียวข้อง2. การวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) เป็นการศึกษารวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม(Questionnaire) ซ่ึงสร้างข้ึนจากการทบทวนแนวคิด และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อนาไปสร้างเคร่ืองมือในการวิจัยคร้ังนี้

ผลการวิจัย บทที่ ๔ การวิจัยเรื่องความต้องการสวัสดิการของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ตะวันออก วิทยาเขตบางพระ จังหวัดชลบุรี มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการความต้องการสวัสดิการ พนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออกวิทยาเขตบางพระ จังหวัดชลบุรี และ เปรียบเทียบความต้องการสวัสดิการของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ จังหวัดชลบุรี จาแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระยะเวลาในการ ปฏิบัติงานระดับการศึกษา และประเภทพนักงาน โดย ทาการศึกษา พนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลตะวันออก จานวน 119 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์มีสถิติค่าความถี่ (Frequency)

สรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ บทที่ ๕ สรุปผลการวจิ ัย และข้อเสนอแนะสรุปผลการวิจัย ข้อมูลส่วนบุคคล ผลการศึกษาข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ จังหวัดชลบุรีพบว่า พนักงานส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงอยู่ในช่วงอายุ 35-45 ปี ส่วนใหญ่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 3-4 ปี ระดับการศึกษาส่วนใหญ่อยู่ในระดับปริญญาตรีเป็น พนักงานประเภทสายสนับสนุนมากกว่าพนักงานประเภทสายวิชาการ

ข้อเสนอแนะ จากผลการศึกษาวิจัย ผู้วิจัยสนใจศึกษาความต้องการสวัสดิการของพนักงานมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออถึงความต้องการข้ันต้นเพียง 3 ด้าน คือ ด้านค่าตอบแทน ด้านสวัสดิการของหน่วยงาน และด้านสุขภาพและอนามัย เนื่องจากสวัสดิการทั้ง 3 ด้านดังกล่าวเป็นความต้องการพื้นฐานท่ีมหาวิทยาลัยควรจัดให้แก่พนักงาน ซ่ึงสรุปได้ว่า สวัสดิการท่ีพนักงานมหาวิทยาลัยมีความต้องการมากท่ีสุดคือ ด้านสวัสดิการด้านสุขภาพและอนามัย ซ่ึงพบว่าพนักงานมีความต้องการให้มีการตรวจสุขภาพท่ัวไป ปีละ 1 คร้ัง และมหาวิทยาลัยยังไม่มีการจัดสถานที่ สาหรับการเล่นกีฬาและออกกาลังกายเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยของพนักงานให้มีร่างกายแข็งแรง และขาดอุปกรณ์การออกกาลังกายท่ีเป็นสัดส่วนและมีความหลากหลาย รวมถึงการจัดกิจกรรมด้านสันทนาการเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิต เช่น การแข่งขันกีฬาภายในหน่วยงาน การจัดงานสังสรรค์ในหน่วยงาน การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมวัฒนธรรมต่าง ๆอีกทั้งควรคานึงถึง การจัดสวัสดิการเพิ่มเติมในด้านอื่น ๆ ด้วย เช่น การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลได้ตามที่จ่ายจริงจาก สถานพยาบาลของรัฐและการได้รับค่าตอบแทนตามบัญชีเงินเดือนค่าตอบแทนของพนักงาน มหาวิทยาลัย ซ่ึงอาจจะส่งผลให้พนักงานมหาวิทยาลัยมีกาลังใจในการปฏิบัติงานดีขึ้นและอาจก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทางานสูงข้ึน

บรรณานุกรมกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์. (2548). รายงานการศึกษาเร่ือง ทิศทางและ รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์.กฤษณา ศักดิ์ศรี. (2534). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: บารุงสาสน.ก่ิงพร ทองใบ และคณะ. (2541). เอกสารการสอนชุดวิชา ขอบข่ายและการวิจัยทางรัฐประศาสนา ศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 12). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.กิตตินันต์ พิศสุวรรณ. (2553). ความต้องการสวัสดิการของพนักงาน กรณีศึกษา: บริษัท ลานนา อุตสาหกรรมเกษตรจากัด. สารนิพนธ์เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาเศรษฐศาสตร์ การจัดการ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุล. (2536). พื้นฐานทฤษฎีสังคมสงเคราะห์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.จรินทร์ เสือโต. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจด้านสวัสดิการของพนักงาน บริษัท เรเซอร์ การไฟฟ้า (ประเทศไทย) จากัด. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาบริหารธุรกิจ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

บรรณานกุ รม (ตอ่ )จุฑารัตน์ สมอคร. (2552). ความคาดหวังของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรณีศึกษา เฉพาะ:คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาการบริหารท่ัวไป,วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา.ฉลอง มาปรีดา. (2537). คุณธรรมสาหรับผู้บริหาร. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.ชิษณุกร พรภาณุวิชญ์. (2540). ความคาดหวังของประชาชนท่ีมีต่อบทบาทการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถ่ินของสมาชิกองค์การบริหารส่วนตาบล: กรณีศึกษา จังหวัดแพร่. วิทยานิพนธ์สังคมศาสต์รมหาบัณฑิต,สาขาส่ิงแวดล้อม, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล.ชูเกียรติ ก่อเกิด. (2531). ขวัญของบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนกันดาร สังกัดสานักงาน การประถมศึกษาจังหวัดน่าน. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาการบริหาร การศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.ฐนิดา ปัตตานี. (2546). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่ง ประเทศไทยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขานโยบายสาธารณะ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สมาชิกในกลุ่ม1. นายม๊ะห์ยุดดีน วามิง รหัสนักศึกษา 60207102552. นายอาลิฟ แวแม รหัสนักศึกษา 60207102783. นายอามีน สะมาแอ รหัสนักศึกษา 60207102754. นายอุสมาน ชายหัด รหัสนักศึกษา 60207102815. นางสาวอิบติซัม วาเงาะ รหัสนักศึกษา 60207102806. นางสาวอิลฮาม มะมิง รหัสนักศึกษา 60207102827. นางสาวฮาวา สุพพัต รหัสนักศึกษา 6020710286


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook