Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวคิดที่มาของคนไทย

แนวคิดที่มาของคนไทย

Published by Khomgist, 2020-05-05 00:28:51

Description: แนวคิดที่มาของคนไทย

Search

Read the Text Version

วิชาประวัตศิ าสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ครูคมกริช โสภาเนตร 1

2

3

4

5

6

7

8

9

ทมี่ าของชนชาตไิ ทย แนวคิดเกยี่ วกบั ถนิ่ กําเนดิ เดิมของคน ไทย ปัจจุบันมที ่ี กล่าวถึงอยู่ 5 แนวคดิ ไดแ้ ก่ แนวความคิดท่ี 1 ถน่ิ เดมิ ของ ช น ช า ติ ไ ท ย อ ยู่ ใ น บ ริ เ วณ ตอนกลางของจนี 10

แนวความคดิ ท่ี 2 ชนชาติไทยเปน็ เช้ือสายมองโกล มีถิ่นเดมิ อย่แู ถบ เทอื กเขาอัลไต 11

แนวความคดิ ท่ี 3 ถ่ินเดิมของชนชาติไทยอยู่ในบรเิ วณตอนใต้ของจนี 12

แนวความคิดที่ 4 ถ่ินเดมิ ของชนชาติไทยอยใู่ นคาบสมทุ ร มลายแู ละหมเู่ กาะอินโดนเี ซยี 13

แนวความคิ ด ท่ี 5 ถ่ิ น เดิ ม ของ ชนชาติ ไ ทยอยู่ ใ นประเทศไทย ปจั จุบนั 14

แนวความคิดที่ 1 ถน่ิ เดิมของชนชาตไิ ทยอยูใ่ นบรเิ วณ ตอนกลางของจนี ➢ เจ้ า ของความคิ ด น้ี คื อ เตเรี ย น เดอ ลาคเู ปอรี (Terrien de la couperie) ศาสตราจารย์ ช าวอั ง กฤษ ประจํ า มหาวิ ท ยาลั ย ลอนดอน ผู้ เ ช่ี ย วชาญ ทางภาษาศาสตรข์ องอินโดจนี ➢ หลกั ฐานพจิ ารณาความคลา้ ยคลึงกัน ทางภาษาของผู้ ค นในจี น และเอเชี ย ตะวันออกเฉยี งใต้ 15

➢สรุ ป ว่ า คนเช้ื อ ชาติ ไ ทยต้ั ง ถ่ิ น ฐาน ใ น ดิ น แ ด น จี น ก่ อ น จี น คื อ เ มื่ อ 2208 ปี ก่ อ นคริ ส ตกาล ดั ง ปรากฏ ในรายงานการสํ า รวจภู มิ ป ระเทศ จนี ถิ่นทอี่ ยู่ของคนไทยทปี่ รากฏใน จดหมายเหตจุ นี นอ้ี ยูใ่ นเขตมณฑล เสฉวนในปัจบันุ 16

➢ งานของลาคเู ปอรี ไดร้ บั การสบื ทอดตอ่ มาในงานเขียนของนักวชิ าการไทย เช่น สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานภุ าพ ประภาศิริ เสฐยี รโกเศศ พระยา อนมุ านราชธน หลวงวิจติ รวาทการ และศา1ส7ตราจารย์รอง ศยามานนท์

แนวความคิดท่ี 2 ชนชาตไิ ทยเปน็ เช้ือสายมองโกล มถี ิ่นเดมิ อย่แู ถบ เทอื กเขาอลั ไต ➢เจา้ ของความคิด คอื หมอสอนศาสนาชาว อเมริ กั น ชื่ อ วิ ล เลี ย ม คลิ ฟ ตั น ดอดด์ (William Clifton Dodd) 18

➢ไดเ้ ดินทางไปสํารวจความเป็นอยขู่ องชาติตา่ ง ๆ ในดินแดน ใกลเ้ คียงพรอ้ มทั้งเผยแพรศ่ าสนาดว้ ย โดยเรมิ่ จากเชยี งราย เชียงตุง สบิ สองปนั นา ยูนนาน จนถึง ฝ่งั ทะเลกวางตุ้ง 19

➢ผลจากการสํ า รวจปรากฏในงาน เขียนเรือ่ ง The Thai Race : The Elder Brother of the Chinese ซ่งึ เขียนขนึ้ ในปี พ.ศ.2452 ➢งานเขยี นน้สี รุปวา่ ไทยสบื เชื้อสาย จากมองโกลและเป็ น ชาติ เ ก่ า แก่ กวา่ จนี และฮบิ รู 20

➢นั ก วิ ช า ก า ร ไ ท ย ค น สํ า คั ญ ท่ี สื บ ท อ ด ความคิ ด ของหมอดอดด์ คื อ ขุ น วิ จิ ต ร มาตรา (สง่ า กาญจนาคพั น ธ์ ) ได้ เ ขี ย น งานเขียนชือ่ “หลกั ไทย” เป็นหนงั สอื แต่ง ทางประวตั ิศาสตร์ 21

➢ในหนังสือ หลกั ไทย สรปุ วา่ แหล่งกาํ เนดิ ของคนไทยอยบู่ รเิ วณ เทอื กเขาอัลไต (แหล่งกาํ เนิดของมองโกลดว้ ย) หลักสูตรไทยได้ ใช้เ ป็นตาํ ราเรีย นประวตั ิศาสตรข์ องกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเปน็ เวลานาน แตป่ ัจจบุ ัน แนวคิดนไ้ี ดร้ บั การยอมรบั น้อยมาก 22

แนวความคดิ ที่ 3 ถ่ินเดมิ ของชนชาตไิ ทยอยู่ในบรเิ วณตอนใต้ของจนี ➢ ผู้ ริ เ ริ่ ม ความเชื่ อ น้ี คื อ นั ก สํ า รวจชาวอั ง กฤษ ชือ่ โคลกูฮนุ (Archibald R. Colquhoun) ➢ เขาไดเ้ ดนิ ทางจากกวางตงุ้ ตลอดถงึ มณั ฑเลย์ ในพมา่ และได้เขียนหนงั สือชอื่ Chrysi เลา่ เรอื่ ง การเดินทางสํารวจดนิ แดนดังกลา่ ว 23

➢จากการศึ ก ษา พบคนไทยเชื้ อ ชาติ ไ ทยในแถบน้ี งานเขี ย นน้ี ตีพิมพใ์ นองั กฤษเม่ือ พ.ศ.2428 ผูเ้ ขยี นได้รับรางวลั เหรยี ญทอง จากสมาคมภมู ิศาสตรข์ ององั กฤษ ต่อมาหนังสือเลม่ นีไ้ ดแ้ ปลเป็น ภาษาฝรัง่ เศสและเยอรมัน ทาํ ให้แนวคดิ นี้แพรห่ ลายออกไป 24

➢ นอกจากนมี ีงานคน้ คว้าประเภทอาศัย้ การตคี วามหลักฐานจนี อกี เชน่ งาน ของ E.H. Parker ปาร์คเกอร์ กงสลุ อั ง กฤษประจํ า เกาะไหหลํ า เขี ย น บทความเร่ืองน่านเจา้ พิมพ์เผยแพร่ เมือ่ พ.ศ.2437 โดยอาศัยตาํ นานจนี 25

➢ บทความนี้ พู ด ถึ ง อาณาจั ก รน่ า นเจ้ า เป็ น อาณาจั ก รของคนไทยเฉพาะ ราชวงศส์ นิ ุโล และคนไทยเหล่านี้ถูกคนจีนกดดันถงึ อพยพลงมาทางใต้ ➢ งานของเขียนปารค์ เกอรไ์ ดร้ บั การสนบั สนุนจากทัง้ นกั วชิ าการตะวันตกและ จีน (ศาสตราจารยต์ ิ ง ศาสตราจารย์ โชนิ น ศาสตราจารย์ ชุ น แชง) และ ญี่ปุ่น (โยชิโร ชิราโทริ) 26

➢ งานคน้ คว้าของ วิ ล เลี ยม เครด์ เนอร์ (Willian Credner) ซง่ึ ค้นคว้าเก่ียวกับยูนนาน ➢ โดยสํารวจภมู ปิ ระเทศและเผ่าพนั ธทุ์ ่ีตกคา้ งใน ยนู นาน ➢ สรปุ วา่ ถิ่นเดมิ ของชนเผา่ ไทยควรอาศยั ในทตี่ าํ่ ใกล้ ท ะเล เช่ น มณฑลกวางสี กวางตุ้ ง ส่ ว น แถบอั ล ไตคนไทยไม่ น่ า จะอยู่ เ พราะคนไทย ชอบปลู ก ข้ า ว ชอบดิ น แดนแถบร้ อ นไม่ ช อบ เนินเขา 27

➢นอกจากน้ี วลู แกรม อี เ บอร์ ฮ าด (Wolgram Eberhard)ชาวเยอรมนั ผู้เชี่ยวชาญด้าน สังคมวทิ ยา มานษุ ยวิทยา และโบราณคดจี นี ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับถนิ่ กําเนดิ ของไทยใน งานเขยี นช่อื A History of China (พมิ พ์เป็น ภาษาเยอรมนั ต่อมาแปลเปน็ ภาษาองั กฤษ) 28

➢ สรปุ ว่าเผ่าไทยอยบู่ รเิ วณมณฑลกวางตุ้ง ต่อมาอพยพมาอย่แู ถบยูน นานและดินแดนในอ่าวตงั เกย๋ี (สมัยราชวงศ์ฮ่นั ) ได้สรา้ งอาณาจกั ร เทียนหรอื แถน และถึงสมัยราชวงศ์ถงั เผา่ ไทยได้สถาปนาอาณาจกั ร นา่ นเจ้าขึ้นท่ยี นู นาน 29

➢งานเขียนของบคุ คลเหล่านไ้ี ดใ้ หแ้ นวคิดแกน่ กั วชิ าการไทยและ ต่างประเทศในระยะต่ อมา เชน่ ยอร์ช เซเดส์ ชาวฝรัง่ เศส ได้ สรุปวา่ ชนชาตไิ ทยอาศัยอยทู่ างตอนใต้ของจนี แถบตงั เกี๋ย ลาว สยาม ถึงพมา่ และอัสสมั 30

➢ส่วนนักวิชาการไทยทีส่ นใจศึกษาค้นคว้าความเปน็ มาของคนไทย ท้งั จากเอกสารไทยและต่างประเทศคือพระยาประชากิจกรจักร (แช่ม บนุ นาค) งานเขียนของท่าน คือ พงศารโยนก ตีพิมพ์ ระหว่างปี พ.ศ.2441-2442 ➢งานชิน้ น้สี รุปวา่ คนไทยมาจากตอนใต้ของจนี 31

➢ นั ก วิ ช าการไทยอี ก ท่ า นหนึ่ ง คื อ จิ ต ร ภู มิ ศั ก ดิ์ ไ ด้ ใ ช้ วิ ธี ก า ร ท า ง นิ รุ ก ติ ศ า ส ต ร์ วิ เ คราะห์ ตํ า นาน พงศาวดารท้ อ งถิ่ น ทาง เหนือของไทยและตรวจสอบกบั จารกึ ของ ประเทศขา้ งเคียง เขียนหนังสอื ชอื่ “ความ เป็ น มาของคํ า สยาม ไทย ลาว และจาม และลั ก ษณะสั ง คมของช่ื อ ชนชาติ ” พิ ม พ์ เผยแพร่ พ.ศ.2519 32

➢จิตรสรปุ ว่าท่อี ยขู่ องคนเผา่ ไทย อาศัย อยกู่ ระจดั กระจายในบรเิ วณทางตอน ใต้ ข องจี น และบริ เ วณภาคเหนื อ ของ ไทย ลาว เขมร พมา่ และรฐั อสั สมั ใน อินเดยี และให้ความเหน็ เกย่ี วกบั น่าน เจ้ า ว่ า น่ า นเจ้ า เปน็ รั ฐ ทางใต้ สุ ด เดิ ม จี น เรี ย กอาณาจั ก รไต - หลอหลอ (น่านเจา้ แปลว่า เจา้ ทางทิศใต)้ 33

➢บรรดานักวชิ าการท่ีเชือ่ ว่าอดีตของเผ่าไทยอย่กู ระจัดกระจายใน บรเิ วณตอนใต้ของจีนและบริเวณทางเหนือของไทย ลาว พม่า เวยี ดนาม กัมพชู า และรฐั อัสสมั และอนิ เดยี 34

➢ นักวชิ าการกลุ่ม นเ้ี ริ่มศึกษาค้นคว้า เร่ืองราวของคนไทยโดยอาศัย หลักฐานหลายด้าน ทัง้ ด้านนิรุกตศิ าสตร์ มานุษยวทิ ยา หลักฐาน ทางประวตั ิศาสตร์และโบราณคดี 35

แนวความคิดที่ 4 ถิ่นเดิมของชนชาติไทยอย่ใู นคาบสมุทร มลายแู ละหมเู่ กาะอนิ โดนีเซีย ➢ รูธ เบเนดิกต์ (Ruth Benedict) นกั มานษุ ยวิทยา ชาวอเมรกิ ัน เป็นผเู้ สนอแนวคดิ น้ี ➢ นายแพทยส์ มศักด์ิ พนั ธสุ์ มบุญ ผูส้ นบั สนนุ ความคดิ ของรธู เบเนดกิ ต์ 36

➢แนวคดิ นเี้ ชื่อวา่ คนไทยมีเชอ้ื สายมลายู มีถิน่ กาํ เนิดในบริเวณหมู่ เกาะอินโดนเี ซยี ตอ่ มาอพยพมาทางเหนือยงั ประเทศไทย และ ข้นึ เหนือไปถึงมณฑลยุนหนาน 37

➢กล่มุ นศ้ี ึกษาประวัตคิ วามเปน็ มาของชนชาติไทยดว้ ยวิธที าง วิทยาศาสตรบ์ นรากฐานของวิชาพันธศุ าสตร์ คือการศกึ ษา ความถขี่ องยีนและหมู่เลือดและการศกึ ษาเร่ืองฮโี มโกลบนิ อี 38

➢เช่น นายแพทย์สมศกั ดิ์ พนั ธ์สุ มบญุ ไดศ้ ึกษาความถ่ีของยีนและ หมู่ เ ลื อ ด พบว่ า หมู่ เ ลื อ ดของคนไทยคล้ า ยกั บ ชาวชวาทางใต้ มากกว่าจีนทางเหนอื ➢จากการศกึ ษาวิธนี ี้สรุปไดว้ ่า คนไทยมไิ ดส้ ืบเชอ้ื สายจากคนจนี 39

แนวความคดิ ท่ี 5 ถนิ่ เดมิ ของชนชาติไทยอย่ใู นประเทศ ไทยปัจจบุ นั ➢ผู้รเิ รม่ิ แนวคิดน้ีคอื ดร.ควอริตช์ เวลส์ (Quaritch Wales) นักประวัติศาสตร์และโบราณคดชี าวองั กฤษ ➢จากการขุดพบกะโหลกศีรษะที่พงตกึ อาํ เภอทา่ มะกา จังหวดั กาญจนบุรี มีอายอุ ยู่ในราว พ.ศ. 500 ซง่ึ เวลสเ์ ห็นว่า มีลกั ษณะใกล้เคียงกับกะโหลกศีรษะของคนไทยปัจจบุ นั 40

➢จึงเสนอแนวคดิ ว่า คนไทยอาจมาต้งั หลกั แหลง่ อยู่ในประเทศไทย มากวา่ 2,000 ปีแล้ว และดนิ แดนนอี้ าจเปน็ ถิ่นกาํ เนิดของชนชาติ ไทย 41

➢พอล เบเนดิคท์ (PaulBenedict)นกั ภาษาศาสตรแ์ ละ มนษุ ยวทิ ยาชาวอเมรกิ ัน คน้ คว้าเร่อื งเผา่ ไทยโดยอาศยั หลกั ฐาน ทางภาษาศาสตร์ 42

➢สรปุ ว่า ถ่นิ เดิมของไทยนา่ จะอยู่ ในดินแดนประเทศไทย ต้งั แต่ เมื่ อ ประมาณ 4000-3500 ปี ม าแล้ ว พวกตระกู ล มอญ เขมร อพยพมาจากอิ น เดี ย เข้ า สู่ แ หลมอิ น โดจี น ได้ ผ ลั ก ดั น คนไทยให้ กระจดั กระจายไปหลายทางข้นึ ไปถงึ ทางใต้ของจีนปจั จบุ นั ต่อมา ถูกจีนผลกั ดันจนอพยพลงใต้ไปอย่ใู นเขตอัสสมั ฉาน ลาว ไทย และตังเกยี๋ จึงมกี ลมุ่ ชนทีพ่ ดู ภาษาไทยกระจดั กระจายไปทวั่ 43

➢ นั ก วิ ช าการไทย นายแพทย์ สุ ด แสงวิ เ ชี ย ร และศาสตราจารย์ ชิ น อยู่ ดี ให้ ความเหน็ ว่าดนิ แดนไทยปจั จบุ นั เปน็ ทีอ่ าศัยของหมชู่ นท่เี ป็น บรรพบุรษุ ของ ไทยปจั จุบนั มาต้งั แตส่ มยั ก่อนประวัตศิ าสตร์และสรุปวา่ บรรพบุรษุ ไทยอย่ใู น ดิ นแดนประเทศไทยมาตลอด เนื่ องจากหลั กฐานทางโบราณคดี ได้ แ สดงถึ ง ความต่ อ เนื่ อ งทางวั ฒ นธรรมรวมท้ั ง การศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บลั ก ษณะโครง กระดูกที่ขุดพบ 44

อาณาจักรทส่ี ําคัญในอดีตในดินแดนประเทศไทยปัจจุบัน เมื่ อ ย้ อ นหลั ง กลั บ ไปประมาณ 2,000 ปี ดิ น แดนท่ี เ ป็ น ประเทศไทยปจั จบุ ันนม้ี ิได้มเี ฉพาะชนชาตไิ ทยต้ังถิน่ ฐานอยูเ่ ทา่ นั้น จากหลั ก ฐานทางโบราณคดี โบราณสถาน และโบราณวั ต ถุ ที่ ค้ น พบในดิ น แดนแถบน้ี มี ช นชาติ อ่ื น ๆ เคยตั้ ง ถ่ิ น ฐานอยู่ มี อาณาจกั รอสิ ระที่สาํ คัญ ดงั น้ี 45

1.) แคว้ น ตามพรลิ ง ค์ ห รื อ แคว้ น นครศรี ธ รรมราช (ประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี 7-19) ➢ จี น เรี ย กว่ า ตั น มาลิ ง มี เ รื่ อ งราวปรากฏใน หลั ก ฐานต่ า ง ๆ เช่ น บั น ทึ ก ของจ้ า วหยู ค่ั ว เขียนใน พ.ศ. 1768 สมัยราชวงศซ์ งุ่ จารกึ หลัก ท่ี 24 พบท่ี วั ด เวี ย ง อ.ไชยา จ.สุ ร าษฎร์ ธ านี จ า รึ ก เ มื่ อ พ . ศ . 1 7 7 3 ตํ า น า น เ มื อ ง น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช ตํ า น า น พ ร ะ บ ร ม ธ า ตุ นครศรธี รรมราช 46

➢แควน้ ตามพรลิงค์ ตงั้ ข้ึนเมือ่ ประมาณพุทธศตวรรษที่ 7 เมอื่ ถึง พุทธศตวรรษท่ี 18 ได้เ ปลย่ี นช่อื เปน็ แคว้ นนครศรธี รรมราช มี อทิ ธพิ ลครอบคลมุ แหลมมลายู ซึ่งเปน็ แหล่งรวมวฒั นธรรมจาก อนิ เดียและลังกา 47

➢ศาสนาทนี่ บั ถือมีทงั้ ศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู และพระพทุ ธศาสนา นกิ ายมหายานและนิกายเถรวาท จนถงึ ปลายพทุ ธศตวรรษท่ี 18 นครศรีธรรมราชมคี วามสมั พันธ์กับลงั กา จงึ รับพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาทแบบลงั กาวงศ์ 48

➢แควน้ นครศรธี รรมราช ตกอยใู่ ต้อทิ ธิพลของอาณาจักรสโุ ขทัยใน สมยั พอ่ ขุนรามคําแหงมหาราช ต่อมาเมอ่ื ตงั้ อาณาจกั รอยุธยา ข้นึ ใน พ.ศ. 1893 แควน้ จึงถกู รวมอยูใ่ นอาณาจักรอยธุ ยา 49

2.) อาณาจักรทวารวดี (ประมาณพทุ ธศตวรรษท่ี 12-16) ในบั น ทึ ก การเดิ น ทางของหลวง จี น เ หี้ ย น จ า ง ( พ ร ะ ถั ง ซํ า จั๋ ง ) เ รี ย ก อาณาจกั รนว้ี า่ โตโลโปต้ี หรือ ตวอหลอ ปอต่ี ศ าสตราจารย์ ย อร์ ช เซเดส์ เช่ื อ ว่ า เป็นคําเดยี วกับทวารวดี ซ่ึงเป็นอาณาจกั ร ในภาคกลางของดิ น แดนประเทศไทย ศู น ย์ ก ลางอํ า นาจอยู่ ท่ี เ มื อ งนครปฐม โบราณ (นครชั ย ศรี ) หรื อ เมื อ งอู่ ท อง หรอื เมืองลพบรุ ี 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook