Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรื่องที่ 4

เรื่องที่ 4

Published by KruPaTThira ChNUnTHo, 2021-03-14 19:39:39

Description: เรื่องที่ 4

Search

Read the Text Version

บทท่ี 1 ความรู้เบื้องต้นเกย่ี วกบั การสือ่ สารขอ้ มลู และระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ แผนการสอนประจาบท รายวชิ า การสอื่ สารข้อมลู และเครือขา่ ย บทที่ 1 ความรูเ้ บอ้ื งต้นเกยี่ วกบั การส่ือสารขอ้ มูลและระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ หวั ข้อเนือ้ หาหลัก 1.1 แนวคิดทวั่ ไปเกยี่ วกบั การสอ่ื สารขอ้ มลู 1.2 แนวคิดท่วั ไปเกี่ยวกบั ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ แนวคิด 1. การส่ือสารข้อมูลเป็นส่ิงจาเป็นต่อการดารงชีวิตของมนุษย์มาต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มนุษย์ ได้พยายามท่ีจะพัฒนาเคร่ืองมือสื่อสารต่างๆ ข้ึนมาอย่างต่อเน่ือง โดยเคร่ืองมือส่ือสารดังกล่าวมี ความสามารถ เพ่ิมข้ึนตามลาดับ ทั้งน้ีก็เพ่ืออานวยความสะดวก และเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ รวมทั้งเพิ่ม ประสทิ ธิผลในการตดิ ต่อส่ือสารระหว่างกันและกัน จาการประดิษฐ์เคร่ืองมือส่ือสารที่มีส่วนประกอบซ่ึงไม่ ซับซ้อนมากนักไปสู่การเป็นเคร่ืองมือส่ือสารท่ีซับซ้อนมากข้ึน มีการพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ ข้ึนมาใช้ใน เครื่องมือส่ือสารดังกล่าว จนทาให้ปัจจุบันการสื่อสารข้อมูลมีความสามารถสูงกว่าในอดีตอย่างเห็นได้ชัด มนุษย์สามารถติดต่อสื่อสารระหว่างกันได้อย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะอยู่ห่างไกลกันมากเพียงใด ระยะทางไม่ใช่ อุปสรรคอกี ต่อไป ทัง้ นเ้ี พราะเทคโนโลยีการส่อื สารสามารถกาจัดอุปสรรคดังกล่าวได้ 2. เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์เป็นระบบงานทเ่ี กิดจากการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีการ สอื่ สารมาประยุกต์เข้าด้วยกัน ทั้งน้ีเน่ืองจากเทคโนโลยีทั้งสอง เป็นเทคโนโลยีท่ีมีประโยชน์อย่างมหาศาล ต่อการทางานและการดารงชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบัน ดังจะเห็นได้จากการท่ีนานาประเทศท่ัวโลก ต่างก็ ยอมรับและนาเทคโนโลยดี ังกลา่ วไปประยุกตใ์ นงานดา้ นตา่ ง ๆ อย่างแพร่หลาย เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์เป็น ระบบงานท่ีไม่เพียงช่วยเสริมสร้างศักยภาพการทางานเท่านั้น แต่ยังแทรกซึมอยู่ในการดารงชีวิตของ มนุษยอ์ ีกด้วย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ทุกคนรู้จักกันดีคือ ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซ่ึงเป็นระบบ เครือข่ายขนาดใหญ่ที่สุดของโลก ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ก่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่ข้ึนมามากมาย ไม่ ว่าจะเป็นการทาธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ การทางานออนไลน์ สันทนาการ/บันเทิงออนไลน์ การเรียนรู้ใน รปู แบบออนไลน์ และโดยเฉพาะการตดิ ตอ่ สื่อสารออนไลน์ ซ่ึงนวัตกรรมดังกล่าวได้เปลี่ยนวิถีการดารงชีวิต ของมนุษย์ในปจั จุบนั ใหแ้ ตกต่างจากในอดีตอย่างเหน็ ไดช้ ัด วตั ถปุ ระสงค์ เมือ่ ศึกษาบทท่ี 1 จบแล้ว ผู้เรยี นสามารถอธบิ ายหัวข้อตอ่ ไปนไี้ ด้ 1. ความรทู้ ว่ั ไปเกย่ี วกับการสอื่ สารขอ้ มลู ได้ 2. ประโยชนข์ องการสอ่ื สารข้อมูลได้ 3. ความรูท้ ัว่ ไปเก่ยี วกบั ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ได้ 4. ประโยชน์ของระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรไ์ ด้

2 บทที่ 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกย่ี วกับการส่ือสารข้อมลู และระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ กจิ กรรมระหว่างเรียน 1. ทาแบบประเมินผลตนเองกอ่ นเรียนบทที่ 1 2. ศึกษาเอกสารประกอบการสอนหัวข้อเน้ือหาหลกั ท่ี 1.1 และ 1.2 3. ปฏบิ ตั ิกิจกรรมตามท่ไี ดร้ ับมอบหมายในเอกสารประกอบการสอน 4. ทาแบบประเมนิ ผลตนเองหลังเรียนบทที่ 1 5. ทากิจกรรมประจารายวชิ า สอื่ การสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. แบบฝกึ ปฏบิ ัติ การประเมนิ ผล 1. ประเมนิ ผลจากแบบประเมนิ ผลตนเองก่อนเรยี นและหลังเรียน 2. ประเมนิ ผลจากการทากจิ กรรมและแนวตอบท้ายเร่อื ง 3. ประเมินผลจากกิจกรรมประจารายวิชา 4. ประเมนิ ผลจากการสอบไลป่ ระจาภาคการศกึ ษา ขอ้ กาหนด เม่ืออ่านแผนการสอนประจาบทที่ 1 แล้ว กาหนดให้ผู้เรียนทาแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียน บทท่ี 1 ในแบบฝึกปฏบิ ตั ิ แลว้ จึงศกึ ษาเอกสารการสอนต่อไป ปรญิ ญา นอ้ ยดอนไพร || การส่ือสารข้อมลู และเครือขา่ ย (Data Communication and Network)

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกยี่ วกับการสื่อสารข้อมลู และระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ 3 1.1 แนวคดิ ทว่ั ไปเกย่ี วกับการสอื่ สารข้อมูล หวั ข้อเนอ้ื หาย่อย 1.1.1 วิวฒั นาการของการส่ือสาร 1.1.2 ความหมาย องค์ประกอบพนื้ ฐาน และประโยชนข์ องการสื่อสารข้อมูล แนวคิด 1. การส่ือสารได้มวี วิ ฒั นาการอยา่ งตอ่ เนอ่ื งมานานหลายพนั ปี นับต้ังแตใ่ นอดตี จนถึงปัจจุบัน โดย เริ่มจากการใช้สิ่งของที่หาได้จากธรรมชาติมาใช้เป็นส่วนประกอบในการติดต่อส่ือสารกัน จากน้ันจึงได้มี การประดิษฐ์คิดค้นอุปกรณ์เคร่ืองมือส่ือสารต่าง ๆ ข้ึนมา ต้ังแต่โทรเลข ที่ใช้รหัสมอร์สมาสู่โทรศัพท์ที่ใช้ สญั ญาณแอนะลอ็ ก จนกระท่งั ปัจจบุ ันเป็นการสื่อสารโดยใช้คอมพิวเตอร์ท่ีใชส้ ัญญาณดจิ ิตอล 2. ปัจจุบันการสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลหรือสารสนเทศท่ีอยู่ในรูปแบบ ดิจิตอล ระหว่างฝ่ายผู้ส่งไปยังฝ่ายผู้รับ หรือจากระบบคอมพิวเตอร์หนึ่งไปสู่อีกระบบคอมพิวเตอร์หน่ึง โดยทวั่ ไปการสื่อสารขอ้ มลู จะประกอบด้วย 5 องคป์ ระกอบหลัก ได้แก่ ข้อความที่ต้องการรับส่ง ผู้ส่ง ผู้รับ ตวั กลางท่ีเปน็ ช่องทางในการรบั ส่งข้อมูล และโปรโตคอล ซง่ึ เปน็ กฎเกณฑ์ท่กี าหนดขน้ึ มาสาหรับสาหรับใช้ ในการรับส่งข้อมูล มนุษย์ได้ใช้ประโยชน์จากการส่ือสารข้อมูลในการดารงชีวิตประจาวันและการ ดาเนนิ งานมาตั้งแต่อดตี จนถึงปจั จบุ ัน วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาหัวข้อเน้ือหาหลกั ที่ 1.1 จบแล้ว ผู้เรยี นสามารถอธิบายหัวข้อต่อไปนไ้ี ด้ 1. วิวัฒนาการของการสื่อสารได้ 2. ความหมายของการสื่อสารข้อมูลได้ 3. องคป์ ระกอบพน้ื ฐานของการสือ่ สารขอ้ มลู ได้ 4. ประเภทของทิศทางการไหลของข้อมูลได้ 5. ประโยชนข์ องการส่ือสารข้อมลู ได้ ปริญญา น้อยดอนไพร || การส่อื สารขอ้ มลู และเครือข่าย (Data Communication and Network)

4 บทท่ี 1 ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกับการส่ือสารข้อมลู และระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ 1.1.1 วิวัฒนาการของการสื่อสาร การส่ือสารไมใ่ ชเ่ รอ่ื งใหมส่ าหรบั มนุษยชาติ ทั้งน้ี เนื่องจากเม่ือหลายพันปีก่อนมนุษย์มีการ สื่อสารข้อมูลระหว่างกันโดยการใช้วัสดุท่ีหาได้จากธรรมชาติท่ีอยู่รอบ ๆ ตัวมาใช้ ดังจะเห็นได้จากการ ค้นพบภาพวาดบนผนังถ้าหรือบนหนังสัตว์ท้ังในประเทศไทยและต่างประเทศ การค้นพบหลักฐานการใช้ ควันจากกองไฟท่ีก่อขึ้นเพ่ือใช้ในการส่ือสารข้อมูลระยะไกลในบางประเทศ การสื่อสารข้อมูลได้มี ววิ ฒั นาการมานานนับหลายศตวรรษ จากการใช้วสั ดุที่หาได้จากธรรมชาติ มาจนกระทั่งปัจจุบันที่มีการนา เทคโนโลยีตา่ ง ๆ เขา้ ไปประยุกตอ์ ยา่ งทีเ่ ห็นกันทว่ั ไป สาหรับวิวัฒนาการของการส่ือสารที่จะกล่าวถึงในเร่ืองน้ี แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1) วิวัฒนาการของการสอื่ สารดว้ ยเสยี ง และ 2) วิวฒั นาการของการสื่อสารข้อมูล ซึ่งเป็นการส่ือสารข้อมูล โดยใช้ระบบคอมพวิ เตอร์เปน็ เครื่องมอื 1) วิวัฒนาการของการส่ือสารด้วยเสยี ง ปัจจุบัน นอกจากการส่ือสารข้อมูลจะเข้ามามีบทบาทต่อการดารงชีวิตประจาวันของ มนุษย์ทุกชาติ ทุกภาษาแล้ว ยังมีบทบาทต่อการดาเนินงานของหน่วยงานทุกแห่งอีกด้วย ไม่ว่าจะเป็น หน่วยงานประเภทใดก็ตาม ปัจจัยหนงึ่ ท่ีเอือ้ อานวยให้เกดิ ขึน้ กค็ อื ความก้าวหน้าของการพัฒนาเทคโนโลยี การสื่อสารและเครือข่ายที่เกิดขึ้นอย่างต่อเน่ืองและรวดเร็ว รวมท้ังมีการแพร่กระจายการใช้เทคโนโลยี ดังกล่าวไปท่ัวโลก จึงส่งผลทาให้การสื่อสารข้อมูลระหว่างหน่วยงานกับหน่วยงาน หรือระหว่างบุคคลกับ บคุ คลภายนอกกลายเปน็ เรอ่ื งงา่ ยและธรรมดาสาหรับทุกคน วิวัฒนาการหรือความเป็นมาของการสื่อสารข้อมูลน้ัน เร่ิมต้นข้ึนในปี ค.ศ. 1837 โดย ซามูเอล มอร์ส (Samuel Morse) และผู้ช่วยของเขา คือ อัลเฟรด เวล (Alfred Vail) ได้ประดิษฐ์โทรเลข ขึ้น เพื่อใช้รับส่งข้อมูลโดยอาศัยการแปลงรหัสข้อมูลไปเป็นรหัสสัญญาณทางไฟฟ้าหรือท่ีเรียกว่า รหัส มอร์ส (Morse code) ส่งไปยังเคร่ืองรับตามสายสัญญาณ พอไปถึงเครื่องรับ เคร่ืองรับก็จะทาการรับ สัญญาณทางไฟฟ้าน้ัน มาถอดรหัสทางไฟฟ้าให้เป็นรหัสข้อมูลตามเดิม และต่อมามอร์สได้สร้างสายโทร เลขระหว่างเมืองบัลติมอร์กับวอชิงตันข้ึนเป็นคร้ังแรกซ่ึงมีระยะทางยาวประมาณ 64 กิโลเมตร ทาให้เกิด การส่ือสารในรูปแบบของการส่งโทรเลข ซึ่งถือเป็นการเริ่มต้นการสื่อสารโทรเลขอย่างจริงจังและขยาย เครือข่ายเพิ่มข้ึนอีกหลายจุด หลังจากน้ันการสื่อสารโทรเลขได้ถูกพัฒนาให้มีความสามารถเพิ่มขึ้น ท้ัง อุปกรณ์ในการสอื่ สารโทรเลข ระบบทใ่ี ช้งาน และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ของการส่ือสารโทรเลข เช่น โทรพิมพ์ และเทเลก็ ซ์ เปน็ ต้น นับเป็นการเรม่ิ ต้นของการเปลีย่ นแปลงการส่ือสารข้อมูลโดยการส่งผ่านตัวกลางที่จับ ต้องได้เป็นคร้งั แรกของมนุษยชาติ ภาพที่ 1.1 ซามูเอล มอรส์ และเครื่องส่งโทรเลขท่ปี ระดิษฐ์ขน้ึ ทม่ี า: Answers Corporation. (2013). ปรญิ ญา นอ้ ยดอนไพร || การสอ่ื สารข้อมูลและเครือขา่ ย (Data Communication and Network)

บทที่ 1 ความรเู้ บื้องตน้ เกี่ยวกับการส่ือสารข้อมูลและระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 5 ต่อมาในปี ค.ศ. 1876 อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบล์ล (Alexander Graham Bell) ได้ พัฒนาการสื่อสารให้มีความก้าวหน้าขึ้นอีกขั้นหนึ่งจากโทรเลขของมอร์ส โดยแทนท่ีจะส่งข้อมูลในรูปของ รหัสข้อมูลแล้วแปลงเป็นรหัสสัญญาณไฟฟ้า แต่เบล์ลใช้การแปลงข้อมูลจากเสียงพูดโดยตรงไปเป็น สัญญาณไฟฟ้าแล้วส่งไปตามสายสัญญาณท่ีเชื่อมโยงระหว่างผู้ส่งและผู้รับ เบล์ลได้ประดิษฐ์โทรศัพท์ที่ สามารถสอ่ื สารในระยะไกลข้ึนเป็นครัง้ แรก โดยมีระยะทางประมาณ 10 ไมล์ ส่ือสารระหว่างเมืองปารีสซ่ึง อยูใ่ นรัฐออนตาริโอ ประเทศแคนาดาไปยังเมืองแบร์นฟอร์ดที่ตั้งอยู่ในรัฐเดียวกัน ต่อมาการเปิดให้บริการ โทรศัพท์สาธารณะที่ต้องจ่ายค่าบริการได้เริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1880 ซ่ึงทาให้โทรศัพท์กลายมาเป็นส่วนหนึ่ง ของชวี ิตประจาวนั ของมนุษย์ตราบจนกระทง่ั ถึงปัจจุบนั ในปี ค.ศ. 1915 การบริการโทรศัพท์ข้ามทวีปและข้ามมหาสมุทรแอ็ตแลนติกได้เริ่ม เปิดให้บริการในสหรัฐอเมริกา และในช่วงต้นของทศวรรษ 1920 โทรศัพท์ท่ีใช้การหมุนหมายเลข (dial telephone) มอี ัตราการเติบโตอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดปัญหาการขาดแคลนเจ้าหน้าที่โอเปอร์เรเตอร์ท่ีทา หน้าที่ในการสลับสายสัญญาณ ภาพที่ 1.2 อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบล์ล และโทรศัพทท์ ใ่ี ชก้ ารหมุนหมายเลข ทีม่ า: Wikimedia commons. (2013). ต่อมาในปี ค.ศ. 1948 ระบบโทรศัพท์ท่ีเชื่อมต่อโดยใช้สัญญาณไมโครเวฟ จึงได้ถูก พัฒนาข้ึนในประเทศแคนาดา และในปี ค.ศ. 1951 โทรศัพท์ทางไกลท่ีไม่ต้องมีเจ้าหน้าที่โอเปอร์เรเตอร์ สลบั สายโทรศพั ทใ์ ห้แกผ่ ใู้ ช้ ก็เริ่มเปิดให้บริการแกส่ าธารณชน ส่วนโทรศัพท์ระหว่างประเทศท่ีใช้สัญญาณดาวเทียมเคร่ืองแรกได้พัฒนาข้ึน ในปี ค.ศ. 1962 โดยใช้สัญญาณจากดาวเทียมเทลสตาร์วัน (Telstar I) และในปี ค.ศ. 1965 ระบบโทรศัพท์ ระหวา่ งประเทศที่ใช้สญั ญาณดาวเทียมกไ็ ด้มีการใช้อย่างแพรห่ ลายทัว่ โลก สาหรับการเปิดบริการโทรสารหรือแฟ็กซ์ (fax) ได้เร่ิมเกิดข้ึนในปี ค.ศ. 1962 และในปี ค.ศ. 1963 บริษัทต่าง ๆ ได้เร่ิมมีการจาหน่ายโทรศัพท์ท่ีใช้การกดปุ่ม (touch tone telephone) ให้แก่ ผู้ใช้งานทั่วไป นอกจากน้ียังได้มีการพัฒนาโทรศัพท์ที่สามารถเห็นภาพใบหน้าระหว่างผู้สนทนาขึ้น ในปี ค.ศ. 1969 ในชว่ งระหวา่ งปี ค.ศ. 1983-1984 ได้เริ่มมีการนาระบบโทรศัพท์ที่ใช้เครือข่ายเซลลูลาร์ มาให้บริการแก่สาธารณชน ซ่ึงในระหว่างนั้นโทรศัพท์ที่ใช้ยังมีขนาดใหญ่เทอะทะ และมีน้าหนักมากไม่ สะดวกต่อการพกพาไปในท่ีต่าง ๆ ต่อมาในช่วงทศวรรษ 1990 ได้มีการพัฒนาโทรศัพท์ดังกล่าวให้มีขนาด กะทัดรัด ง่ายและสะดวกต่อผู้ใช้ในการพกพา จึงทาให้โทรศัพท์ที่ใช้เครือข่ายเซลลูลาร์ได้รับความนิยมมาก ปริญญา นอ้ ยดอนไพร || การส่อื สารขอ้ มลู และเครอื ขา่ ย (Data Communication and Network)

6 บทท่ี 1 ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลและระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ข้ึน ซึ่งโทรศัพท์ดังกล่าวเรียกอีกชื่อหน่ึงว่า โทรศัพท์เคลื่อนท่ี (mobile telephone) หลักการทางานของ โทรศัพท์เคล่ือนท่ีคือการแปลงสัญญาณ เสียงหรือข้อมูลท่ีต้องการส่งให้เป็นสัญญาณคลื่นวิทยุ จากนั้น สัญญาณคลื่นวิทยุจะใช้อากาศเป็นตัวกลางในการเดินทางไปยังสถานีย่อยในเครือข่ายที่ใกล้ท่ีสุด เม่ือสถานี ย่อยที่ใกล้ที่สุดได้รับสัญญาณแล้วจะทาการส่งต่อไปยังสถานีย่อยอ่ืน ๆ จนกระทั่งถึงสถานีย่อยท่ีใกล้ท่ีสุด ของผรู้ บั สถานยี ่อยนัน้ จะทาหน้าท่แี ปลงสญั ญาณคล่ืนวทิ ยใุ หเ้ ป็นสญั ญาณเสยี งหรอื ข้อมูลตามเดิม ภาพที่ 1.3 โทรศัพท์เคลือ่ นที่ ท่ีมา: สยามโฟน. (2556). สาหรับวิวฒั นาการของการสอ่ื สารดว้ ยเสยี ง สามารถสรปุ ได้ดังตารางที่ 1.1 ตารางที่ 1.1 ววิ ฒั นาการของการสอ่ื สารดว้ ยเสยี ง ปี ค.ศ. เทคโนโลยี รายละเอียด 1837 โทรเลข ซามูเอล มอร์ส ประดิษฐ์โทรเลขข้ึนมา โดยใช้รหัส มอรส์ 1876 โทรศพั ท์ อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบล์ล ประดิษฐ์โทรศัพท์ ระหว่างเมืองปารีสในแคนาดากับเมืองแบรนด์ ฟอร์ดในแคนาดาเช่นกัน 1915 โทรศัพทข์ ้ามทวีป เริม่ เปิดใหบ้ ริการในสหรัฐอเมรกิ าเปน็ ครงั้ แรก 1948 โ ท ร ศั พ ท์ ที่ เ ช่ื อ ม สั ญ ญ า ณ มีการพฒั นาข้นึ ในประเทศแคนาดา ไมโครเวฟ 1962 โทรศัพท์ที่ใช้สัญญาณดาวเทียม/ โทรศัพท์ระหว่างประเทศโดยใช้สัญญาณ โทรสาร ดาวเทยี มเทลสตาร์วนั และเริ่มมีการใช้โทรสาร 1963 โทรศัพท์ท่ีใช้การกดปุ่มแทนการ มีการจาหน่ายโทรศัพท์ท่ีใช้การกดปุ่มแทนการ หมนุ หมายเลข หมนุ 1969 โทรศพั ท์ภาพ เริม่ มีการพฒั นาระบบโทรศัพทภ์ าพขึ้นมาใชง้ าน 1983-1984 โทรศพั ท์เครือข่ายเซลลลู าร์ บ ริ ษั ท ห ล า ย แ ห่ ง พั ฒ น า ร ะ บ บ โ ท ร ศั พ ท์ ที่ ใ ช้ เครอื ขา่ ยเซลลลู ารม์ าใหบ้ รกิ ารแกส่ าธารณชน ทศวรรษ โทรศัพท์เคลอ่ื นที่ บริษัทหลายแห่งเริ่มพัฒนาโทรศัพท์เคล่ือนท่ี 1990 ออกมาจาหนา่ ยและแพร่หลายจนถงึ ปัจจบุ นั ปริญญา นอ้ ยดอนไพร || การสอ่ื สารขอ้ มูลและเครอื ข่าย (Data Communication and Network)

บทท่ี 1 ความรเู้ บื้องตน้ เกี่ยวกับการส่อื สารข้อมลู และระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ 7 2) ววิ ัฒนาการของการส่ือสารข้อมลู ในปี ค.ศ.1945 เป็นช่วงเกิดสงครามโลกครั้งท่ี 2 ได้เร่ิมมีการประดิษฐ์เครื่อง คอมพิวเตอร์ข้ึนเป็นคร้ังแรกเพื่อใช้ในการคานวณค่าตัวเลขต่าง ๆ ในการสร้างจรวดขีปนาวุธ ซ่ึงเครื่อง คอมพิวเตอร์ดังกล่าวคือ เครื่องอีนิแอ็ก (ENIAC: Electronic Numerical Integrator and Calculator) ซึ่งถือได้ว่าเป็นอุปกรณ์ช้ินแรกท่ีสามารถประมวลผลข้อมูลแบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ แม้ว่าเครื่องอีนิแอ็กจะ ไมไ่ ดม้ บี ทบาทโดยตรงในด้านการส่ือสารข้อมูลหรือการส่ือสารด้วยระบบคอมพิวเตอร์ก็ตาม แต่ก็แสดงให้ เหน็ ว่า การคานวณและการตัดสินใจสามารถทาได้ด้วยการใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นความสามารถที่ สาคญั สาหรับระบบการสือ่ สารปัจจุบัน ความสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์กับการส่ือสารข้อมูลเร่ิมข้ึนหลังจากที่ได้มีการ ประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ในปี ค.ศ. 1947 ซึ่งทรานซิสเตอร์ช่วยให้เกิดการประดิษฐ์เคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่มี ขนาดเล็กลง อีกท้ังราคาก็ถูกลงด้วยในช่วงทศวรรษ 1950 ระบบคอมพิวเตอร์ได้เริ่มนาหลักการ ประมวลผลแบบแบทซ์ (batch processing) มาใช้ โดยผู้ใช้จะเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ จากหน่วยงาน หลาย ๆ แห่ง จนไดป้ รมิ าณมากพอ จาเริ่มทาการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ เน่ืองจากค่าใช้จ่ายของการ ใชซ้ พี ียขู องเครอ่ื งคอมพิวเตอรใ์ นยุคน้นั คอ่ นขา้ งสงู ต่อมาอีกไม่นาน คอมพิวเตอร์ยุคใหม่ก็เร่ิมต้นข้ึนในช่วงทศวรรษ 1960 ซ่ึงเป็น จดุ เร่มิ ต้นทท่ี าใหเ้ กดิ ระบบงานประยุกต์ใหม่ ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการสื่อสารข้อมูลข้ึน เช่น ระบบประมวลผล และกาหนดเส้นทางเช่ือมต่อของโทรศัพท์ ประหยัดค่าใช้จ่าย ระบบรับส่งข้อมูลระหว่างเคร่ือง คอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป โดยผู้ใช้สามารถใช้คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งที่เรียกว่า \"ดัม เทอร์มินัล (dumb terminal)\" บันทึกข้อมูลและส่งข้อมูลนั้นผ่านสายโทรศัพท์ไปประมวลผลท่ีเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เมนเฟรม (mainframe) และเมื่อได้ผลลัพธ์ เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมก็จะส่งผลลัพธ์นั้นกลับมายัง เครอื่ งเทอร์มินลั ซงึ่ นบั ไดว้ า่ คอมพิวเตอร์ได้เริ่มมบี ทบาทในดา้ นการสื่อสารขอ้ มลู ในช่วงน้ัน นอกจากน้ีแล้ว ในช่วงดังกล่าว ได้มีการออกแบบระบบการสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรียบง่ายแต่มีความ น่าเชื่อถือข้ึนมาด้วย โดยพ้ืนฐานของการออกแบบก็คือ เคร่ืองคอมพิวเตอร์เคร่ืองหน่ึงจะทาการบันทึก ข้อมูลลงบนสื่อเทปแม่เหล็ก จากนั้นข้อมูลในเทปแม่เหล็กก็จะถูกส่งไปใช้ในเคร่ืองคอมพิวเตอร์อ่ืน ๆ ต่อไป โดยการขนสง่ อาจมีคนนาไปส่งหรือส่งทางไปรษณีย์ วิธีน้ีเป็นวิธีที่ปัจจุบันก็ยังคงได้รับความนิยมอยู่ แม้ว่าส่ือทใี่ ช้จะเปลี่ยนไปตามยคุ ตามสมยั เปน็ ดสิ ก์ (disk) ซดี ีรอม (CD-ROM) หรือดีวดี ี (DVD) ก็ตาม ในช่วงทศวรรษ 1970 ระบบคอมพิวเตอร์ออนไลน์ได้ถูกพัฒนาข้ึนให้สามารถทางาน แบบเรยี ลไทม์ (real time) ได้ ทาใหเ้ กดิ การทางานแบบการประมวลผลรายการธรุ กรรมหรอื ทรานแซกชัน (transaction) ณ เวลาที่เกิดรายการธุรกรรมได้ทันที โดยไม่ต้องเก็บรวบรวมข้อมูลไว้เหมือนกับการ ประมวลผลแบบแบทซ์ และแทนที่จะเช่ือมตอ่ เครอ่ื งคอมพวิ เตอรเ์ มนเฟรมเข้ากับเทอร์มินัล แต่ได้มีการนา เครื่องคอมพิวเตอร์พีซีท่ีมีซีพียูอยู่ด้วยภายในเคร่ือง มาเช่ือมต่อแทนดัมบ์ เทอร์มินัล ทาให้เคร่ืองพีซี สามารถประมวลผลได้เอง โดยไม่ต้องรอการประมวลผลจากเครื่องเมนเฟรมและได้วิวัฒนาการมาสู่ระบบ เครือข่ายแบบไคลเอนต์เซิร์ฟเวอร์หรือแม่ข่าย-ลูกข่ายขึ้น นอกจากนี้แล้วในช่วงเวลาดังกล่าวได้มีการ พฒั นาระบบจัดการฐานขอ้ มลู มาแทนท่ีระบบไฟล์ด้วย และมีการพัฒนาระบบงานประยุกต์แบบบูรณาการ (integration system) ขน้ึ โดยทรานแซกชันท่ีเกิดขึ้นในระบบงานหนึง่ สามารถถูกนาไปใช้ในระบบงานอีก ระบบหนง่ึ ได้โดยอัตโนมัติ ทาให้เกิดการรับส่งข้อมูลที่เป็นสัญญาณดิจิตอลระหว่างระบบงานคอมพิวเตอร์ ขึ้น เช่น เมื่อมีลูกค้าส่ังซื้อสินค้า ทรานแซกชันการส่ังซื้อจากระบบการรับคาสั่งซ้ือ จะส่งทรานแซกชันคา สงั่ ซื้อไปยังระบบขายและระบบบญั ชีด้วย ปรญิ ญา น้อยดอนไพร || การสอื่ สารขอ้ มูลและเครอื ขา่ ย (Data Communication and Network)

8 บทที่ 1 ความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับการสอ่ื สารข้อมูลและระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ตอ่ มาในช่วงทศวรรษ 1980 ได้มีการพัฒนาเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์หรือเคร่ืองพีซีท่ีมี ขนาดเล็กลง มีราคาถูกลง และที่สาคัญมีความสามารถเพิ่มมากข้ึนเมื่อเทียบกับเครื่องคอมพิวเตอร์ในยุค แรก ๆ จากข้อดีของเครื่องพีซี จึงทาให้หน่วยงานท้ังภาครัฐและเอกชนต่างก็จัดซ้ือจัดหาเคร่ืองพีซีมาใช้ เปน็ เครือ่ งมอื ในการทางานดา้ นต่าง ๆ การใช้เครื่องพีซีได้รับความนิยมเพ่ิมขึ้นอย่างต่อเน่ือง และขยายจน กลายเปน็ อปุ กรณ์เคร่อื งใช้ไฟฟ้าตามบ้านอกี ดว้ ย ดงั จะเห็นได้จากปัจจุบันทุกแห่งไม่ว่าที่ทางานหรือที่บ้าน จะมีเครื่องพีซีที่เช่ือมต่อกับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตตั้งอยู่ด้วย โดยวัตถุประสงค์หลักก็คือ ต้องการนา คอมพิวเตอร์และระบบเครือข่ายมาจัดการกับข้อมูลสารสนเทศท่ีจาเป็นต้องใช้ในการทางานหรือต้องการ ทราบ ซึ่งการจัดการจะหมายถึงการสร้าง การบันทึก การจัดเก็บ การรับและส่งข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ นน่ั เอง สาหรบั วิวัฒนาการของการสอ่ื สารขอ้ มูล สามารถสรปุ ได้ดังตารางที่ 1.2 ตารางท่ี 1.2 วิวัฒนาการของการสอื่ สารข้อมลู ปี ค.ศ. เทคโนโลยี รายละเอยี ด 1945 เครอ่ื งคอมพวิ เตอรอ์ นี แิ อก็ เคร่อื งคอมพวิ เตอรเ์ ครื่องแรกของโลก 1947 ทรานซสิ เตอร์ การประดิษฐ์ทรานซิสเตอร์ ช่วยให้สามารถ ประดษิ ฐเ์ ครื่องคอมพวิ เตอรท์ มี่ ีขนาดเลก็ ลง ทศวรรษ 1950 ระบบประมวลผลแบบแบทซ์ ช่วยประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยในการใช้ซพี ยี ขู องเคร่ือง ทศวรรษ 1960 ระบบงานเครือข่าย เร่ิมเชื่อมโยงเคร่ืองคอมพิวเตอร์ระหว่างเคร่ือง เมนเฟรมและเครือ่ งดมั บ์เทอร์มนิ ลั ทศวรรษ 1970 ระบบเรียลไทม์ การทางานแบบประมวลผลรายการธุรกรรม ณ เวลาที่เกิดรายการธุรกรรมได้ทันที มีการใช้ เครอ่ื งเทอร์มนิ ลั ทซ่ี พี ียแู ทนดมั บ์เทอรม์ นิ ัล ทศวรรษ 1980 เครอื่ งพซี ี การพัฒนาเคร่ืองพีซีท่ีมีขนาดเล็กลงและมีราคา ถูกขน้ึ มาใช้งาน 1.1.2 ความหมาย องค์ประกอบพื้นฐาน และประโยชนข์ องการสอ่ื สารข้อมลู ปจั จบุ ันเป็นยุคแห่งการสื่อสารขอ้ มลู แบบไรพ้ รมแดน เน่ืองจากความก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว และต่อเน่ืองของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหรือไอซีที (Information and Communication Technology) ซ่งึ เปน็ ปัจจัยสาคญั ท่สี นบั สนนุ ให้เกดิ การติดตอ่ สอื่ สารแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันและกัน อย่างกว้างไกล อีกทั้งยังง่ายสะดวกและรวดเร็วกว่าในอดีตมาก ดังจะเห็นได้จากการพัฒนาอุปกรณ์ที่ เกี่ยวข้องกับการส่ือสาร รวมท้ังเครื่องมือส่ือสารท่ีมีรูปแบบหลากหลาย มีฟังก์ชันสาหรับการใช้งาน มากมายทผี่ ูใ้ ชส้ ามารถเลือกใชไ้ ดต้ ามความต้องการ 1) ความหมายของการสื่อสารข้อมูล มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธรรมาธิราช (2553: 1-11) ได้กล่าวสรุปความหมายของการ ส่ือสาร ไว้ว่า การส่งข้อมูลดิจิตอลที่อยู่รูปของรหัสเลขฐานสอง โดยเป็นการรับส่งระหว่างอุปกรณ์สองช้ิน หรอื จากคอมพวิ เตอรท์ ี่ทาหน้าที่เป็นผสู้ ง่ ข้อมูลกับคอมพวิ เตอร์ที่ทาหน้าท่ีเป็นผู้รับข้อมูลผ่านตัวกลาง โดย ดาเนนิ การตามระเบยี บวิธกี ารในการรับส่งข้อมูลทีก่ าหนดไว้แลว้ ทงั้ นเ้ี พ่ือมุ่งเน้นการใช้วิธีรับส่งข้อมูลท่ีทา ใหม้ อี ัตราการรบั สง่ สูงทีส่ ุดเท่าทจี่ ะเป็นได้ และในขณะเดยี วกันให้เกิดสัญญาณรบกวนน้อยที่สดุ ด้วย ปริญญา นอ้ ยดอนไพร || การสื่อสารขอ้ มลู และเครือขา่ ย (Data Communication and Network)

บทที่ 1 ความรู้เบื้องตน้ เก่ยี วกับการส่ือสารข้อมลู และระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ 9 โอภาส เอย่ี มสิรวิ งศ์ (2549: 17) ไดก้ ลา่ วถึงความหมายของการสื่อสารขอ้ มูล ไว้ว่า การ แลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างสองอุปกรณ์ ผ่านตัวกลางในการส่ือสาร (Transmission Media) ตัวอย่างเช่น การส่ือสารข้อมูลระหว่างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์สองเครื่องด้วยการใช้สายเคเบ้ิลเป็นตัวกลางในการส่ือสาร นอกจากน้ีการสอื่ สารขอ้ มูลยงั มีท้งั การสอื่ สารระยะใกลห้ รือแบบโลคอล ในกรณีที่อุปกรณ์การส่ือสารต่าง ๆ อยู่ในบริเวณหรือตึกอาคารเดียวกัน และการสื่อสารระยะไกลหรือแบบรีโมต ซึ่งอุปกรณ์การสื่อสารจะอยู่ ไกลกนั หรอื ตา่ งพื้นท่ี ฉัตรชยั สุมามาลย์ (2549: 23) ได้กลา่ วถึงความหมายของการส่ือสารข้อมูล ไว้ว่า การ ส่ง (นา) ข้อมูลหรือข่าวสารจากเคร่ืองส่งหรือผู้ส่งผ่านทางส่ือหรือตัวกลางไปยังเคร่ืองรับหรือผู้รับ ข้อมูล หรือข่าวสารทถ่ี กู สง่ ออกไปอาจจะอย่ใู นรปู ของสัญญาณเสยี ง สญั ญาณคล่ืนแมเ่ หล็กไฟฟา้ หรอื แสงก็ได้ กิตติ ภักดีวัฒนะกุลและคณะ (2554: 2) ได้กล่าวไว้ว่า การสื่อสารข้อมูล คือ การ แลกเปล่ียนข้อมูลและสารสนเทศระหวา่ งอปุ กรณผ์ ่านทางส่ือกลางท่ีใช้รับส่งข้อมูล โดยอุปกรณ์ท่ีใช้ในการ ส่ือสารข้อมูลเป็นได้ท้ังฮาร์ดแวร์ (Hardware) และซอฟต์แวร์ ส่วนข้อมูลที่ใช้รับส่งกันในระบบ คอมพิวเตอร์จะเป็นข้อมูลแบบดิจิตอล ซึ่งอยู่ในรูปแบบของ 0 และ 1 โดยเรียกข้อมูลแบบน้ีว่า \"ไบนารี (Binary Information)\" อัมรินทร์ เพ็ชรกุล (2551: 2) ได้กล่าวไว้ว่า การส่ือสารข้อมูล คือ ขบวนการในการนา ข้อมลู จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึง่ ซึ่งตอ้ งมที ้ังผู้รบั และผสู้ ่งขอ้ มลู เกษรา ปัญญา. (2548: 1) ได้กล่าวไว้ว่า การสื่อสารข้อมูล คือ กระบวนการถ่ายทอด หรือนาส่งข้อมูลจากจุดหน่ึงไปยังอีกจุดหนึ่ง ผ่านสื่อชนิดใด ๆ ก็ได้ ข้อมูล (Data) อาจเป็นข้อความ รูปภาพ หรือสัญลักษณ์อะไรก็ได้ที่ต้องถ่ายทอด และการสื่อสารโดยปกติ เกิดข้ึนระหว่างอุปกรณ์หรือ เครื่องคอมพิวเตอรต์ ง้ั แตส่ องเครอ่ื งข้ึนไป จากนิยามที่กล่าวมาข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า การส่ือสารข้อมูล หมายถึง การ แลกเปล่ียนข้อมูลและสารสนเทศระหว่างอุปกรณ์หรือจากคอมพิวเตอร์ท่ีทาหน้าที่เป็นผู้ส่งข้อมูลกับ คอมพิวเตอร์ที่ทาหน้าท่ีเป็นผู้รับข้อมูลผ่านตัวกลาง ผ่านทางส่ือกลางท่ีใช้แลกเปลี่ยน ข้อมูลท่ีใช้ในการ แลกเปล่ียนระหว่างกันจะอยู่ในรูปแบบของ 0 และ 1 หรือเรียกว่าดิจิตอล และจะต้องมีข้อตกลงหรือ กฎเกณฑ์วธิ ีการสอ่ื สารระหวา่ งกัน เรียกว่า โปรโตคอล 2) องคป์ ระกอบพืน้ ฐานของการส่ือสารข้อมลู การสื่อสารข้อมูลประกอบด้วยองค์ประกอบที่สาคัญ 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ข่าวสาร (Message) 2) ผู้ส่ง (Sender/Source) 3) ผู้รับ (Receiver/Destination) 4) ส่ือกลางส่งข้อมูล (Transmission Medium) และ 5) โปรโตคอล (Protocol) ภาพที่ 1.4 องค์ประกอบพน้ื ฐานของการส่ือสารข้อมูล ปรญิ ญา น้อยดอนไพร || การสอ่ื สารขอ้ มูลและเครอื ขา่ ย (Data Communication and Network)

10 บทท่ี 1 ความร้เู บื้องต้นเก่ยี วกับการสอ่ื สารข้อมูลและระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 2.1) ข่าวสาร (Message) คือ ข้อมูลหรือสารสนเทศต่างๆ ท่ีอาจเป็นข้อความ ตัวเลข รูปภาพ เสียง และวิดีโอ ข่าวสารที่ส่งไปจะต้องได้รับการเข้ารหัส (Encoding) เพื่อส่งผ่านสื่อสาร เมื่อปลายทางได้รับข้อมูล ก็จะทาการถอดรหัส (Decoding) ให้กลับมาเป็นข้อมูลดังเดิมเช่นเดียวกับท่ีส่ง มา ระหวา่ งที่ลาเลยี งข่าวสารผ่านสือ่ กลาง อาจมีสญั ญาณรบกวนปะปนมากบั ขา่ วสารได้ 2.2) ผูส้ ่ง (Sender/Source) ผู้ส่งหรือแหล่งกาเนิดข่าวสาร คือ อุปกรณ์ท่ีใช้สาหรับส่ง ขา่ วสาร ซึง่ อาจเปน็ เครอ่ื งคอมพิวเตอรเ์ วริ ์กสเตชั่น โทรศพั ท์ กล้องวิดโี อ เป็นตน้ 2.3) ผู้รับ (Receiver/Destination) ผู้รับหรือจุดหมายปลายทาง คือ อุปกรณ์ท่ีใช้ สาหรับรับขา่ วสาร ซ่งึ อาจเป็นเครอื่ งคอมพิวเตอรเ์ วริ ์กสเตชน่ั โทรศัพท์ โทรทศั น์ เปน็ ต้น 2.4) ส่อื กลางสง่ ขอ้ มูล (Transmission Medium) คือ เสน้ ทางเชงิ กายภาพท่ีใช้สาหรับ การลาเลยี งขา่ วสารจากผสู้ ง่ ไปยังผู้รับ กรณที ่เี ป็นการสื่อสารแบบใช้สาย ตัวกลางทใ่ี ช้อาจเป็นสายทองแดง สายโคแอกเซียล สายใยแกว้ นาแสง ฯลฯ กรณีทเ่ี ปน็ การส่ือสารแบบไร้สายตัวกลางทีใ่ ชเ้ ป็นอากาศ 2.5) โปรโตคอล (Protocol) คอื กลมุ่ ของกฎเกณฑ์และขอ้ ปฏบิ ัติต่างๆ ท่ีกาหนดข้ึนมา เพอ่ื นามาใชเ้ ปน็ ข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ เพ่ือให้การสื่อสารบรรลุผล ถึงแม้อุปกรณ์ทั้งสองฝ่ัง จะสามารถเชื่อมต่อถึงกันได้ก็ตาม หากไม่มีโปรโตคอล ก็จะไม่สามารถสื่อสารกันได้อย่างเข้าใจ ส่งผลให้ การสื่อสารล้มเหลวในท่ีสดุ 3) ทศิ ทางการไหลของข้อมูล สาหรับทิศทางการไหลของข้อมูล (Direction of data flow) ในการสื่อสารผ่านช่อง ทางการสือ่ สารขอ้ มลู น้ัน สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ประเภท ดังนี้ 3.1) การส่ือสารข้อมูลแบบทิศทางเดียว (Simplex) เป็นการสื่อสารข้อมูล ณ เวลา หนึ่งๆ โดยผสู้ ง่ ทาหนา้ ทีส่ ่งข้อมูลไปยังผู้รับ และผู้รบั ทาหน้าทีร่ ับข้อมูลเพียงอย่างเดียวไม่สามารถส่งข้อมูล กลับไปยังผู้ส่งได้ เช่น สถานีวิทยุ/สถานีโทรทัศน์ ที่ทาหน้าท่ีส่งข้อมูลในรูปแบบของสัญญาณเสียงหรือ สัญญาณภาพไปยังผชู้ ม โดยผชู้ มจะสามารถรับขอ้ มูลได้อยา่ งเดียว ไมส่ ามารถส่ือสารกลับไปยังสถานีวิทยุ/ โทรทศั น์ได้ เป็นต้น ภาพท่ี 1.5 แสดงตัวอยา่ งการสอ่ื สารขอ้ มูลแบบทิศทางเดยี ว 3.2) การส่ือสารข้อมูลแบบกึ่งสองทิศทาง (Haft Duplex) เป็นการส่ือสารข้อมูล โดย ทงั้ สองฝา่ ยท่ีตดิ ตอ่ กนั จะทาหน้าทผี่ ลดั กนั เป็นผ้รู บั และผูส้ ง่ เริม่ จากผูส้ ่งจะทาหน้าที่ส่งข้อมูลให้แก่ผู้รับ ซ่ึง ณ ขณะน้ันผรู้ บั จะทาหน้าท่รี บั ข้อมูลเพียงอย่างเดยี วไมส่ ามารถส่งขอ้ มูลได้ เมอ่ื ผูร้ บั รับขอ้ มลู เสร็จแล้วและ ตอ้ งการส่งขอ้ มลู กลบั กส็ ามารถทาได้ โดยผู้รบั จะสลับทาหน้าท่เี ป็นผู้ส่งแทน จะเห็นได้ว่าการส่งข้อมูลแบบ นเี้ ป็นการสง่ ขอ้ มลู สองทาง แต่ ณ ขณะหน่ึง ๆ จะมีการสง่ ข้อมูลไปในทิศทางเดียวเท่านั้น เช่น การส่ือสาร ของระบบวทิ ยุส่อื สาร ภาพท่ี 1.6 แสดงการสง่ ข้อมูลแบบกึ่งสองทศิ ทาง ปรญิ ญา น้อยดอนไพร || การส่ือสารขอ้ มูลและเครอื ข่าย (Data Communication and Network)

บทท่ี 1 ความรู้เบื้องตน้ เก่ยี วกับการสอ่ื สารข้อมลู และระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ 11 3.3) การสื่อสารข้อมูลแบบสองทิศทาง (Full Duplex) เป็นการสื่อสารข้อมูล โดย ในขณะท่ีผู้ส่งกาลังส่งข้อมูลไปยังผู้รับน้ัน ผู้รับก็สามารถส่งข้อมูลสวนกลับไปได้เช่นกัน โดยไม่จาเป็นต้อง รอใหผ้ ู้ส่งสง่ ข้อมลู เสรจ็ ก่อน เชน่ การพดู คุยทางโทรศัพท์ การตดิ ตอ่ สือ่ สารในระบบคอมพวิ เตอร์ เป็นตน้ ภาพท่ี 1.7 แสดงการส่งข้อมูลแบบสองทิศทาง 4) ประโยชนข์ องการสื่อสารขอ้ มลู การสอ่ื สารข้อมลู มปี ระโยชน์หลักๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี 4.1) ช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร หรือสารสนเทศ ระหว่างหน่วยงานกับ หน่วยงาน บุคคลกับหน่วยงานและบุคคลกับบุคคล ซ่ึงการแลกเปล่ียนข้อมูล ข่าวสาร หรือสารสนเทศ ระหว่างกันและกันน้ัน ก่อให้เกิดประโยชน์ในด้านต่างๆ ตามมาอีก เช่น การเรียนรู้ การสร้างนวัตกรรม การสร้างความเขา้ ใจและความสมั พันธ์ที่ดตี อ่ กนั ฯลฯ 4.2) ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทาธุรกรรมด้านต่างๆ การสื่อสารข้อมูลนอกจากจะ ช่วยให้เกิดการแลกเปล่ียนข้อมูล ข่าวสาร หรือสารสนเทศ ระหว่างกันและกันแล้ว ยังทาให้การติดต่อ ประสานงานในด้านต่างๆ เปน็ ไปด้วยความราบรืน่ การทาธุรกรรมมีความง่าย สะดวกและรวดเรว็ มากขนึ้ 4.3) ช่วยเพิ่มผลผลิตให้แก่การดาเนินงานทุกประเภท ทั้งน้ีเนื่องจากการสื่อสารข้อมูล ชว่ ยให้ทุคนที่เกยี่ วขอ้ งกับการดาเนนิ งานมีความเขา้ ใจทีต่ รงกัน จึงทาให้เกิดการดาเนินงานที่สอดคล้องกับ เป้าหมายที่กาหนดไว้ โดยใช้ระยะเวลาน้อยลง ทาให้มีเวลาเหลือที่จะไปดาเนินการในเร่ืองอ่ืนๆ เพ่ิมมาก ข้ึน ซึ่งชว่ ยทาให้ได้ผลผลิตของงานเพ่ิมข้ึน 4.4) ช่วยลดความขัดแย้งในการดาเนินงานลง ในการดาเนินงานใดๆ ให้สาเร็จตาม เป้าหมายก็ตาม ผู้ดาเนินงานจาเป็นต้องมีความเข้าใจในข้ันตอน วัตถุประสงค์และหน้าท่ีความรับผิดชอบ ของตนที่มีต่องาน รวมทั้งเพื่อนร่วมงานทั้งนี้เน่ืองจากความเข้าใจที่ไม่ตรงกัน อาจก่อให้เกิดความขัดแย้ง และปญั หาอุปสรรคตา่ ง ๆ ได้ ดังนั้นการส่ือสารข้อมลู จงึ มีบทบาทท่ีสาคัญในการลดความขดั แย้งตา่ ง ๆ ลง กจิ กรรมท่ี 1.1 1. จงบอกววิ ฒั นาการของการตดิ ต่อส่ือสารโดยใช้ระบบโทรศพั ท์มาโดยสงั เขป 2. การสื่อสารขอ้ มลู ดจิ ติ อลในระยะแรกมลี กั ษณะอย่างไร 3. จงบอกความหมายของการสื่อสารขอ้ มูล 4. ในการสอ่ื สารข้อมลู นั้น ทิศทางการไหลของข้อมลู มีก่ีประเภท อะไรบ้าง 5. จงบอกประโยชนข์ องการสอ่ื สารขอ้ มูลมาก 3 ขอ้ ปริญญา นอ้ ยดอนไพร || การสอ่ื สารข้อมลู และเครอื ขา่ ย (Data Communication and Network)

12 บทท่ี 1 ความรเู้ บื้องต้นเกย่ี วกับการสือ่ สารข้อมลู และระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ 1.2 แนวคดิ ทว่ั ไปเกีย่ วกบั ระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ หัวขอ้ เน้ือหาย่อย 1.2.1 ววิ ฒั นาการของระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ 1.2.2 ความหมาย องค์ประกอบพืน้ ฐาน และประโยชนข์ องระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ 1.2.3 องค์กรทก่ี าหนดมาตรฐานการสื่อสารข้อมลู และระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ แนวคิด 1. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทต่อการส่ือสารข้อมูลตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 1950 โดยเร่ิมจากการใช้เครื่องเมนเฟรมเป็นเครื่องศูนย์กลางเชื่อมต่อการสื่อสารกับเคร่ืองสถานีงานที่เป็น เคร่ืองเทอร์มินัลที่ไม่มีซีพียู หรือดัมบ์เทอร์มินัลโดยเคร่ืองเทอร์มินัลทาหน้าที่รับส่งข้อมูลเพียงอย่างเดียว เทา่ น้นั สว่ นการประมวลผลข้อมูลทุกอย่างต้องอาศัยซีพียูของเคร่ืองเมนเฟรม ต่อมาได้มีการพัฒนาระบบ เครือข่ายท่ีมีการรับส่งข้อมูลแบบแพ็กเก็ต และระบบเครือข่ายแวน จนถึงช่วงทศวรรษ 1990 ได้มีการ พัฒนาระบบเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บหรือเครือข่ายอินเทอร์เน็ตขึ้น ทาให้เกิดเป็นระบบเครือข่ายที่ใช้ในการ ติดต่อสือ่ สารขนาดใหญท่ ่สี ุดของโลก 2. องค์ประกอบพ้ืนฐานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ สายสัญญาณซึ่งใช้เป็นตัวกลางในการรับส่งข้อมูล อุปกรณ์เครือข่ายที่ใช้ในการเช่ือมต่อเพื่อให้การรับส่ง ข้อมูลมีความรวดเร็วมากขึ้น และลดข้อผิดพลาดในการรับส่งข้อมูลลง และองค์ประกอบอีกองค์ประกอบ คือ โปรโตคอล เป็นวิธีการหรือกฎทก่ี าหนดข้ึนเพอื่ ใชใ้ นการรับส่งขอ้ มูลระหว่างฝ่ายผรู้ บั และฝา่ ยผสู้ ง่ 3. จากการท่ีการสื่อสารข้อมูลเป็นสิ่งจาเป็นต่อมนุษย์ทุกคน ประกอบกับปัจจุบันมีการนาระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้เป็นอีกช่องทางหนึ่งสาหรับการส่ือสารข้อมูล ดังน้ัน เพ่ือให้ทุกคนสามารถ ติดต่อส่ือสารระหว่างกันได้ทั่วโลก จึงจาเป็นต้องมีการกาหนดมาตรฐานสาหรับใช้ในการสื่อสารข้อมูลข้ึน มาก ดังจะเห็นได้จาก การท่ีประเทศต่างๆ ได้ร่วมกันต่อตั้งองค์กรข้ึนมาหลายองค์กร มีท้ังองค์กรที่เป็น ของภาครัฐและภาคเอกชน ซ่ึงหน้าท่ีหลักขององค์กรเหล่านั้น ก็คือ การทางานร่วมกันในการกาหนด มาตรฐานทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับการส่ือสารข้อมูล ท้ังมาตรฐานด้านอปุ กรณ์ท่ีใช้ในการสื่อสารข้อมูล มาตรฐานของ ชอ่ งทางในการส่อื สารข้อมลู มาตรฐานกระบวนการในการสื่อสารข้อมลู วัตถปุ ระสงค์ เม่ือศึกษาหัวข้อเน้ือหาหลักท่ี 1.2 จบแล้ว ผเู้ รียนสามารถอธบิ ายหัวขอ้ ตอ่ ไปนไ้ี ด้ 1. วิวฒั นาการของระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ได้ 2. ความหมายของระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ได้ 3. องค์ประกอบพ้ืนฐานของระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ได้ 4. ประโยชน์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ 5. หน้าทขี่ ององค์กรท่ีกาหนดมาตรฐานระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ได้ ปริญญา นอ้ ยดอนไพร || การสอ่ื สารข้อมูลและเครือข่าย (Data Communication and Network)

บทท่ี 1 ความรู้เบ้ืองตน้ เกย่ี วกับการสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 13 1.2.1 วิวัฒนาการของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ ก่อนท่ีจะมาสู่ยุคของการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์นั้น มนุษย์ได้เร่ิมใช้เครื่องจักรใน การตดิ ต่อส่ือสารระหว่างกัน โดยมีการประดิษฐ์เครื่องโทรเลขข้ึนมาในปี ค.ศ.1837 ดังที่ได้กล่าวมาใน ต่อ มากในปี ค.ศ.1940 จอร์ช สทิบิทซ์ (George Stibitz) ได้ใช้เคร่ืองพิมพ์ทางไกลหรือเคร่ืองเทเลไทป์ (teletype) ส่งโจทย์หรือปัญหาคณิตศาสตร์จากวิทยาลัยดาร์ตเมาท์ ในรัฐนิวแฮมเชียร์ ไปยังเครื่อง คานวณเลขเชิงซ้อนในรัฐนิวยอร์กและรับข้อมูลคาตอบกลับมาด้วยวิธีเดียวกัน ซ่ึงเป็นการเชื่อมโยง เครือ่ งจักรใหส้ ามารถทางานในลกั ษณะของเครอ่ื งพมิ พท์ างไกลได้ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มีวิวัฒนาการมานานกว่า 60 ปีแล้ว เริ่มจากในช่วงทศวรรษ 1950 เคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีใช้จะเป็นเครื่องเมนเฟรม และการประมวลผลด้วยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ใน ขณะนั้นจะมีลักษณะแบบแบทช์ (batch) โดยเจ้าหน้าที่ท่ีทาหน้าท่ีประมวลผลข้อมูลที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ จะต้องรวบรวมงานท่ีผู้ใช้ส่งมาให้ได้ปริมาณมากพอสมควร (ซ่ึงขณะน้ันงานท่ีนามาส่งจะมีลักษณะเป็น บัตรเจาะรู (punch card)) จึงจะนาไปประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมๆ กัน ท้ังนี้เนื่องจาก เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้เป็นเคร่ืองเมนเฟรม ท่ีมีขนาดใหญ่ไม่สะดวกในการเคลื่อนย้าย และค่าใช้จ่ายใน การประมวลผลของซีพียูค่อนข้างสูง ผู้ใช้ในยุคนั้นจึงไม่ค่อยได้รับความสะดวกในการทางานนัก ต่อมา ในช่วงต้นของทศวรรษ 1960 ได้เร่ิมมีการเช่ือมต่อเคร่ืองเมนเฟรมเข้ากับเคร่ืองเทอร์มินัล โดยใช้ สายโทรศัพท์ เพ่ืออานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ ในการป้อนงานผ่านเคร่ืองเทอร์มินัลได้โดยไม่ต้องนา บตั รเจาะรมู าสง่ ทีศ่ นู ย์คอมพิวเตอร์ ปี ค.ศ.1962 เจซีอาร์ ลิกค์ไลเดอร์ (J.C.R Licklider) ซ่ึงทาหน้าอยู่ที่แอ็ดวานซ์รีเสิร์ชโปร เจกตเ์ อเยนซี หรอื เรียกสั้น ๆ ว่า อารป์ า (ARPA: Advance Research Project Agency) ซึ่งเป็นท่ีมาของ ช่ือระบบเครือข่ายอาร์ปาเน็ต ได้พัฒนาเทคโนโลยีการทางานกลุ่มข้ึนมา เรียกว่า อินเทอร์กาแลกติค เนต็ เวริ ์ก (Intergalactic Network) ปี ค.ศ.1964 นกั วิจยั ทด่ี ารต์ เมาท์ไดพ้ ฒั นาระบบคอมพิวเตอร์ท่ีผู้ใช้สามารถร่วมกันแบ่งปัน เวลาการทางานของซีพียูของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ได้ เรียกว่า \"ระบบดาต์ตเมาท์ไทม์แชร์ริง (Dartmouth Time Sharing System)\" และในปีเดียวกันกลุ่มนักวิจัยท่ีสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเสทส์หรือเอ็มไอที (MIT: Massachusetts Institute of Technology) ซ่ึงได้รับการสนับสนุนจากบริษัทเจเนอรัลอิเล็กทริค (General Electric) และเบลล์แลป็ (Bell Lab) ได้ใช้เครอ่ื งคอมพิวเตอรใ์ นการจัดเส้นทางและควบคุมการ ทางานของการเช่อื มตอ่ โทรศพั ท์ ตลอดช่วงทศวรรษ 1960 ลโี อนารด์ ไคลน์รอ็ ค (Leonard Klienrock) พอล บาราน (Paul Baran) และโดนัลด์ เดวีส์ (Donald Davies) ได้ร่วมกันคิดหลักการและพัฒนาระบบเครือข่าย ซึ่งใช้การ รบั สง่ ข้อมูลแบบแพ็กเก็ต (packet) หรือดาต้าแกรม (datagram) ท่ีสามารถนาไปใช้กับเครือข่ายแพ็กเก็ต สวิตช์ (packet switch) เพือ่ รบั ส่งขอ้ มูลระหว่างระบบคอมพิวเตอร์ ปี ค.ศ.1965 โทมัส เมอร์ริลล์ (Thomas Merrill) และลอเรนซ์ จี โรเบิร์ตส์ (Lawrence G. Roberts) ได้สรา้ งระบบเครือขา่ ยระยะไกลหรือระบบแวน (WAN: Wide Area Network) ข้นึ มา ปี ค.ศ.1969 มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ลอสแองเจิลลิส มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ซาน ตาบาร์บารา มหาวิทยาลัยยูทาห์ และสถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด (SRI: Stanford Research Institute) ซ่ึง เป็นองค์กรวจิ ยั นานาชาติท่ีไม่หวังผลกาไร ร่วมกันเช่ือมโยงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานเข้า ดว้ ยกัน โดยความเรว็ ทใ่ี ชใ้ นขณะนัน้ คอื 50 กิโลบิตต่อวินาที ซ่ึงแนวคิดดังกล่าวได้ถูกนาไปประยุกต์ และ กลายเป็นจุดเร่ิมตน้ ของเครือข่ายอาร์พาเน็ตและเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต ซง่ึ จะกลา่ วถงึ ในลาดบั ถดั ไป ปรญิ ญา นอ้ ยดอนไพร || การส่ือสารข้อมลู และเครอื ขา่ ย (Data Communication and Network)

14 บทที่ 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกยี่ วกับการส่ือสารข้อมลู และระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ววิ ัฒนาการของระบบเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ต ในช่วงทศวรรษ 1990 ได้เริ่มมีการพัฒนาระบบเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) หรือท่ีรูจ้ ักกันในช่ือของระบบอนิ เทอร์เน็ต (internet) ข้ึน ทาให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ในหน่วยงานต่างๆ รวมท้ัง ที่บ้านต่างก็มีการเชื่อมโยงเป็นระบบเครือข่าย ท้ังน้ีเน่ืองจากระบบเครือข่าย ทาให้การเข้าถึงข้อมูล สารสนเทศท่ัวโลกกลายเปน็ เร่อื งง่ายและสะดวกตอ่ ผใู้ ช้ทุกคน ด้วยการใช้ปลายนิ้วกดแป้นพิมพ์หรือคลิกเม้าส์ นอกจากน้ี ข้อมูลสารสนเทศ รวมท้ังความรู้ท่ีผู้ใช้ต้องการเข้าถึงนั้น ยังถูกจัดเก็บในรูปแบบท่ีหลากหลาย ไม่ ว่าจะเป็นข้อความ ภาพ เสียง หรือวีดีทัศน์ นอกจากน้ีแล้วยังมีการบริการออนไลน์ต่างๆ เกิดขึ้นเพ่ือ สนบั สนนุ การติดต่อสอ่ื สารในลักษณะต่าง ๆ ด้วย เช่น บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรืออีเมล์ ห้องสนทนา ออนไลน์ กระดานสนทนาออนไลนห์ รอื เว็บบอรด์ รวมทั้งระบบบริการออนไลน์อ่ืน ๆ ที่อานวยความสะดวกใน การติดต่อสื่อสารเพ่ือทาธุรกรรมระหว่างกัน เช่น ระบบการจองบัตรโดยสารเครื่องบิน ระบบการจองบัตรชม ภาพยนตร์ ฯลฯ ระบบเครือข่ายได้กลายเป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่จาเป็นของผู้ใช้ทุกคน เพราะการ ตดิ ต่อสื่อสาร การเขา้ ถงึ ขอ้ มูลข่าวสารนั้นเปน็ ความตอ้ งการของมนษุ ย์ ตงั้ แตอ่ ดตี ปัจจบุ ันและอนาคต ระบบอินเทอร์เน็ตเป็นระบบที่มีความสาคัญอย่างย่ิงในทางประวัติศาสตร์ ทั้งในส่วนของ ระบบสารสนเทศและระบบการส่ือสารข้อมูล เพราะอินเทอร์เน็ตเป็นท้ังระบบสารสนเทศของโลกและ ระบบการส่ือสารข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดของโลกด้วย ดังที่ทราบกันดีแล้วว่า ในปี ค.ศ.1969 ระบบอินเทอร์เน็ตได้ถูกพัฒนาข้ึนมาโดยกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา ให้เป็นระบบเครือข่าย สาหรับเช่ือมโยงคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในราชการของกระทรวงฯ ท่ีเรียกว่า \"อาร์พาเน็ต (ARPANET)\" โดย เปา้ หมายของการพฒั นา ณ ขณะนัน้ คอื การเชื่อมโยงชุดคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาท่ี กาลังทางานวิจัยด้านการทหารให้แก่กองทัพ ต่อมาในปี ค.ศ.1974 ได้มีการขยายการเชื่อมต่อกับ คอมพวิ เตอร์อ่ืนๆ รวมท้งั หมด 62 เคร่ือง และการเชื่อมต่อก็ยังคงขยายอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1983 ระบบอินเทอร์เน็ตได้ถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนแรกใช้สาหรับงานของกองทัพเรียกว่า \"มิลเน็ต (Milnet)\" และอกี สว่ นเปน็ ของมหาวิทยาลัยเพือ่ ใชใ้ นการทางานวิจัยร่วมกันเรียกว่า \"อินเทอร์เน็ต (Internet)\" ซ่งึ มีเครอ่ื งแม่ข่ายในระบบมากกว่า 1,000 เคร่อื งเชอ่ื มตอ่ กนั อยู่ ในปี ค.ศ.1985 รัฐบาลแคนาดาได้พัฒนาระบบเครือข่ายที่ชื่อว่า \"บิตเน็ต (Bitnet)\" เพื่อ เชอื่ มโยงเคร่อื งคอมพิวเตอรข์ องมหาวทิ ยาลยั ในแคนาดา โดยมวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการทางานวิจัยร่วมกัน และ ยงั สนบั สนุนใหม้ ีการเชอ่ื มโยงกบั เครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ตของสหรฐั อเมริกาดว้ ย ในปี ค.ศ.1986 มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติของสหรัฐอเมริกา ได้พัฒนาระบบเอ็นเอสเอฟ เน็ต (NSFNET) ข้ึนมา โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้เป็นระบบเครือข่ายเช่ือมโยงมหาวิทยาลัยช้ันนาของ สหรัฐอเมริกาเข้าด้วยกัน ซึ่งเมื่อส้ินปี ค.ศ.1987 พบว่ามีเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายท่ีเช่ือมโยงทั้งหมด ประมาณ 10,000 เครื่อง และในช่วงเวลาดังกล่าวพบว่าการทางานของระบบค่อนข้างช้า ทางมูลนิธิฯ จึง พฒั นาระบบแบค็ โบนความเร็วสูงของระบบเอ็นเอสเอฟเน็ต ขึ้นมาใหม่ ทาให้สามารถรองรับการเช่ือมโยง เคร่อื งแมข่ ่ายได้มากข้ึน โดยในปี ค.ศ.1988 ระบบสามารถเชื่อมโยงกับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมี เครื่องแมข่ ่ายท่ีเชอ่ื มโยงในระบบประมาณ 56,000 เคร่อื ง การเชือ่ มโยงในลักษณะดังกลา่ วได้กลายเปน็ ที่นิยมในประเทศต่างๆ โดยแต่ละประเทศต่าง ก็พัฒนาระบบเครือข่ายข้ึนมาและนามาเช่ือมโยงกับระบบอินเทอร์เน็ต จึงทาให้ช่วงต้นทศวรรษ 1990 มี ระบบเครือขายจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกเช่ือมโยงกับระบบอินเทอร์เน็ต ซึ่งในแต่ละระบบที่เช่ือมโยงนั้น แตล่ ะประเทศจะตง้ั ชือ่ เครือขา่ ยขน้ึ มาเอง มกี ารกาหนดกฎและค่าใช้จ่ายในกรเข้าถึงแตกต่างกัน แต่ระบบ เครือข่ายทง้ั หมดจะใชม้ าตรฐานเดียวกนั กบั ระบบเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต ทั้งน้ี เพ่ือให้การแลกเปล่ียนข้อมูล ปริญญา น้อยดอนไพร || การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย (Data Communication and Network)

บทที่ 1 ความรเู้ บ้ืองต้นเกี่ยวกับการสอื่ สารข้อมลู และระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ 15 ข่าวสารระหวา่ งกันและกันง่ายขึ้น ต่อมาความแตกต่างก็เร่ิมหมดไปเพราะทุกประเทศได้หันมาใช้วิธีการใน การกาหนดชือ่ และกฎต่างๆ เหมือนกับท่สี หรัฐอเมริกาใช้ ในชว่ งต่อมาปรากฏว่ามีเคร่ืองแต่ข่ายมากกว่า 1 ลา้ นเคร่อื งทีเ่ ชือ่ มโยงอยู่บนระบบอนิ เทอรเ์ นต็ จนถึงปัจจุบันอินเทอร์เน็ตยังคงเติบโตอย่างต่อเนื่อง และไม่มีใครทราบแน่นอนว่า อินเทอร์เน็ตมีขนาดใหญ่เพียงใด แต่องค์กรไอเอสซีหรืออินเทอร์เน็ต ซิสเท็ม คอนซอร์เที่ยม (Internet System Consortium) ซึ่งเป็นองค์กรท่ีไม่หวังผลกาไรมีหน้าที่รับผิดชอบดูแลด้านการวางโครงสร้าง พ้ืนฐานในการเชื่อมโยงเคร่ืองคอมพิวเตอร์แม่ข่ายเข้ากับระบบอินเทอร์เน็ต โดยประเทศต่างๆ ที่ต้องการ เชอ่ื มโยงจะตอ้ งดาเนินการตามมาตรฐานทก่ี าหนด ทางองค์กรได้ประมาณการไว้ว่า ในปี ค.ศ.2000 เคร่ือง แมข่ ่ายทเี่ ชอ่ื มโยงในระบบอนิ เทอรเ์ นต็ มไี มน่ ้อยกวา่ 400 ลา้ นเครื่อง อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันระบบอินเทอร์เน็ตได้ถูกนาไปประยุกต์กับงานด้านธุรกิจหรือทา ธุรกรรมในเชิงพาณิชย์ ซึ่งเป็นการซื้อขายสินค้าหรือบริการมากท่ีสุด โดยจะเห็นได้จากการที่องค์กรธุรกิจ ทั่วโลกต่างก็หันไปทาธุรกิจในลักษณะของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์แทนการทาธุรกิจในรูปแบบเดิม แต่ เนื่องจากระบบอินเทอร์เน็ตไม่ได้มีประโยชน์สาหรับด้านธุรกิจเพียงอย่างเดียว แต่ยังมีประโยชน์ในด้าน อ่ืนๆ อีก ด้วยเหตุผลดังกล่าวในปี ค.ศ.1996 จึงทาให้องค์กรและสถาบันการศึกษาหลายแห่งใน สหรัฐอเมริกาได้ร่วมกันจัดต้ังกลุ่ม เพื่อทาการศึกษาค้าคว้าและวิจัยเก่ียวกับการพัฒนาระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ตสอง (Internet 2) ข้ึนมาเพ่ือนาไปประยุกต์กับงานด้านการศึกษาและวิจัยเชิงวิชาการเฉพาะ ทาง ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสองเป็นระบบเครือข่ายท่ีเกิดจากการศึกษาวิจัยและพัฒนาโดยกลุ่มของ องค์กรที่ประกอบด้วยมหาวิทยาลัยมากกว่า 190 แห่ง และองค์กรอื่น ๆ ท้ังภาครัฐและภาคเอกชนใน สหรัฐอเมริกามารวมตัวกนั ทางานเพ่ือพัฒนาระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสอง รวมท้ังเทคโนโลยีขั้นสูงท่ีจะ ใช้ในเครือข่ายดังกล่าวด้วย ในทางกายภาพระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสองไม่ใช่ระบบเครือข่ายท่ีถูก พฒั นาแยกออกมาจากระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตปัจจุบัน แต่เป็นส่วนหนึ่งที่ขยายมาจากระบบเครือข่าย อินเทอร์เนต็ ปัจจุบัน โดยมีการขยายในส่วนของโครงสร้างพนื้ ฐาน ให้มขี ีดความสามารถเพ่ิมขึ้น ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสองได้ถูกนาไปประยุกต์ใช้งานหลายด้าน เช่น ระบบห้องสมุด อินฟอร์มีเดียดิจิตอลวิดีโอ (Infomedia Digital Video Library) ของมหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน เพื่อ ใช้ในการจัดเก็บ รบั สง่ ค้นหาและคืนคืนทรัพยากรสารสนเทศในหอ้ งสมุดทีม่ ีรปู แบบท่ีหลากหลายท้ังท่ีเป็น ข้อความ ภาพ เสียงและโดยเฉพาะวิดีโอ ซ่ึงเป็นภาพเคลื่อนไหวที่มีเสียงประกอบ ระบบทรานส์แปซิฟิก อนิ เทอร์แรก็ทีพ ดิสแทนซ์เอ็ดดูเคชัน (Trans Pacific Interactive Distance Education) เป็นระบบท่ีใช้ ในการเรียนการสอนทางไกลของมหาวิทยาลัยแห่งแคลิฟอร์เนียที่ลอสแองเจิลลิส สหรัฐอเมริกากับ มหาวิทยาลัยเดียวโตในประเทศญ่ีปุ่น โดยท้ังสองมหาวิทยาลัยจะมีการแลกเปลี่ยนการสอนร่วมกัน เป็น การสอนบริเวณพื้นท่ีสองฝั่งของมหาสมุทรแปซิฟิก โดยในการสอนจะใช้อาจารย์ผู้สอนคนเดียวกัน ระบบ ดงั กล่าวช่วยใหท้ ั้งสองมหาวิทยาลัยสามารถร่วมกันสอนสด (live) โดยนักศึกษาทั้งสองมหาวิทยาลัยจะน่ัง เรียนอยู่ในห้องเรียนที่มหาวิทยาลัยของตนเอง นอกจากนี้นักศึกษายังสามารถถามคาถามได้ ณ เวลานั้น และนักศึกษาท้ังสองมหาวิทยาลัยยังสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ด้วย ซ่ึงการใช้งาน ระบบเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตสองสามารถสนบั สนนุ การเรียนการสอนได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพอยา่ งเห็นได้ชัด จากที่กล่าวมาทั้งหมดข้างต้น จะเห็นได้ว่า ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี คอมพวิ เตอรไ์ ดก้ ลายเป็นปจั จัยสาคญั ในการดาเนินงานแทบทุกด้าน หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนมีการ เช่ือมต่อระบบเครือข่ายเพื่อการใช้งานอย่างแพร่หลาย และการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์นั้น ไม่ได้มีเฉพาะท่ีทางานเท่าน้ัน แต่แทบทุกบ้านจะมีการเช่ือมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ากับระบบเครือข่าย ปรญิ ญา น้อยดอนไพร || การสอ่ื สารข้อมลู และเครือข่าย (Data Communication and Network)

16 บทท่ี 1 ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกับการส่อื สารข้อมูลและระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ อินเทอร์เน็ตด้วย และแนวโน้มในอนาคตการขยายตัวจะย่ิงมีอัตราเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ท้ังนี้เพราะระบบ เครือข่ายอินเทอรเ์ น็ตเป็นเทคโนโลยที ท่ี ันสมัย และมปี ระสิทธภิ าพอยา่ งยง่ิ ในด้านการตดิ ตอ่ ส่อื สารขอ้ มูล ตารางที่ 1.3 วิวฒั นาการของเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ปี ค.ศ. เทคโนโลยี รายละเอียด 1940 เทเลไทป์ จอร์ช สทิบิทซ์ พัฒนาเคร่ืองพิมพ์ทางไกล ระหว่างรฐั นวิ แฮมเชยี รแ์ ละรัฐนวิ ยอรก์ ทศวรรษ 1950 เครื่องเมนเฟรม การส่งงานเพื่อประมวลผลโดยใช้เคร่ืองเมนเฟรม โดยใช้บัตรเจาะรู ทศวรรษ 1960 เ ค ร่ื อ ง เ ม น เ ฟ ร ม ต่ อ กั บ มีการต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยใช้เคร่ือง เทอร์มนิ ัล เ ม น เ ฟ ร ม เ ป็ น ศู น ย์ ก ล า ง เ ช่ื อ ม ต่ อ กั บ ดั ม บ์ เทอร์มินัล ทาให้สามารถรับส่งข้อมูลผ่าน เคร่ืองเทอร์มินัลแทนบัตรเจาะรู 1962 เทคโนโลยีการทางานกลุ่ม เจซีอาร์ ลิกค์ไลเดอร์ พัฒนาเทคโนโลยีการ ทางานกล่มุ โดยใช้เครือข่ายกาแลกตคิ 1964 ร ะ บ บ แ บ่ ง ปั น เ ว ล า ก า ร นักวิจัยที่ดาร์ตเมาท์พัฒนาระบบดาร์ตเมาท์ไทม์ ทางานของซพี ยี ู แชรร์ ิง ทศวรรษ 1960 หลักการรับส่งข้อมูลแบบ ไคลนร์ ็อค บาราน และเดวีส์ พัฒนาหลักการและ แพ็กเก็ต การรับสง่ ขอ้ มูลในระบบเครือข่ายแบบแพ็กเกต็ 1965 ระบบเครอื ขา่ ยแวน เมอร์ริลล์และลอเรนซ์ ร่วมกันพัฒนาระบบ เครือขา่ ยแวน 1969 ก า ร เ ช่ื อ ม โ ย ง เ ค รื อ ข่ า ย  มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ลอสแองเจิลลิส ระหว่างองค์กรเข้าด้วยกัน มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียท่ีซานตาบาร์บารา การพัฒนาเครือข่ายอร์พา มหาวิทยาลัยยูทาห์และสถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด เน็ต ร่วมกนั เช่อื มโยงเครือข่ายขององค์กรเขา้ ดว้ ยกัน  กระทรวงกลาโหมสหรัฐอเมริกา พัฒนาระบบ เครือข่ายอารพ์ าเนต็ 1983 แ บ่ ง ร ะ บ บ เ ค รื อ ข่ า ย ระบบมลิ เนต็ ใช้ในกองทพั และระบบอินเทอร์เน็ต อนิ เทอร์เน็ตเปน็ สองส่วน ใชใ้ นการทาวจิ ยั ของมหาวิทยาลยั 1985 ระบบเครือขา่ ยบติ เนต็ รฐั บาลแคนาดาพฒั นาระบบเครือขา่ ยบิตเนต็ 1986 ระบบเอน็ เอสเอฟเน็ต มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติสหรัฐอเมริกาพัฒนา ระบบเครือข่ายเอ็นเอสเอฟเน็ตเพื่อเช่ือมโยงการ ทางานร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยชั้นนาของ สหรัฐอเมริกา 1988 การขยายระบบเครือข่าย มีการขยายระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตข้ึนอย่าง อนิ เทอร์เนต็ ต่อเนื่องจนถงึ ปจั จบุ ัน ปรญิ ญา นอ้ ยดอนไพร || การส่อื สารข้อมูลและเครอื ข่าย (Data Communication and Network)

บทท่ี 1 ความรู้เบื้องตน้ เกยี่ วกับการส่อื สารข้อมูลและระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ 17 ตารางที่ 1.3 (ตอ่ ) เทคโนโลยี รายละเอยี ด ปี ค.ศ. 1996 ระบบเครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ต 2 สถาบันการศึกษาและองค์กรท้ังภาครัฐและ เอกชนในสหรัฐอเมริกา ได้ร่วมกันค้นคว้าและ พัฒนาระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2 ข้ึนมา เพ่ือ ใชใ้ นงานวิจยั และการเรียนการสอน 1.2.2 ความหมาย องค์ประกอบพ้ืนฐาน และประโยชนข์ องระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ ปัจจบุ ันการทางานโดยใชร้ ะบบคอมพิวเตอร์ แทบทุกหน่วยงานนิยมทางานในลักษณะของ ระบบเครือข่าย ท้ังนี้เนื่องจากระบบเครือข่ายฯ นอกจากจะช่วยอานวยความสะดวกให้เกิดการทางาน ร่วมกันระหว่างหน่วยงานหลาย ๆ แห่งได้อย่างมีประสิทธิภาพแล้ว ยังช่วยให้เกิดการใช้ทรัพยากรข้อมูล และอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ร่วมกันอกี ดว้ ย 1) ความหมายของระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ อัมรินทร์ เพ็ชรกุล (2551: 2) ได้ให้ความหมายของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ไว้ว่า การนาเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อ่ืน ๆ หรือการเช่ือมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ จานวนหลาย ๆ เคร่ืองภายในองค์กร หรือการเชื่อมต่อเข้าสู่ระบบเครือข่ายสาธารณะภายนอก ซ่ึงการ เชือ่ มต่อนน้ั อาจจะผา่ นสายสญั ญาณท่ีเป็นลวดทองแดง คลื่นไมโครเวฟ หรือสายใยแก้วนาแสงกไ็ ด้ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2554: 1-23) กล่าวว่าระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือ การนาเคร่ืองคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ มาเช่ือมต่อเข้าด้วยกัน โดยใช้หลักการด้านการ สื่อสารข้อมูลมาประยุกต์ในการเช่ือมต่อ และวัตถุประสงค์หลักของการสร้างระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กค็ ือ ตอ้ งการแลกเปลี่ยนขอ้ มูลระหวา่ งกันและกนั สุธี พงศาสกุลชยั (2551) ไดก้ ลา่ วไวว้ ่า เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หมายถึง วิธีการเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันผ่านสื่อกลางต่างๆ เช่น สายสัญญาณ หรือคลื่นวิทยุ เป็นต้น เพื่อทาให้สามารถ สอื่ สาร แลกเปล่ยี นข้อมูล และใชท้ รพั ยากรรว่ มกนั ได้ โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์ (2552) กล่าวว่า เครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือ การนากลุ่ม คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ มาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย โดยใช้สื่อกลางซึ่งเป็นสายเคเบิลหรือ คล่นื วทิ ยุเปน็ เสน้ ทางการลาเลยี งข้อมลู เพอื่ ส่ือสารระหวา่ งกนั จากความหมายข้างต้น สามารถสรุปไดว้ ่า ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คือ การนากลุ่ม เคร่ืองคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ มาเช่ือมต่อกันเป็นเครือข่าย ผ่านสื่อกลางต่าง ๆ เช่น สายสัญญาณ หรือคล่ืนวิทยุ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสื่อสาร ใช้ทรัพยากร และแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหวา่ งกนั และกนั 2) องค์ประกอบพืน้ ฐานของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบพนื้ ฐาน ดังตอ่ ไปน้ี 2.1) เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ สามารถทาหน้าท่ีเป็นเครื่องแม่ข่ายหรือสถานีงาน ท้ังน้ีขึ้นอยู่ กับรูปแบบของระบบเครือข่ายท่ีเช่ือมต่อ การกาหนดคุณลักษณะของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่นามาเช่ือมต่อ ในระบบเครือข่ายข้ึนอยู่กับหน้าที่ท่ีจะกาหนดให้แก่เคร่ืองนั้นๆ ถ้าเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีนามาต่อต้องทา หน้าที่เป็นเคร่ืองแม่ข่ายที่คอยให้บริการแก่เครื่องอื่น ๆ ก็ต้องใช้เคร่ืองท่ีมีคุณลักษณะเฉพาะ โดยเป็น ปรญิ ญา นอ้ ยดอนไพร || การส่อื สารข้อมลู และเครือข่าย (Data Communication and Network)

18 บทที่ 1 ความร้เู บ้ืองตน้ เกี่ยวกับการส่ือสารข้อมลู และระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ เครื่องท่ีมีสมรรถนะในการทางานสูงกว่าเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีทาหน้าท่ีเป็นเคร่ืองลูกข่ายหรือสถานีงาน อยา่ งไรกต็ ามเครือ่ งคอมพิวเตอรท์ น่ี ามาเชื่อมต่อในระบบเครือขา่ ยไม่จาเป็นต้องเปน็ แพลต็ ฟอร์มเดยี วกัน 2.2) อุปกรณ์เครือข่าย หมายถึง อุปกรณ์ต่อพ่วงท่ีจาเป็นต้องใช้ในการเชื่อมต่อระบบ เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์เพอ่ื เพิม่ ประสทิ ธิภาพในการรับส่งข้อมูล ทาให้สามารถติดต่อสื่อสารระหว่างกันและ กันได้ง่าย สะดวกและรวดเร็วมากยิ่งข้ึน สาหรับอุปกรณ์เชื่อมต่อที่ใช้ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทีส่ าคญั ๆ มดี งั ตอ่ ไปน้ี  เน็ตเวิร์กอินเทอร์เฟซการ์ด (NIC: Network Interface Card) หรือสามารถ เรียกว่า \"เน็ตเวิร์กอะแด็ปเตอร์การ์ด (Network Adapter Card)\" เป็นอุปกรณ์ที่ถูกออกแบบมาเพ่ือ เช่ือมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ากับสายเคเบ้ิล ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่อเชื่อมอยู่บนระบบเครือข่าย สามารถติดตอ่ ระหวา่ งกันและกันได้ การ์ดดังกล่าวอาจติดตงั้ อย่บู นสล็อต (slot) ภายในเครือ่ งคอมพวิ เตอร์  บริดจ์ (bridge) คือ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ตัวเชื่อมระหว่างเครือข่ายท่ีใช้ โปรโตคอลเดียวกันหรือโปรโตคอลท่ีแตกต่างกันก็ได้ บริดจ์แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ โลจิคิลบริดจ์ (logical bridge) เปน็ บริดจท์ ีเ่ ชอื่ มต่อโดยตรงกับระบบเครือข่ายแลน รีโมตบริดจ์ (remote bridge) เป็น บริดจ์ท่ีใช้ในการสร้างระบบเครือข่ายแวน โดยใช้ในการเชื่อมต่อโดยตรงกับระบบเครือข่ายแลนหลายๆ เครือข่าย แต่การทางานจะช้า และไวร์เลซบริดจ์ (wireless bridge) เป็นบริดจ์ที่ใช้ในการเช่ือมต่อระบบ แลนแบบไร้สายหรือเช่ือมต่อสถานีระยะไกลเขา้ กบั ระบบเครือขา่ ยแลน  เราท์เตอร์ (router) คือ อุปกรณ์ที่ทาหน้าท่ีค้นหาเส้นทางในการรับส่งข้อมูล ระหว่างผู้รับและผู้ส่งโดยมีความสามารถในการจัดเส้นทางของระบบเครือข่ายที่เชื่อมต่อทั้งหมด ดังน้ัน เราทเ์ ตอร์จงึ เป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญมากในกรณีที่มีการเช่ือมต่อระบบเครือข่ายหลาย ๆ เครือข่ายเข้า ด้วยกัน เราท์เตอร์จะช่วยให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ต่าง ๆ สามารถสื่อสารกันได้ และสามารถส่งผ่านข้อมูล ระหว่างสองเครือข่าย เช่น ระหว่างเครือข่ายในหน่วยงานกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เราท์เตอร์มีทั้งแบบ มีสายและไรส้ าย  สวิตช์ (switch) คือ อุปกรณ์ท่ีทาหน้าที่เหมือนกับบริดจ์ บางคร้ังก็เรียกว่า สวิตชิง่ ฮับ (switching hub) เพราะในช่วงแรกๆ ของการพัฒนาอุปกรณ์สวิตช์ นั้นจะเรียกว่าบริดจ์เหตุผล ท่ีเรียกว่าบริดจ์ในช่วงแรก เพราะส่วนใหญ่บริดจ์จะมีแค่สองพอร์ต และใช้สาหรับแยกคอลลิชันโดเมน ปัจจุบันที่เรียกว่าสวิตช์ เพราะหมายถึง บริดจ์ที่มีมากกว่าสองพอร์ตน่ันเอง สวิตช์จะฉลาดกว่าฮับ เพราะ สวิตช์สามารถส่งข้อมูลที่ได้รับมาจากพอร์ตหนึ่งไปยังเฉพาะพอร์ตที่เป็นปลายทางเท่านั้น ทาให้ คอมพิวเตอรท์ ี่เช่ือมต่อกับพอร์ตที่เหลือสามารถส่งข้อมูลถึงกัน และกันได้ในเวลาเดียวกัน การทาเช่นนี้ทา ให้อัตราการส่งข้อมูล หรือแบนด์วิดท์ (bandwidth) ไม่ขึ้นอยู่กับจานวนคอมพิวเตอร์ท่ีเชื่อมต่อเข้ากับ สวิตช์ จึงทาให้คอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองท่ีเช่ือมต่ออยู่บนสวิตช์จะมีแบนด์วิดท์เท่ากับแบนด์วิดท์ของสวิตช์ ดว้ ยข้อดีดังกลา่ วทาให้ ระบบเครือขา่ ยท่ตี ดิ ต้ังใหม่ในปัจจุบันส่วนใหญจ่ ะนยิ มใช้สวิตช์ มากกว่าฮับ จะไม่มี ปญั หาเกีย่ วกับการชนกนั ของข้อมลู ในระบบเครอื ข่าย  ฮับ (hub) เป็นอุปกรณ์ท่ีทาหน้าท่ีเป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อเคร่ือง คอมพิวเตอรใ์ นระบบเครือข่าย ช่วยในการรับส่งข้อมูลระหว่างผู้ส่งและผู้รับ ในการรับส่งข้อมูลกันนั้น ฮับ ไมส่ ามารถระบแุ หล่งปลายทางท่รี ับข้อมูลได้ ดังนั้นจึงส่งข้อมลู ไปใหเ้ ครื่องคอมพวิ เตอร์ทุกเคร่ืองที่เช่ือมต่อ กับฮับ โดยรวมถึงเครื่องที่ส่งข้อมูลดังกล่าวด้วย และแม้ว่าฮับจะสามารถรับหรือส่งข้อมูลได้ก็ตาม แต่ไม่ สามารถทาทั้งสองอย่างไดใ้ นเวลาเดยี วกนั จากลักษณะการทางานดงั กลา่ ว จึงทาให้ฮบั ทางานช้ากว่าสวิตช์ ปริญญา น้อยดอนไพร || การสือ่ สารข้อมูลและเครือข่าย (Data Communication and Network)

บทที่ 1 ความรเู้ บ้ืองต้นเกี่ยวกับการส่อื สารข้อมูลและระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ 19  เกตเวย์ (gateway) คือ จุดต่อเช่ือมของเครือข่ายทาหน้าท่ีเป็นทางเข้าสู่ระบบ เครือข่ายต่าง ๆ บนอินเตอร์เน็ต ในความหมายของเราท์เตอร์ คือ จะมีความหมาย 2 แบบ ประกอบด้วย 1) โหนดของเกตเวย์ และ 2) โหนดของโฮสท์ โดยท่ัวไปบนระบบเครือข่ายเคร่ืองคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้และ คอมพิวเตอร์แม่ข่ายท่ีให้บริการเข้าถึงข้อมูลทั่วไป จะมีฐานะเป็นโหนดแบบโฮสท์ ยกเว้นเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่ายที่ควบคุมการจราจรภายในเครือข่ายหรือผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต จะเรียกว่า โหนด แบบเกตเวย์ ในระบบเครือขา่ ยของหน่วยธุรกิจ เครื่องแม่ข่ายที่เป็นโหนดแบบเกตเวย์ มักจะทาหน้าที่เป็น เครื่องแม่ข่ายแบบพร็อกซี่ (proxy) และเคร่ืองแม่ข่ายแบบไฟร์วอลล์ (firewall) นอกจากนี้เกตเวย์ ยังรวมถึง เราท์เตอรแ์ ละสวิตช์ ด้วย 2.3) สายสัญญาณหรือสายเคเบ้ิล (Cable) ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการรับส่งข้อมูล ภายในระบบเครอื ข่ายแบบใชส้ าย สายเคเบิ้ลที่นิยมใช้ คือ สายตีเกลียวคู่ (twisted pair cable) และสาย โคแอกเซยี ลแบบบาง (thin coaxial cable) เปน็ ต้น 2.4) ซอฟต์แวร์ โดยซอฟต์แวร์ที่ใช้ในระบบเครือข่ายน้ัน บางคร้ังเรียกว่า เน็ตเวิร์ก ซอฟต์แวร์ (Network Software) หรือ โปรแกรมเน็ตเวิร์ก หรือโปรแกรมระบบปฏิบัติการเครือข่าย (NOS: Network Operating System) ซอฟตแ์ วรด์ งั กล่าว หมายถึง ชุดของโปรแกรมที่ใช้ในการประสาน และควบคุมการติดต่อส่ือสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต้ังแต่สองเคร่ืองขึ้นไปท่ีเช่ือมต่ออยู่บนระบบ เครือข่าย ทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแลกเปลี่ยนและใช้ข้อมูลร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ราบร่ืน โดยโปรแกรมจะนาข้อมูลท่ีต้องการส่งมาจัดเป็นแพ็กเกจ (package) ท่ีมีการเพิ่มข้อมูลส่วนหัว และสว่ นทา้ ยประกบขอ้ มูลท่ีต้องการส่ง ซ่ึงข้อมูลส่วนหัวและส่วนท้ายอาจเป็นท่ีอยู่ (address) ของเครื่อง คอมพิวเตอรท์ ี่เปน็ ของผรู้ บั และวิธกี ารเขา้ รหสั ข้อมลู ที่สง่ 2.5) โปรโตคอล หมายถึง กฎหรือวิธีการท่ีกาหนดขึ้นมาเป็นมาตรฐานเพื่อใช้ในการ เชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การกาหนดโปรโตคอลจะช่วยทาให้การเช่ือมต่อระบบเครือข่ายง่าย ขึ้น เน่ืองจากมีการใช้มาตรฐานเดียวกัน โปรโตคอลท่ีรู้จักกันดี คือ ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP: Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เป็นโปรโตคอลท่ีใช้ในการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ากับ ระบบเครอื ข่ายอนิ เทอร์เน็ต 3) ประโยชนข์ องระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ ระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรส์ ามารถสรุปประโยชนท์ สี่ าคัญ ดังตอ่ ไปนี้ 3.1) การเช่ือมต่อและการส่ือสาร ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ช่วยเชื่อมต่อเคร่ือง คอมพิวเตอร์ของผู้ใช้เข้าด้วยกัน ทาให้ผู้ใช้สามารถติดต่อส่ือสารระหว่างกันได้สะดวกและรวดเร็วย่ิงข้ึน และประหยัดค่าใช้จ่ายลง เช่น อีเมล์ การสนทนาออนไลน์ การโทรศัพท์แบบออนไลน์ ฯลฯ ซึ่งการ ติดตอ่ ส่อื สารดังกลา่ วนาไปสู่การแลกเปล่ียนขอ้ มูลทัง้ ที่เปน็ ธรุ กจิ และไมใ่ ชธ่ ุรกิจ 3.2) การแบ่งปนั ขอ้ มลู กนั ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูล ต่างๆ และสามารถแบ่งปันข้อมูลกันได้สะดวก ไม่ว่าจะเป็นระบบเครือข่ายสาธารณะ อินเทอร์เน็ต ระบบ เครือข่ายระหว่างองค์กรหรือเอ็กซ์ทราเน็ต และระบบเครือข่ายภายในองค์กรหรืออินทราเน็ต ระบบ เครอื ขา่ ยเหล่าน้ีนอกจากจะช่วยอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ท่ีเก่ียวข้องสามารถแบ่งปันข้อมูลกันใช้แล้ว ยงั เพิม่ ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลในการทางานอีกดว้ ย 3.3) การแบ่งปันกันใช้ฮาร์ดแวร์ การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ช่วยทาให้ องค์กรประหยดั งบประมาณในการซื้อฮาร์ดแวร์หรืออุปกรณ์ต่อพ่วงลง เช่น เคร่ืองพิมพ์ เครื่องสแกนเนอร์ ฯลฯ ทงั้ นี้เนือ่ งจากฮาร์ดแวร์ดังกล่าวไม่ได้ถูกใช้งานตลอดเวลา การเช่ือมต่อระบบเครือข่ายจะทาให้เคร่ือง ปริญญา น้อยดอนไพร || การสอ่ื สารขอ้ มูลและเครือข่าย (Data Communication and Network)

20 บทที่ 1 ความรเู้ บื้องต้นเก่ียวกับการส่ือสารข้อมูลและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ คอมพวิ เตอรท์ ุกเคร่ืองท่ตี ่ออยบู่ นระบบเครือข่ายน้ัน สามารถเรียกใช้ฮาร์ดแวร์หรืออุปกรณ์ต่อพ่วงร่วมกัน ได้ ซึ่งนอกจากจะประหยัดงบประมาณในการจัดซือ้ แลว้ ยังประหยดั งบประมาณในการดูแลรกั ษาอีกด้วย 3.4) การแบง่ ปนั กนั ใช้ซอฟตแ์ วร์ หลกั การจะคล้ายกบั การแบ่งปนั ฮาร์ดแวร์ การพัฒนา ซอฟต์แวร์ในปัจจุบัน มักจะพัฒนาให้สามารถทางานในลักษณะของเครือข่ายได้ โดยหน่วยงานจะทาการ ติดตั้งซอฟต์แวร์ไว้ที่เครื่องแม่ข่ายเพียงเคร่ือง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเคร่ืองลูกข่ายสามารถเรียกใช้ ซอฟต์แวร์จากเคร่ืองแม่ข่ายได้ โดยไม่จาเป็นต้องติดตั้งลงในเครื่องของตนเอง ซึ่งนอกจากจะทาใ ห้ ประหยัดค่าใช้จ่ายในการจดั ซอ้ื และค่าลขิ สิทธ์แิ ลว้ ยังประหยัดเน้อื ท่ีในการติดตั้งซอฟต์แวร์ รวมทั้งลดเวลา ในการดแู ลบารุงรักษาซอฟต์แวร์ลงอกี ด้วย 3.5) การเพ่ิมความสามารถและความสมดุลในการทางาน การทางานภายใต้ สภาวการณ์ของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์น้ัน ช่วยเพิ่มความสามารถในการทางานให้แก่ระบบงาน ประยุกตบ์ างระบบได้ โดยระบบงานประยุกต์บางระบบสามารถกระจายงานต่างๆ ไปประมวลผลยังเครื่อง ลูกข่ายท่ีว่างอยู่ได้ ทาให้ได้ผลลัพธ์ที่เร็วขึ้น และยังสร้างความสมดุลในการทางานของระบบเครือข่าย คอมพวิ เตอร์อกี ดว้ ย 3.6) การลดต้นทุนและค่าใช้จ่าย การติดต่อส่ือสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถช่วยลดต้นทุนให้แก่ผู้ใช้และองค์กรลงได้ เพราะนอกจากระบบเครือข่ายจะสนับสนุนการแบ่งปัน กันใช้ทรัพยากรแล้ว ปัจจุบันค่าใช้จ่ายของอุปกรณ์และเทคโนโลยีท่ีใช้ในการเช่ือมต่อก็มีราคาถูกลงด้วย ซึ่งหากเปรียบเทียบกับการติดต่อสื่อสารหรือการรับส่งข้อมูลผ่านช่องทางอื่นแล้ว การติดต่อส่ือสารโดยใช้ ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอรจ์ ะมตี ้นทุนและค่าใชจ้ ่ายทถ่ี ูกกวา่ 3.7) ความน่าเช่ือถือและความปลอดภัยของระบบเครือข่าย ปัจจุบันได้มีการพัฒนา เทคโนโลยที ง้ั ซอฟตแ์ วรแ์ ละฮาร์ดแวรข์ ้นึ มาเพอื่ รักษาความปลอดภัยของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่าง ต่อเน่ือง สามารถติดตามการเข้าใช้งานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของพนักงานภายในองค์กรได้อย่าง ใกลช้ ิด ช่วยทาใหผ้ ู้ใชแ้ ละองคก์ รเกิดความเช่อื ถือในการทางานของระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรม์ ากขึ้น 1.2.3 องคก์ รท่กี าหนดมาตรฐานการส่ือสารข้อมลู และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูลจาเป็นต้องมีการกาหนดมาตรฐานในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านช่องทางการ รับส่งข้อมูล ด้านข้อตกลงในการรับส่งข้อมูล ด้านอุปกรณ์ที่ใช้ในการรับส่งข้อมูล ฯลฯ ท้ังนี้ เพื่อเป็น แนวทางในการพัฒนาระบบส่ือสารข้อมูลให้แก่หน่วยงานต่างๆ ท่ัวโลก ทาให้หน่วยงานต่างๆ สามารถ ติดต่อสือ่ สารกันไดอ้ ยา่ งราบรน่ื ในการกาหนดมาตรฐานการส่ือสารข้อมูล ได้มีการจัดต้ังองค์กรต่าง ๆ ข้ึนมาทาหน้าที่ กาหนดมาตรฐานในแตล่ ะดา้ น การจัดตงั้ องค์กรดังกล่าวเกดิ จากความร่วมมือของหน่วยงานทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชนในหลายๆ ประเทศ และเช่นเดียวกันระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นระบบงานท่ีเกิดจาก ความกา้ วหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร และเป็นระบบการติดต่อสื่อสารที่ได้รับความ นยิ มมากที่สุด ทั้งในระดับองค์กรและระดับบุคคล ก็จาเป็นต้องมีการกาหนดมาตรฐานเพื่อให้ผู้ใช้สามารถ นาไปใชใ้ นการสรา้ งระบบเครอื ขา่ ยทส่ี ามารถติดตอ่ ส่ือสารกนั ไดท้ วั่ โลก สาหรับองค์กรท่ีทาหน้าท่ีเก่ียวกับการกาหนดมาตรฐานการสื่อสารข้อมูลและระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอรท์ ่นี า่ สนใจ มีดังต่อไปนี้ 1) ANSI (American National Standards Institute) เป็นองค์กรของประเทศ สหรัฐอเมริกาท่ีไม่หวังผลกาไร สานักงานใหญ่ตั้งอยู่ท่ีกรุงวอชิงตันดีซี องค์กรถูกก่อตั้งข้ึนเม่ือปี ค.ศ.1918 ปริญญา น้อยดอนไพร || การสื่อสารขอ้ มลู และเครอื ขา่ ย (Data Communication and Network)

บทที่ 1 ความรู้เบ้ืองต้นเก่ยี วกับการสื่อสารข้อมลู และระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ 21 ในลักษณะของสถาบันมานานกว่า 90 ปี โดยกลุ่มวิศวกรรม 5 กลุ่มและหน่วยงานของภาครัฐ 3 แห่ง หนา้ ทส่ี าคญั ของสถาบัน คือ การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันในเวทีโลกให้แก่สหรัฐอเมริกาและเพ่ิม คุณภาพชีวิตให้แก่คนอเมริกัน โดยการส่งเสริมและอานวยความสะดวกให้แก่หน่วยงานที่อาสาสมัครท้ัง ภาครัฐและเอกชน เข้ามาทาหน้าที่กาหนดมาตรฐานในด้านต่างๆ ของประเทศ เช่น ด้านเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ ด้านนาโนเทคโนโลยี ด้านพลังงานชีวภาพ ฯลฯ พร้อมกับทาหน้าท่ีตรวจตราการพัฒนา มาตรฐานต่างๆ ของหน่วยงานอาสาสมัคร ว่ามีความสอดคล้องกับมาตรฐานของประเทศอื่นๆ หรือไม่ มาตรฐานดังกล่าวจะรวมท้ังผลิตภัณฑ์ บริการ กระบวนการ และระบบต่างๆ ในสหรัฐอเมริกา และยังทา หน้าที่ประสานงานในเรื่องมาตรฐานของสหรัฐของประเทศอื่นๆ อีกด้วย ทั้งน้ีเพื่อให้ผลิตภัณฑ์ของสหรัฐ สามารถนาไปใชไ้ ด้ทวั่ โลก นอกจากน้ี ทางสถาบันยังทาหน้าท่ีตรวจตราพระราชบัญญัติและการใช้บรรทัดฐานที่ เก่ียวข้องกับมาตรฐานต่างๆ รวมท้ังแนวทางที่จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อการทาธุรกิจในทุกภาคส่วนของ สหรัฐอเมริกา ตั้งแต่อุปกรณ์ช้ินเล็ก จนกระทั่งอุปกรณ์ก่อสร้าง จากผลิตภัณฑ์ที่บริโภคในชีวิตประจาวั น จนถึงผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการผลิตพลังงานและผลิตภัณฑ์อ่ืนๆ อีกมากมาย ANSI ยังได้รับการแต่งต้ังให้ทา หน้าท่ีประเมินมาตรฐานอ่ืนๆ ด้วย เช่น มาตรฐาน ISO 9000 ซึ่งเป็นมาตรฐานด้านการประกันคุณภาพ มาตรฐาน ISO 14000 ซึ่งเป็นมาตรฐานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม สาหรับรายละเอียดเก่ียวกับ ANSI สามารถศึกษาเพิม่ เตมิ ไดจ้ ากเว็บไซต์ American National Standards Institute 2) IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) เป็นองค์กรช้ันนาท่ี ไดร้ บั การยอมรับในอตุ สาหกรรมเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ องค์กรก่อต้ังขึ้น โดยไม่หวังผลกาไร มีลักษณะเป็น สมาคมวิชาชีพท่ีประกอบด้วยสมาคมย่อยหลายๆ สมาคม มีสมาชิกมากกว่า 375,000 คน ที่มาจาก ประเทศต่างๆ มากกว่า 160 ประเทศ โดยประมาณร้อยละ 45 มาจากประเทศอ่ืนๆ ที่ไม่ใช่สหรัฐอเมริกา สมาชกิ ส่วนมากจะเป็นวศิ วกร และนกั วิทยาศาสตร์ท่ีมีความสนใจในด้านไฟฟ้าและวิทยาการคอมพิวเตอร์ หนา้ ทีส่ าคัญ คือ การร่วมกันสร้างทฤษฎีและพัฒนามาตรฐานนานาชาติสาหรับผลิตภัณฑ์และบริการด้าน วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือนามาใช้กับอุปกรณ์และซอฟต์แวร์ในชั้นกายภาพ และชนั้ การเช่ือมต่อข้อมูล สมาคมยอ่ ยทีท่ าหนา้ ทกี่ าหนดและเกบ็ รวบรวมมาตรฐานที่ใช้ในอุตสาหกรรม มี ช่ือเรยี กวา่ สมาคม IEEE-SA (IEE Standards Association) นอกจากนี้ IEEE ยงั มคี วามสัมพันธ์กับองค์กร อืน่ ๆ อกี ด้วย ไดแ้ ก่ IEC ISO ITU สาหรับตัวอย่างมาตรฐานทกี่ าหนดโดยองค์กร IEEE เช่น  มาตรฐาน 802.15.4a-2007 เป็นมาตรฐานที่กาหนดเก่ียวกับโปรโตคอล และการ เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ท่ีใช้ในระบบเครือข่ายไร้สายส่วนบุคคล ซึ่งการส่ือสารข้อมูลจะใช้คล่ืนวิทยุคล่ืน ส้ัน และมีการรบั ส่งขอ้ มูลรวมทง้ั กาลงั ในการรับส่งขอ้ มูลอยใู่ นอตั ราต่า  มาตรฐาน IEEE 802®wireless standards. เป็นมาตรฐานท่ีกาหนดเก่ียวกับการ เช่ือมต่อระบบเครือข่ายไร้สาย แระกอบด้วย มาตรฐาน 802.11TM มาตรฐาน 802.15TM และมาตรฐาน 802.16TM สาหรับรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ IEEE สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเว็บไซต์ Institute of Electrical and Electronics Engineers 3) ISO (International Organization for Standardization) เป็นองค์กรที่ทา หน้าท่ีพัฒนาและกาหนดมาตรฐานที่ใหญ่ท่ีสุดของโลก ก่อตั้งข้ึนมาระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน โดยมี การทางานในลกั ษณะของเครอื ขา่ ยระดับนานาชาติ เนื่องจากมีประเทศสมาชิกทั้งหมด 161 ประเทศ โดย ปริญญา น้อยดอนไพร || การสอื่ สารขอ้ มูลและเครอื ข่าย (Data Communication and Network)

22 บทท่ี 1 ความร้เู บื้องตน้ เกย่ี วกับการสือ่ สารข้อมูลและระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ แต่ละประเทศจะส่งตัวแทนมาเข้าร่วมอย่างน้อยหน่ึงคน ISO มีสานักงานกลางอยู่ที่กรุงเจนีวา ประเทศ สวิสเซอร์แลนด์ หน้าท่ีความรับผิดชอบหลัก คือ การกาหนดมาตรฐานในด้านต่างๆ ตามท่ีมีผู้ร้องขอมา และกาหนดตามการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี เช่น มาตรฐานด้านการสื่อสารข้อมูล มาตรฐานด้านการ วางระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ ฯลฯ สาหรับตวั อย่างมาตรฐานด้านการสือ่ สารขอ้ มูลทก่ี าหนดโดย ISO เช่น  ISO/IEC 19790: 2006 เป็นมาตรฐานที่กาหนดเก่ียวกับการเข้ารหัสข้อมูลท่ีใช้ใน การรบั ส่งผ่านเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์  ISO/IEC 23289: 2006 เป็นมาตรฐานเก่ียวกับการกาหนดลักษณะของสัญญาณ ท่ีรับส่งระหว่างเครือข่ายส่วนบุคคลท่ีให้บริการแก่หน่วยงานเฉพาะ โดยมาตรฐานดังกล่าวจะสนับสนุน การโอนถ่ายข้อมูลทเี่ ป็นเสยี งโทรสาร และสอ่ื ทที่ นั สมยั ISO ยังประกอบด้วยคณะกรรมการจานวนหลายชุด โดยคณะกรรมการแต่ละชุดจะ รับผดิ ชอบในการกาหนดมาตรฐานแต่ละด้านแตกตา่ งกันไป สาหรับสมาชิกของคณะกรรมการแต่ละชุดถูก คัดเลือกมาจากบุคลากรผู้เชี่ยวชาญทั้งภาครัฐและภาคเอกชนจากนานาประเทศทั่วโลกเช่นเดียวกัน โดยมี ทัง้ ผู้เช่ียวชาญจากภาคอตุ สาหกรรม บรษิ ทั ผู้ทาธุรกิจด้านน้ันๆ บริษัทท่ีมีความเช่ียวชาญด้านเทคนิค ฯลฯ สาหรับข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับ ISO สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเว็บไซต์ International Organization for Standardization 4) IEC (International Electro technical Commission) เป็นองค์กรที่ก่อต้ังข้ึนเมื่อ ปี ค.ศ.1906 โดยลอร์ด เคลวิน (Lord Kelvin) ซ่ึงเป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ IEC ทาหน้าท่ีกาหนด มาตรฐานด้านเทคนิคเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งบางครั้งเรียกว่า \"อิเล็กโทรเทคโนโลยี (electro technology)\" ท้ังนี้จะต้องดูแลในเร่ืองความปลอดภัย ของเทคโนโลยี การรักษาสภาพแวดล้อม และประสิทธิภาพของการใช้ด้วย นอกจากนี้ IEC ยังทาหน้าที่ ดูแล ประเมินและออกใบรับรองอุปกรณ์ต่างๆ ระบบและบริการต่างๆ ที่มีการใช้อิเล็กโทรเทคโนโลยีที่ เป็นไปตามมาตรฐานทีก่ าหนด องค์กร IEC ยังทางานรว่ มกนั กับองคก์ ร ISO ในการกาหนดมาตรฐานด้านต่างๆ โดยช่ือ มาตรฐานจะข้ึนต้นด้วย ISO/IEC สาหรับตัวอย่างมาตรฐานท่ีกาหนดโดย ISO/IEC ในด้านการสื่อสาร ข้อมูล เช่น ISO/IEC 2007 series เป็นมาตรฐานในการรักษาความม่ันคงปลอดภัยของข้อมูล โดยมีช่ือ เรียกว่า \"ISO/IEC 17799: 2005\" มาตรฐาน ISO/IEC 8859-1 เป็นมาตรฐานในการเข้ารหัสข้อมูล ที่เป็นอักษรลาติน มาตรฐานด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ เช่น ISO/IEC 12207 เป็นมาตรฐานท่ีกาหนด เกี่ยวกับกระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เช่น การออกแบบ การทดสอบ การบูรณาการ การบารุงรักษา การรักษาความปลอดภัย ฯลฯ รายละเอียดเก่ียวกับ IEC สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเว็บไซต์ International Electrotechnical Commission 5) ASC (Accredited Standard Committee) เป็นคณะกรรมการท่ีได้รับการแต่งตั้ง ให้ทาหน้าที่พัฒนามาตรฐานการส่ือสารข้อมูลในเรื่องต่างๆ โดยจะมีคณะกรรมการหลายชุด ซึ่งแต่ละชุด จะกาหนดมาตรฐานเฉพาะเร่ืองเท่านั้น และชื่อคณะกรรมการจะใช้คาว่า \"ASC\" ตามด้วยรหัสต่างๆ ที่ แตกต่างกันไป เช่น คณะกรรมการ ASC X12 ซึ่งประกอบด้วยผู้เช่ียวชาญจานวนมาก นักเทคนิคจาก บรษิ ัททั่วโลก มารว่ มกันพฒั นามาตรฐานการแลกเปล่ียนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์หรือ EDI (Electronic Data Interchange) และจัดทาเอกสารท่ีเกี่ยวข้องสาหรับใช้ในประเทศต่างๆ ท่ัวโลก มาตรฐานดังกล่าวช่วยลด ค่าใช้จ่ายและเพิ่มความสามารถของกระบวนการทาธุรกิจ อีกทั้งยังช่วยขยายระยะทางในการแลกเปลี่ยน ปรญิ ญา นอ้ ยดอนไพร || การสอ่ื สารข้อมูลและเครอื ข่าย (Data Communication and Network)

บทที่ 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกับการส่ือสารข้อมลู และระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ 23 ข้อมูลอีกด้วย สาหรับข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับ ASC สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเว็บไซต์ Accredited Standard Committee X12 6) CCITT (Consultative Committee for International Telephony and Telegraphy) เป็นองค์กรหนึ่งของ UN (United Nation) ซึ่ง UN คือ หน่วยงานท่ีต้ังขึ้นระหว่างประเทศ ต่างๆ เพ่ือดาเนินการร่วมกันในเรื่องต่างๆ CCITT ทาหน้าที่ให้คาแนะนาและประสานงานในการใช้ มาตรฐานด้านการสื่อสารข้อมูล CCITT ได้พัฒนาโปรโตคอลท่ีใช้ในการรับส่งข้อมูลผ่านโมเด็ม ระบบ เครอื ข่าย และเคร่ืองโทรสารที่ใช้กันทั่วโลกในปัจจุบัน วัตถุประสงค์หลักขององค์กร CCITT คือ การรักษา และขยายการประสานงานเกี่ยวกับการใช้ระบบโทรคมนาคมทุกประเภท เพ่ือส่งเสริมการดาเนินงานด้าน การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพทางเทคนิค เพ่ือให้เกิดการบริการด้านการสื่อสารที่ดีข้ึน เพิ่ม ความสามารถในการทางานของระบบการสื่อสารและเปิดให้สาธารณชนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ ต่อมาเมื่อวันท่ี 1 มีนาคม ค.ศ.1993 CCITT ได้เปล่ียนชื่อเป็น \"ITU-TSS (International Telecommunication Union-Telecommunication Standardization Sector)\" หรือเรียกส้ันๆ ว่า \"ITU-T\" โดยช่ือท่ีต้ังเพ่ือให้คล้องกับช่ือของหน่วยงานอีกสองส่วนของ UN ซ่ึงเป็น หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการสื่อสารโทรคมนาคม คือ ITU-R (International Telecommunication Union-Radiocommunication Sector) และ ITU-D (International Telecommunication Union- Development Sector) สาหรับรายละเอียดเพ่ิมเติมเกี่ยวกับ ITU-T สามารถศึกษาได้จากเว็บไซต์ Consultative Committee for International Telephony and Telegraphy และ ITU-T 7) ECA (The Electronic Components Association) เป็นสมาคมตัวแทนของ ผ้ปู ระกอบการทดี่ าเนนิ ธรุ กิจผลิตช้ันส่วนและผู้ผลิตวัตถุดิบสาหรับผลิตชั้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ท่ีไม่หวังผล กาไร ทาหน้าท่ีสนับสนุนและตอบสนองความต้องการและความสนใจของอุตสาหกรรมและตลาดในการ ผลิตช้นิ สว่ นอิเลก็ ทรอนกิ สต์ า่ งๆ และเพ่อื ช่วยใหก้ ารจดั การห่วงโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมการผลิตชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์มีประสิทธิภาพมากข้ึน ตัวอย่างของช้ินส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ที่อยู่ในความดูแลของสมาคม เช่น หัวต่อหรือคอนเน็คเตอร์ สายเคเบ้ิล สายไฟ ฯลฯ นอกจากนี้ ECA ยังทาหน้าท่ีเป็นตัวกลางให้แก่ บริษัทต่างๆ ในการเช่ือมต่อไปยังเครือข่ายท่ีให้ข้อมูลเกี่ยวกับเทคนิคการผลิต การวิจัยทางการตลาด แนวโน้มของเทคโนโลยีในอนาคต รวมทั้งการวิเคราะห์ท่ีเก่ียวข้องกับผลิตภัณฑ์ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อี ด้วย สาหรับรายละเอียดเพิ่มเติมเก่ียวกับ ECA สามารถศึกษาได้จากเว็บไซต์ The Electronic Components Association 8) EIA (Electronic Industrial Alliance) เป็นองค์กรท่ีประกอบด้วยสมาชิก คือ บริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์โทรคมนาคมและผู้ประกอบธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ องค์กรนี้เป็นสมาชิกขององค์กร มาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา (ANSI: American National Standards Institute) สาหรับหน้าที่ หลักของ EIA คือ การกาหนดมาตรฐานการเชื่อมต่อในการรับส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ มาตรฐานที่เป็นที่ รู้จักดันท่ัวไป คือ RS-232 หรือบางคร้ังเรียกว่า EIA-232 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่ใช้ในการติดต่อส่ือสารกับ อุปกรณ์ต่อพ่วงอื่นๆ เช่น โมเด็ม เคร่ืองพิมพ์ สาหรับรายละเอียดเพิ่มเติมเก่ียวกับ EIA สามารถศึกษาได้ จากเว็บไซต์ Electronic Industrial Alliance 9) TIA (Telecommunication Industry Association) เป็นหน่วยงานท่ีทาหน้าที่ เป็นตัวแทนของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์และบริการเก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีจาหน่ายในตลาดทั่วโลก ที่ ไดร้ บั มอบหมายให้ทาหนา้ ท่พี ัฒนามาตรฐานสาหรบั ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการสื่อสารระยะไกล เช่น สายเคเบิ้ล สายไฟ และหัวต่อที่ใช้ในระบบเครือข่ายแลน มาตรฐานที่ TIA ดูแลอยู่ประกอบด้วยมาตรฐานด้าน ปริญญา นอ้ ยดอนไพร || การส่อื สารข้อมลู และเครือข่าย (Data Communication and Network)

24 บทท่ี 1 ความร้เู บื้องตน้ เกยี่ วกับการสอ่ื สารข้อมลู และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีมากกว่า 10 มาตรฐาน ซ่ึงมีกลุ่มผู้สนับสนุนมากกว่า 70 กลุ่ม ตัวอย่างของเทคโนโลยีดังกล่าว เช่น วิทยุเคล่ือนท่ีส่วนบุคคล เสาอากาศแบบหอคอยสูง อุปกรณ์ต่อพ่วงแบบหลายฟังก์ชัน ดาวเทียม ระบบการติดต่อส่ือสารแบบเคลื่อนท่ี ฯลฯ ซ่ึงในแต่ละเทคโนโลยี ประกอบด้วยคณะกรรมการวิศวกรรม และคณะกรรมการย่อยท่ีทาหน้าท่ีในการกาหนดมาตรฐาน สาหรับรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ TIA สามารถศึกษาไดจ้ ากเว็บไซต์ Telecommunication Industry Association 10) Web 3 D Consortium เป็นองค์กรมาตรฐานนานาชาติท่ีไม่หวังผลกาไร โดยมี หน้าท่ีหลัก คือ การพัฒนาภาษาเวอร์ชวลเรียลริตี้มาร์คอัพ (VRML: Virtual Reality Markup Language) ซง่ึ เปน็ ภาษาโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ที่ใช้ในการรับส่งข้อมูลสามมิติ ปัจจุบันเว็บ 3 ดี สนับสนุน การพัฒนาคุณลักษณะ X3D ซึ่งเป็นมาตรฐานเกี่ยวกับรูปแบบของไฟล์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารแบบสาม มิติและอยู่บนพ้ืนฐานของการใช้เอ็กเอ็มแอล มาตรฐานดังกล่าวเป็นมาตรฐานท่ีเปิดให้นาไปใช้โดยไม่เสีย ค่าใช้จ่าย สาหรับรายละเอียดเพ่ิมเติมเก่ียวกับ Web3D สามารถศึกษาได้จากเว็บไซต์ Web 3 D Consortium 11) IETF (Internet Engineering Task Force) เป็นองค์กรท่ีพัฒนาและส่งเสริม มาตรฐานอินเทอร์เน็ต ทางานร่วมกันอย่างใกล้ชิดกับองค์กร W3C และ ISO/IEC และทางานเก่ียวข้อง โดยตรงกบั มาตรฐาน TCP/IP รวมท้งั ชุดโปรโตคอลของอินเทอร์เน็ต (Internet protocol suit) IETF เป็น หน่วยงานที่ถูกกากับดูแลโดยคณะกรรมการสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ต (Internet Architecture Boards) IETF เป็นองค์กรมาตรฐานแบบเปิด โดยผู้ที่เข้ามาทางานเป็นผู้อาสาสมัครเข้ามาเอง ประกอบด้วยกลุ่มทางานต่างๆ โดยแต่ละกลุ่มจะสนใจเฉพาะด้าน และเม่ือทางานเสร็จกลุ่มนั้นก็จะหมด หน้าที่ พันธกิจหลักของ IETF คือ การเพ่ิมความสามารถในการทางานของระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยการผลิตเอกสารที่มีคุณภาพสูงเก่ียวกับด้านเทคนิคที่มีผลต่อวิธีการออกแบบ การใช้และการจัดการ อินเทอร์เน็ต ปัจจุบันได้จัดต้ังหน่วยงานย่อยชื่อว่า IETF Trust ข้ึนมา เพื่อจัดการเก่ียวกับการจดลิขสิทธ์ิ ของเทคนิคและผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาโดย IETF สาหรับรายละเอียดเพิ่มเติมเก่ียวกับ IETF สามารถศึกษาได้ จากเวบ็ ไซต์ Internet Engineering Task Force 12) W3C (World Wide Web Consortium) เป็นสมาคมนานาชาติท่ีทางานร่วมกัน เพ่ือพัฒนามาตรฐานของเว็บ พันธกิจ คือ การนาระบบเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บไปสู่การใช้งานอย่างเต็ม ศักยภาพ ด้วยการพัฒนาโปรโตคอลและข้อแนะนาต่างๆ มากกว่า 110 มาตรฐาน โดยมาตรฐานดังกล่าว เรียกว่า ข้อแนะนา W3C นอกจากนี้ W3C ยังเก่ียวข้องกับการให้การศึกษา การพัฒนาซอฟต์แวร์ และ การให้บริการในลักษณะของการเปิดฟอรัม (forum) สาหรับใช้เป็นช่องทางให้แก่นักวิชาการและผู้สนใจ ทั่วไปแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเว็บอีกด้วย ในอนาคต W3C ยังคงทางานอย่างต่อเนื่องเพื่อขยายการ เขา้ ถงึ เวบ็ ไปยังทกุ ๆ คน ทกุ ๆ ท่แี ละอปุ กรณท์ ุกๆ ประเภท ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลบนเว็บได้ รวมทั้งความ พยายามท่ีจะทาให้คอมพิวเตอร์สามารถงานท่ีมีประโยชน์ได้เพ่ิมมากข้ึน เช่น การค้นหาข้อมูลและการใช้ ขอ้ มลู รว่ มกันโดยใช้เทคนคิ ขัน้ สูง สาหรับรายละเอียดเพิ่มเติมเก่ียวกับ W3C สามารถศึกษาเพ่ิมเติมได้จาก เวบ็ ไซต์ World Wide Web Consortium องค์กรท่กี ล่าวมาน้เี ป็นองค์กรท่ีก่อตั้งขึ้นมา โดยความร่วมมือของหน่วยงานต่างๆ ทั้ง ภาครัฐและเอกชน ซ่ึงหน่วยงานเหล่านี้เป็นหน่วยงานท่ีมีบทบาทในอุตสาหกรรมการสื่อสารข้อมูล และมี วตั ถุประสงค์เพือ่ กาหนดมาตรฐานและพัฒนาอุตสาหกรรมการสื่อสารข้อมูลให้มีความก้าวหน้ายิ่งๆ ข้ึนไป ซ่ึงนบั วา่ เปน็ ความร่วมมือท่มี ีประโยชนม์ ากในระดบั นานาชาติ ปรญิ ญา น้อยดอนไพร || การสอ่ื สารขอ้ มลู และเครอื ขา่ ย (Data Communication and Network)

บทท่ี 1 ความร้เู บ้ืองต้นเกยี่ วกับการสอื่ สารข้อมูลและระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ 25 กิจกรรมที่ 1.2 1. เคร่ืองพิมพ์ทางไกลหรอื เครือ่ งเทเลไทป์ คืออะไร 2. อาร์พาเน็ต คืออะไร และเกย่ี วข้องกับระบบอนิ เทอร์เน็ตอย่างไร 3. ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์มีองค์ประกอบพื้นฐานหลกั อะไรบ้าง 4. จงบอกประโยชนข์ องระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์มา 3 ข้อ 5. จงบอกหน้าที่หลักขององค์กร IEEE มาโดยสงั เขป 6. จงบอกหนา้ ที่หลักขององค์กร W3C มาโดยสังเขป 7. จงระบหุ นา้ ที่หลกั ขององค์กร ISO มาโดยสงั เขป ปรญิ ญา นอ้ ยดอนไพร || การส่อื สารขอ้ มลู และเครอื ข่าย (Data Communication and Network)

26 บทที่ 1 ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับการส่ือสารข้อมูลและระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ เอกสารอา้ งองิ กติ ติ ภกั ดีวฒั นะกลุ และสุธี พงศาสกุลชัย. (2554). เครือข่ายคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซลั ท.์ เกษรา ปัญญา. (2548). ระบบการส่ือสารข้อมูล Data Communication System. ภูเก็ต : มหาวิทยาลัย ราชภฏั ภูเกต็ . ฉัตรชัย สุมามาลย์. (2549). การส่ือสารข้อมูลคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย. กรุงเทพฯ : ไทยเจริญการ พมิ พ.์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2554). เอกสารการสอนชุดวิชาการส่ือสารข้อมูลและระบบเครือข่าย คอมพวิ เตอร์ หนว่ ยที่ 1-7. พมิ พค์ รั้งที่ 2. นนทบรุ ี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สยามโฟน. (2555). Mobilephone Catalog Online [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http : news. siamphone.com/1/Phone. [19 กนั ยายน 2556]. สุธี พงศาสกลุ ชัย. (2551). เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : เคทพี ี คอมพ์ แอนด์ คอนซลั ท์. อัมรินทร์ เพ็ชรกุล. (2551). ตดิ ตั้ง ใช้งาน ดแู ล Network Hi-Speed Internet. กรุงเทพฯ : ซัคเซส มีเดยี . โอภาส เอ่ียมสริ วิ งศ.์ (2549). เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์และการสอ่ื สาร. กรุงเทพฯ : ซเี อด็ ยเู คชน่ั . Answers Corporation. (2013). Samuel Finley Breese Morse [Online]. Available : http : www.answers.com/topic/samuel-f-b-morse. [July 1, 2013]. Fitz Gerald Dennis. (2007). Business Data Communications and Networking. 7th Edition, Publisher John Wiley & Song, Inc. Wikimedia commons. (2013, August 5). Alexander Graham BellHistory of telephony [Online]. Available : http : commons.wikimedia.org/wiki/. [September 19, 2013]. ปริญญา น้อยดอนไพร || การสื่อสารขอ้ มูลและเครือข่าย (Data Communication and Network)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook