Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore _chapter_05_part1

_chapter_05_part1

Published by saritchai, 2018-09-10 11:15:10

Description: _chapter_05_part1

Search

Read the Text Version

5221110 คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ บทท่ี 5เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 สาธารณสขุ ศาสตร์ วทิ ยาลยั การสาธารณสขุ สริ นิ ธร จงั หวดั ชลบรุ ี Ver. 1.0

 ความหมายของสื่อประสม (Multimedia) 2 จาก 56 เสียง (sound) ภาพนงิ่ (still image) ขอ้ ความ (text) Infographicบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1

บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1

 “ส่ือ (media)” ในทางเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพวิ เตอร์ จะหมายรวมถงึ ตวั วตั ถทุ ีใ่ ช้ในการบนั ทึกขอ้ มลู และตัวข้อมูลที่ อยใู่ นนัน้ ด้วย “สอื่ ประสม (multimedia)” หมายถงึ สอื่ ทีเ่ กดิ จากการนาส่อื ต่าง ๆ หลายชนดิ มาผสมกนั เพ่อื เอาไว้ใชใ้ นการส่ือสาร, การศกึ ษา, และเพือ่ ความบันเทงิบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 4 จาก 56

 แบง่ ชนดิ ของสื่อตามระบบการรับร้ขู องมนุษย์  1. Sound หรอื Audio media(ส่อื ท่ีเกี่ยวกับระบบการไดย้ ิน)  2. Visual media (สอื่ ท่ีเก่ยี วกับระบบการมองเหน็ ) แบ่งชนิดของสอ่ื อเิ ลคทรอนกิ ส์ตามระบบของสัญญาณ  1. Analog media (ส่อื แอนะลอ็ ก)  2. Digital media (สอ่ื ดจิ ทิ ัล)บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 5 จาก 56

 แบง่ ชนิดของส่ือตามลักษณะทแ่ี สดงผลออกมา  1. เสยี ง (sound)  2. ข้อความ (text)  3. ภาพนิง่ (still image)  4. ภาพเคลอ่ื นไหว (video, animation)บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 6 จาก 56

บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1

 เป็นคล่ืนเชงิ กลชนดิ หนง่ึ ซง่ึ ต้องอาศยั ตวั กลางเชน่ อากาศในการเคลือ่ นท่ี สามารถเรยี กคล่ืนนวี้ ่า คลื่นไซน์ (sine wave) ไดเ้ ช่นกนับทที 5 เทคโนโลยสี ารสกนเรทศาสฟรา้ แงสสรรคด์ ง1 ค่าความดนั อากาศ (pressure) ณ เวลาต่าง ๆ 8 จาก 56

 การวดั ความถ่ีของเสียง: Hertz (รอบตอ่ วินาที)  มนุษยส์ ามารถไดย้ นิ คลนื่ เสียง ซงึ่ มคี วามถใี่ นชว่ งประมาณ 20 - 20,000 Hz  คลื่นความถ่ีตา่ คือเสียงตา่  คลืน่ ทมี่ คี วามถีส่ ูง คือเสยี งสูง  เสียงท่เี กิดข้ึนโดยธรรมชาตเิ ปน็ คลน่ื แบบซบั ซ้อน เกดิ จาก คลน่ื ไซน์หลาย ๆ ความถมี่ ารวมกันบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 9 จาก 56

 สอื่ อิเลคทรอนิกส์ทเ่ี อาไว้ใช้เกบ็ ขอ้ มลู เสยี ง คือส่อื ทต่ี อ้ งอาศยั อปุ กรณ์อเิ ลคทรอนกิ ส์ ในการเรียกข้อมลู ที่บนั ทึกไว้ แลว้ แปลง ออกมาเปน็ สญั ญาณ สัญญาณท่ใี ช้ในอปุ กรณอ์ ิเลคทรอนิกส์ มี 2 ชนิด คอื  สญั ญาณแอนะลอ็ ก  สัญญาณดิจิทลับทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 10 จาก 56

 สัญญาณแอนะล็อก (analog signal) คือสัญญาณที่เรยี งกัน แบบตอ่ เนื่อง  เชน่ สญั ญาณที่ถกู เรยี กมาจากเทปคาสเซท หรือสญั ญาณทอ่ี อกมา จากไมโครโฟนโดยตรง  สัญญาณแอนะล็อกสามารถ แสดงให้อย่ใู นรปู ของ “กราฟของคา่ แรงดนั ไฟฟา้ (voltage) ณ เวลาต่าง ๆ”บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 11 จาก 56

 สญั ญาณดิจิทัล (digital signal) คือสญั ญาณท่ีเรียงกันแบบไม่ ตอ่ เนอ่ื ง  เชน่ สัญญาณทอี่ า่ นจากซดี เี พลง, เทปดิจทิ ลั , ไฟล์เสยี งในฮาร์ดดิสก์  มลี ักษณะเป็นขอ้ มูลตัวเลข (หรือ sample) เรยี งตอ่ ๆ กันไป โดย sample แต่ละอันจะแทนค่าแรงดนั ไฟฟา้ ในช่วงเวลาหนึง่บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 12 จาก 56

 ตัวอยา่ ง ขั้นตอนการบันทกึ เสยี ง  ไมโครโฟน จะแปลงคลื่นเสยี งในอากาศ เป็นสญั ญาณแอนะลอ็ ก  การด์ เสยี ง จะแปลงสัญญาณแอนะลอ็ กไปเป็นสญั ญาณดิจิทลั  คอมพิวเตอร์ ทาการประมวลผลหรือบันทึกข้อมูลบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 13 จาก 56

 ตัวอย่าง ขัน้ ตอนฟังเสียงด้วยคอมพิวเตอร์  คอมพวิ เตอรจ์ ะสง่ สญั ญาณดจิ ทิ ลั มายงั การด์ เสยี ง  การ์ดเสียง แปลงสญั ญาณดิจิทัลเป็นสญั ญาณแอนะล็อก  ลาโพง ทาหน้าที่แปลงสญั ญาณแอนะล็อกไปเปน็ คลน่ื เสยี งในอากาศบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 14 จาก 56

 Sampling rate, bit per sample, และ bit rate  สัญญาณแบบดจิ ิทัลทีไ่ ม่ตอ่ เนื่องสามารถใชแ้ ทนสัญญาณแอนะลอ็ ก ทต่ี ่อเน่ืองได้ แต่จะแทนได้เหมือนจริงมากหรือนอ้ ยนั้น ขึ้นอยู่กับ : ▪ 1) \"ความละเอยี ดการแทนขอ้ มูล\" (bit per sample) ▪ 2) \"ความถ่ใี นการเก็บขอ้ มูล\" (sampling rate หรือ sample/s)บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 15 จาก 56

 เสียงดจิ ิทลั ทค่ี ณุ ภาพดี เช่น เสยี งทีเ่ กดิ จากซีดเี พลงหรอื ซดี อี อดโิ อ จะใช้ มาตรฐานไฟลเ์ สยี ง “44,100 Hz, 16 bit, stereo” ซ่งึ มีความหมาย ดังน้ี : ▪ 1) 44,100 Hz (หรือ 44,100 sample/s) คอื เก็บขอ้ มลู 44,100 ครั้งตอ่ วนิ าที ▪ 2) 16 bit (หรือ 16 bit per sample) หมายความวา่ “ใช้ 16 bit สาหรับเกบ็ หนึ่งขอ้ มลู เสยี ง” ▪ 3) Stereo หมายถงึ มี 2 ช่องสญั ญาณ (ซา้ ยกับขวา) ▪ 4) ดังนน้ั ค่า bit rate ซึง่ กค็ อื “จานวน bit ใน 1 วินาที” จะเท่ากับ 1,411.2 kbit/s (มาจาก 2 ช่องสัญญาณ x 44,100 samples/วนิ าท/ี ชอ่ งสญั ญาณ x 16 bits per sample = 1,411,200 bit/s = 1,411.2 kbit/s)บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 16 จาก 56

 สรุป :▪ ไฟลเ์ สยี งทีม่ คี า่ “bit per sample” มากก็จะทาใหส้ ามารถเก็บ เสียงไดล้ ะเอยี ดข้นึ▪ ส่วนค่า “sampling rate” ยงิ่ มากก็ย่ิงสามารถเก็บคลนื่ ที่มี ความถสี่ งู ได้▪ ในการบันทึกเสยี งใหไ้ ด้คณุ ภาพ ควรเซ็ตคา่ sampling rate และ bit ตามมาตรฐานทใี่ ชใ้ นซดี อี อดโิ อ▪ มาตรฐานไฟล์เสยี งทีน่ ยิ มใชก้ นั ในส่อื มลั ตมิ เิ ดยี คุณภาพสูงอยทู่ ี่ 48,000 sample/s, 24 bitบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 17 จาก 56

 รปู แบบไฟลเ์ สยี งในระบบดจิ ทิ ลั (Digital Audio File Formats) ท่ีพบบอ่ ย  1) ไฟลเ์ สยี งแบบไม่บบี อดั (uncompressed audio formats) หรือ ไฟลเ์ สียงแบบดิบ ▪ เชน่ ไฟลเ์ สียงแต่ละไฟลใ์ นซดี ีเพลง (audio CD), WAV, และ AIFF; ▪ ไฟล์เสยี งมีขนาดใหญ่ที่สุดเพราะเปน็ ไฟลเ์ สยี งทีย่ ังไม่ถกู บีบอดับทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 18 จาก 56

 2) ไฟลเ์ สียงบีบอัดแบบแตไ่ ม่สูญเสยี (lossless compressed audio formats) ▪ เช่น FLAC (Free Lossless Audio Codec), Monkey's Audio (มี นามสกุล .ape), WavPack (.WV), TTA, ATRAC Advanced Lossless, Apple Lossless, MPEG-4, Windows Media Audio Lossless (WMA Lossless) ▪ เมอื่ ไฟล์เสียงดิบถกู บบี อดั ในลกั ษณะนแี้ ล้วอาจจะทาให้มีขนาดเล็กลง ประมาณครงึ่ หนงึ่ แตจ่ ะไมส่ ูญเสียคณุ ภาพใด ๆบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 19 จาก 56

 3) ไฟลเ์ สียงบบี อัดแบบสญู เสีย (lossy compressed audio formats) ▪ เชน่ MP3, Ogg Vorbis, Windows Media Audio Lossy (WMA lossy) ▪ โดยไฟลเ์ สยี งแบบดิบอาจจะถกู บบี อัดใหม้ ขี นาดประมาณ 1 ใน 10 ของ ไฟลต์ น้ ฉบบั เมอ่ื ถกู บีบอัดไปแล้วกจ็ ะสูญเสยี คุณภาพไปเลยบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 20 จาก 56

 ซอฟต์แวรด์ ้านเสยี ง  ซอฟต์แวรท์ ่ใี ชใ้ นการตัดต่อเสยี งทีเ่ หมาะสมกับผู้ใช้ทวั่ ไปคือ “ออดา ซติ ้ี (Audacity)” เพราะเปน็ ซอฟต์แวรฟ์ รแี ละโอเพนซอรส์ ที่ใชง้ าน งา่ ย และมคี วามสามารถเพยี งพอสาหรับการบันทกึ , ตดั ตอ่ , แตง่ , และแปลงไฟลเ์ สยี งชนิดตา่ ง ๆ  สาหรบั ผทู้ ่ที างานจรงิ จงั ในดา้ นดนตรีและเสยี งจะใชซ้ อฟตแ์ วรท์ ่ี เรยี กโดยรวมวา่ “digital audio workstation” ซง่ึ มีใหเ้ ลอื กใช้ มากมายทั้งที่เปน็ ซอฟตแ์ วร์แบบฟรีและโอเพนซอรส์บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 21 จาก 56

บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1

 มนุษยจ์ ะสามารถมองเหน็ สง่ิ ตา่ ง ๆ ได้กต็ อ้ งอาศัยแสง แสงและสเี ป็นสง่ิ ที่เก่ียวข้องกนั อย่างแยกไมอ่ อก หลกั การผสมสที ่ใี ช้ในคอมพิวเตอร์มีสองระบบหลกั ๆ คอื  1) การผสมสแี บบบวก  2) การผสมสแี บบลบบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 23 จาก 56

 1) การผสมสีแบบบวก (additive color model) เปน็ หลักการที่มาจากการผสมกันของแสง คลน่ื แสงพ้ืนฐานประกอบดว้ ย▪ แสงสีแดง (Red), แสงเขยี ว (Green), แสงนา้ เงิน (Blue)▪ เม่อื คลนื่ แสงเหล่านซี้ อ้ นทบั กันก็จะเกดิ การบวกของคลื่นแสง ผสมแสง RBG ด้วยความเข้มร้อยละ 100 : 100 : 100 จะไดค้ วาม สว่างมากทส่ี ดุ (สขี าว) ความเขม้ แสงเปน็ ศูนยท์ ัง้ หมด เกดิ ความมดื สนิท (สีดา) การทาให้เกดิ สอี ่นื ๆ ทาไดโ้ ดยการปรบั อตั ราความเขม้ ของ 24 จาก 56บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1

Additive color model 25 จาก 56บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1

 2) การผสมสแี บบลบ (subtractive color model)  เปน็ หลกั การทมี่ าจากการผสมของสารสีบนกระดาษ  สารสีท่เี ราคนุ้ เคยได้แก่ สีนา้ ดินสอสี เปน็ ต้น  สพี ื้นฐานประกอบดว้ ยสารสที ีม่ ี ▪ สีนา้ เงินแกมเขยี ว (Cyan), สีแดงแกมม่วง (Magenta), สเี หลือง (Yellow)  เมอ่ื CMY มาผสมกนั ดว้ ยความเข้มข้นรอ้ ยละ 100 : 100 : 100 ตามลาดบั กจ็ ะทาใหม้ องเหน็ เป็นสดี า  สว่ นการทาใหเ้ กดิ สอี น่ื ๆ ก็ทาไดโ้ ดยการปรบั ความเขม้ ขน้ ของ CMYบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 26 จาก 56

Subtractive color model 27 จาก 56บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1

 การเกบ็ ไฟล์รปู ภาพในคอมพิวเตอรท์ ่ีพบบอ่ ย  เช่น BMP, TIFF, JPEG, GIF, PNG และ SVG โดยไฟลเ์ หลา่ นีส้ ามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ สองรปู แบบใหญ่ ๆ คือ  1) raster graphics  2) vector graphicsบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 28 จาก 56

 1) Raster graphics หรอื bitmap  คือการใช้จดุ ภาพ (pixel) เรยี งกันท้ังในแนวนอนและแนวตง้ั ใหเ้ กดิ เป็นภาพ  แต่ละพกิ เซลล์จะเป็นระบบสี RGB แตล่ ะสจี ะมีความละเอยี ด 8 บติ  แตล่ ะพิกเซลล์สามารถแสดงสีได้ 8 x 3 = 24 บิตบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 Raster graphics 29 จาก 56

 1) Raster graphics หรือ bitmap (ตอ่ )  ภาพแบบ binary image หรือ 1-bit ในแต่ละพกิ เซลล์จะมสี ี ทแี่ ตกตา่ งกัน 2 สี คอื สีดากบั สีขาว  ภาพแบบ grayscale (ระดับเทา) 8-bit ในแตล่ ะพกิ เซลลจ์ ะ มีสที แี่ ตกตา่ งกันทั้งหมด 256 สีบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 30 จาก 56

ลนี ่า (นางแบบเพลย์บอย) ในแบบ binary image (1-bit), grayscale (8-bit), และ true-color (24-bit)บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 31 จาก 56

 1) Raster graphics หรอื bitmap (ตอ่ )  ไฟลภ์ าพแรสเตอรท์ ี่เราพบบ่อยในชีวติ ประจาวนั ไดแ้ ก่ :  1. BMP หรือ Microsoft Bitmap (นามสกุล .bmp, .dib) ▪ เปน็ รปู แบบไฟลภ์ าพแบบไม่ถูกบบี อดั ของไมโครซอฟต์ ▪ สามารถกาหนดขนาดภาพให้มคี วามกว้างหรือยาวเท่าไหร่ก็ได้ ▪ สามารถใช้โปรแกรมบบี อัด เช่น WinZip เพ่อื บบี อัดไฟลใ์ ห้มขี นาด เลก็ ลงได้บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 32 จาก 56

 1) Raster graphics หรอื bitmap (ต่อ)  2. TIFF หรือ Tagged Image File Format (นามสกุล .tiff, .tif) ▪ เป็นรปู แบบไฟลบ์ บี อัด (เปน็ ได้ทั้งบีบอัดแบบสญู เสยี และไม่ สูญเสยี ) ▪ เปน็ รูปแบบไฟลท์ นี่ ยิ มใชใ้ นวงการการพมิ พ์บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 33 จาก 56

 1) Raster graphics หรอื bitmap (ตอ่ )  3. JPEG (นามสกลุ .jpg, .jpeg) ▪ เปน็ รูปแบบไฟล์บบี อดั (เป็นได้ทง้ั บบี อัดแบบสญู เสยี และไม่ สญู เสยี ) ▪ เหมาะกบั การใชใ้ นการเกบ็ ภาพถา่ ย ▪ คณุ ภาพของภาพจะขนึ้ อยูก่ ับอตั ราการบีบอัด ▪ เหมาะกับการใช้งานบนอนิ เตอร์เน็ตบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 34 จาก 56

 1) Raster graphics หรอื bitmap (ตอ่ )  4. JPEG 2000 (นามสกลุ .jp2, .j2k, .jpf, .jpx, .jpm) ▪ เป็นรปู แบบไฟลท์ ีพ่ ฒั นาขึ้นมาให้มปี ระสทิ ธิภาพในการบบี อัด มากกว่า JPEG เวอรช์ นั เก่าบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 35 จาก 56

 1) Raster graphics หรือ bitmap (ตอ่ )  5. GIF ▪ เป็นรปู แบบไฟลบ์ บี อัดแบบไมส่ ูญเสยี แต่มขี นาดเลก็ ▪ ไมเ่ หมาะกับการเกบ็ ภาพถา่ ย หรือภาพทมี่ คี วามหลากหลายของสี เพราะมแี ค่ 256 สี ▪ เหมาะสาหรบั การเกบ็ รปู การต์ นู , ตราสญั ลกั ษณ์, และแผนภูมิ ▪ เป็นภาพเคลอื่ นไหวได้บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 36 จาก 56

 1) Raster graphics หรือ bitmap (ต่อ)  6. PNG (Portable Network Graphics; นามสกุล .png) ▪ เป็นรปู แบบไฟล์บบี อดั (เปน็ ได้ท้ังบีบอัดแบบสูญเสยี และไม่ สญู เสยี ) ▪ เดมิ ทถี ูกสรา้ งขน้ึ มาเพอ่ื ทดแทน GIF เนื่องจากปัญหาดา้ น สิทธบิ ัตรของ GIF ▪ เปน็ ท่ีนยิ มใชง้ านบนอินเทอรเ์ นต็ เชน่ เดียวกนั ▪ รูปแบบไฟล์ PNG ยังสามารถมีค่า color depth ได้หลายแบบบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 37 จาก 56

 2) Vector graphics (เวกเตอร์กราฟกิ )  คือไฟลภ์ าพทจ่ี ดั เก็บข้อมลู เปน็ ตัวแปรทางคณติ ศาสตรแ์ ละคาส่ังตา่ ง ๆ  ขนาดของไฟล์ขนึ้ อยกู่ บั จานวนของคาสง่ั และตัวแปรตา่ ง ๆ  ขอ้ ดี คอื คุณภาพของภาพไม่ข้ึนอยู่กับความละเอยี ด ภาพจะถกู ขยาย ให้ใหญแ่ คไ่ หนก็ได้ โดยคณุ ภาพไมล่ ดลง  เหมาะกับการเก็บภาพตราสัญลกั ษณ,์ ภาพที่ใชเ้ ปน็ ไอคอนของเว็บไซต์ , หรือภาพกราฟกิ ทีอ่ อกแบบโดยนักออกแบบกราฟิกบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 38 จาก 56

เปรียบเทียบระหว่างภาพเวกเตอร์ และภาพเดยี วกันท่ถี ูกแปลงให้เป็นบิทแมป ท่ีการขยาย 7 เท่าบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 39 จาก 56

บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1

 ขอ้ ความเกิดจากการนาอกั ขระ หลายตวั มาประกอบกัน อักขระประกอบดว้ ยตัวอักษร, ตัวเลข, และเครอ่ื งหมายสญั ลักษณ์ นยิ มเกบ็ ตามมาตรฐาน ASCII และ UTF-8 เช่น เก็บข้อมูลเป็นตัวอกั ษร I love computer. ในระบบมาตรฐาน การเก็บข้อมลู แบบ ASCII จะต้องแทนดว้ ยตวั เลขเรียงลาดับดงั ต่อไปนี้ I l o v e comp u t e r . 73 32 108 111 118 101 32 99 111 109 112 117 116 101 114 46บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 41 จาก 56

 นอกจากอักขระแล้ว ข้อความยงั มีองคป์ ระกอบอื่น ๆ ไดอ้ กี เชน่  แบบอักษร (font, ฟอนต์) หรือแมแ่ บบของตัวอกั ษร รวมถงึ อกั ขระ ดว้ ย  สไตล์ของตัวอักษร มี 4 รูปแบบ คือ ตัวปกติ “A” ตัวหนา “A” ตัว เอยี ง “A” และขดี เส้นใต้ “A” และสามารถผสมรูปแบบดังกล่าว เขา้ ด้วยกนั ได้บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 42 จาก 56

 1) ไฟลข์ ้อความแบบธรรมดา (plain text) ไฟล์ขอ้ ความธรรมดา เช่น ไฟล์ .txt ทีน่ ยิ มใช้บนวินโดวส์ TXT File สามารถสร้างดว้ ยโปรแกรม Notepad, EditPlus, Notepad++  ไมส่ ามารถแทรกรปู ภาพได้ 2) PDF (Portable Document Format) นามสกลุ .pdf สามารถเปดิ ดไู ฟล์ไดก้ ับทกุ ระบบปฏบิ ตั กิ าร PDF File ส่วนใหญ่แล้วไฟล์ PDF จะถกู สรา้ งออกมาเพ่ือใหน้ าไปแก้ไขไม่ได้บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 43 จาก 56

 3) Microsoft Word Documents  รปู แบบไฟล์สาหรบั งานพิมพเ์ อกสารบนโปรแกรDมOไCมFilโeครซอฟต์เวริ ด์ เชน่ .doc และ .docx 4) OpenDocument  (นามสกลุ .odt) เป็นรูปแบบไฟล์สาหรับงานพมิ พเ์ อกสาร และเปน็ ไฟล์มาตรฐานเปิด (open standard)  ใช้ในซอฟตแ์ วรโ์ อเพ็นซอรส์ เชน่ OpenOffice และ LibreOfficeบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 44 จาก 56

 สมองคนเราประมวลผลภาพได้เรว็ กวา่ ตวั หนังสือถงึ 60,000 เท่า Information (ขอ้ มูล) + Graphic (รปู ) นน่ั เองครับ อธบิ าย แบบเข้าใจง่าย ๆ เลย คือ “การนาข้อมลู ตา่ ง ๆ มาทาเปน็ รูป” การเอาตวั หนงั สอื มาแปะใส่กราฟฟิก = Infographicบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 45 จาก 56

 มีเปา้ หมายชัดเจนวา่ ตอ้ งการส่อื อะไร ทาเปน็ กราฟฟิกแลว้ เขา้ ใจงา่ ยกวา่ อ่านตัวหนงั สอื จรงิ ๆ ขอ้ มูลไมซ่ ับซ้อนเกินไปจนทาเปน็ กราฟฟกิ แลว้ จะอ่านยากบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 46 จาก 56

 เลา่ เร่อื งอะไรบ้าง? เราจะเอาตัวเลขสถติ มิ าจากไหน? ขน้ั ตอนนใ้ี ช้เวลาเยอะพอสมควร เพราะบางทขี อ้ มูลกม็ า จากหลายท่ี เราตอ้ งเอามารวมกนั บา้ ง เอามาเช็คบา้ งวา่ ข้อมูลหลายแหง่ เหมือนกนั มยั้บทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 47 จาก 56

 สื่อ “ขอ้ ความ” อะไรออกไป? จะนาเสนอผา่ น Flow / Narrative แบบไหน? ขน้ั ตอนนีส้ าคัญมาก เชยี ร์แบรนดใ์ ดแบรนดห์ นงึ่ กต็ อ้ งคดิ ว่าเราจะสือ่ อยา่ งไรให้แบรนดน์ น้ั ดูดี ซงึ่ อาจจะตอ้ งใชค้ วาม ชว่ ยเหลือจากคนทางานดา้ น Creative เข้ามาช่วยบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 48 จาก 56

 สื่อ “ขอ้ ความ” อะไรออกไป? จะนาเสนอผา่ น Flow / Narrative แบบไหน? ขน้ั ตอนนีส้ าคัญมาก เชยี ร์แบรนดใ์ ดแบรนดห์ นงึ่ กต็ อ้ งคดิ ว่าเราจะสือ่ อยา่ งไรให้แบรนดน์ น้ั ดูดี ซงึ่ อาจจะตอ้ งใชค้ วาม ชว่ ยเหลือจากคนทางานดา้ น Creative เข้ามาช่วยบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 49 จาก 56

 Designer ในการทาใหไ้ อเดยี ออกมาเป็นกราฟฟิกของจรงิ นิยมใช้ Adobe Illustrator กัน เพราะสามารถทางาน ออกมาเปน็ Vector นาไปใช้ในเวบ็ ก็ได้ พิมพ์กย็ งั คมชัดบทที 5 เทคโนโลยสี ารสนเทศสรา้ งสรรค์ 1 50 จาก 56


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook