Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore _chapter_09

_chapter_09

Published by saritchai, 2019-06-14 00:11:21

Description: _chapter_09

Search

Read the Text Version

คอมพวิ เตอรแ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ สาธารณสุขศาสตร ์ วทิ ยาลยั การ สาธารณสุขสิรนิ ธร จงั หวดั ชลVeบr. 1ุร.0 ี

 พาณชิ ยอ เิ ลก็ ทรอนิกส  ประเภทของพาณชิ ยอเิ ลก็ ทรอนกิ ส  กระบวนการ ซอ้ื สนิ คา ดวยรูปแบบพาณชิ ยอ ิเลก็ ทรอนกิ ส  การชาํ ระเงนิ กบั การพาณชิ ยอิเลก็ ทรอนกิ ส  ภยั คกุ คามตอพาณชิ ยอ ิเลก็ ทรอนิกส  กลโกง การปอ งกนั และวธิ กี ารแกป ญหาจากการใชบ ริการพาณชิ ย อิเลก็ ทรอนิกส  จริยธรรมและมารยาทในการใชบ รกิ ารพาณชิ ยอิเล็กทรอนกิ ส  ขอดี และขอ เสียของพาณชิ ยอ ิเล็กทรอนกิ ส 2 จาก 70



 การใชง านเครอื ขายอนิ เทอรเ น็ตมปี ริมาณเพมิ่ สูงขึน้ ตลอดจน ความกาวหนา ของเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารทก่ี วา งไกล  ทําใหผ ูค นในพนื้ ทีต่ า ง ๆ ใชงานระบบอนิ เทอรเ น็ตไดอ ยางกวา งขวาง ไรพ รมแดน  มีผูท่นี ําเทคโนโลยอี นิ เทอรเ น็ตมาสรา งโอกาสทางธรุ กิจ  ทาํ ใหเ กิดพฒั นาการในเทคโนโลยีทีใ่ ชป ระกอบการทาํ ธรุ กิจ เตบิ โตข้นึ จนกลายเปนการคา ผา นทางชอ งทางอนิ เทอรเ นต็ หรือทีเ่ รยี กวา พาณิชยอ ิเลก็ ทรอนกิ ส (Electronic Commerce : E-Commerce) 4 จาก 70

 การซอ้ื ขายสินคา บางครง้ั สามารถทําผานเวบ็ ไซตท่ีเปนตลาดกลาง  ตวั อยางเชน เว็บไซตอ เี บย (www.ebay.com) เปนเวบ็ ไซตต ลาดกลางท่ีมีขนาดใหญ ระดบั โลก มผี สู นใจทไ่ี มใ ชเ จา ของเว็บไซตเ ขา ไปขายและซ้อื สนิ คาเปน จาํ นวนมาก 5 จาก 70

 นอกจากน้ยี ังมีการขายสนิ คาประเภทซอฟตแ วร หรือเกมส ซึง่ อาศัยการดาวนโ หลดแอพพลเิ คชน่ั จาก App Store ของ แอบ เปล หรือ จาก Google Play ของ กเู กลิ 6 จาก 70

 ความสาํ คัญของพาณชิ ยอเิ ลก็ ทรอนกิ ส พจิ ารณาไดจากคุณสมบัตขิ อง พาณชิ ยอิเลก็ ทรอนกิ ส 8 ประการ ดงั น้ี  1. ใชง านไดท ุกท่ี ทกุ เวลา (Ubiquity)  2. เขา ถึงไดทว่ั (Global reach)  3. การมมี าตรฐานสากล (Universal standards)  4. การรองรบั สื่ออยางครบถวนสมบูรณ (Richness)  5. การมปี ฏสิ ัมพนั ธ (Interactivity)  6. การมีขอ มูลทร่ี องรับการใชงานมาก (Information density)  7. การตอบสนองตอความตอ งการของแตละบคุ คล (Personalization/Customization)  8. การมเี ทคโนโลยสี งั คม (Social technology) 7 จาก 70

 ธรุ กจิ อเิ ล็กทรอนิกส (E-Business) หมายถึง การดาํ เนินกจิ กรรม ทางธรุ กิจ ตา ง ๆ ผานส่อื อเิ ล็กทรอนิกส การใชคอมพวิ เตอร เทคโนโลยสี ารสนเทศ การส่ือสาร และอนิ เทอรเ น็ต เพ่ือทําให กระบวนการทางธรุ กิจมีประสทิ ธภิ าพ และตอบสนองความ ตอ งการของคูคาและลูกคาใหตรงใจและรวดเรว็ เพอื่ ลดตน ทนุ และขยายโอกาสทางการคาและการบริการ 8 จาก 70

 ธรุ กิจอเิ ล็กทรอนกิ สส ามารถแบงออกเปน 3 ลักษณะ ไดแก  1. การตดิ ตอส่อื สารและประสานการทาํ งานรว มกัน (Communication and Collaboration)  2. การพาณิชยอิเลก็ ทรอนกิ ส (Electronic Commerce)  3. ระบบธรุ กจิ ภายในองคการ ( Internal Business System) 9 จาก 70

 พาณชิ ยอเิ ลก็ ทรอนิกส (E-Commerce)  World Trade Organization (WTO) ใหค วามหมายวา “การผลติ การ กระจาย การตลาด การขาย หรือการขนสง ผลิตภณั ฑ และบริการโดยใชส ื่อ อิเลก็ ทรอนกิ ส”  Organization for Economic Cooperation and Development (OECD) ใหความหมายวา “ธรุ กรรมทุกประเภททเ่ี กี่ยวของกับกจิ กรรมเชิง พาณิชย ท้งั ในระดับองคก ารและสว นบุคคล บนพ้ืนฐานของการประมวลและ การสง ขอ มูลดจิ ิตอลท่มี ที ง้ั ขอ ความเสียงและภาพ” 10 จาก 70

 สรปุ ไดว า พาณชิ อเิ ล็กทรอนิกส หมายถึง การทําธรุ กรรมทกุ รปู แบบ (การซอ้ื ขายสินคา บริการ, การชาํ ระเงนิ , การโฆษณา, และการ แลกเปลีย่ นสารสนเทศ) ทีก่ ระทาํ ผานสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส เชน โทรศัพท โทรสาร โทรทัศน เครอื ขายอนิ เทอรเ นต็ 11 จาก 70



 พิจารณาในมมุ มองของผูจาํ หนา ยสนิ คา สามารถดําเนินการได 2 รูปแบบ  1. มรี านจําหนายสินคา และขายผา นเวบ็ ไซตด วย (Click and Mortar) ▪ ผจู ําหนายสนิ คา มีการเปดรานจําหนายสินคาอยจู ริง ▪ มเี วบ็ ไซตเปนอีกชองทางในการทําการคา ▪ มีการเชือ่ มโยงทัง้ สองทางเขาดวยกนั ▪ ขยายความสามารถของรา นคาใหเขาถงึ ผซู ้ือไดมากขึ้น ▪ สรางความนา เชอื่ ถอื ใหกบั ลูกคา ไดมาก ▪ เชน เวบ็ ไซตเคเอฟซี (www.kfc.co.th) เว็บไซตซีเอ็ด(www.se-ed.com) เปนตน 13 จาก 70

 2. มีการจาํ หนา ยสินคาผานทางเว็บไซตเ พียงอยางเดยี ว (Click and Click) ▪ ผจู ําหนายสนิ คา มเี พียงเว็บไซตเพียงชอ งทางเดยี วในการทาํ การคา ▪ เชนเวบ็ ไซตTarad (www.tarad.com) เปนตน ▪ สะดวกสําหรบั ผทู เี่ รมิ่ ลงทุนเพราะใชตนทุนนอ ย และใชบ ุคคลนอ ยกวา 14 จาก 70

 พิจารณารปู แบบในมุมมองของความจาํ เปนในการทต่ี องมีเวบ็ ไซตในการทํา พาณชิ ยอ ิเลก็ ทรอนิกส สามารถพิจารณาไดเ ปน 2 รูปแบบ  1. การทําพาณชิ ยอ เิ ลก็ ทรอนิกสแบบไมมเี วบ็ ไซตเ ปนของตนเอง ▪ เปน การขายสนิ คาโดยอาศัยบรกิ ารของเว็บไซตต ลาดกลาง เชน Pantip Market ▪ ผจู ําหนา ยสินคา มคี าใชจา ยนอ ย หรอื อาจไมมคี าใชจ า ยใด ๆ ▪ เว็บไซตตลาดกลางมกั จะเปน ที่รูจกั ของผซู ้อื อยแู ลว ทาํ ใหไ มตอ งเสยี เวลาในการหาผูซ ้ือ ▪ การขายสนิ คา ผา นเวบ็ ไซตตลาดกลางมขี อจาํ กดั ในเร่ืองระยะเวลาทแ่ี สดงขอ มลู ตอ ลกู คา พืน้ ทใ่ี นการโฆษณา เงอ่ื นไขบรกิ ารของตลาดกลาง รวมถึงถา ผูซ ื้อสนใจจะซ้อื สินคาเพิม่ เตมิ จะทําไดย าก 15 จาก 70

 2. การทําพาณชิ ยอ ิเลก็ ทรอนิกสแบบมีเวบ็ ไซตเปนของตนเอง ▪ ผจู าํ หนายสนิ คามกี ารสรางเว็บไซตข องรา นคาของตนเอง ▪ มีหลากหลายลักษณะเชน การพัฒนาเว็บไซตข นึ้ มาโดยเฉพาะ การเชาบริการผู ใหบ รกิ ารเวบ็ ไซต เปน ตน ▪ มีอสิ ระในการจดั การขายสนิ คา มากกวาเนอ่ื งจากสามารถควบคมุ ไดด ว ยตนเอง ▪ ถา หากเปน เวบ็ ไซตเ ปดใหบรกิ ารใหมก ็ยากทจ่ี ะมลี กู คารจู กั ▪ ดงั นน้ั ผูจ ําหนายสนิ คา บางรายจงึ มเี วบ็ ไซตเ ปน ของตนเอง แตใ นขณะเดยี วกันก็ โฆษณาแนะนาํ สนิ คา ผา นทางเวบ็ ไซตต ลาดกลางดว ย 16 จาก 70



 จากหลักการของคูค าเมอื่ พิจารณาความเกยี่ วขอ งกับการ พาณิชยอ เิ ลก็ ทรอนกิ สแ ลวจะแบงกลมุ บุคคลที่มีความเก่ยี วขอ ง ออกเปน 3 กลุมไดแก  กลมุ ธรุ กจิ (Business)  กลมุ รฐั บาล (Government)  กลุมประชาชน (Citizen) ผูบ ริโภค (Consumer) หรอื ลกู คา (Customer) 18 จาก 70

 ความสมั พันธระหวา งกลุมบุคคลท่ีเกยี่ วขอ งกนั ในทางพาณชิ ย อเิ ล็กทรอนิกส มี 5 ลักษณะดังน้ี  1. Business to Consumer หรอื Business to Customer (B2C) ▪ เปนลกั ษณะท่ีกลมุ ธุรกิจใหบรกิ ารขายสนิ คาแกลูกคาหรอื ผบู รโิ ภค ▪ เปน ประเภททีพ่ บไดม ากที่สุด ▪ ตวั อยางเชน เวบ็ ไซต Zalora (http://www.zalora.co.th) ซึ่งเปน เว็บไซตท่ี จําหนายสนิ คาเครื่องประดับเครื่องแตง กายใหกบั ลูกคา ท่วั ไป 19 จาก 70

 2. Business to Business (B2B) ▪ เปนลกั ษณะทีก่ ลมุ ธรุ กจิ ใหบริการขายสินคา กับกลุม ธุรกจิ ดวยกัน ▪ สว นใหญจ ะเปนลกั ษณะขององคก ารขนาดใหญท ี่มกี ารซอ้ื ขายวัตถุดบิ ระหวา ง กัน เชน ธุรกิจซีพอี อลล ธุรกจิ Microsoft ธรุ กจิ Cisco เปนตน  3. Business to Government (B2G) ▪ เปน ลกั ษณะที่กลุม ธุรกจิ ใหบริการกับกลมุ รฐั บาล ▪ อาํ นวยความสะดวกแทนหนว ยงานภาครัฐที่จะตอ งเปน ผกู ารดาํ เนนิ เองทัง้ หมด ▪ ใหกลุมธุรกิจเอกชนดาํ เนนิ การลงทนุ เทคโนโลยตี าง ๆ แทนให ตัวอยางเชน บริษัท กสท โทรคมนาคม จาํ กดั (มหาชน) เปน ผใู หบริการในการซ้อื จดั จา งใน ลักษณะการประมลู ดวยวิธกี ารทางอิเล็กทรอนกิ ส ใหห นว ยงานภาครฐั 20 จาก 70

 4. Government to Citizen (G2C) ▪ เปน ลักษณะที่กลมุ รัฐบาลใหบรกิ าร (ฟรี) กับกลมุ ประชาชน ผา นทางระบบ อเิ ล็กทรอนิกส เวบ็ ไซตกรมสรรพากร ใหบริการยื่นแบบ-ชําระภาษีออนไลน (http://rdserver.rd.go.th) 21 จาก 70

 5. Consumer to Consumer (C2C) ▪ เปนลกั ษณะทีก่ ลุม ผูบ รโิ ภคขายสนิ คา ใหกบั กลุม ผูบ รโิ ภคดวยกนั เอง ▪ สวนใหญจ ะเปน การคาปลีก สนิ คาทําเอง หรอื สินคามอื สอง ▪ อาศัยเว็บไซตต ลาดกลางในการขายสินคา ▪ เชน การซื้อขายสินคาดว ยกันเองของผู บรโิ ภคโดยผา นบริการของเวบ็ ไซต Pantip Market (http://www.pantipmarket.com) 22 จาก 70

 ประเภทสินคา และบริการทพ่ี บของพาณิชยอเิ ล็กทรอนิกส  1) กลุมสนิ คา ที่จบั ตองได ▪ เปน สินคา ในรูปวัตถุสิง่ ของ เชน นาฬิกา โทรศัพท หนงั สอื เปน ตน ใน ▪ ผูซื้อจะตอ งอาศยั การสังเกตและความรอบคอบตอ ผจู ําหนา ย ▪ ผซู ้อื ไมสามารถจบั ตองหรือเหน็ สนิ คาจรงิ กอ นส่ังซื้อ ▪ มีโอกาสไดส ินคาไมต รงกบั ความตอ งการ ▪ ตองอาศยั การจัดสง มายังลกู คาผา นชอ งทางตาง ๆ ท่ผี จู ําหนายไดจ ดั เตรียม ไว 23 จาก 70

 2) กลุมสนิ คาท่จี ับตองไมไ ด ▪ ใหผูซ ือ้ ทําการดาวนโ หลด ภายหลงั การชาํ ระเงิน ▪ สนิ คาไดแ ก เกมส เพลง หรอื โปรแกรมตาง ๆ เปนตน ▪ ขอดี อาจมตี ัวทดลองในลักษณะแชรแ วร (Share Ware) ไวใหท ดลอง ใชกอนตามเงือ่ นไข หากพึงพอใจคอยตดิ ตอ ซอ้ื ในภายหลงั ▪ สิง่ ทตี่ อ งระวังการซอื้ สนิ คา คือ การเช่อื มตอสญั ญาณเพอ่ื ดาวนโ หลด เน่ืองจากบางคร้งั ถา ผซู ้ือดาวนโ หลดดวยระบบโทรศัพทอ าจจะมี คาบริการโทรศัพทในการดาวนโ หลดเปนจํานวนมาก เนือ่ งจากไฟลท่ี มขี นาดใหญแ ละสัญญาณอาจไมคมชัด 24 จาก 70

 3) กลุมบรกิ าร ▪ ไมไดขายสนิ คา แตเนน ใหบริการ เชน บริการจองตวั๋ ภาพยนตร จอง ตว๋ั คอนเสริ ต จองซื้อทัวร หรือตว๋ั เคร่ืองบนิ เปน ตน ▪ การบริการเหลานีผ้ ูใชบรกิ ารจะตอ งตรวจสอบผใู หบ ริการกอนถงึ ความนาเช่อื ถือ การรบั ประกนั บริการ รวมถงึ เงอ่ื นไขความรับผดิ ชอบ ของการใหบริการ 25 จาก 70



 ขน้ั ท่ี 1 การคน หา เปน การคนหาเว็บไซตแ ละระบุเว็บไซดทต่ี รงกับความ ตอ งการในการเลอื กซอ้ื ของลกู คา  ขน้ั ที่ 2 การเลอื ก เปน ข้ันตอนทลี่ ูกคาไดเหน็ คุณสมบัติของสินคาในดา น ตา ง ๆ เชน ภาพสนิ คา รายละเอียดสนิ คา คุณภาพสินคา และราคาสินคา เปน ตน  ข้ันท่ี 3 การซือ้ สินคา และบรกิ ารทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส หลังจากลูกคาเลอื ก สินคาแลว ก็จะระบุวธิ กี ารจดั สงและการชําระเงนิ 27 จาก 70

 ขนั้ ที่ 4 การจัดสงสินคา หลังจากท่ีลกู คา ไดซือ้ สนิ คา ผูจ ําหนา ยจะ ดาํ เนินการจัดสงสนิ คาซึ่งทงั้ นข้ี น้ึ อยูก บั ลักษณะของสนิ คาหรอื บริการที่ ลูกคา ซ้อื  ถาเปนสนิ คา ในกลมุ ทจ่ี บั ตองไมได ลกู คา จะสามารถดาวนโ หลดนําไปใชห รือ ตรวจสอบผลการใหบรกิ ารได  ถาเปนสนิ คา ที่จบั ตองไดผ ูจําหนายจะดาํ เนินการจัดสง ตามวิธกี ารและสถานทจ่ี ัดสง ท่ีลกู คา ไดแ จงไว 28 จาก 70

 โดยการจัดสงน้นั ผจู าํ หนา ยอาจใชบรกิ ารจากผใู หบ ริการในการจัดสงซึง่ มหี ลาย บรษิ ัท เชน ไปรษณยี ไ ทย DHL หรือ FedEx เปน ตน บรษิ ทั เหลา นี้มี กระบวนการใหผ ูข ายและผูซ้อื ตดิ ตามการจดั สง สนิ คา 29 จาก 70

 ขนั้ ท่ี 5 การบรกิ ารหลงั การขาย เปน ขั้นตอนในการใหค วามคมุ ครองและ สรางความไววางใจใหกบั ลูกคา โดยท่ลี กู คา สามารถติดตอ คืนสนิ คา เปลีย่ น สนิ คา ซอ มแซมสินคา หรือขอคาํ ปรึกษาในเรอ่ื งสินคา บรกิ ารตาม ระยะเวลาขอ ตกลง  ข้ันที่ 6 การประเมนิ ผลหลงั การขาย อาจมชี อ งทางในการประเมนิ ผลหลงั การขาย โดยอาจจะเปน การจัดอันดบั เรตตงิ้ ของผจู ําหนาย ความชอบใน สนิ คา ซ่ึงผซู อ้ื จะเปน ผูทําการประเมนิ ซึ่งสง ผลดตี อลกู คา รายอื่น ๆ ทมี่ ี ความสนใจจะไดเ ขามาพจิ ารณาการประเมินผลของลูกคาทีเ่ คยใชบรกิ าร และเปนผลดตี อรา นคา 30 จาก 70



 กระเปาเงนิ อิเลก็ ทรอนกิ ส (Electronic Wallets)  เปน แนวคิดในการสรา งขอ มลู ในระบบอินเทอรเ นต็ ของลกู คา แตล ะคน ใหเ สมอื นเปน กระเปา เงนิ ตามปกติ  ภายในระบบประกอบดว ยขอ มูล เชน ขอ มลู ตัวบุคคลเจา ของระบบ ขอมูลที่อยู ขอมลู บัตรเครดติ เงินสดอิเลก็ ทรอนกิ ส (Electronic cash) เปนตน  เงนิ สดอเิ ลก็ ทรอนิกส คือ จํานวนเงนิ ทีค่ อมพวิ เตอรใ ชใ นการคาํ นวณ การเก็บ และการใชก ารจายผา นทางพาณชิ ยอ เิ ลก็ ทรอนกิ ส 32 จาก 70

 กระเปาเงินอิเล็กทรอนกิ ส (Electronic Wallets) (ตอ )  สามารถทาํ ได โดยลูกคา จะเปดบัญชีกับธนาคาร และกาํ หนด เอกลักษณขึ้นมาเอง จากนั้นจะไดร ับเงินสดอเิ ลก็ ทรอนกิ สม า  เมอื่ ลกู คาตองการถอนเงนิ ออกจากธนาคาร หรือซ้อื สนิ คา ก็สามารถ ทําผา นอนิ เทอรเ นต็ โดยแสดงสงิ่ ทีเ่ ปน เอกลักษณ เพอื่ ตรวจสอบ  สําหรับการเลอื กซ้อื สนิ คา ของลูกคา เว็บไซตไ ดมกี ารจดั เตรียมหนา การชาํ ระเงนิ ทสี่ ามารถเชอื่ มโยงกับกระเปา เงนิ อเิ ลก็ ทรอนิกส 33 จาก 70

 เช็คอเิ ล็กทรอนกิ ส (Electronic Checks)  มพี ้ืนฐานจากเชค็ ท่ีเปน กระดาษ แตไดมีการปรับเปลี่ยนโดยนาํ เทคโนโลยีมาประกอบการทาํ งานใหม ีความสะดวกข้นึ ▪ เชน เทคโนโลยลี ายมือช่อื อิเลก็ ทรอนิกส (Digital Signatures) นาํ มาใช ตรวจสอบขอมูลการชาํ ระเงินของผซู ้อื สินคาแทนการลงชื่อกาํ กบั บนเช็ค แบบปกติ ซึ่งจะเปน การรบั รองผชู าํ ระเงิน รบั รองธนาคารของผชู าํ ระเงนิ และบัญชีธนาคาร 34 จาก 70

 การชําระผา นบรษิ ทั ไปรษณยี ไทย  บริษทั ไปรษณยี ไ ทยทําหนา ทเ่ี ปนตวั กลางในการจดั สง เงนิ หรอื เอกสารแทนเงิน จากผูซอ้ื ไปยงั ผจู ําหนา ย  มีบรกิ ารทห่ี ลายลักษณะ เชน บริการธนาณัติ บริการต๋วั แลกเงิน บริการ ไปรษณยี เ กบ็ เงิน รวมไปถึงบรกิ ารเพย แอท โพสท  การใชบ รกิ ารทางการเงนิ ของบริษัทไปรษณยี ไทยปจ จุบันมีความสะดวก เน่อื งจากมีหนวยใหบ รกิ ารในพืน้ ท่ตี าง ๆคอนขางมาก 35 จาก 70

 การชําระเงนิ ผา นธนาคาร  การใชบ ริการชําระคา สนิ คา ผานทางธนาคารสวนใหญอ ยใู นรูปของการโอนเงิน  ลูกคาตอ งทราบหมายเลขบญั ชี หรอื ขอมูลผจู ําหนา ยกอนจึงจะชาํ ระเงนิ ได  มคี วามสะดวก เนือ่ งจากในปจจุบนั มีบรกิ ารของธนาคารออนไลน หรอื ตู ATM มากข้นึ  มคี วามเสี่ยง ถา หากผซู อ้ื โอนเงินไปใหกอ นแตผูจาํ หนายไมสงสินคามาให 36 จาก 70

 1. บัตรเครดิต (Credit Card)  เปนบัตรท่ีมีการใหวงเงนิ พิเศษกบั ผูถือบตั ร ใชในการซอื้ สินคา และเมอ่ื ถึงกําหนดจา ยเงิน จึงจายเงิน ซึ่งสามารถจายแบบเต็มจาํ นวนหรือ บางสว นก็ไดต ามแตเ งือ่ นไขของบรษิ ัทผอู อกบตั ร  ความปลอดภยั ของขอ มูลทมี่ ีการถายโอนทางอนิ เทอรเ น็ตยงั เปนที่วติ ก สาํ หรับลกู คา  ผูใหบรกิ ารบัตรเครดิต ไดแก บรษิ ทั วซี าและมาสเตอรก ารดก็ไดใชวธิ กี าร รกั ษาความปลอดภยั ท่ีเรียกวา SET (Secure Electronic Transaction) ทําใหมคี วามม่ันใจในการใชบรกิ ารไดม ากย่ิงข้ึน 37 จาก 70

 2. บัตรเดบติ (Debit Card)  เปน บตั รทม่ี กี ารเช่ือมโยงวงเงนิ เขา กับบญั ชีเงนิ ฝาก  ในการใชบ ตั รในการซือ้ สินคา จะตองมเี งนิ คงเหลือในบัญชีและเมื่อซ้ือ สินคาก็จะตัดวงเงินจากบญั ชีโดยทนั ที 38 จาก 70

 3. บตั รชาจต (Charge Card)  เปน บัตรที่ใชซ ือ้ สนิ คากอนแลว จายภายหลัง  คลายบัตรเครดิต  ไมม ีการจํากัดวงเงนิ ในการใชจ าย และเมื่อถึงกาํ หนดชําระเงนิ จะตอ ง จายเตม็ จํานวน เชน บตั ร American Express เปน ตน 39 จาก 70

 1. PayPal (www.paypal.com)  เปนบริษัทระดบั โลกทเี่ ปนตัวกลาง ใหบริการโอนเงินและรับชาํ ระเงนิ ใน การซือ้ สนิ คา 40 จาก 70

 2. PaySbuy (www.paysbuy.com)  เปน บริษทั ทใี่ หบ ริการคลา ยคลงึ กบั PayPal แตเปนบรษิ ัทในประเทศ ไทย 41 จาก 70

บทที่ 3 ซอฟตแ์ วร ์(Software)

 ความปลอดภยั (Security)  การใชง านพาณชิ ยอิเลก็ ทรอนกิ สจะมโี อกาสสมุ เสยี่ งตอ ความ ปลอดภยั ของการใชงาน เชน การจารกรรมขอมูลบตั รเครดิต เปน ตน  ทรพั ยส ินทางปญ ญา (Theft of intellectual property)  การละเมิดทรพั ยสนิ ทางปญ ญา เชน การละเมดิ ลขิ สทิ ธเ์ิ พลงออนไลน การขายสนิ คา ปลอม การปลอมแปลงเครือ่ งหมายการคา เปนตน  การซื้อขายดงั กลา วเปน การกระทําทีผ่ ดิ กฎหมาย และสินคา ทเ่ี ปน ของปลอมแปลงนั้น อาจสงผลเสียตอผูบรโิ ภค 43 จาก 70

 กลโกงทางอนิ เทอรเนต็ (Fraud)  มหี ลายลักษณะ เชน ▪ การฉอโกงทางโทรศัพท โดยการหลอกคืนภาษีและใหท าํ ธรุ กรรมผา นตูA TM ▪ การสงขาวสารปลอมผา นทางอเี มล (Phishing) โดยหลอกใหผ ใู ชเขา ใจวา มาจากองคการทน่ี า เช่ือถือ ▪ สรางเวบ็ ไซตปลอมที่เหมือนกบั เวบ็ ไซตจ รงิ แลว หลอกใหผใู ชงานกรอกขอ มลู สว นตัวหรือขอมูลทม่ี ีความสาํ คัญลงไป ▪ การโกงของมอื สองออนไลน เชน การสรางเวบ็ ไซตเพือ่ ขายสินคา แตไมมี สนิ คา อยูจ ริง ๆ ซ่ึงถาลูกคา จะติดตามกท็ าํ ไดย าก เพราะขอมลู ที่ปรากฏทาง เวบ็ ไซตอ าจจะเปนขอ มูลปลอม เปนตน 44 จาก 70

 การคกุ คามความเปน สว นตวั (Invasion of privacy)  การคุมคามความเปน สวนตวั เชน ▪ สแปมเมล (Spam Mail) เปน ประเภทหนึง่ ของอเี มลขยะ จุดประสงคข องผู สงสแปมเมล ตองการโฆษณาสินคาหรือบรกิ ารตาง ๆ ไปหาคนจํานวนมาก โดยผูสงไมจ าํ เปนตอ งรูจักเปา หมายมากอน  การละเมิดความเปน สว นตัวของผบู รโิ ภค เชน ▪ การดักฟงโทรศัพท หรอื การบันทกึ พฤติกรรมการเขา ใชง านเวบ็ ไซตของ ลกู คา เพ่อื นําไปใชป ระโยชนท างการคา เปนตน 45 จาก 70

 ความไมสามารถเขา ถงึ อนิ เทอรเน็ต (Lack of internet access)  การพาณชิ ยอ เิ ลก็ ทรอนกิ สจําเปน ตองอาศยั เครอื ขายอินเทอรเน็ต ถา หากพื้นที่ในการใหบ รกิ ารของอินเทอรเนต็ ไมครอบคลมุ จะสงผลตอ การทาํ ธุรกจิ รวมถึงความคมชดั หรอื ความแรงของสัญญาณ อนิ เทอรเ น็ตกส็ ง ผลตอ การทําธุรกจิ พาณิชยอ ิเลก็ ทรอนิกส 46 จาก 70

 ขอบเขตอาํ นาจของกฎหมายและภาษี (Legal jurisdiction and taxation)  การพาณิชยอเิ ลก็ ทรอนกิ ส แมจะเปน การทําการคา ไรพ รมแดน แตใน บางประเทศจะมกี ารกาํ หนดขอกฎหมายควบคมุ หรอื หา มจาํ หนา ย สินคาบางอยา ง เชน อาวธุ หรือยา เปน ตน รวมไปถงึ อาจมีการ กาํ หนดอัตราภาษตี าง ๆ ไว เพอื่ ควบคุมการจําหนายสนิ คา 47 จาก 70

บทที่ 3 ซอฟตแ์ วร ์(Software)

 การหลอกลวงใหเ ปด เผยขอมลู ทางการเงินหรือบัตรเครดิต  อาจพบไดในกรณที ่ีลูกคาซือ้ สินคา จากเวบ็ ไซตท่ไี มนาเชอ่ื ถอื หรือ เวบ็ ไซตที่ไมมีวธิ ีการปองกันในการสง ขอมูลทางการเงิน  การเปด รานคาปลอม  โดยอาจเปดเวบ็ ไซตเพ่อื ดึงดูดลูกคาใหม หลอกใหล ูกคา โอนเงนิ แตไม สง สนิ คา ไปให  การสง สินคาปลอม  สนิ คา ไมถกู ลขิ สิทธิ์ หรอื สนิ คาที่ไมต รงกับที่ส่งั ซ้ือ 49 จาก 70

 การหลอกประกาศขายสินคา  ใชขอ ความประกาศวา เปน สินคา ราคาถูก  บางครั้งรานคามกี ารใหทอ่ี ยูป ลอมเพ่ือความนาเชอื่ ถือ และหลอกใหโอน เงนิ ไปให  สว นใหญม ักพบในกลุมสนิ คาราคาสงู เชน กลอ งถา ยรูป โทรศัพท สมารทโฟน เปน ตน  การโฆษณาสินคาทหี่ ลอกลวงในสรรพคุณมากเกินจรงิ  เชน ยา วิตามนิ อาหารเสรมิ ตาง ๆ 50 จาก 70


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook