รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดับการศึกษาปฐมวยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนบ้านตลงิ่ สูงสามคั คี สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
คานา รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ของโรงเรียนบ้านตล่ิงสูงสามัคคีสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 2 ฉบับน้ี จัดทาขึ้นเพ่ือสรุปผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) เป็นการสรุปผลการจัดการศึกษาที่สะท้อนผลการพัฒนาการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ซ่ึงเป็น ผลสาเร็จจากการบรหิ ารจัดการศกึ ษาทสี่ อดคล้องกับมาตรฐานการศกึ ษาระดับปฐมวยั เพ่ือการประกันคุณภาพ ภายใน (ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ พ.ศ. 2561) จานวน 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของเด็ก กระบวนการบรหิ ารและจดั การ และกระบวนการจดั ประสบการณท์ ี่เน้นเด็กเป็นสาคัญ ผลการวิเคราะห์จุดเด่น จดุ ที่ควรพัฒนา และระบแุ นวทางการพัฒนาของสถานศึกษาในอนาคต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอรายงาน ผลการจัดการศกึ ษาในรอบปีทผ่ี ่านมาเพื่อให้ทราบผลผลิตและผลลัพธ์ท่ีเกิดขึ้นตามแผนและตามระบบประกัน คุณภาพของสถานศึกษา เพ่ือให้สถานศึกษาได้ใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงแผน พัฒนาระบบประเมินคุณภาพ ภายในและยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้สูงข้ึน และนาเสนอผลการพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาต่อหนว่ ยงานต้นสงั กัด และ สาธารณชนไดร้ บั ทราบและรองรบั การประกันคณุ ภาพภายนอกต่อไป โรงเรียนบ้านตลงิ่ สูงสามัคคขี อขอบคุณ คณะกรรมการสถานศึกษา คณะครู ผู้ปกครอง ชุมชน และผู้เก่ียวข้องทุกภาคส่วน ท่ีร่วมพัฒนา ร่วมประเมินคุณภาพ และร่วมจัดทารายงานการประเมินตนเองของ สถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ใหส้ มบูรณค์ รบถว้ น และหวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ ว่าขอ้ มลู สารสนเทศ และข้อเสนอแนะในรายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษาให้สูงขึน้ ต่อไป โรงเรยี นบา้ นตล่งิ สูงสามัคคี วันที่ ๓๐ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖4 รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดบั การศึกษาปฐมวยั ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบา้ นตลิ่งสงู สามัคคี สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
สารบญั หน้า คานา ก สารบัญ ก บทสรุปสาหรบั ผูบ้ ริหาร ค มาตรฐานที่ ๑,๒,๓ ๑ ขอ้ เสนอแนะ ๒ ส่วนที่ ๑ ข้อมลู พืน้ ฐานของสถานศึกษา ๒ 3 ๑.๑ ข้อมูลท่ัวไปของสถานศกึ ษา 4 ๑. ขอ้ มูลผบู้ รหิ าร 8 ๒. ขอ้ มูลครูและบคุ ลากรสนบั สนุนการสอนระดับปฐมวัย 8 ๓. ข้อมลู นกั เรยี น ๑4 ๔. ขอ้ มลู ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในระดับสถานศึกษา ๑6 ๕. ขอ้ มลู สภาพชุมชนโดยรวม 19 ๖. โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษา ๒0 ๗. แหลง่ เรยี นรู้ ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ๘. ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษาในปีทผ่ี ่านมา ปีการศึกษา 256๒ ๒6 ๙. ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม 29 ๑๐. การพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาตามแผนปฏิบตั กิ ารประจาของสถานศกึ ษา 32 ๓5 สว่ นที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ๓7 กระบวนการพฒั นาและผลการประเมนิ ตนเอง มาตรฐานท่ี ๑ ๓9 กระบวนการพฒั นาและและผลการประเมนิ ตนเอง มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการพัฒนาและและผลการประเมนิ ตนเอง มาตรฐานท่ี ๓ แนวทางการพัฒนา สรุปผลในภาพรวมของการดาเนนิ การของสถานศึกษา ภาคผนวก - ประกาศมาตรฐานและประกาศเป้าหมายของสถานศึกษา - คาสงั่ คณะกรรมการจัดทามาตรฐานและประกาศเปา้ หมายของสถานศึกษา - คาสงั่ คณะกรรมการประเมินตดิ ตามตรวจสอบตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา - คาสั่งคณะกรรมการจดั ทารายงานผลการปฏบิ ัตงิ านของสถานศกึ ษา - ภาพถ่ายกิจกรรม รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดบั การศึกษาปฐมวยั ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบ้านตลิง่ สงู สามคั คี สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
ก บทสรุปสาหรบั ผู้บริหาร ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนบ้านตล่ิงสูงสามัคคี ต้ังอยู่ 666 หมู่ที่ ๒ ตาบลชุมตาบง อาเภอชุมตาบง จังหวัดนครสวรรค์ รหัสไปรษณีย์ ๖๐๑๕๐ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒ เปิดสอนต้ังแต่ระดับช้ันอนุบาลปีที่ ๒ ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ได้รายงานผลการประเมินคุณภาพ ภายในสถานศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ มีครูบุคลากรทางการศึกษาปฐมวัย จานวน ๒ คน ได้แก่ ข้าราชการครู จานวน ๑ คน ครพู ่ีเลี้ยงเด็กพิการ ๑ จานวน นักเรยี นปฐมวยั จานวน ๓๗ คน ตามท่ีโรงเรียนบ้านตลิ่งสูงสามัคคี ได้ดาเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจาปี การศึกษา ๒๕๖๓ ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ โดย จัดทารายงานประจาปเี สนอตอ่ หน่วยงานตน้ สังกัด หน่วยงานที่เก่ียวข้อง และเสนอต่อสาธารณชน เพ่ือนาไปสู่ การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและเพ่ือรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกโรงเรียนบ้านตล่ิงสูง สามคั คี ได้ดาเนินการด้านประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเน่ืองจนถึงปัจจุบันดาเนินงานตามกฎกระทรวงการ ประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ.2561 บดั นก้ี ารดาเนินการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษาเสรจ็ เรียบร้อยแล้ว จึงขอเสนอผลการประเมิน คณุ ภาพภายในสถานศึกษาแสดงในตาราง สรปุ ผลได้ดังนี้ สรุปผลการประเมิน มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ยอดเยีย่ ม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ยอดเยี่ยม มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ทเี่ น้นเดก็ เป็นสาคัญ ยอดเยีย่ ม ๑. ผลการดาเนนิ งาน มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพเดก็ มผี ลการดาเนนิ งาน ระดับคณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม โรงเรียนได้รวบรวมข้อมูลพัฒนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยทุกคน จานวน 3๗ คน แล้วนามา ประเมินตามเกณฑ์ของโรงเรียน พบว่า ๑. มีการประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย พบว่า เด็กจานวน 3๗ คน มีพัฒนาการด้านร่างกายใน ระดับยอดเย่ียม คิดเป็นร้อยละ 100 (สูงกว่าค่าเป้าหมาย ร้อยละ 85) เด็กมีน้าหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์ มาตรฐาน เคลื่อนไหวร่างกายคล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดี ใช้มือและตาประสานสัมพันธ์ได้ดี ดูแลรักษาสุขภาพ อนามัยส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนิสัย ปฏิบัติตนตามข้อตกลงเก่ียวกับความปลอดภัย หลีกเลี่ยงสภาวะที่เส่ียง ตอ่ โรค ส่งิ เสพติด และระวังภัยจากบุคคล ส่งิ แวดล้อม และสถานการณ์ทเี่ สี่ยงอันตราย ๒. มีการประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์ พบว่า เด็กจานวน 3๗ คน มีพัฒนาการด้านอารมณ์ใน ระดับยอดเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ 97.29 (สูงกว่าค่าเป้าหมาย ร้อยละ 85) เด็กร่าเริงแจ่มใส แสดงอารมณ์ ความรู้สกึ ได้เหมาะสม รูจ้ กั ยับยงั้ ชั่งใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับและพอใจในความสามารถ และผลงานของ ตนเองและผู้อื่น มีจิตสานึกและค่านิยมท่ีดี มีความม่ันใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก ช่วยเหลือแบ่งปัน เคารพ สิทธิ รู้หน้าที่รับผิดชอบ อดทนอดกลั้น ซ่ือสัตย์สุจริต มีคุณธรรม จริยธรรมตามท่ีสถานศึกษากาหนด ชื่นชม และมคี วามสขุ กับศลิ ปะ ดนตรี และการเคลอื่ นไหว รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดับการศกึ ษาปฐมวยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบา้ นตลง่ิ สงู สามคั คี สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
ข ๓. มีการประเมินพัฒนาการด้านสังคม พบว่า เด็กจานวน 3๗ คน มีพัฒนาการด้านสังคมใน ระดับ ยอดเย่ยี ม คดิ เป็นรอ้ ยละ 97.29 (สงู กว่าคา่ เปา้ หมาย ร้อยละ 85) เดก็ ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตร ประจาวัน มีวินัยในตนเอง ประหยัดและพอเพียง มีส่วนร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในและนอกห้องเรียน มี มารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การย้ิม ทักทาย และมีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ เป็นต้น ยอมรับหรือ เคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น ความคิด พฤติกรรม พื้นฐานครอบครัว เช้ือชาติ ศาสนา วัฒนธรรม ๔. มีการประเมนิ พฒั นาการดา้ นสติปัญญา พบว่า เด็กจานวน 3๗ คน มีพัฒนาการด้านสติปัญญาใน ระดับยอดเยี่ยม คดิ เป็นร้อยละ 97.29 (สงู กวา่ ค่าเป้าหมาย ร้อยละ 85) เด็กสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ ผู้อน่ื เขา้ ใจ ตง้ั คาถามในสิ่งท่ีตนเองสนใจหรอื สงสัยและพยายามค้นหาคาตอบ อา่ นนิทาน และเล่าเร่ืองที่ตนเอง อ่านได้เหมาะสมกับวัย มคี วามสามารถในการคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ การคิดแก้ปัญหาและสามารถตัดสินใจในเร่ืองง่าย ๆ ได้ สร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ เช่น งานศลิ ปะ การเคลื่อนไหวท่าทาง การเลน่ อสิ ระ และใชส้ อ่ื เทคโนโลยเี ป็นเครอ่ื งมอื ในการเรียนรู้และแสวงหา ความรู้ได้ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ มีผลการดาเนนิ งาน ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยีย่ ม มหี ลกั สูตรครอบคลุมพฒั นาการท้งั 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ิน มีผลการประเมิน อยู่ใน ระดบั ยอดเยีย่ ม ซง่ึ สงู กวา่ เป้าหมาย จัดครูใหเ้ พยี งพอกับชน้ั เรยี น มีผลการประเมนิ อยใู่ นระดับ ยอดเย่ียม ซง่ึ สงู กวา่ เปา้ หมาย ส่งเสริมให้ครูมีความเช่ียวชาญด้านการจัดประสบการณ์ มีผลการประเมิน อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม ซง่ึ สูงกว่าเปา้ หมาย จัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพ่ือการเรียนรู้ อย่างปลอดภัยและเพียงพอ มีผลการประเมิน อยู่ในระดับ ยอดเยย่ี ม ซง่ึ สงู กวา่ เป้าหมาย ให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ มีผลการ ประเมิน อยใู่ นระดบั ยอดเยย่ี ม ซง่ึ สงู กวา่ เปา้ หมาย มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม มีผลการประเมิน อยู่ในระดับ ยอดเยยี่ ม ซง่ึ สูงกวา่ เปา้ หมาย มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสาคัญ มีผลการดาเนินงาน ระดับคุณภาพ ยอด เยี่ยม โรงเรียนบ้านตล่ิงสูงสามัคคีดาเนินการการจัดทาหลักสูตรได้ครบทั้ง ๕ ข้อ มีร่องรอยหลักฐานชัดเจน ตรวจสอบได้และสามารถแนะนาผู้อื่นได้ สถานศึกษามีระบบและกลไกในการขับเคลื่อน เพื่อให้ผู้มีส่วน เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักและเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัยอย่างชัดเจน โดยมีการวางแผน ดาเนินงาน ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไขให้ดีข้ึน อย่างต่อเนื่อง สถานศึกษาจัดกิจกรรมเสริมสร้างความตระหนักรู้และความ เข้าใจหลักการจัดการศึกษาปฐมวัยให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยมีการวางแผน ดาเนินงานตรวจสอบ และ ปรับปรุงการจัดกิจกรรมให้ดีขึ้นอย่างต่อเน่ือง และสามารถเป็นแบบอย่างได้รับการยอมรับทาให้ผู้มีส่วน เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักรู้ และเข้าใจหลักการจัดการศึกษาปฐมวัยอย่างชัดเจน สถานศึกษามีการกาหนด รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดับการศกึ ษาปฐมวัย ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบ้านตลงิ่ สงู สามัคคี สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
ค โครงการ กิจกรรมเพอ่ื สรา้ งการมสี ่วนรว่ มและแสวงหาความรว่ มมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และท้องถิ่นในการจัด การศกึ ษา และพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาระดบั ปฐมวัยของสถานศกึ ษา และดาเนินการตามโครงการ กิจกรรมท่ี กาหนดไว้โดยทกุ ฝา่ ยมีสว่ นรวม มกี ารนิเทศ กากบั ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และจัดทารายงาน มีร่องรอยหลักฐาน ปรากฏชัดเจน สามารถตรวจสอบได้ รวมทง้ั นาขอ้ มลู มาพฒั นาปรับปรุงการจัดโครงการ กิจกรรมอย่างต่อเน่ือง สถานศึกษาจัดให้มีส่ิงอานวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน ตามประเด็นการพิจารณาครบทั้ง ๕ ขอ้ และมรี ะบบ ดูแลตรวจสอบซ่อมบารุงรักษาอยา่ งมีประสิทธภิ าพ 2. หลักฐานสนบั สนนุ ผลการการดาเนินงาน ๑. บันทึกประเมินพฒั นาการด้านร่างกาย ๒. บันทกึ ประเมนิ พฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ๓. บนั ทกึ การประเมนิ พัฒนาการดา้ นสังคม ๔. บนั ทึกการประเมินพฒั นาการดา้ นสติปัญญา ๕. บันทึกการดาเนินโครงการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวยั ๖. บันทกึ การตรวจสุขภาพเด็กมีสขุ ภาพดี 7. รายงานผลการดาเนินโครงการสง่ เสริมศักยภาพครปู ฐมวัย 8. ข้อมลู การอบรมของครปู ฐมวัย 9. รายงานการอบรมของครปู ฐมวยั 10. รายงายการศกึ ษาดงู าน 11. รายงานขอ้ มลู อัตราสว่ น จานวน ครู และ เดก็ 12. รายงานผลการดาเนนิ โครงการพัฒนาคณุ ภาพเด็กปฐมวยั 13. รายงานการอบรมของครูปฐมวยั 15. รายงานขอ้ มูลอตั รากาลงั จานวน ครู และ เด็ก 16. บันทึกการเลือกเลน่ ในมุมประสบการณ์ 17. บนั ทกึ และสรุปผลการประเมินพัฒนาการ ทง้ั ๔ ดา้ น 18. บันทกึ การวเิ คราะหเ์ ดก็ เป็นราบบุคคล 3. ข้อเสนอแนะ แผนพัฒนาเพ่อื ให้ได้มาตรฐานทสี่ งู ขึน้ ๑. โครงการพัฒนาคณุ ภาพเด็กปฐมวยั ดา้ นร่างกาย ๒. โครงการพฒั นาคณุ ภาพเด็กปฐมวัยดา้ นอารมณ์ จิตใจ ๓. โครงการพฒั นาคณุ ภาพเด็กปฐมวยั ด้านสังคม ๔. โครงการพัฒนาคณุ ภาพเด็กปฐมวยั ดา้ นสตปิ ัญญา 5. โครงการสง่ เสรมิ และพฒั นาศกั ยภาพครูปฐมวัยดา้ นการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ 6. โครงการเสริมสรา้ งโรงเรียนใหเ้ ป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ 7. โครงการระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษาระดับปฐมวัย รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบา้ นตล่งิ สงู สามคั คี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลพืน้ ฐานของสถานศกึ ษา 1. ข้อมูลทัว่ ไป โรงเรียนบา้ นตลิง่ สงู สามคั คี ตั้งอยู่เลขท่ี เลขที่ 666 หมูท่ ี่ ๒ ตาบลชมุ ตาบง อาเภอชมุ ตาบง จังหวดั นครสวรรค์ รหสั ไปรษณีย์ ๖๐๑๕๐ E-mail : [email protected] Website:http://school.obec.go.th/talingsoong สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒ เปดิ สอนระดับปฐมวยั ชน้ั อนบุ าลปที ี่ ๒ ถึงระดับช้นั อนบุ าลปีท่ี ๓ จานวน ๒ หอ้ งเรียน โรงเรียนมเี นื้อ ที่ ๖ ไร่ ๑ งาน ๗๒ ตารางวา ประวตั ิความเป็นมาโรงเรียน โรงเรียนบ้านตลงิ่ สูงสามัคคี สังกดั สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่ เลขที่ 666 หมูท่ ี่ 2 ตาบลชุมตาบง อาเภอชุมตาบง จังหวดั นครสวรรค์ E-mail : [email protected] Website : http:// school.obec.go.th/talingsoong กอ่ ตัง้ ข้ึนเม่ือ พ.ศ.๒๕๑๕ โดยมนี ายผล เกษมณี เปน็ ผู้เร่มิ ชกั ชวนประชาชนในหมู่บ้านตลิ่งสงู จัดสร้าง อาคารเรียนข้นึ โดยมีนายฉาย กลา้ กสกิ าร และนายพร้อม กลา้ กสกิ จิ ได้อุทศิ ทดี่ ินให้รวมจานวน ๖ ไร่ ๑ งาน ๗๒ ตารางวา พร้อมกนั นีท้ างราชการได้จัดงบประมาณสมทบในการก่อสรา้ งเป็นเงนิ ๕,๐๐๐ บาท นายประวัติ เพยี รภาค ส.ส.นครสวรรค์ ได้บรจิ าคสมทบเป็นจานวนเงิน ๑,๑๒๐ บาท พระครูนิพนั ธ์ นวกจิ เจา้ อาวาสวดั วงั ม้า บริจาคสมทบ ๕๐๐ บาท ชาวบา้ นตลง่ิ สูง บรจิ าคสมทบ ๘,๕๒๓ บาท หลวงพ่อสมหุ สีห์ วดั หนองจิกทราย มลู บรจิ าค ๑๐๐ บาท รวมเปน็ เงินบรจิ าคสร้างอาคารทั้งสนิ้ ๑๕,๒๕๓ บาท จดั สรา้ งอาคารเรียนแบบ ป.๑.จ ชน้ั เดยี ว โดยชัน้ เสาไม้มงุ หลงั คาสงั กะสี พนื้ คอนกรีตไม่มฝี า จานวน ๓ ห้องเรยี นโดยมีศกึ ษาธกิ ารอาเภอ ลาดยาวเป็นประธานเปิดอาคารเรยี น ปี พ.ศ.๒๕๒๑ ได้เปดิ ขยายช้ันประถมปลาย ป.๕ ได้งบประมาณก่อสรา้ งอาคารเรียนแบบ ป.๑.จ อีก ๒ หอ้ งเรยี น รวมเปน็ เงินงบประมาณท้ังส้ิน ๑๖๐,๐๐๐ บาท ปี พ.ศ.๒๕๒๕ ไดง้ บประมาณสร้างอาคารเรยี น แบบ ป.๑. ก. ตึก ๑ ช้ัน ๔ หอ้ งเรียน เป็นงบประมาณ ๕๙๕,๐๐๐ บาท ปี พ.ศ.๒๕๒๗ ไดง้ บประมาณก่อสรา้ งอาคารเอนกประสงค์แบบ สปช. ๑๐๕/๒๖ เป็นเงินงบประมาณ ๒๔๑,๐๐๐ บาท ๒ ตลุ าคม ๒๕๒๙ ได้งบประมาณก่อสรา้ งอาคารเรียนแบบ สปช. ๑๐๕/๒๖ ขนาด ๑ ชนั้ ๔ หอ้ งเรยี น งบประมาณ ๘๐๐,๐๐๐ บาท ตอ่ มาภายหลงั ได้งบประมาณต่อเติมอาคารเรียนช้นั ล่างอีก ๔ หอ้ งเรียน เป็นเงิน ๒๔๐,๐๐๐ บาท รวม ๘ หอ้ งเรยี น งบประมาณทงั้ สน้ิ ๑,๐๔๐,๐๐๐ บาท ตุลาคม ๒๕๓๕ ได้โอนโรงเรยี นบ้านตลงิ่ สูงสามคั คี จาก สปอ.ลาดยาวมาขนึ้ กับ สปก.แม่วงก์ กรกฎาคม ๒๕๔๒ ได้โอนโรงเรยี นบา้ นตลิ่งสงู สามคั คี จาก สปอ.แมว่ งก์ มาสงั กดั สปก.ชมุ ตาบง และ
๒ ไดบ้ รจิ าคจากชาวบา้ นตลิ่งสูงฯ ซื้อที่ดินให้กับโรงเรยี น จานวน ๕ งาน เป็นจานวน ๑๐๐,๐๐๐ บาท และถม ท่ดี นิ เปน็ จานวน ๑๕๐,๐๐๐ บาท กรกฎาคม ๒๕๔๖ ได้โอนโรงเรยี นบ้านตล่ิงสงู สามัคคี จาก สปอ. ชมุ ตาบง มาสังกดั สพป.นว. เขต ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๔๗ผปู้ กครองชาวบา้ น ผูม้ ีจิตศรทั ธา บริจาคสรา้ งหอ้ งสมุดเป็นเงนิ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ปีการศึกษา ๒๕๕๓ไดม้ ีการปรับปรุงภมู ิทัศน์ บริเวณเสาธง งบประมาณจากคณะครูและผู้ปกครอง โรงเรยี นบา้ นตลงิ่ สงู สามัคคี ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ ได้มีการปรับปรงุ ภมู ิทัศน์ บรเิ วณเสาธงใหม่และสนามเพื่อเตรยี มสร้างโดม งบประมาณจากคณะครูและผู้ปกครองและผมู้ จี ิตศรัทราจนถึงปจั จุบัน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ได้มีการปรับปรงุ ภูมทิ ัศน์ ทารั้วโรงเรียนและประตโู รงเรยี น งบประมาณจากคณะ ครู ผปู้ กครอง และผู้มีจิตศรัทรา 2. ข้อมูลผูบ้ ริหาร 1. ผอู้ านวยการสถานศึกษา นางภทั รวดี สีขา วุฒิการศกึ ษาสูงสุด ศษ.ม. สาขาการบริหารการศึกษา โทรศพั ท์ 096 – ๘๘๒๗๕๐๙ ดารงตาแหน่งท่โี รงเรียนบา้ นตล่ิงสูงสามัคคีต้ังแต่ วันท่ี ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๓ จนถึงปัจจบุ ัน เปน็ เวลา ๕ เดือน 3. ขอ้ มูลครแู ละบคุ ลากรสนบั สนนุ การสอนระดับปฐมวัย ที่ ชอ่ื -สกลุ ตาแหนง่ วฒุ ิ วิชาเอก ระดบั ชนั้ ที่ จานวน ชม.ที่ การศึกษา สอน สอน/สัปดาห์ ๑ นางภัทรวดี สขี า ผ้อู านวยการ การบริหาร - ศษ.ม. การศกึ ษา - ๒ นางจิดาภา ชา้ งไผ่ ครชู านาญการ การบริหาร ๖ กจิ กรรม ๓ นางสาวอไุ ร โพธิ์ศรีดี พเิ ศษ ศษ.ม. การศึกษา อบ.๓ ๒๕/สัปดาห์ การศกึ ษาปฐมวัย ครพู เ่ี ลี้ยงเด็ก ค.บ. ๖ กิจกรรม ๒๕/สปั ดาห์ พกิ ารเรียนรวม อบ.๒ สรปุ ขอ้ มลู ครแู ละบคุ ลากรสนบั สนนุ การสอนระดับปฐมวัย ประเภท จานวน หมายเหตุ ๑.๑ ข้อมูลผเู้ รยี น ๓๗ จานวนเดก็ ปฐมวยั ทง้ั สนิ้ ๑๗ ชั้นอนบุ าล ๒ ๒๐ ชนั้ อนบุ าล ๓ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดับการศกึ ษาปฐมวัย ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบ้านตลง่ิ สูงสามัคคี สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๓ ประเภท จานวน หมายเหตุ ๑.๒ ข้อมลู บุคลากร ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ๑ ครูปฐมวยั โดยนับรวมครอู ตั ราจ้างทีม่ ีสัญญาจา้ ง ๙ เดือนขนึ้ ไป ๑ บุคลากรสนับสนนุ หมายถงึ พ่เี ล้ยี งเด็ก เจา้ หน้าทธ่ี ุรการ นักการ ๒ ภารโรง ฯลฯ อน่ื ๆ โปรดระบุ เจา้ หน้าที่ ๐ ๑.๓ จานวนห้อง ๒ ห้องเรยี น ๒ หอ้ งปฏบิ ตั ิการ ๑ ห้องพยาบาล ๑ หอ้ งสมุด ๑ หอ้ งคอมพวิ เตอร์ - ห้องอ่ืนๆ ระบุ - 4. ขอ้ มูลนักเรยี น (ณ วันท่ี 10 มถิ ุนายน ของปีการศกึ ษาทร่ี ายงาน) 4.1 จานวนนักเรยี นในโรงเรยี นปีการศกึ ษา256๓ ท้งั สิ้น ๓๗ คน จาแนกตามระดับช้ันทเ่ี ปดิ สอน ระดับชัน้ เรยี น จานวนห้อง เพศ รวม จานวนเฉลีย่ ชาย หญิง ต่อห้องเรยี น อ.2 (4 - ๕ ปี)) ๑ ๑๒ ๕ ๑๗ ๑๑ อ.3 (5 - ๖ ป)ี ๑ ๑๑ ๙ ๒๐ ๑๓ รวม ๒ ๒๓ ๑๔ ๓๗ ๒๕ รวมท้ังสิ้น ๒ ๒๓ ๑๔ ๓๗ ๒๕ จานวนเดก็ พิเศษในโรงเรยี น ชาย ๑ คน หญงิ ๑ คน รวมจานวน ๒ คน อตั ราส่วนนกั เรยี น : ครรู ะดับอนบุ าล = ๑ : ๒๕ เปน็ ไปตามเกณฑ์ ไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ 4.2 จานวนนกั เรียน ปกี ารศกึ ษา 2562 ระดับช้นั เรียน จานวนหอ้ ง เพศ รวม จานวนเฉลยี่ ชาย หญงิ ต่อหอ้ งเรยี น อ.2 (4 - ๕ ปี)) ๑ 12 9 21 14.48 อ.3 (5 - ๖ ปี) ๑ 7 8 15 10.34 รวม ๒ 19 17 36 24.82 รวมท้ังสน้ิ ๒ 19 17 36 14.48 จานวนเดก็ พเิ ศษในโรงเรยี น ชาย - คน หญงิ ๑ คน รวมจานวน ๑ คน อัตราสว่ นนักเรียน : ครูระดับอนุบาล = 1 : 25 เป็นไปตามเกณฑ์ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบ้านตลิ่งสูงสามัคคี สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
๔ 4.๓ จานวนนกั เรียน ปีการศกึ ษา 256๑ ระดบั ชั้นเรยี น จานวนหอ้ ง เพศ รวม จานวนเฉลย่ี ชาย หญิง ตอ่ ห้องเรียน อ.2 (4 - ๕ ปี)) ๑ ๗ ๗ ๑๔ ๙ อ.3 (5 - ๖ ปี) ๑ ๑๓ ๖ ๑๙ ๑๓ รวม ๒ ๒๐ ๑๓ ๓๓ ๒๒ รวมท้ังส้ิน ๒ ๒๐ ๑๓ ๓๓ ๒๒ จานวนเดก็ พิเศษในโรงเรียน ชาย - คน หญิง ๑ คน รวมจานวน ๑ คนอตั ราสว่ นนกั เรยี น : ครูระดับอนุบาล = ๑ : ๒๒ เปน็ ไปตามเกณฑ์ ไม่เปน็ ไปตามเกณฑ์ 5. ขอ้ มูลผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนในระดบั สถานศึกษา 5.1.๑ พฒั นาการดา้ นรา่ งกาย ปีการศึกษา 256๓ ระดบั ชนั้ ท่ี จานวน จานวนเดก็ ที่มผี ลการประเมนิ พฒั นาการ ประเมนิ เด็ก ระดับชน้ั ทปี่ ระเมิน 12 3 รวม คา่ เฉล่ยี คา่ เฉลยี่ ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ๑๗ 100 อนุบาล 2 อ. 2 ๑๗ ๐ ๐ ๑๗ ๒๐ 10๐ (4 ป)ี ร้อยละ 100 ๐ ๐ 100 ๓๗ 100 อนบุ าล 3 อ. 3 ๒๐ ๐ ๐ ๒๐ (5 ป)ี ร้อยละ 10๐ ๐ ๐ 10๐ รวมทกุ ระดับชน้ั ๓๗ ๐ ๐ ๓๗ ร้อยละรวม 100 ๐ ๐ 100 5.๑.๒ พฒั นาการด้านรา่ งกาย ปกี ารศึกษา 256๒ ระดับช้ันที่ จานวน จานวนเดก็ ทีม่ ผี ลการประเมนิ พัฒนาการ ประเมนิ เด็ก ระดับชน้ั ทป่ี ระเมนิ 12 3 รวม ปรับปรงุ พอใช้ ดี 21 100 อนุบาล 2 อ. 2 21 ๐ ๐ 21 15 ๐ ๐ 100 100 (4 ป)ี รอ้ ยละ 100 ๓๖ 100 อนบุ าล 3 อ. 3 15 ๐ ๐ 15 ๐ ๐ 100 (5 ป)ี รอ้ ยละ 100 รวมทกุ ระดับช้นั ๓๖ ๐ ๐ ๓๖ รอ้ ยละรวม 100 ๐ ๐ 100 รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดับการศึกษาปฐมวยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนบา้ นตลิ่งสงู สามคั คี สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
5.๑.๓ พฒั นาการด้านรา่ งกาย ปีการศึกษา 256๑ ๕ ระดับชน้ั ท่ี จานวน จานวนเดก็ ท่มี ผี ลการประเมนิ พฒั นาการ ค่าเฉลีย่ ประเมนิ เดก็ ระดับชน้ั ทป่ี ระเมนิ 12 3 รวม ปรับปรงุ พอใช้ ดี ๑๔ 100 อนุบาล 2 (4 ปี) อ. 2 ๑๔ ๐ ๐ ๑๔ ๑๘ รอ้ ยละ 100 ๐ ๐ 100 ๙๔.๗๔ ๓๒ อนุบาล 3 (5 ป)ี อ. 3 ๑๙ ๑ ๐ ๑๘ ๙๖.๙๗ รอ้ ยละ 100 ๕.๖๓ ๐ ๙๔.๗๔ รวมทุกระดับช้นั ๓๓ ๑ ๐ ๓๒ ร้อยละรวม 100 ๓.๐๓ ๐ ๙๖.๙๗ 5.๒.๑ พัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ปกี ารศึกษา 256๓ ระดบั ชั้นท่ี จานวน จานวนเด็กทม่ี ผี ลการประเมนิ พัฒนาการ ประเมิน เด็ก ระดับชั้น ท่ีประเมิน 12 3 รวม คา่ เฉลี่ย ปรับปรุง พอใช้ ดี ๑๖ ๙๔.๑๒ อนบุ าล 2 อ. 2 ๑๗ ๑ ๐ ๑๗ ๒๐ (4 ป)ี รอ้ ยละ 100.๐๐ ๕.๘๘ ๐ 100 10๐ ๓๖ อนุบาล 3 อ. 3 ๒๐ ๐ ๐ ๒๐ ๙๗.๓๐ (5 ปี) ร้อยละ 10๐.๐๐ ๐ ๐ 10๐ รวมทกุ ระดับชน้ั ๓๗ ๑ ๐ ๓๗ ร้อยละรวม 100 ๒.๗๐ ๐ 100 5.๒.2 พัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ปกี ารศึกษา 256๒ ระดบั ชนั้ ท่ี จานวน จานวนเด็กทมี่ ผี ลการประเมินพัฒนาการ ประเมิน เดก็ ระดับชนั้ ทป่ี ระเมิน 12 3 รวม ค่าเฉล่ีย ปรับปรุง พอใช้ ดี 21 100 อนุบาล 2 อ. 2 21 ๐ ๐ 21 15 100 (4 ปี) รอ้ ยละ 100 ๐ ๐ 100 36 100 อนุบาล 3 อ. 3 15 ๐ ๐ 15 (5 ป)ี รอ้ ยละ 100 ๐ ๐ 100 รวมทุกระดบั ช้นั ๓๖ ๐ ๐ ๓๖ รอ้ ยละรวม 100 ๐ ๐ 100 รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบา้ นตลง่ิ สงู สามคั คี สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
5.๒.๓ พัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ปกี ารศกึ ษา 256๑ ๖ ระดบั ชนั้ ที่ จานวน จานวนเดก็ ทีม่ ผี ลการประเมินพัฒนาการ ค่าเฉลี่ย ประเมนิ เด็ก ระดับช้นั ที่ประเมนิ 12 3 รวม ปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ๑๔ 100 อนุบาล 2 (4 ปี) อ. 2 ๑๔ ๐ ๐ ๑๔ ๑๘ รอ้ ยละ 100 ๐ ๐ 100 ๙๔.๗๔ ๓๒ อนุบาล 3 (5 ปี) อ. 3 ๑๙ ๑ ๐ ๑๘ ๙๖.๙๗ ร้อยละ 100 ๕.๖๓ ๐ ๙๔.๗๔ รวมทุกระดบั ช้นั ๓๓ ๑ ๐ ๓๒ ร้อยละรวม 100 ๓.๐๓ ๐ ๙๖.๙๗ 5.๓.๑ พัฒนาการด้านสังคม ปีการศึกษา 256๓ ระดบั ชน้ั ที่ จานวน จานวนเด็กทมี่ ผี ลการประเมินพัฒนาการ ประเมนิ เดก็ ระดับชนั้ ที่ประเมิน 12 3 รวม ค่าเฉลีย่ ปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ๑๖ ๙๔.๑๒ อนบุ าล 2 อ. 2 ๑๗ ๑ ๐ ๑๗ ๒๐ (4 ป)ี รอ้ ยละ 100.๐๐ ๕.๘๘ ๐ 100 10๐ ๓๖ อนบุ าล 3 อ. 3 ๒๐ ๐ ๐ ๒๐ ๙๗.๓๐ (5 ปี) รอ้ ยละ 10๐.๐๐ ๐ ๐ 10๐ รวมทุกระดบั ชัน้ ๓๗ ๑ ๐ ๓๗ ร้อยละรวม 100 ๒.๗๐ ๐ 100 5.๓.2 พฒั นาการด้านสังคม ปีการศกึ ษา 256๒ ระดับช้นั ท่ี จานวน จานวนเดก็ ท่มี ผี ลการประเมินพัฒนาการ ประเมนิ เดก็ ระดบั ชั้น ท่ปี ระเมิน 12 3 รวม คา่ เฉล่ีย ปรับปรุง พอใช้ ดี 21 100 อนบุ าล 2 อ. 2 21 ๐ ๐ 21 15 100 (4 ป)ี รอ้ ยละ 100 ๐ ๐ 100 36 100 อนุบาล 3 อ. 3 15 ๐ ๐ 15 (5 ป)ี ร้อยละ 100 ๐ ๐ 100 รวมทกุ ระดบั ชน้ั ๓๖ ๐ ๐ ๓๖ รอ้ ยละรวม 100 ๐ ๐ 100 รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดับการศกึ ษาปฐมวยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบา้ นตลิ่งสงู สามัคคี สานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
5.๓.๓ พัฒนาการดา้ นสงั คม ปีการศกึ ษา 256๑ ๗ ระดับช้ันท่ี จานวน จานวนเดก็ ทีม่ ผี ลการประเมินพัฒนาการ ค่าเฉลี่ย ประเมนิ เด็ก ระดบั ชนั้ ท่ีประเมนิ 12 3 รวม ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ๑๔ 100 อนุบาล 2 (4 ป)ี อ. 2 ๑๔ ๐ ๐ ๑๔ ๑๘ รอ้ ยละ 100 ๐ ๐ 100 ๙๔.๗๔ ๓๒ อนุบาล 3 (5 ป)ี อ. 3 ๑๙ ๑ ๐ ๑๘ ๙๖.๙๗ รอ้ ยละ 100 ๕.๖๓ ๐ ๙๔.๗๔ รวมทุกระดบั ชั้น ๓๓ ๑ ๐ ๓๒ ร้อยละรวม 100 ๓.๐๓ ๐ ๙๖.๙๗ 5.๔.๑ พฒั นาการด้านสตปิ ัญญา ปีการศึกษา 256๓ ระดับชั้นที่ จานวน จานวนเดก็ ทม่ี ผี ลการประเมินพัฒนาการ ประเมิน เด็ก ระดบั ชัน้ ทีป่ ระเมนิ 12 3 รวม ค่าเฉลีย่ ปรับปรงุ พอใช้ ดี ๑๖ ๙๔.๑๒ อนบุ าล 2 อ. 2 ๑๗ ๑ ๐ ๑๗ ๒๐ (4 ปี) รอ้ ยละ 100.๐๐ ๕.๘๘ ๐ 100 10๐ ๓๖ อนบุ าล 3 อ. 3 ๒๐ ๐ ๐ ๒๐ ๙๗.๓๐ (5 ปี) ร้อยละ 10๐.๐๐ ๐ ๐ 10๐ รวมทกุ ระดบั ชั้น ๓๗ ๑ ๐ ๓๗ ร้อยละรวม 100 ๒.๗๐ ๐ 100 5.๔.2 พฒั นาการด้านสตปิ ัญญา ปกี ารศึกษา 256๒ ระดบั ชน้ั ท่ี จานวน จานวนเดก็ ทีม่ ผี ลการประเมนิ พฒั นาการ ประเมิน เดก็ ระดับชน้ั ท่ปี ระเมิน 12 3 รวม คา่ เฉล่ีย ปรบั ปรงุ พอใช้ ดี 21 100 อนบุ าล 2 อ. 2 21 ๐ ๐ 21 15 100 (4 ปี) รอ้ ยละ 100 ๐ ๐ 100 36 100 อนบุ าล 3 อ. 3 15 ๐ ๐ 15 (5 ปี) รอ้ ยละ 100 ๐ ๐ 100 รวมทุกระดบั ชน้ั ๓๖ ๐ ๐ ๓๖ รอ้ ยละรวม 100 ๐ ๐ 100 รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดับการศกึ ษาปฐมวยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนบา้ นตลิง่ สูงสามคั คี สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
5.๔.๓ พฒั นาการด้านสติปญั ญา ปีการศกึ ษา 256๑ ๘ ระดับชั้นที่ จานวน จานวนเดก็ ทมี่ ผี ลการประเมินพฒั นาการ ค่าเฉล่ีย ประเมนิ เด็ก ระดบั ชัน้ ท่ีประเมิน 12 3 รวม ปรับปรงุ พอใช้ ดี ๑๔ 100 อนุบาล 2 (4 ป)ี อ. 2 ๑๔ ๐ ๐ ๑๔ ๑๘ รอ้ ยละ 100 ๐ ๐ 100 ๙๔.๗๔ ๓๒ อนุบาล 3 (5 ปี) อ. 3 ๑๙ ๑ ๐ ๑๘ ๙๖.๙๗ รอ้ ยละ 100 ๕.๖๓ ๐ ๙๔.๗๔ รวมทกุ ระดบั ชนั้ ๓๓ ๑ ๐ ๓๒ รอ้ ยละรวม 100 ๓.๐๓ ๐ ๙๖.๙๗ 6. ข้อมูลสภาพชมุ ชนโดยรวม 6.1 สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ อยู่กันเป็นกลุ่มมีประชากรประมาณ ๑,๙๕๐ คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่ บ้านเรือนของผู้ปกครองนักเรียนอาชีพหลักของชุมชน คือ เกษตรกรรม ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ินที่เป็นท่ีรู้จักโดยท่ัวไป คือ สงกรานต์ ตกั บาตรเทโว งานบญุ บั้งไฟ ลอยกระทง และแหเ่ ทียนจานาพรรษา 6.2 ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปีที่ ๖ อาชีพหลัก คือ การทานาทาไร่ส่วน ใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉล่ียต่อครอบครัว ต่อปี ๓๐,๐๐๐ บาทจานวนคน เฉลี่ยต่อครอบครัว ๔ คน 6.3 โอกาสและข้อจากัดของโรงเรียน อย่ใู กลแ้ หล่งเรยี นรู้ อยู่ใกลว้ ัดตล่งิ สงู เทพนิมิต ได้รบั การ ส่งเสรมิ สนับสนนุ จากชุมชน ผ้ปู กครองนกั เรียน ผู้นาชมุ ชน และองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น อย่างต่อเน่ือง) 7. โครงสร้างหลกั สตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนบา้ นตล่ิงสงู สามคั คี จัดประสบการณ์การเรยี นรู้ตามหลักสตู รสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษา ปฐมวยั พุทธศกั ราช 25๖3 (หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 25๖0) โดยไดจ้ ดั สัดสว่ นสาระการ เรียนร้แู ละเวลาเรยี น ดงั แสดงในตาราง ดงั น้ี ๗.1 ระดับการศกึ ษาปฐมวัย การสอนกจิ กรรมตามหน่วยการเรยี นรู้ (ระดบั ปฐมวัย) สาระที่ ๑ เร่ืองราวเกยี่ วกับตวั เดก็ หน่วย ชน้ั อนุบาล 2 ชน้ั อนุบาล 3 หน่วยที่ ๑ ความแตกตา่ งของรา่ งกาย ความแตกตา่ งของร่างกาย ตวั เรา ความแตกตา่ งของตนเองและผู้อื่น ความแตกต่างของตนเองและผู้อนื่ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดบั การศึกษาปฐมวัย ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนบา้ นตล่งิ สงู สามคั คี สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
๙ หนว่ ย ชนั้ อนบุ าล 2 ชั้นอนุบาล 3 (ตวั ฉันเอง) การรักษาความสะอาดร่างกาย การรกั ษาความสะอาดร่างกาย การช่วยเหลอื ตนเอง การชว่ ยเหลือตนเอง หนว่ ยที่ ๒ การปอ้ งกันอนั ตราย การปอ้ งกนั อนั ตราย ตัวเรา อวยั วะตา่ ง ๆ ในรา่ งกาย อวัยวะตา่ ง ๆ ในรา่ งกาย (รา่ งกายของเรา) หนา้ ที่ของอวัยวะตา่ ง ๆ หน้าทีข่ องอวยั วะต่าง ๆ การระวงั รกั ษา หู ตา จมูก การระวงั รกั ษา หู ตา จมูก หน่วยที่ ๓ การระวังปากและฟัน การระวงั ปากและฟนั ตวั เรา การระวงั รกั ษาผิวหนงั มอื เท้า การระวงั รกั ษาผวิ หนงั มือ เท้า เมตตา กรุณา เมตตา กรุณา (หนูน้อยนา่ รัก) การมีสมั มาคารวะ การมสี ัมมาคารวะ ความภมู ใิ จในตัวเอง ความภูมใิ จในตัวเอง ยินดกี ับผูอ้ น่ื ยนิ ดีกับผ้อู ่นื ความภูมใิ จในการทาความดี ความภมู ิใจในการทาความดี หนว่ ยท่ี ๔ การช่วยเหลือครอบครัว การช่วยเหลอื ครอบครัว ตวั เรา การช่วยเหลอื ตนเอง การช่วยเหลือตนเอง การร้จู ักอดทน อดกลน้ั (เด็กดีมีวินัย) การรจู้ ักอดทน อดกลนั้ การอดทนต่อความเหนื่อย มารยาททีด่ ีในการแสดงออก การอดทนต่อความเหนื่อย การมองเหน็ มารยาทที่ดีในการแสดงออก การดมกลิ่น การฟงั เสยี ง หนว่ ยที่ ๕ การมองเห็น การชิมรส การสมั ผสั อวัยวะของร่างกาย การดมกลนิ่ ความสาคัญของบ้าน สมาชกิ ในบ้าน (ประสาทสัมผัสท้ัง ๕) การฟังเสยี ง การจัดตกแต่งบ้าน ห้องตา่ ง ๆ ในบา้ น การชิมรส อปุ กรณ์เครือ่ งใชป้ ระจาบ้าน การออกกาลังการกลางแจง้ การสมั ผสั หน่วยที่ ๖ ความสาคญั ของบ้าน ครอบครัว สมาชกิ ในบา้ น (บ้านของฉัน) การจดั ตกแตง่ บา้ น ห้องตา่ ง ๆ ในบา้ น อุปกรณ์เครื่องใชป้ ระจาบ้าน หน่วยที่ ๗ การออกกาลังการกลางแจง้ รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนบ้านตล่ิงสงู สามัคคี สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๑๐ หน่วย ชั้นอนุบาล 2 ชั้นอนุบาล 3 ตัวเรา การพักผอ่ น การพักผ่อน (รา่ งกายแข็งแรง) การเลน่ คนเดียว การเล่นคนเดยี ว การเลน่ ร่วมกับผอู้ ่นื การเลน่ ร่วมกบั ผู้อื่น กฎกตกิ าในการเลน่ กฎกติกาในการเลน่ สาระที่ ๒ เรือ่ งราวเกย่ี วกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเดก็ หนว่ ย ชัน้ อนุบาล 2 ชั้นอนุบาล 3 หนว่ ยที่ ๘ รู้จกั โรงเรยี น รจู้ กั โรงเรียน ปฐมนเิ ทศ (เม่ืออยโู่ รงเรียน) เครอื่ งหมายประจาตวั เครื่องหมายประจาตวั สถานท่ตี ่าง ๆ ในโรงเรียน สถานทตี่ า่ ง ๆ ในโรงเรยี น หน่วยที่ ๙ การแสดงความเคารพ การแสดงความเคารพ วันสาคัญ การร่วมกิจกรรม การรว่ มกจิ กรรม (วนั วสิ าขบชู า) วันสาคญั ของท้องถ่นิ วันสาคญั ของท้องถิน่ หน่วยที่ ๑๐ กจิ กรรมในท้องถน่ิ กิจกรรมในทอ้ งถน่ิ วันสาคัญ กจิ กรรมในท้องถ่นิ กจิ กรรมในท้องถ่ิน (วนั เข้าพรรษา) กจิ กรรมในท้องถิน่ กิจกรรมในทอ้ งถิ่น การรว่ มกจิ กรรมและปฎบิ ตั ิตน การรว่ มกิจกรรมและปฎิบตั ติ น หนว่ ยท่ี ๑๑ วันสาคญั ของทอ้ งถิ่น วันสาคัญของทอ้ งถ่ิน วันสาคญั การรว่ มกจิ กรรม การร่วมกิจกรรม (วนั แม่) วนั สาคญั ในพุทธศาสนา วนั สาคัญในพุทธศาสนา วันเข้าพรรษา วนั เขา้ พรรษา การปฏบิ ัตติ นของพระสงฆ์ การปฎบิ ัติตนของพระสงฆ์ วันสาคญั ของชาติ วันสาคญั ของชาติ วันแม่แห่งชาติ วนั แมแ่ หง่ ชาติ แม่ของเรา แม่ของเรา พระคณุ แม่ พระคุณแม่ การตอบแทนพระคณุ แม่ การตอบแทนพระคณุ แม่ รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนบ้านตล่งิ สูงสามคั คี สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๑๑ สาระท่ี ๓ ธรรมชาตริ อบตัว หน่วย ชัน้ อนบุ าล 2 ชั้นอนุบาล 3 หน่วยที่ ๒๑ ลกั ษณะอากาศแตล่ ะวัน ลกั ษณะอากาศแต่ละวนั ฤดูกาล กอ้ นเมฆบนท้องฟ้า ก้อนเมฆบนท้องฟา้ (เรารกั ฤดูฝน) ก้อนเมฆบนท้องฟ้า ก้อนเมฆบนท้องฟ้า อาชพี ในฤดูฝน อาชพี ในฤดฝู น หนว่ ยท่ี ๒๒ อาชีพในฤดูฝน อาชพี ในฤดฝู น สตั ว์ชนดิ ต่าง ๆ ประเภทของสัตว์โลก ประเภทของสตั วโ์ ลก (สัตวโ์ ลกแสนสวย) สตั วโ์ ลกแตล่ ะประเภท สัตวโ์ ลกแตล่ ะประเภท หนว่ ยท่ี ๒๓ ที่อยู่อาศัยของสตั ว์โลก ท่ีอยู่อาศยั ของสัตว์โลก ฤดูกาล สตั ว์ป่ากบั ธรรมชาติ สัตวป์ า่ กบั ธรรมชาติ (ฤดูหนาว) ประโยชน์ และอันตรายจากสัตว์ ประโยชน์ และอันตรายจากสตั ว์ อากาศในแตล่ ะวนั อากาศในแต่ละวนั หน่วยที่ ๒๔ ส่ิงมีชีวิต และ ลมหนาว ลมหนาว ส่ิงไม่มีชวี ติ การปฏบิ ตั ิตนในฤดูหนาว การปฏบิ ตั ติ นในฤดหู นาว งานฤดหู นาว งานฤดหู นาว หน่วยที่ ๒๕ โรคภยั ไขเ้ จ็บทเี่ กิดข้ึนในฤดูหนาว โรคภัยไขเ้ จบ็ ทเี่ กิดข้นึ ในฤดหู นาว สิง่ มีชวี ิต และ ความหมายของสิ่งมีชีวติ ความหมายของสงิ่ มชี ีวติ สงิ่ ไม่มีชีวติ ความสาคัญของสิ่งมีชีวิต ความสาคญั ของสิง่ มชี ีวติ การดารงชีวิตของสิง่ มีชีวติ การดารงชวี ิตของสง่ิ มชี วี ิต การพึ่งพาอาศัยของส่ิงมีชวี ติ การพ่ึงพาอาศยั ของสง่ิ มชี ีวิต การป้องกนั ภัยเพ่ือความอยูร่ อด การป้องกนั ภัยเพื่อความอยรู่ อด ความหมายของส่งิ ไมม่ ชี ีวิต ความหมายของส่ิงไมม่ ชี วี ิต ความสาคญั ของสง่ิ ไม่มชี ีวติ ความสาคัญของส่ิงไม่มีชีวติ ประโยชนข์ องสิ่งไมม่ ีชวี ติ ประโยชนข์ องสิง่ ไม่มชี ีวติ ประโยชน์ของสิ่งไม่มีชีวติ ประโยชน์ของสิ่งไมม่ ีชีวติ การรกั ษาและทาลายสงิ่ ไม่มีชวี ิต การรักษาและทาลายสิ่งไม่มีชีวติ หนว่ ยที่ ๒๖ เวลากลางวัน เวลากลางวนั ปรากฏการณ์ ตามธรรมชาติ ประโยชนข์ องดวงอาทิตย์เวลากลางวนั ประโยชน์ของดวงอาทติ ย์เวลากลางวนั (กลางวนั กลางคืน) โทษของแสงอาทิตย์ โทษของแสงอาทิตย์ หน่วยที่ ๒๗ เวลากลางคืน เวลากลางคืน การปฏิบัตติ นในเวลากลางคืน การปฏบิ ตั ติ นในเวลากลางคนื คุณสมบัติของอากาศ คุณสมบัติของอากาศ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดบั การศึกษาปฐมวัย ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนบ้านตลิ่งสงู สามคั คี สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
หนว่ ย ช้นั อนุบาล 2 ๑๒ อากาศ (อากาศรอบตัว) อากาศรอบตัว ชน้ั อนุบาล 3 รปู รา่ งของอากาศ หน่วยที่ ๒๘ ประโยชน์ของอากาศ อากาศรอบตวั ธรรมชาตสิ วยงาม โทษของอากาศ รูปร่างของอากาศ (ตน้ ไม้ของฉัน) ตน้ ไม้และป่าไม้ ประโยชน์ของอากาศ โทษของอากาศ หนว่ ยท่ี ๒๙ ประเภทของต้นไม้ ต้นไมแ้ ละป่าไม้ ส่งิ แวดล้อม ประโยชน์ของป่าไม้ ตามธรรมชาติ การอนุรักษต์ ้นไมแ้ ละป่าไม้ ประเภทของต้นไม้ (ธรรมชาตสิ วยงาม) การปลูก และดูแลรักษาตน้ ไม้ ประโยชนข์ องป่าไม้ ความหมายของธรรมชาติ การอนรุ ักษต์ ้นไมแ้ ละป่าไม้ หนว่ ยท่ี ๓๐ การปลกู และดูแลรักษาตน้ ไม้ ฤดูกาล ความสาคัญของธรรมชาติ ความหมายของธรรมชาติ (ฤดรู ้อน) ประโยชน์ของธรรมชาติ ภยั จากธรรมชาติ ความสาคญั ของธรรมชาติ การอนุรักษ์ ประโยชนข์ องธรรมชาติ ภัยจากธรรมชาติ ลักษณะอากาศในแต่ละวนั การอนรุ ักษ์ ลมร้อน ลักษณะอากาศในแต่ละวนั การปฏิบัติตนในฤดรู ้อน งานเทศกาลในฤดรู ้อน ลมร้อน โรคภยั ไข้เจ็บท่ีเกิดขึ้นในฤดูร้อน การปฏิบัติตนในฤดูร้อน งานเทศกาลในฤดูร้อน โรคภัยไขเ้ จบ็ ท่เี กิดขึ้นในฤดรู ้อน หนว่ ยที่ ๓๑ ประเภทของสตั วโ์ ลก ประเภทของสตั ว์โลก ความปลอดภัย (ปลอดภยั ไว้ก่อน) สัตวโ์ ลกแต่ละประเภท สัตว์โลกแต่ละประเภท ทอี่ ยู่อาศัยของสตั ว์โลก ทีอ่ ยู่อาศัยของสตั วโ์ ลก หน่วยที่ ๓๒ สตั วป์ า่ กบั ธรรมชาติ สัตว์ปา่ กับธรรมชาติ (ยานพาหนะที่รัก) ประโยชน์ และอนั ตรายจากสัตว์ ประโยชน์ และอนั ตรายจากสตั ว์ ความหมายของการคมนาคม ความหมายของการคมนาคม ความหมายของยานพาหนะ ความหมายของยานพาหนะ การขนส่งทางบก การขนสง่ ทางบก การขนสง่ ทางน้า การขนสง่ ทางน้า ยานพาหนะทางอากาศ ยานพาหนะทางอากาศ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบา้ นตลิง่ สงู สามคั คี สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
สาระท่ี ๔ สงิ่ ต่าง ๆ รอบตัวเด็ก ๑๓ หนว่ ย ช้นั อนุบาล 2 ชน้ั อนบุ าล 3 หนว่ ยที่ ๓๓ ระมดั ระวงั ปลอดภยั ระมัดระวัง ปลอดภยั ส่งิ ของรอบตวั ความปลอดภัยในการทากจิ กรรม (ของเลน่ ของใช้) ความปลอดภยั ในการทากิจกรรม การข้ามถนน การขา้ มถนน อันตรายจากของใช้ หนว่ ยที่ ๓๔ อนั ตรายจากของใช้ การใช้ยาทถี่ ูกวิธี ความปลอดภยั การใชย้ าท่ีถูกวธิ ี ประเภทของสตั ว์โลก (ปลอดภยั ไว้ก่อน) ประเภทของสัตวโ์ ลก สตั ว์โลกแต่ละประเภท หน่วยท่ี ๓๕ สตั วโ์ ลกแตล่ ะประเภท ทอี่ ยู่อาศยั ของสัตวโ์ ลก (ยานพาหนะทร่ี กั ) ท่อี ยู่อาศยั ของสัตว์โลก สตั วป์ ่ากบั ธรรมชาติ สตั ว์ปา่ กับธรรมชาติ ประโยชน์ และอันตรายจากสัตว์ หนว่ ยที่ ๓๖ ประโยชน์ และอันตรายจากสัตว์ ความหมายของการคมนาคม วันสาคัญ ความหมายของการคมนาคม ความหมายของยานพาหนะ (วนั ลอยกระทง) การขนส่งทางบก ความหมายของยานพาหนะ การขนสง่ ทางน้า หนว่ ยที่ ๓๗ การขนสง่ ทางบก ยานพาหนะทางอากาศ การส่ือสาร การขนส่งทางนา้ วันสาคญั ของท้องถน่ิ (การตดิ ต่อสื่อสาร) ยานพาหนะทางอากาศ วนั สาคัญของทอ้ งถิ่น วันลอยกระทง ความสาคญั ของวันลอยกระทง วนั ลอยกระทง ความสาคญั ของวันลอยกระทง ความสาคัญของวนั ลอยกระทง การปฏิบตั ิตนในวนั ลอยกระทงการ ความสาคญั ของวนั ลอยกระทง คมนาคม การปฏิบัตติ นในวนั ลอยกระทงการ ความหมายของการติดต่อสาร คมนาคม ความหมายของการตดิ ต่อสาร ไปรษณีย์ทร่ี ัก โทรศัพท์ ไปรษณยี ์ทรี่ ัก การฟงั วทิ ยุและดโู ทรทัศน์ โทรศัพท์ หนังสือพมิ พ์ การฟงั วิทยุและดูโทรทัศน์ หนงั สือพมิ พ์ หน่วยท่ี ๓๘ คณุ ลักษณะของสี คณุ ลักษณะของสี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดบั การศึกษาปฐมวยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบา้ นตล่ิงสงู สามัคคี สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๑๔ หนว่ ย ชนั้ อนุบาล 2 ชนั้ อนุบาล 3 สี ชื่อสีต่าง ๆ ชอ่ื สตี า่ ง ๆ (โลกสวยดว้ ยสสี นั ) การใชส้ แี ทนสญั ลักษณ์ การใชส้ แี ทนสญั ลักษณ์ ประโยชนข์ องสี ประโยชนข์ องสี หน่วยที่ ๓๙ อาหาร โทษของสี โทษของสี ประโยชนข์ องอาหาร ประโยชนข์ องอาหาร (กินดอี ยดู่ ี) ประเภทของอาหาร ประเภทของอาหาร หน่วยท่ี ๔๐ ประเภทของอาหาร ประเภทของอาหาร คณิตศาสตรใ์ น การเก็บรักษาอาหาร การเกบ็ รักษาอาหาร ชวี ิตประจาวัน การเกบ็ รักษาอาหาร การเก็บรักษาอาหาร (ตวั เลขแสนสนกุ ) การวดั ขนาดใหญ่เลก็ การวัดขนาดใหญ่เล็ก การวัดระยะใกล้ ไกล การวัดระยะใกล้ ไกล การช่ังการตวง การชัง่ การตวง นาฬกิ า และเวลา นาฬิกา และเวลา การคาดคะเน การคาดคะเน 8. แหล่งเรยี นรู้ ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น 8.1 หอ้ งสมดุ ห้องสมุดมีพนื้ ที่ขนาด ๑๒ x ๖ ตารางเมตร หนงั สือในห้องสมดุ มีจานวน ๘๐๐ เล่ม การสืบคน้ หนังสือและการยืม – คืน ใช้ระบบดวิ อ้ี มีเครื่องคอมพวิ เตอร์ใหบ้ รกิ ารสบื ค้นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ในห้องสมุด จานวน 1 เคร่อื ง มีจานวนนักเรียนที่ใชห้ อ้ งสมุด (ในปีการศึกษาทรี่ ายงาน) เฉลีย่ ๗๐ คน ต่อวัน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๔๖.๖๑ ของนักเรยี นทง้ั หมด 8.2 ห้องปฏิบัติการ มที ั้งหมด ๑ หอ้ ง จาแนกเปน็ 1. หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารวิทยาศาสตร์ จานวน 1 หอ้ ง 2. ห้องปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์ จานวน ๑ ห้อง 3. ห้องปฏิบัตกิ ารทางภาษา จานวน - หอ้ ง 8.3 เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ มีท้ังหมด จานวน ๑๗ เคร่ือง จาแนกเปน็ 1. ใช้เพอ่ื การศึกษาปฐมวัย จานวน ๑๗ เครือ่ ง 2. ใชเ้ พื่อใหบ้ รกิ ารสืบค้นข้อมูลทางอินเตอรเ์ นต็ จานวน ๑๗ เครือ่ ง โดยมีจานวนนักเรียนที่ใช้บรกิ ารสบื ค้นข้อมูลทางอนิ เตอร์เน็ตเฉล่ีย ๕๐ คน ต่อวัน (ป.๑ – ป.๖) คิดเปน็ รอ้ ยละ ๔๒.๗๓ ของนักเรียนท้งั หมด 3. ใชเ้ พอื่ สนบั สนุนการบริหารสถานศกึ ษา (สานกั งาน) จานวน ๑๑ เครอื่ ง รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบ้านตลงิ่ สูงสามัคคี สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๑๕ 8.4 แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรยี น ที่ ช่อื แหล่งเรียนรู้ สถติ ิการใช้ จานวนครั้ง/ปี 1. หอ้ งสมุด ๓๐ ครั้ง/ปี 2. ห้องคอมพวิ เตอร์ ๓๐ ครั้ง/ปี ๓. สวนพฤกษศาสตร์ ๓๐ ครั้ง/ปี 8.5 แหลง่ เรียนรูภ้ ายนอกโรงเรียน ท่ี ชื่อแหล่งเรียนรู้ สถิตกิ ารใช้ จานวนครง้ั /ปี 1. วัดตลิ่งสูงเทพนิมติ ๑ ครั้ง/ปี 8.6 ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ปราชญ์ชาวบ้าน ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ วิทยากร ที่สถานศึกษาเชิญมาให้ความรู้แกค่ รู นกั เรียน (ในปีการศกึ ษาท่ีรายงาน) ที่ ชื่อวิทยากร สถิติการใช้ จานวนครง้ั /ปี 1. นายชัยธวชั คงปา่ 4 ครั้ง/ปี 2. นางสมพร เขม้นกสิการณ์ 2 ครง้ั /ปี 3. พระวราทิศ ธมมทฺ ินฺโน 6 ครงั้ /ปี 9. ผลงานดีเดน่ ในรอบปีทผ่ี ่านมา 9.1 ผลงานดีเดน่ ประเภท ระดับรางวลั /ช่ือรางวัลทไี่ ด้รับ/วันทไ่ี ด้รบั หนว่ ยงานท่ีให้ สถานศกึ ษา - ผู้บริหาร (ระบชุ ่ือ) - ครู (ระบุชื่อ) - นกั เรยี น (ระบุชอื่ ) - 9.2 โครงการ/กจิ กรรมพิเศษ ที่ดาเนินการตามนโยบายชาติ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ - โครงการบา้ นนักวิทยาศาสตร์นอ้ ย รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบ้านตลิ่งสูงสามัคคี สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
๑๖ 10. ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาในปที ี่ผ่านมา ปีการศึกษา 256๒ (ปีการศกึ ษาทแี่ ล้ว) ระดับการศกึ ษาปฐมวยั มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ทเ่ี น้นเดก็ เป็นสาคัญ ยอดเย่ียม ตารางสรุปผลการประเมนิ คุณภาพภายในระดบั ปฐมวัย มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา ค่าเป้าหมาย ผลการประเมิน บรรลุเปา้ หมาย มาตรฐานท่ี ๑ ด้านคณุ ภาพของเดก็ ระดบั ๓ ดี ระดับ ๕ ยอด สูงกวา่ เป้าหมาย เยยี่ ม ๑.๑ มีการพัฒนาด้านรา่ งกาย แข็งแรง มีสุขนิสัย รอ้ ยละ ๘๕ ได้ รอ้ ยละ ๑๐๐ สงู กว่าเป้าหมาย ทดี่ ี และดูแลความปลอดภยั ของ ตนเองได้ ระดบั ดีขน้ึ ไป ยอดเยี่ยม ๑.๒ มกี ารพัฒนาดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ ร้อยละ ๘๕ ได้ รอ้ ยละ ๑๐๐ สงู กวา่ เปา้ หมาย แลและแสดงอออกทางอารมณไ์ ด้ ระดับดีขน้ึ ไป ยอดเยี่ยม ๑.๓ มกี ารพฒั นาการด้านสังคม ชว่ ยแหลอื ตนเอง รอ้ ยละ ๘๕ ได้ รอ้ ยละ ๑๐๐ สูงกว่าเปา้ หมาย และเป็นสมาชกิ ทดี่ ีของสงั คม ระดบั ดขี ึ้นไป ยอดเยย่ี ม ๑.๔ มพี ฒั นาการด้านสติปญั ญา สือ่ สารได้ มี รอ้ ยละ ๘๕ ได้ ร้อยละ ๑๐๐ สงู กวา่ เปา้ หมาย ทักษะการคิดพน้ื ฐานและแสวงหาความรู้ได้ ระดับดีข้นึ ไป ยอดเยย่ี ม สูงกวา่ เปา้ หมาย มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการ จดั การ ระดบั ๓ ดี ระดับ ๕ ยอด เย่ยี ม ๒.๑ มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน รอ้ ยละ ๘๕ ได้ สอดคลอ้ งกับบริบทของท้องถ่ิน ระดบั ดีขน้ึ ไป รอ้ ยละ ๑๐๐ สงู กว่าเป้าหมาย ๒.๒ จดั ครูให้เพยี งพอกบั ช้ันเรียน ร้อยละ ๘๕ ได้ ยอดเยย่ี ม สูงกว่าเปา้ หมาย ระดับดขี น้ึ ไป สูงกวา่ เปา้ หมาย ๒.๓ ส่งเสรมิ ใหค้ รมู ีความเชี่ยวชาญดา้ นการจัด รอ้ ยละ ๘๕ ได้ ร้อยละ ๑๐๐ สงู กวา่ เป้าหมาย ประสบการณ์ ระดบั ดขี ึ้นไป ยอดเยี่ยม ๒.๔ จดั สภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ ร้อยละ ๘๕ ได้ อย่างปลอดภัย และเพียงพอ ระดับดขี ึ้นไป ร้อยละ ๑๐๐ ยอดเยย่ี ม ร้อยละ ๑๐๐ ยอดเยี่ยม รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดบั การศึกษาปฐมวยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบ้านตล่ิงสูงสามคั คี สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
๑๗ มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา คา่ เป้าหมาย ผลการประเมนิ บรรลุเปา้ หมาย ๒.๕ ให้บริการสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อการ รอ้ ยละ ๘๕ ได้ ร้อยละ ๑๐๐ สงู กวา่ เปา้ หมาย เรยี นรู้เพ่ือสนับสนุนการจัดประสบการณ์ ระดับดีข้ึนไป ยอดเยย่ี ม สูงกวา่ เปา้ หมาย ๒.๖ มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพทีเ่ ปดิ โอกาสให้ ร้อยละ ๘๕ ได้ ร้อยละ ๑๐๐ สงู กว่าเป้าหมาย ผู้เก่ยี วข้องทกุ ฝ่ายมีส่วนรว่ ม ระดบั ดีขึน้ ไป ยอดเยยี่ ม มาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณ์ทเี่ นน้ เดก็ เปน็ ระดับ ๕ ยอด สาคัญ ระดบั ๓ ดี เยยี่ ม ๓.๑ จัดประสบการณ์ที่สง่ เสริมให้เดก็ มีการ รอ้ ยละ ๘๕ ได้ รอ้ ยละ ๑๐๐ พัฒนาการทุกด้านอยา่ งสมดลุ เต็มศักยภาพ ระดบั ดีข้ึนไป ยอดเย่ยี ม สงู กวา่ เป้าหมาย ๓.๒ สร้างโอกาสให้เดก็ ได้รับประสบการณ์ตรง ร้อยละ ๘๕ ได้ ร้อยละ ๑๐๐ เล่นและปฏิบตั อิ ยา่ งมีความสุข ระดบั ดขี ึน้ ไป ยอดเยย่ี ม สูงกว่าเปา้ หมาย ๓.๓ จดั บรรยากาศทเี่ อื้อตอ่ การเรยี นรใู้ ชส้ ื่อ รอ้ ยละ ๘๕ ได้ รอ้ ยละ ๑๐๐ เทคโนโลยที ี่เหมาะสมกบั วัย ระดบั ดขี น้ึ ไป ยอดเย่ยี ม สูงกวา่ เป้าหมาย ๓.๔ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนา ร้อยละ ๘๕ ได้ รอ้ ยละ ๑๐๐ ผลประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัด ระดับดขี ึ้นไป ยอดเยย่ี ม สงู กว่าเปา้ หมาย ประสบการณ์และพฒั นาเดก็ สรปุ ผล แนวทางการพฒั นา และความต้องการการชว่ ยเหลอื โรงเรยี นบา้ นตลงิ่ สงู สามคั คี มีผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสาคัญที่ สถานศึกษาจะต้องนาไปวิเคราะห์สังเคราะห์ เพ่ือสรุปนาไปสู่การเชื่อมโยงหรือสะท้อนภาพความสาเร็จกับ แผนพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา และนาไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษา ดงั นัน้ จากผลการดาเนินงานของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจุดเด่น จุดควรพัฒนาของแต่ละมาตรฐานพร้อมท้ังแนวทางการพัฒนาในอนาคตเพื่อให้ได้มาตรฐานท่ีสูงข้ึนและความ ต้องการชว่ ยเหลือ ดงั น้ี รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบ้านตล่งิ สงู สามัคคี สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๑๘ จุดเดน่ จดุ ควรพฒั นา คณุ ภาพของเดก็ คณุ ภาพของเดก็ - เด็กมรี า่ งกายเติบโตตามวัย มีน้าหนักส่วนสูงตาม - ดา้ นการมีความคิดรวบยอด การแกป้ ัญหาทีเ่ กิด เกณฑ์ มีทกั ษะการเคลือ่ นไหวตามวัย สามารถดแู ล จากการอา่ น สขุ ภาพและหลกี เลีย่ งตอ่ สภาวะทีเ่ สี่ยงต่ออบุ ัติเหตุ ภัย - การทากจิ กรรมเสรมิ สติปญั ญาใหเ้ หมาะสมตามวยั และสงิ่ เสพติด มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มที่พึง ประสงค์ มจี ติ สานกึ ในการอนรุ ักษ์และพัฒนา - การพัฒนา ปลกู ฝงั ในเร่ืองสุขนสิ ัยทดี่ ี เชน่ การล้าง ส่งิ แวดล้อม ทางานรว่ มกบั ผ้อู ่ืนได้อย่างมีความสขุ มี มอื ก่อนรับประทานอาหาร ล้างมอื กอ่ นออกจาก อารมณแ์ จ่มใส รา่ เรงิ สนกุ สนาน ร่วมกิจกรรมอยู่ใน ห้องนา้ ห้องสว้ ม และการเลือกรับประทานอาหารท่ี สังคมได้อย่างมีความสขุ มสี ติปัญญาเรยี นรไู้ ด้ตาม มีประโยชน์ ให้เปน็ นิสยั กจิ กรรมประจาวันอยา่ งดี - การยนื ตรงเมอื่ ไดย้ ินเพลงชาติ - การใช้คาพดู ขอบคุณ ขอโทษ กระบวนการบริหารและการจัดการ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ - มหี ลกั สูตรครอบคลุมพัฒนาการทง้ั 4 ดา้ น - จัดครูให้เพยี งพอต่อชน้ั เรยี น สอดคลอ้ งกบั บริบทของท้องถ่ิน - สง่ เสริมใหค้ รูมคี วามเช่ยี วชาญดา้ นการจดั - การจดั สงิ่ อานวยความสะดวกให้บริการด้านส่ือ ประสบการณ์ เทคโนโลยสี ารสนเทศ อุปกรณ์เพ่ือสนบั สนนุ การจดั - จดั สภาพแวดล้อมและสื่อเพ่ือการเรียนรู้ อย่าง ประสบการณ์ ปลอดภยั และพอเพียง - ครไู ดร้ บั การพฒั นาด้านวชิ าชีพ - กาหนดแผนการพัฒนาครูอยา่ งชัดเจน การจดั ประสบการณ์ทีเ่ นน้ เดก็ เปน็ สาคัญ การจัดประสบการณ์ที่เนน้ เดก็ เปน็ สาคัญ - เดก็ มพี ฒั นาการการอยา่ งสมดุล - จัดอปุ กรณส์ ื่อการเรยี นการสอนท่ีหลากหลาย - เด็กเรยี นรู้ จากการเลน่ และปฏิบตั ิกจิ กรรม - พัฒนาเคร่ืองเล่นสนามและระบบสาธารณปู โภค - มีบรรยากาศ สภาพห้องเรียนเอื้อต่อการเรยี นรู้ - จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ เด็กเรียนรกู้ ารอยรู่ ่วมกนั - ประเมินผลเดก็ ด้วยวิธกี ารหลากหลาย แผนการพัฒนาคณุ ภาพเพ่ือยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐานให้สงู ขน้ึ โครงการพัฒนาคุณภาพเดก็ ปฐมวัยดา้ นรา่ งกาย โครงการพัฒนาคณุ ภาพเด็กปฐมวยั ด้านอารมณ์ จิตใจ โครงการพัฒนาคุณภาพเดก็ ปฐมวัยด้านสังคม โครงการพฒั นาคณุ ภาพเด็กปฐมวัยดา้ นสติปญั ญา แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต ๑. พัฒนาระบบการนเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม ใหเ้ ปน็ ไปตามระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ตามแผนปฏบิ ตั ิการของ โรงเรยี น บุคลากรท่ไี ด้รับการนิเทศให้ปฏบิ ตั ติ ามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการนิเทศของโรงเรยี นอยา่ งจรงิ จงั ๒. สรา้ งเครือข่ายของผูม้ ีส่วนเก่ยี วข้องในการจดั การศึกษาของโรงเรยี นให้มีส่วนรว่ มในการปฏบิ ตั ิงาน และมคี วามเข้มแขง็ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดับการศึกษาปฐมวัย ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบ้านตลงิ่ สงู สามัคคี สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๑๙ 11. ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม ได้รับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม เมื่อวันท่ี 25 - 27 เดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๕ มผี ลกการประเมนิ ดังน้ี ๑. ระดับการศึกษาปฐมวัย ระดับการศึกษาปฐมวยั (๒-๕ ป)ี นา้ หนัก คะแนน ระดบั คะแนน ที่ได้ คณุ ภาพ กลมุ่ ตัวบ่งช้ีพน้ื ฐาน ตวั บง่ ชท้ี ี่ 1 เด็กมพี ัฒนาการด้านรา่ งกายสมวยั ๕.๐๐ ๔.๕๐ ดมี าก ตวั บ่งชี้ท่ี 2 เด็กมพี ฒั นาการด้านอารมณ์และจติ ใจสมวยั ๕.๐๐ ๔.๕๐ ดีมาก ตัวบ่งชท้ี ่ี 3 เด็กมพี ฒั นาการด้านสงั คมสมวัย ๕.๐๐ ๔.๐๐ ดี ตัวบ่งชี้ท่ี 4 เด็กมพี ฒั นาการด้านสติปญั ญาสมวัย ๑๐.๐๐ ๙.๐๐ ดมี าก ตัวบ่งชี้ที่ 5 เดก็ มีความพรอ้ มศึกษาต่อในขั้นต่อไป ๑๐.๐๐ ๑๐.๐๐ ดีมาก ตวั บง่ ชท้ี ่ี 6 ประสิทธิผลของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทีเ่ นน้ ๓๕.๐๐ ๓๔.๐๐ ดมี าก เดก็ เปน็ สาคัญ ตัวบง่ ช้ที ่ี 7 ประสิทธภิ าพของการบริหารจัดการและการพัฒนา ๑๕.๐๐ ๑๒.๕๐ ดี สถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 8 ประสิทธิผลของระบบการประกันคณุ ภาพภายใน ๕.๐๐ ๔.๒๘ ดี กลุ่มตวั บง่ ช้อี ัตลกั ษณ์ ตวั บง่ ชีท้ ่ี 9 ผลการพฒั นาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน วสิ ัยทัศน์ ๒.๕๐ ๒.๐๐ ดี พันธกจิ และวัตถปุ ระสงค์ของการจัดต้ังสถานศกึ ษา ตวั บง่ ชท้ี ่ี 10 ผลการพฒั นาตามจุดเน้นและจุดเดน่ ท่สี ่งผลสะท้อน ๒.๕๐ ๒.๐๐ ดี เป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา กลมุ่ ตวั บ่งช้ีมาตรการสง่ เสรมิ ตวั บ่งชที้ ่ี 11 ผลการดาเนินงานโครงการพเิ ศษเพื่อส่งเสรมิ ๒.๕๐ ๒.๕๐ ดีมาก บทบาทของสถานศึกษา ตวั บง่ ชท้ี ี่ 12 ผลการสง่ เสรมิ พัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับ ๒.๕๐ ๒.๕๐ ดมี าก มาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเปน็ เลิศที่สอดคลอ้ ง กับแนวทางการปฏริ ปู การศึกษา รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดับการศึกษาปฐมวัย ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบา้ นตล่ิงสงู สามัคคี สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๒๐ สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกระดับการศกึ ษาปฐมวัย (๒-๕ ปี) - ผลรวมคะแนนประเมินสถานศกึ ษา ๙๑.๗๘ คะแนน - มคี ุณภาพระดับ ดมี าก การรับรองมาตรฐานสถานศึกษา : ระดับการศกึ ษาปฐมวัย (๒-๕ ป)ี - ผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งช้ี ตัง้ แต่ ๘๐ คะแนนขนึ้ ไป ใช่ ไม่ใช่ - มีตัวบ่งช้ที ่ีไดร้ ะดบั ดีขนึ้ ไปอย่างนอ้ ย ๑๐ ตัวบง่ ชี้ จาก ๑๒ ตัวบง่ ชี้ ใช่ ไมใ่ ช่ - ไมม่ ีตัวบง่ ช้ใี ดทีม่ ีระดับคุณภาพตอ้ งปรับปรงุ หรือตอ้ งปรับปรงุ เร่งดว่ น ใช่ ไม่ใช่ สรุปผลในภาพรวมของสถานศกึ ษาการจดั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน : ระดับการศึกษาปฐมวัย (๒-๕ ป)ี สมควรรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา ไมส่ มควรรับรองมาตรฐานการศกึ ษา กรณีทไ่ี ม่ได้รบั การรับรอง เน่อื งจาก ........................-.................................................................... ข้อเสนอแนะ ............................................-..................................................................................... 12. การนาผลการประเมินคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษามาใชใ้ นการปรบั ปรุงและพฒั นาการศกึ ษา อยา่ งต่อเนือ่ ง ขอ้ เสนอแนะ ๑. ด้านผลการจดั การศกึ ษา เดก็ ควรไดร้ ับการพัฒนาดา้ นเคารพสิทธข์ิ องผูอ้ น่ื เชน่ ขออนญุ าตเจ้าของก่อนหยบิ ของผู้อ่นื รวมทัง้ ครู ควรเนน้ ที่เรื่องการยกมือไหวส้ วัสดีอย่างมีมารยาทและวัฒนธรรมไทย และควรฝกึ ใหเ้ ดก็ ทางานเป็นกลุ่ม รว่ มคดิ ร่วมทาและการรจู้ กั แบ่งปนั ใหเ้ ด่นชัดขน้ึ ๒. ผลการจดั การเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ ครคู วรจัดกจิ กรรมบูรณาการท้ังรายบุคคล รายกลมุ่ กลุ่มเลก็ และกลุ่มใหญใ่ หเ้ ด็กเล่า เร่ืองและลงมอื กระทาเพื่อพฒั นาความคดิ รวบยอดและทักษะเกยี่ วกบั คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษา สงั คม ดนตรี กฬี าท่ีเหมาะสมกับบริบทและวฒั นธรรม ๓. ดา้ นการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา สถานศกึ ษาเพมิ่ ความสาคญั ในการสงั เคราะห์ผลการประเมนิ ตนเองและสังเคราะห์สู่ การใหข้ ้อเสนอแนะทเ่ี ป็นรปู ธรรม นาไปพฒั นาใหค้ รอบคลมุ ทกุ กล่มุ มาตรฐานมากข้นึ เพื่อให้ เกิดความคมุ้ ค่าในการดาเนนิ งานละเป็นการผดุงระบบการประกันคณุ ภาพไวใ้ ห้ต่อเนื่องและ ยั่งยนื ตอ่ ไป 13. การพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาตามแผนปฏิบตั ิการประจาของสถานศึกษา 13.1 การบรหิ ารจัดการศกึ ษา โรงเรียนบ้านตลิ่งสูงสามัคคี มีการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (school Base Management) ภายใตว้ งจรคุณภาพ (PDCA) ดว้ ยการบริหารท่ีเป็นระบบ การบริหารโรงเรียนคุณภาพด้วย HOME MODEL บริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล การมีส่วนร่วม และค่านิยมของโรงเรียน (TEAM) เป็น วัฒนธรรมองค์กรในการทางานที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้โรงเรียนมีระบบกลไกการบริหารจัดการ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดับการศึกษาปฐมวยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบ้านตล่ิงสงู สามคั คี สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๒๑ คุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเพื่อประกันคุณภาพการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีการระบบ บริหารจัดการคุณภาพโดยจัดโครงสร้างการบริหารงานโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School Base Management) ออกเป็น 4 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารงบประมาณ กลุ่มบริหารงาน บคุ คล และกลมุ่ บริหารทัว่ ไป กากบั ดูแลองค์กรและพฒั นากระบวนการบริหารจัดการ ยึดหลักธรรมาภิบาล เน้นการบริหารคน (Human Resource Management) และบริหารงานแบบมีส่วนร่วม (Participation Management) โดยน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency) มาใช้ในการบริหารและการ จดั การเรยี นการสอน ภายใตว้ งจรคณุ ภาพ (PDCA) เพ่อื พัฒนาผู้เรียน ครู ผู้บรหิ าร โรงเรียน และชุมชนสู่ความ เปน็ เลศิ (Smart) อย่างยั่งยืน (Sustainable) คณะกรรมการทปี่ รกึ ษา โครงสรา้ งการบรหิ าร คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ผ้บู ริหารสถานศึกษา นางภัทรวดี สีขา กลุ่มงานบริหาร กลุ่มงานบรหิ าร กลุ่มงานบรหิ าร กลมุ่ งานบรหิ าร วชิ าการ งบประมาณ บคุ ลากร ทัว่ ไป นางสาวสนี วล ทวสี กจิ นางจดิ าภา ช้างไผ่ นางสาวนงนชุ สทุ ธิ นายอฐิ แย้มยม้ิ น.ส.เบญจมาศ คงทายาท ๑. การจัดทาแผนบรหิ าร ๑. การวางแผนอัตรากาลัง ๑. การดาเนินงานธุรการ ๑. การพฒั นาหลกั สูตร งบประมาณ ๒. การสรรหาบคุ ลากร ๒. งานเลขานุการกรรมการ สถานศกึ ษา ๒. การบริหารจัดการทาง ๓. การเสริมสร้าง สถานศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ๒. การจดั และพัฒนา การเงิน ประสิทธภิ าพในการ ๓. งานพัฒนาระบบและ กระบวนการเรยี นรู้ ๓. การรับเงนิ การจ่ายเงนิ ปฏบิ ตั ิราชการ เครอื ข่ายขอ้ มูลสารสนเทศ ๓. การวัดประเมินผลและ การเก็บรกั ษาเงิน ๔. วินยั และการรกั ษาวนิ ัย ๔. การจดั ระบบบริหารและ เทียบโอนผลการเรียน ๔. การบรหิ ารพัสดุและ ๕. การออกจากราชการ พัฒนาองค์การ ๔. การวจิ ัยเพื่อพัฒนาคณุ ภาพ สินทรัพย์ ๕. งานเทคโนโลยีสารสนเทศ การศึกษา ๕. การควบคุมพสั ดุและ ๖. การดแู ลอาคารสถานทีแ่ ละ ๕. การพฒั นาสอ่ื นวัตกรรม สินทรพั ย์ สภาพแวดลอ้ ม และเทคโนโลยที างการศกึ ษา ๖. การระดมทรพั ยากร ๗. งานพ.ร.บ.การศึกษาภาค ๖. การพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ ๗. การกากบั ควบคุม บงั คบั การนเิ ทศการศกึ ษา ประเมินผลและจดั ทา ๘. การประชาสมั พนั ธ์ทาง ๗.การพัฒนาระบบประกัน รายงาน การศกึ ษา คุณภาพการศกึ ษา ๘. การวางระบบตรวจสอบ ๙. งานบริการสาธารณะ ๘.การแนะแนวการศกึ ษา ภายใน ๑๐. งานกิจการนักเรียน ๙.กจิ กรรมสง่ เสริมการความ ๑๑.งานทม่ี ไิ ดร้ ะบุไว้ รูแ้ กน่ กั เรยี นครอบครวั ชุมชน ในงานอ่ืนๆ รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดบั การศึกษาปฐมวยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนบา้ นตล่งิ สูงสามคั คี สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒ นักเรยี น
๒๒ 13.2 วสิ ัยทศั น์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ กลยทุ ธ์ จดุ มุ่งหมายเพอ่ื การพัฒนาอัตลักษณ์ และเอกลกั ษณ์ของ สถานศกึ ษา วิสัยทัศน์ ภายในปีการศึกษา 2566 โรงเรียนบา้ นตลง่ิ สูงสามคั คี มุ่งจัดการศกึ ษาอย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน การศกึ ษาของชาติ พัฒนาให้ผู้เรยี นเป็นคนดี คนเกง่ พร้อมสาหรับวิถีชวี ติ ในศตวรรษที่ 21 พันธกจิ 1. พฒั นาผ้เู รียนให้มพี ัฒนาการสมวยั มผี ลสัมฤทธท์ิ างวิชาการสูงข้ึนและมีทักษะการเรยี นรู้ท่ีสาคญั ใน ศตวรรษท่ี 21 2. ปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เปน็ พลเมอื งที่ดี มีความเป็นไทย ภูมคิ มุ้ กัน จากภยั ในทกุ รปู แบบ มีสขุ ภาวะที่ดี และวิถชี ีวติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. พฒั นาหลกั สตู ร กระบวนการจัดการเรยี นการสอนและวดั ผลประเมนิ ผลทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสาคญั 4. จัดการศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ เปา้ ประสงค์ 1. นกั เรยี นมีพัฒนาการสมวัย มผี ลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการสงู ขึ้นและมที ักษะการเรียนรู้ทีส่ าคัญใน ศตวรรษท่ี 21 2. นักเรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เป็นพลเมืองทด่ี ี มคี วามเป็นไทย ภมู คิ มุ้ กนั จากภัยในทุกรูปแบบ มสี ขุ ภาวะทดี่ ี และวิถชี วี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. สถานศกึ ษามีหลักสตู ร กระบวนการจดั การเรยี นการสอนและวดั ผลประเมนิ ผลท่เี น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ 4. สถานศึกษาจัดการศึกษาใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ ประเด็นกลยุทธ์ 1. พฒั นาศกั ยภาพผู้เรยี นสู่วิถใี นศตวรรษท่ี 21 2. ปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 3. พฒั นาระบบการบริหารจดั การอย่างมีประสิทธภิ าพ 4. พฒั นากระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดบั การศึกษาปฐมวยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบ้านตลงิ่ สงู สามคั คี สานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๒๓ ประเดน็ กลยุทธ์ของสถานศกึ ษา แผนพัฒนาการคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี น วัตถปุ ระสงค์ ตวั ชีว้ ดั กลยทุ ธ์รเิ ร่มิ โครงการ/กิจกรรม ๑. มพี ฒั นาการดา้ น ๑. รอ้ ยละของเด็กท่ีมนี ้าหนกั และ จดั การศกึ ษา โครงการพัฒนาคณุ ภาพ รา่ งกายแขง็ แรง มี ส่วนสงู ตามเกณฑ์มาตรฐานของกรม เพ่อื ความมน่ั คง เด็กปฐมวยั ศนู ยน์ สิ ัยท่ดี ี และ อนามยั - กจิ กรรมกีฬาสวี ัยใส ดแู ลความปลอดภยั ๒. ร้อยละของเด็กที่มสี ุขภาพอนามัย - กิจกรรมอาหาร ของตนเองได้ และสุขนิสัยท่ีดี กลางวนั อม่ิ อร่อย ๓. ร้อยละของเดก็ ที่ปฏบิ ัตติ นตาม ขอ้ ตกลงของหอ้ งเรยี น รวมท้ังเลน่ และ ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมได้อย่างปลอดภยั ตอ่ ตนเองและตอ่ ผู้อน่ื ๔. ร้อยละของเดก็ ท่รี ู้และปฏิบตั ิตนที่ หลกี เลยี่ งสภาวะทเ่ี สี่ยตอ่ โรค ส่งิ เสพติด และระวังภัยจากบุคคล สง่ิ แวดลอ้ ม และสถานการณท่เี สีย่ งอันตราย ๕. รอ้ ยละของเด็กทสี่ ามารถ เคลอื่ นไหวรา่ งกายอยา่ งคล่องแคลว่ ๒. มีพัฒนาการด้าน ๑. ร้อยละของเดก็ ท่รี ่าเริง แจ่มใส จดั การศกึ ษา โครงการพัฒนาคุณภาพ อารมณ์ จิตใจ สามารถแสดงอารมณ์ ความรู้สึกได้ เพือ่ ความมน่ั คง เดก็ ปฐมวัย ควบคุมและ สอดคล้องกับสถานการณ์อยา่ งเหมาะสม - กิจกรรมหนูนอ้ ยทาได้ แสดงออกทางอารมณ์ ตามวยั ได้ ๒. รอ้ ยละของเดก็ ท่ีกล้าพูด กล้าแสดงออกได้อย่างเหมาะสมตาม สถานการณ์ ๓. ร้อยละของเดก็ ทสี่ นใจศลิ ปะ – ดนตรี มคี วามสขุ และแสดงท่าทาง/ เคลือ่ นไหวประกอบเพลง จงั หวะและ ดนตรีได้ และสรา้ งผลงานศิลปะได้ เหมาะสมตามวัย ๔. รอ้ ยละของเด็กท่ีมีความเมตตา กรุณา มนี ้าใจ ช่วยเหลือและแบง่ ปัน ๕. ร้อยละของเด็กที่สามารถทางานที่ ไดร้ ับมอบหมายจนสาเร็จได้ด้วยตนเอง ๖. รอ้ ยละของเดก็ ท่ีรู้จักยับยัง้ ชั่งใจ อดทนในการรอคอย และรู้จักอดกลั้นต่อ สง่ิ เรา้ ใจท่ีมากระทบหรือพบเหน็ ๗. ร้อยละของเด็กท่ีมจี ติ สานึกและ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดับการศึกษาปฐมวยั ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนบ้านตล่ิงสูงสามคั คี สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๒๔ วตั ถปุ ระสงค์ ตัวชี้วัด กลยุทธร์ เิ ร่ิม โครงการ/กจิ กรรม จัดการศกึ ษา คา่ นิยมทดี่ ี เคารพสทิ ธิ รหู้ นา้ ที่ เพ่ือความมน่ั คง โครงการพัฒนาคณุ ภาพ เด็กปฐมวัย รับผิดชอบ ซ่ือสัตยส์ จุ ริตมคี ุณธรรม จดั การศึกษา - กจิ กรรมรกั ษ์ เพอื่ ความมัน่ คง สงิ่ แวดล้อม จริยธรรมตามทีส่ ถานศึกษากาหนด - กจิ กรรมวนั สาคัญ ๘. ร้อยละของเดก็ ทยี่ อมรับและพอใจใน โครงการพัฒนาคุณภาพ เดก็ ปฐมวัย ความสามารถและผลงานของตนเองและ - กจิ กรรมบ้าน นกั วิทยาศาสตรน์ ้อย ผูอ้ ่นื ๓. มพี ฒั นาการดา้ น ๑. ร้อยละของเดก็ ทสี่ ามารถช่วยเหลือ สงั คมช่วยเหลือตนเอง ตนเองในการปฏิบตั กิ จิ วตั รประจาวนั ได้ และเปน็ สมาชิกท่ดี ี เหมาะสม ของสังคม ๒. รอ้ ยละของเดก็ ที่มีวินยั ในตนเอง เก็บ ของเลน่ ของใช้เข้าท่ีอยา่ งเรยี บร้อยด้วย ตนเอง ๓. รอ้ ยละของเดก็ ท่ีใช้สงิ่ ของเคร่ืองใช้ อย่างประหยดั และพอเพยี ง ๔. ร้อยละของเด็กที่สามารถดูแลรักษา ธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ มทง้ั ภายในและ ภายนอกหอ้ งเรยี นรวมทงั้ ทิ้งขยะได้ถูกที่ ด้วยตนเอง ๕. รอ้ ยละของเด็กทส่ี ามารถปฏบิ ัติตน ตามมารยาทไทยไดเ้ หมาะสมกับ กาลเทศะ เชน่ การไหว้ การย้ิม ทกั ทาย และมีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ ๖. ร้อยละของเด็กทีส่ ามารถเลน่ หรือ ทางานรว่ มกบั ผู้อื่น และยอมรับหรือ เคารพความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลได้ ๗. ร้อยละของเด็กที่สามารถปฏิบตั ิตน เปน็ ผ้นู าและผ้ตู ามได้เหมาะสมกบั สถานการณ์ ๔. มีพฒั นาการด้าน ๑. ร้อยละของเดก็ ทีส่ ามารถสนทนา สตปิ ัญญาสอ่ื สารได้ โตต้ อบ และเลา่ เรื่องให้ผู้อืน่ เข้าใจได้ มีทักษะการคดิ ๒. รอ้ ยละของเด็กทส่ี ามารถ จบั คู่ พืน้ ฐานและแสวงหา เปรียบเทียบ จาแนก จดั กลุม่ และ ความรู้ได้ เรียงลาดบั เหตกุ ารณ์ได้ ๓. รอ้ ยละของเด็กทส่ี ามารถตั้งคาถาม ในสิ่งทต่ี นเองสนใจหรอื สงสยั และคน้ หา คาตอบโดยใชว้ ิธกี ารทหี่ ลากหลายดว้ ย รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนบา้ นตลิ่งสูงสามัคคี สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
วตั ถปุ ระสงค์ ตัวชีว้ ดั กลยุทธ์ริเรมิ่ ๒๕ โครงการ/กจิ กรรม ตนเองได้ ๔. ร้อยละของเดก็ ท่ีสามารถระบุปัญหา สรา้ งทางเลอื ก และเลือกวิธีแก้ปญั หาได้ ๕. ร้อยละของเดก็ ทส่ี ามารถอธิบาย เชื่อมโยงสาเหตแุ ละผลทีเ่ กิดข้ึนใน สถานการณ์หรือการกระทาได้ ๖. ร้อยละของเดก็ ท่ีมคี วามสามารถใน การคิดรวบยอดและคดิ เชิงเหตุผลทาง คณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ ๗. ร้อยละของเดก็ ที่สรา้ งสรรค์ผลงาน ตามความคดิ และจินตนาการ เช่น งาน ศิลปะ การเคล่อื นไหว และทา่ ทางการ เล่นอสิ ระ ๘. ร้อยละของเด็กทส่ี ามารถใช้สื่อ เทคโนโลยี เชน่ แว่นขยาย แมเ่ หลก็ กลอ้ งดจิ ิตอล เป็นเคร่ืองมือการเรยี นรู้ และแสวงหาความรู้ได้ อตั ลักษณ์ของสถานศกึ ษา สขุ นิสัยดี มีคุณธรรม เอกลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา จิตแจ่มใส ใฝเ่ รียนรู้ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดับการศกึ ษาปฐมวยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบา้ นตล่งิ สงู สามัคคี สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๒๖ สว่ นท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ผลการประเมนิ คณุ ภาพตามมาตรฐานการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา สรุปผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านตลง่ิ สงู สามคั คปี ระจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ตามที่โรงเรียนบ้านตลิ่งสูงสามัคคี ได้ดาเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาประจาปี การศึกษา ๒๕๖๓ ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ โดย จัดทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง และเสนอต่อสาธารณชน เพื่อ นาไปสกู่ ารพัฒนาคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาและเพื่อรองรบั การประเมนิ คุณภาพภายนอก บัดนี้ การดาเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอเสนอผลการ ประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาแสดงในตาราง สรุปผลไดด้ งั น้ี มาตรฐาน/ตวั บ่งช้ี ระดบั คุณภาพ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก ยอดเยย่ี ม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ยอดเย่ียม มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ ่เี นน้ เดก็ เป็นสาคัญ ยอดเยยี่ ม มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ ระดบั คุณภาพ ยอดเย่ียม มาตรฐาน/ประเด็นการพจิ ารณา เปา้ หมาย ผลการ สรุปผล ประเมนิ การประเมิน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ดเี ลศิ ยอดเยีย่ ม 85 97.96 สงู กวา่ เปา้ หมาย 1.1 มีพัฒนาการดา้ นร่างกาย แขง็ แรง มสี ขุ นสิ ัยทีด่ ี ดีเลศิ ยอดเยีย่ ม สงู กวา่ เป้าหมาย และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ 85 100 1.2 มีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคุมและ ดเี ลิศ ยอดเยยี่ ม สูงกวา่ เป้าหมาย แสดงออกทางอารมณ์ได้ 85 97.29 1.3 มีพฒั นาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลอื ตนเอง และเป็น ดเี ลิศ ยอดเย่ียม สงู กวา่ เปา้ หมาย สมาชิกทด่ี ีของสังคม 85 97.29 1.4 มพี ฒั นาการดา้ นสติปญั ญา ส่อื สารได้ มีทกั ษะการ ดีเลิศ ยอดเยีย่ ม สูงกว่าเป้าหมาย คิดพื้นฐาน และแสวงหาความรู้ 85 97.29 รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดบั การศึกษาปฐมวัย ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนบ้านตล่ิงสงู สามคั คี สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๒๗ ๑. วิธดี าเนนิ การ โรงเรยี นบ้านตลง่ิ สงู สามคั คีได้การระบุเป้าหมายคุณภาพของเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการ ทั้ง ๔ ด้าน ใน ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ไดต้ ้งั คา่ เปา้ หมายไว้ร้อยละ ๘๕ และ มีวิธีพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยอยา่ งเปน็ ระบบ ตาม เป้าหมายการพฒั นาเด็กปฐมวยั โดยดาเนินงานแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาปี ๒๕๖๓ – ๒๕๖๖ และ ดาเนนิ งานตามแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี ๒๕๖๓ และจัดการศกึ ษาโดยยดึ หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั ๒๕๖๐ และหลกั สูตรสถานศกึ ษา พ.ศ.๒๕๖๓ ครทู ุกคนจัดทาแผนการจดั ประสบการณป์ ระกอบด้วยสาระการเรียนรู้ ๔ สาระ จัดหน่วยประสบการณ์จานวน ๔๐ หน่วยตอ่ ปกี ารศกึ ษา เพ่อื ใหเ้ ดก็ ได้รับประสบการณท์ ั้ง ๔ ดา้ น ดังนี้ ๑.๑ มีการพัฒนาด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้มีการ ตรวจสุขภาพเด็ก บันทึกน้าหนักส่วนสูงของเด็กเดือนละ 1 ครั้ง โครงการอาหารเสริมนมดื่มนมก่อนเข้าเรียน โครงการอาหารกลางวัน รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณภาพครบ ๕ หมู่ ได้รับการตรวจสุขภาพจาก สาธารณะสุขทุกเดือน จัดประสบการณ์ในหลักสูตรด้วยกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเสริมหลักสูตรด้วยโครงการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยด้านร่างกาย กิจกรรมกีฬาสีสัมพันธ์ กิจกรรม หนูนอ้ ยฟันสวย กจิ กรรมเสรมิ ประสบการณ์ ๑.๒ มีการพัฒนาด้านอารมณ์จิตใจ ควบคุม และแสดงงอออกทางอารมณ์ได้ โรงเรียนส่งเสริมให้ ผู้เรียนมีสุขภาพจิตดีและมีความสุข ผลจากการดาเนินโครงการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยทางด้านอารมณ์ จิตใจ ดาเนินการดงั นี้ กจิ กรรม 6 กจิ กรรมหลัก กิจกรรมวันครสิ ตมาส กิจกรรมวันเด็ก กิจกรรมเดย์แคมป์ กจิ กรรมศิลปะกิจกรรมหน้าเสาธง โครงการวนั สาคัญ ๑.๓ มีการพัฒนาการด้านสังคม ช่วยแหลือตนเอง และเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม โรงเรียนส่งเสริม ใหผ้ ้เู รียนมมี ที กั ษะชวี ิตและปฏิบัตติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การรักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมโดย การให้นักเรียนรู้จักการท้ิงขยะให้ถูกผลจากการดาเนินโครงการ พัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย ทางด้านสังคม ดาเนินการดงั น้ี กจิ กรรม 6 กิจกรรมหลัก กิจกรรมหน้าเสาธง กิจกรรมหนูน้อยตาวิเศษ โครงการวันสาคัญ กิจกรรมกฬี าสีสมั พันธ์ ๑.๔ มีพฒั นาการดา้ นสติปญั ญา ส่ือสารได้ มีทกั ษะการคิดพื้นฐานและแสวงหาความรู้ได้ โรงเรยี นส่งเสรมิ ให้มีการจดั กิจกรรมเพอื่ ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนมีมีพัฒนาการทางด้านสติปัญญา ส่ือสารได้ มีทักษะคิดพื้นฐาน ผลจากการดาเนินโครงการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยทางด้านสติปัญญา ดาเนินการดังนี้ กิจกรรม 6 กิจกรรมหลัก กิจกรรมเล่านิทานก่อนนอน โครงการวันสาคัญ กิจกรรมตามหน่วยการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตรน์ ่ารู้ กจิ กรรมการเรียนคอมพิวเตอร์ กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ๒. ผลการดาเนินการ โรงเรยี นได้รวบรวมขอ้ มูลพฒั นาการของนักเรียนระดับปฐมวยั ทกุ คน จานวน 3๗ คน แล้วนามาประเมินตามเกณฑ์ของโรงเรยี น พบว่า ๑. มีการประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย พบว่า เด็กจานวน 3๗ คน มีพัฒนาการด้าน ร่างกายในระดับยอดเย่ยี ม คิดเปน็ ร้อยละ 100 (สงู กวา่ ค่าเปา้ หมาย รอ้ ยละ 85) เด็กมีน้าหนัก ส่วนสูงตาม เกณฑ์มาตรฐาน เคลื่อนไหวร่างกายคล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดี ใช้มือและตาประสานสัมพันธ์ได้ดี ดูแลรักษา สุขภาพอนามัยส่วนตนและปฏบิ ัตจิ นเปน็ นสิ ัย ปฏิบัติตนตามข้อตกลงเก่ียวกับความปลอดภัย หลีกเล่ียงสภาวะ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดบั การศึกษาปฐมวยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบา้ นตล่ิงสงู สามคั คี สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๒๘ ทเ่ี สย่ี งต่อโรค สง่ิ เสพตดิ และระวังภยั จากบุคคล สิง่ แวดลอ้ ม และสถานการณ์ทเี่ สย่ี งอันตราย ๒. มีการประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์ พบว่า เด็กจานวน 3๗ คน มีพัฒนาการด้านอารมณ์ใน ระดับยอดเย่ียม คิดเป็นร้อยละ 97.29 (สูงกว่าค่าเป้าหมาย ร้อยละ 85) เด็กร่าเริงแจ่มใส แสดงอารมณ์ ความรูส้ ึกไดเ้ หมาะสม รจู้ กั ยบั ยัง้ ชั่งใจ อดทนในการรอคอย ยอมรบั และพอใจในความสามารถ และผลงานของ ตนเองและผู้อ่ืน มีจิตสานึกและค่านิยมที่ดี มีความม่ันใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก ช่วยเหลือแบ่งปัน เคารพ สิทธิ รู้หน้าที่รับผิดชอบ อดทนอดกล้ัน ซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม จริยธรรมตามที่สถานศึกษากาหนด ชื่นชม และมคี วามสุขกับศิลปะ ดนตรี และการเคล่อื นไหว ๓. มีการประเมินพัฒนาการด้านสังคม พบว่า เด็กจานวน 3๗ คน มีพัฒนาการด้านสังคมใน ระดับ ยอดเย่ยี ม คิดเป็นร้อยละ 97.29 (สงู กว่าคา่ เป้าหมาย รอ้ ยละ 85) เด็กช่วยเหลอื ตนเองในการปฏิบัติกิจวัตร ประจาวัน มีวินัยในตนเอง ประหยัดและพอเพียง มีส่วนร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในและนอกห้องเรียน มี มารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การย้ิม ทักทาย และมีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ เป็นต้น ยอมรับหรือ เคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น ความคิด พฤติกรรม พื้นฐานครอบครัว เช้ือชาติ ศาสนา วัฒนธรรม ๔. มีการประเมนิ พัฒนาการด้านสติปัญญา พบว่า เด็กจานวน 3๗ คน มีพัฒนาการด้านสติปัญญาใน ระดับยอดเย่ยี ม คิดเปน็ รอ้ ยละ 97.29 (สงู กวา่ ค่าเปา้ หมาย ร้อยละ 85) เด็กสนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ ผู้อืน่ เขา้ ใจ ต้งั คาถามในสงิ่ ท่ีตนเองสนใจหรือสงสัยและพยายามคน้ หาคาตอบ อ่านนิทาน และเล่าเรื่องท่ีตนเอง อา่ นไดเ้ หมาะสมกับวัย มีความสามารถในการคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ การคิดแก้ปัญหาและสามารถตัดสินใจในเรื่องง่าย ๆ ได้ สร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ เช่น งานศิลปะ การเคลื่อนไหวท่าทาง การเลน่ อสิ ระ และใชส้ ื่อเทคโนโลยีเปน็ เครอ่ื งมือในการเรียนรู้และแสวงหา ความรไู้ ด้ จุดเดน่ เดก็ มรี ่างกายเติบโตตามวยั มีนา้ หนกั ส่วนสงู ตามเกณฑ์ มที ักษะการเคล่อื นไหวตามวยั สามารถ ดูแล สุขภาพและหลีกเล่ียงต่อสภาวะที่เส่ียงต่ออุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ท่ีพึง ประสงค์ มีจิตสานึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีอารมณ์ แจม่ ใส รา่ เรงิ สนกุ สนาน ร่วมกิจกรรมอยู่ในสังคมได้อยา่ งมีความสุข จดุ ทค่ี วรพฒั นา ด้านการมีความคิดรวบยอด การแก้ปัญหาท่ีเกิดจากการอ่านการทากิจกรรมเสริมสติปัญญาให้ เหมาะสมตามวัย ขอ้ มูล เชงิ ประจกั ษ์ทส่ี นบั สนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง ๑. ผลการวัดส่วนสงู ชง่ั นา้ หนกั เดก็ ปฐมวัย ในภาพรวมร้อยละ 100 ๒. ผลการประเมินพฒั นาการด้านร่างกาย ในภาพรวมร้อยละ 100 ๓. ผลการประเมินพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ในภาพรวมรอ้ ยละ 97.29 ๔. ผลการประเมินพัฒนาการด้านสังคม ในภาพรวมร้อยละ 97.29 ๕. ผลการประเมินพฒั นาการดา้ นสตปิ ญั ญา ในภาพรวมร้อยละ 97.29 รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดบั การศึกษาปฐมวัย ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบ้านตล่ิงสูงสามัคคี สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๒๙ ๖. ผลการดาเนินโครงการพัฒนาคณุ ภาพเดก็ ปฐมวยั ในภาพรวมรอ้ ยละ ๙๐ ๗. ผลการตรวจสขุ ภาพเด็กมีสุขภาพดีในภาพรวมร้อยละ 100 หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษท์ สี่ นบั สนุนผลการประเมินตนเอง ๑. บนั ทึกประเมนิ พัฒนาการดา้ นร่างกาย ๒. บนั ทึกประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ๓. บันทึกการประเมินพัฒนาการด้านสงั คม ๔. บนั ทึกการประเมินพฒั นาการด้านสติปญั ญา ๕. บันทกึ การดาเนนิ โครงการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวยั ๖. บันทกึ การตรวจสุขภาพเดก็ มีสขุ ภาพดี การปฏิบตั ทิ เ่ี ปน็ แบบอย่างท่ีดี “กจิ กรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนักเรยี นตามวถิ ีพทุ ธ” ทาให้นักเรียนมีคุณธรรมจรยิ ธรรมตาม แบบวถิ ีพุทธ มีความภมู ิใจในท้องถนิ่ การยอมรับท่ีจะอยรู่ ่วมกนั บนความหลากหลายและมมี นุษยสมั พนั ธด์ ี เย่ยี ม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลิศ มาตรฐาน/ประเด็นการพจิ ารณา เปา้ หมาย ผลการ สรุปผล ดเี ลิศ ประเมนิ การประเมิน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดีเลศิ ยอดเยย่ี ม รายประเดน็ ดีเลศิ สูงกวา่ เป้าหมาย 2.1 มหี ลกั สูตรครอบคลมุ พัฒนาการท้ัง 4 ดา้ น ดีเลศิ ยอดเย่ียม สอดคล้องกับบรบิ ทของท้องถิ่น ดเี ลิศ สงู กวา่ เปา้ หมาย 2.2 จัดครูใหเ้ พียงพอกับช้ันเรียน ดเี ลศิ ยอดเยี่ยม ดเี ลิศ สูงกวา่ เป้าหมาย 2.3 ส่งเสริมให้ครูมคี วามเช่ยี วชาญด้านการจัด ยอดเยย่ี ม สูงกวา่ เป้าหมาย ประสบการณ์ 2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและสื่อเพ่ือการเรียนรู้ อย่าง ยอดเยี่ยม สูงกว่าเป้าหมาย ปลอดภยั และเพียงพอ 2.5 ใหบ้ ริการส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการ ยอดเยยี่ ม สูงกวา่ เป้าหมาย เรยี นรเู้ พอ่ื สนบั สนุนการจัดประสบการณ์ 2.6 มรี ะบบบริหารคณุ ภาพทีเ่ ปดิ โอกาสให้ผเู้ ก่ียวขอ้ ง ยอดเยย่ี ม สูงกว่าเป้าหมาย ทุกฝา่ ยมสี ว่ นรว่ ม รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดับการศึกษาปฐมวัย ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบา้ นตลิง่ สงู สามัคคี สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๓๐ ๑. วิธดี าเนินการ โรงเรยี นบา้ นตลงิ่ สูงสามัคคีได้วางแผนการดาเนนิ การในปีการศึกษา ๒๕๖๓ ดังนี้ ๑.๑ มหี ลักสูตรครอบคลมุ พฒั นาการทง้ั ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ิน เป็นแนวทางการ ดาเนินการไปใช้ดาเนินการ หลักสูตรสถานศึกษาที่ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยโดย สถานศึกษาออกแบบการจดั ประสบการณ์ท่ีเตรียมความพร้อมเน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติ ตอบสนองความตอ้ งการและความแตกต่างของเดก็ ปกติและกลุ่มเป้าหมายเฉพาะและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของ ครอบครัวชุมชนและทอ้ งถิน่ โดยไดด้ าเนินโครงการพฒั นาหลักสูตร โครงการพฒั นาบุคลากร ๑.๒ จัดครูให้เพียงพอกับช้ันเรียน สถานศึกษาได้จัดครูให้เหมาะสมกับภารกิจการเรียนการจัด ประสบการณ์โดยจัดครูท่ีจบการศึกษาปฐมวัย จานวน ๒ คน ได้เข้าการอบรมการศึกษาปฐมวัยเพ่ือให้มีครู พอเพยี งกับชนั้ เรยี น ๑.๓ สง่ เสรมิ ใหค้ รมู ีความเช่ียวชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ สถานศึกษาได้พัฒนาครูและบุคลากรให้ มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์ และออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา มีทักษะในการจัดประสบการณ์ การประเมินพัฒนาการเด็ก ใช้ประสบการณ์สาคัญในการออกแบบการจัดกิจกรรม มีการสังเกต และประเมิน พัฒนาการเดก็ เป็นรายบุคคล โดยการเข้ารับการอบรม นอกจากน้ีสถานศึกษายังได้จัดโครงการและกิจกรรม ต่าง ๆ ได้แก่ โครงการพัฒนาบุคลากร โดยส่งครูเข้าอบรม ประชุม สัมมนา ศึกษาดูงานในหน่วยงานองค์กร ต่าง ๆ ที่จัดข้ึน มีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับเด็กและ ครอบครัว เพื่อทราบข้อมูลเก่ียวกับนักเรียนจากผู้ปกครอง จัด โครงการนิเทศภายใน โดยมีการนิเทศ กากบั ตดิ ตามประเมินผลการจัดประสบการณ์ของครู โดยผู้บริหาร และ คณะกรรมการ และนาผลการประเมนิ มาแกไ้ ข ปรบั ปรุงการจัดกิจกรรม ด้วยการ ประชุม การทา PLC ระหว่าง เพื่อนครูเพ่ือพัฒนาการจัดประสบการณ์ของครู ประเมินพัฒนาการของเด็กทั้ง ๔ ด้านและนาผลการประเมิน มาพฒั นา เด็กดว้ ยการทาวิจัยในช้นั เรยี นทุกคนเพื่อพฒั นาเดก็ ๑.๔ จัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพ่ือการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและเพียงพอ พัฒนาอาคารสถานท่ีและ ปรบั ปรุงอาคารเรยี นห้องประกอบการ ให้ม่ันคงเพียงพอและเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ ตลอดจนได้ปรับปรุงภูมิ ทัศน์ทั่วไปภายในโรงเรียน ๑.๕ ให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพ่ือสนบั สนุนการจัดประสบการณ์ การ ใหบ้ ริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรยี นรเู้ พื่อสนบั สนุนการจดั ประสบการณ์สาหรับครู สถานศกึ ษา อานวยความสะดวกหอ้ งเรยี นให้มีสือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศวัสดุ อุปกรณ์ ใหบ้ รกิ ารครู นักเรยี นเพื่อสนบั สนุน การจดั ประสบการณส์ าหรับครู เพือ่ จัดหางบในการจัดสรรให้ครูได้มีงบในการจัดหาสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และสอ่ื การเรยี นรูต้ ่างๆนามาจดั ประสบการณ์ให้กบั เด็กเกิดการเรียนรอู้ ยา่ งหลากหลาย เด็กมีคุณภาพ และ ห้องเรยี นมคี ุณภาพ ๑.๖ มรี ะบบบริหารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสใหผ้ ู้เกยี่ วข้องทุกฝา่ ยมสี ่วนร่วม มกี ารบรหิ ารในรปู คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐานท่มี ีบทบาทในการกาหนดเปา้ หมายการจัดการศึกษาของโรงเรยี นในทกุ ระดับที่เปดิ ทาการ ในระดับอนุบาลก็ได้กาหนดมาตรฐานการศึกษาปฐมวยั จากการมีส่วนร่วมของผู้ทมี่ ีส่วนได้ ส่วนเสยี เชน่ คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ผ้ปู กครอง คณะครู ผู้บรหิ ารโรงเรียน องคก์ ารปกครอง สว่ นทอ้ งถ่นิ หนว่ ยงานต่างๆ เขา้ มามสี ่วนรว่ มกาหนดมาตรฐานการศกึ ษา และ อตั ลักษณ์ของโรงเรียนคอื มสี ุข รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดับการศกึ ษาปฐมวยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบา้ นตลง่ิ สงู สามคั คี สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
๓๑ นิสัยดี มคี ณุ ธรรม มีการแตง่ ตง้ั คณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบการดาเนินงานตามแผนทว่ี างไว้ การแต่งตงั้ คณะกรรมการ ประเมนิ ระบบการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาของโรงเรยี น เพ่ือนาผลการประเมิน มา ปรับปรงุ พัฒนาการจดั ประสบการณ์ของครแู ละสถานศกึ ษา ตลอดจน การจัดทารายงานเพ่ือเสนอหน่วยงาน ตน้ สงั กดั หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน โดยไดจ้ ดั ทาและพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา และโครงการ นิเทศภายในโรงเรียนเพ่ือพัฒนายกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา ๒. ผลการดาเนนิ การ มีหลักสูตรครอบคลุมพฒั นาการทงั้ 4 ด้าน สอดคล้องกบั บริบทของทอ้ งถน่ิ มผี ลการประเมิน อยู่ใน ระดับ ยอดเยยี่ ม ซง่ึ สงู กวา่ เป้าหมาย จดั ครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน มผี ลการประเมิน อย่ใู นระดับ ยอดเย่ยี ม ซง่ึ สูงกว่าเป้าหมาย ส่งเสรมิ ใหค้ รมู ีความเช่ยี วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ มผี ลการประเมิน อยูใ่ นระดับ ยอดเย่ยี ม ซง่ึ สูงกว่าเป้าหมาย จัดสภาพแวดล้อมและสือ่ เพื่อการเรียนรู้ อยา่ งปลอดภยั และเพยี งพอ มีผลการประเมิน อยู่ในระดบั ดเี ลศิ ซ่งึ บรรลุเปา้ หมาย ใหบ้ รกิ ารสอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการเรียนรู้เพื่อสนบั สนุนการจดั ประสบการณ์ มผี ลการ ประเมิน อยใู่ นระดบั ยอดเย่ียม ซง่ึ สงู กว่าเปา้ หมาย มีระบบบรหิ ารคุณภาพท่เี ปิดโอกาสใหผ้ ู้เกย่ี วข้องทุกฝา่ ยมีส่วนร่วม มีผลการประเมิน อยู่ในระดบั ยอดเยี่ยม ซง่ึ สงู กว่าเป้าหมาย จุดเด่น โรงเรียนวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษา โดยการศึกษาข้อมูลสารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม ประเมนิ การจดั การศกึ ษา และจัดประชุมระดมความคิดเห็นจากบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อมีส่วนร่วม ในการกาหนดเป้าหมาย ปรับวิสัยทัศน์ กาหนดพันธกิจ กลยุทธ์ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ปรับ แผนพัฒนาคุณภาพจัดการศกึ ษา แผนปฏิบัตกิ ารประจาปี ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพปญั หา ความต้องการ และ นโยบายการปฏิรูปการศึกษา จัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ ดาเนินการ พัฒนาตามแผนงานเพ่อื ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายทก่ี าหนดไว้อย่างเปน็ ระบบ จุดท่คี วรพัฒนา การจัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และพอเพียงต่อการจัดส่ิงอานวยความ สะดวกให้บริการดา้ นส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์เพอ่ื สนบั สนุนการจัดการประสบการณ์ การจัดทาระบบ สารสนเทศออนไลน์สาหรบั ใชใ้ นการบริหารจัดการศึกษา ควรได้รับการปรับปรุงและพัฒนา เพื่อให้การบริหาร การจัดการศกึ ษาเกดิ สภาพคลอ่ งและทนั การณ์ รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดบั การศึกษาปฐมวัย ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบา้ นตล่ิงสูงสามัคคี สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
๓๒ ขอ้ มูล เชงิ ประจักษ์ที่สนบั สนุนผลการประเมินตนเอง 1. ผลการดาเนนิ โครงการส่งเสรมิ ศักยภาพครปู ฐมวัย มผี ลการประเมินในภาพรวมร้อยละ ๑๐๐ ๒. ข้อมูลการอบรมของครปู ฐมวัย ในภาพรวมเฉลย่ี ๒๐ ช่วั โมง/ปี ๓. ขอ้ มูลการศึกษาดูงาน ในภาพรวมในภาพรวมเฉลย่ี ๖ ช่ัวโมง/ปี ๔. ขอ้ มูลอตั ราส่วน จานวน ครู : เด็ก ๑. : ๑๘ หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษท์ ีส่ นบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง 1. รายงานผลการดาเนนิ โครงการส่งเสรมิ ศักยภาพครปู ฐมวัย ๒. ข้อมูลการอบรมของครปู ฐมวยั ๓. รายงานการอบรมของครูปฐมวยั ๔. รายงายการศึกษาดูงาน ๕. รายงานข้อมลู อัตราสว่ น จานวน ครู และ เด็ก การปฏิบตั ทิ ี่เป็นแบบอย่างท่ีดี สถานศึกษาดาเนินการวิเคราะห์สภาพปญั หา ผลการจดั การศกึ ษาท่ผี ่านมาโดยใชโ้ รงเรียน เป็นฐานข้อมลู ในการกาหนดเปา้ หมาย วสิ ัยทศั น์ พันธกจิ เพ่ือจดั ทาแผนพฒั นาคณุ ภาพจัด การศกึ ษา แผนปฏิบตั ิการประจาปีทเี่ หมาะสมกบั สภาพของโรงเรียน มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเนน้ เดก็ เปน็ สาคัญ ระดับคณุ ภาพ ดีเลิศ มาตรฐาน/ประเด็นการพจิ ารณา เปา้ หมาย ผลการ สรปุ ผล ประเมนิ การประเมนิ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ดีเลศิ รายประเด็น ผเู้ รียนเป็นสาคญั 85 ยอดเย่ยี ม สงู กว่าเป้าหมาย 3.1 จดั ประสบการณ์ทสี่ ง่ เสริมใหเ้ ด็กมพี ัฒนาการทุก ดีเลิศ 100 ดา้ นอย่างสมดุลเตม็ ศักยภาพ 85 สงู กวา่ เป้าหมาย 3.2 สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กได้รับประสบการณ์ตรง เลน่ และ ดีเลิศ ยอดเยี่ยม ปฏิบัติอยา่ งมีความสุข 85 100 สูงกว่าเปา้ หมาย 3.3 จัดบรรยากาศทีเ่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ ใช้ส่อื เทคโนโลยีท่ี ดีเลิศ เหมาะสมกบั วยั 85 ยอดเยย่ี ม สูงกวา่ เป้าหมาย 3.4 ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจริงและนาผลการ ดเี ลิศ 100 ประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจดั ประสบการณ์ 85 สูงกว่าเป้าหมาย ยอดเยย่ี ม 100 ยอดเยี่ยม 100 รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดับการศกึ ษาปฐมวยั ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบ้านตล่งิ สงู สามัคคี สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
มาตรฐาน/ประเด็นการพจิ ารณา เปา้ หมาย ผลการ ๓๓ และพฒั นาเด็ก ประเมิน สรุปผล การประเมนิ รายประเด็น ๓.๑ จัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมใหเ้ ดก็ มีการพฒั นาการทุกด้านอย่างสมดุลเตม็ ศักยภาพ 1. วธิ ดี าเนินการ ครูมีการวางแผนการจัดประสบการณ์โดยยึดหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐เปน็ แนวทางในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๓ และจัดทาแผนการจัดประสบการณ์ รายปีครบทุกหน่วยการเรียนรู้ และทุกช้ันปีครูทุกคนมีการนาแผนการจัดประสบการณ์ไปใช้ในการจัด ประสบการณ์โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ ได้จัดโครงการพัฒนา คุณภาพเด็กปฐมวยั ครวู เิ คราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคล โดยจัดทาแผนการจัดประสบการณ์จากการวิเคราะห์ มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษาผ่านกิจกรรมประจาวัน ท้ัง ๖ กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรม กลางแจ้ง และเกมการศึกษา ท่ีส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์จิตใจ ด้านสังคมและด้านสติปัญญา ไม่มุ่งเน้นการพัฒนาด้านใดด้านหน่ึงเพียงด้านเดียวนอกจากน้ีสถานศึกษายังได้ จัดโครงการและกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ โครงการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัย ให้สอดคล้องหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย 2560 และมีการผลติ /จัดหา/ซ่อมแซมสื่ออปุ กรณ์ ๓.๒ สร้างโอกาสให้เดก็ ได้รับประสบการณต์ รง เลน่ และปฏบิ ตั อิ ย่างมคี วามสขุ ๑. วิธดี าเนนิ การ ครจู ดั ประสบการณ์ท่เี ชื่อมโยงกบั ประสบการณ์เดมิ ใหเ้ ด็กมโี อกาสเลือกทากิจกรรมอย่าง อิสระตามความต้องการความสนใจความสามารถตอบสนองต่อวิธกี ารเรียนรขู้ องเด็กเป็นรายบคุ คลหลากหลาย รปู แบบจากแหล่งเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย เด็กไดเ้ ลือกเล่นเรียนรู้ลงมอื กระทาและสรา้ งองค์ความรดู้ ้วยตนเอง ไดแ้ ก่ กจิ กรรมเคลอ่ื นไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กจิ กรรมเสรี กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมกลางแจ้ง และเกมการศึกษา นอกจากน้สี ถานศึกษา ยงั ไดจ้ ดั โครงการพัฒนาคณุ ภาพเด็กปฐมวัย และกจิ กรรมตา่ ง ๆ และจดั ประสบการณด์ ว้ ย โครงงานนมของหนูอรอ่ ยนะและยงั ได้ศกึ ษาจากแหล่งเรยี นรู้ นอกสถานศกึ ษา ได้แก่วดั ตล่งิ สูงเทพนิมิต ๓.๓ จดั บรรยากาศทีเ่ ออื้ ต่อการเรยี นรใู้ ช้สอื่ เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวยั 1.วิธีดาเนนิ การ ครูจัดห้องเรียนคุณภาพ มีพ้ืนทีแ่ สดงผลงานเดก็ อย่างชดั เจนทผี่ ูป้ กครองมองเหน็ ได้ มมี ุม ประสบการณ์ตา่ งๆให้กบั เด็กได้เรยี นรู้อย่างอสิ ระ ตามความสนใจของเด็กแตล่ ะคน โดยครูให้เดก็ ทุกคนในห้อง มสี ่วนรว่ มในการจัดสภาพแวดลอ้ มในห้องเรียนด้วยกัน เช่น การแบ่งเวรการทาหน้าท่เี วรประจาวนั รบั ผิดชอบ ช่วยเหลอื กันในการดแู ล รกั ษาสภาพแวดล้อมห้องเรียนให้สะอาด นา่ อยู่ มีอากาศถา่ ยเทสะดวก ท่ีเอ้ือต่อการ เรยี นรู้ มีสภาพแวดล้อมในห้องเรียนปลอดภยั มีการใชส้ ่ือและเทคโนโลยีท่เี หมาะสมกบั วัยเด็ก เช่น การค้นคว้า รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดบั การศึกษาปฐมวัย ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบ้านตล่งิ สงู สามคั คี สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
๓๔ ขอ้ มูลขา่ วสารตา่ งๆ จากคอมพิวเตอร์ สื่อของเล่นที่กระต้นุ ให้คดิ และหาคาตอบ เช่น เกม ต่างๆ และการ ดาเนินโครงการพฒั นาห้องเรียนและคุณภาพการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาห้องเรียนเป็นแหล่งเรยี นรู้ ท่นี า่ สนใจ นา่ อยู่ ทนั สมยั อบอนุ่ ๓.๔ ประเมนิ พัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริงและนาผลประเมนิ พฒั นาการเด็กไปปรับปรุงการจัด ประสบการณ์และพัฒนาเดก็ 1.วิธดี าเนินการ การจัดประสบการณ์และพฒั นาเด็ก ครูมีการประเมินพฒั นาการเด็กจากกจิ กรรมและกิจวัตร ประจาวันด้วยเคร่ืองมอื การวัดและวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย ครอบคลุม เหมาะสมกบั วัยเดก็ การประเมนิ พัฒนาการเด็กทุกคร้ัง ใหผ้ ู้ปกครองและผู้มสี ว่ นเกย่ี วข้องมสี ่วนร่วมในการประเมนิ พัฒนาการเด็ก และนาผล การประเมนิ ท่ไี ด้ไปพัฒนา ปรับปรุงคณุ ภาพเดก็ ใหด้ ยี ิ่งข้ึนไป เชน่ แบบบนั ทกึ พัฒนาการเด็ก (อบ.3 /1) สมุด บนั ทกึ เด็กเป็นรายบคุ คล (อบ.3 /2) แบบประเมนิ ผลงานเด็ก แบบบันทกึ พฤตกิ รรมเด็กเปน็ รายบคุ คล แบบ สังเกตพฤติกรรมเด็ก แบบสัมภาษณ์เด็ก ครดู าเนนิ การทาวิจยั ในชั้นเรยี น และมกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรู้กนั ๒. ผลการดาเนนิ การ โรงเรียนบ้านตลิ่งสูงสามัคคีดาเนินการการจัดทาหลักสูตรได้ครบทั้ง ๕ ข้อ มีร่องรอยหลักฐานชัดเจน ตรวจสอบได้และสามารถแนะนาผู้อ่ืนได้ สถานศึกษามีระบบและกลไกในการขับเคล่ือน เพื่อให้ผู้มีส่วน เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักและเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัยอย่างชัดเจน โดยมีการวางแผน ดาเนินงาน ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น อย่างต่อเน่ือง สถานศึกษาจัดกิจกรรมเสริมสร้างความตระหนักรู้และความ เข้าใจหลักการจัดการศึกษาปฐมวัยให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยมีการวางแผน ดาเนินงานตรวจสอบ และ ปรับปรุงการจัดกิจกรรมให้ดีขึ้นอย่างต่อเน่ือง และสามารถเป็นแบบอย่างได้รับการยอมรับทาให้ผู้มีส่วน เก่ียวข้องเกิดความตระหนักรู้ และเข้าใจหลักการจัดการศึกษาปฐมวัยอย่างชัดเจน สถานศึกษามีการกาหนด โครงการ กจิ กรรมเพ่อื สรา้ งการมสี ่วนร่วมและแสวงหาความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชน และท้องถ่ินในการจัด การศึกษา และพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาระดบั ปฐมวัยของสถานศกึ ษา และดาเนินการตามโครงการ กิจกรรมที่ กาหนดไวโ้ ดยทุกฝ่ายมสี ว่ นรวม มีการนเิ ทศ กากับ ติดตาม ประเมนิ ผล และจดั ทารายงาน มีร่องรอยหลักฐาน ปรากฏชดั เจน สามารถตรวจสอบได้ รวมท้งั นาข้อมูลมาพฒั นาปรับปรุงการจัดโครงการ กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง สถานศึกษาจัดให้มีส่ิงอานวยความสะดวกเพ่ือพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน ตามประเด็นการพิจารณาครบท้ัง ๕ ขอ้ และมรี ะบบ ดูแลตรวจสอบซอ่ มบารุงรักษาอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ จุดเด่น ครูมีความรู้ความเข้าใจในการจัดประสบการณ์ สามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล สามารถบริหารจัดการชั้นเรียนท่ีสร้างวินัยเชิงบวกได้ ทาให้เกิด บรรยากาศการเรียนรู้ที่มีความสุข มีระบบการนิเทศภายในเพ่ือการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนอยู่อย่าง สม่าเสมอ มกี ารบริหารจดั การชัน้ เรยี นอย่างเป็นระบบ มีการวิจัยพัฒนานวัตกรรมเพ่ือส่งเสริมพัฒนาการของ เด็กอย่างเต็มตามศักยภาพ มีการผลิตส่ือและนวัตกรรมสร้างสรรค์ระดับปฐมวัยมาใช้ในการจัดประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การจัดการเรียนรู้ทาให้เด็กมีพัฒนาการที่ดี อย่างสมดลุ รอบด้าน รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดบั การศึกษาปฐมวยั ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบ้านตลงิ่ สูงสามัคคี สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
๓๕ จดุ ที่ควรพัฒนา ควรใชแ้ นวทางการปฏบิ ัติงานแบบเพื่อนชว่ ยเพื่อน และแนวทางการจัดการความร้โู ดยใชโ้ รงเรียน เปน็ ฐาน ควรใหค้ ณะครทู กุ คนไดร้ ับการอบรมการพัฒนาศักยภาพของดา้ นการทางานวจิ ัยในเร่อื งนวตั กรรม เพอื่ พัฒนาคุณภาพด้านการจัดประสบการณ์ ข้อมูลเชงิ ประจักษท์ ่สี นบั สนนุ ผลการประเมินตนเอง 1. ผลการดาเนินโครงการพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยมี ผลการประเมินในภาพรวมรอ้ ยละ ๑๐๐ ๒. ข้อมลู การนิเทศห้องเรียน ผลการนเิ ทศหอ้ งเรยี นในภาพรวม ร้อยละ ๑๐๐ ๓. ขอ้ มูลผลการประเมินพฒั นาการ ท้งั ๔ ดา้ น ๔. ข้อมลู อัตราส่วน จานวน ครู : เด็ก ๑. : ๑๘ ๕. สถติ ิการอบรมของครปู ฐมวยั ในภาพรวม คิดเป็นร้อยละ ๒๐ ช่วั โมง/ปี ๖. สถิติการศกึ ษาดูงานของครปู ฐมวัยในภาพรวม คดิ เป็นรอ้ ยละ ๖ ช่ัวโมง/ปี ๗. ข้อมูลการประเมินพัฒนาการ ผลการประเมนิ พัฒนาการ ดา้ นร่างกาย ร้อยละ 100 ๘. ข้อมลู การประเมินพฒั นาการ ผลการประเมินพัฒนาการ ด้านอารมณ์ จติ ใจ รอ้ ยละ 97.29 ๙.ขอ้ มลู การประเมินพัฒนาการ ผลการประเมนิ พฒั นาการ ดา้ นสังคม ร้อยละ 97.29 ๑๐.ขอ้ มูลการประเมนิ พัฒนาการ ผลการประเมินพฒั นาการ ด้านสติปัญญา รอ้ ยละ 97.29 หลกั ฐาน เอกสารเชงิ ประจักษท์ ่สี นบั สนุนผลการประเมนิ ตนเอง 1. รายงานผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาคณุ ภาพเด็กปฐมวยั ๒. รายงานการอบรมของครูปฐมวยั ๓. รายงายการศกึ ษาดงู าน ๔. รายงานขอ้ มลู อตั รากาลงั จานวน ครู และ เดก็ ๕. บันทกึ การเลือกเลน่ ในมุมประสบการณ์ ๖. บันทกึ และสรปุ ผลการประเมนิ พัฒนาการ ท้งั ๔ ด้าน ๗. บันทึกการวิเคราะห์เดก็ เป็นราบบคุ คล แนวทางการพฒั นา ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสาคัญที่สถานศึกษาจะต้องนาไป วิเคราะห์สังเคราะห์ เพ่ือสรุปนาไปสู่การเช่ือมโยงหรือสะท้อนภาพความสาเร็จกับแผนพัฒนาคุณภาพการ จัด การศึกษาของสถานศกึ ษา และนาไปใชใ้ นการวางแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังน้ัน จากผล การดาเนินงานของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวมของจุดเด่น จุดควรพัฒนาของแต่ละ มาตรฐานพร้อมท้ังวางแผนการดาเนินงาน เพ่ือเป็นแนวทางการพัฒนาในอนาคตเพื่อให้ได้มาตรฐานที่สูงขึ้น ดงั นี้ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดับการศึกษาปฐมวัย ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบ้านตลิ่งสูงสามคั คี สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๓๖ จดุ เด่น จดุ ควรพฒั นา คณุ ภาพของเดก็ คณุ ภาพของเด็ก - เด็กมีร่างกายเติบโตตามวัย มีน้าหนักส่วนสูงตาม - ด้านการมีความคิดรวบยอด การแก้ปัญหาทเี่ กิด เกณฑ์ มีทักษะการเคล่ือนไหวตามวัย สามารถ จากการอา่ นการทากิจกรรมเสรมิ สติปญั ญาให้ ดูแลสุขภาพและหลีกเลี่ยงต่อสภาวะท่ีเส่ียงต่อ เหมาะสมตามวัย อุบัติเหตุ ภัย และส่ิงเสพติด มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ท่ีพึงประสงค์ มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ และพฒั นาสิ่งแวดล้อม ทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมี ความสุข มีอารมณ์แจ่มใส ร่าเริง สนุกสนาน ร่วม กิจกรรมอยูใ่ นสังคมได้อยา่ งมคี วามสุข กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ กระบวนการบริหารและการจดั การ - โรงเรยี นวิเคราะหส์ ภาพปัญหา ผลการจดั - การจดั สภาพแวดลอ้ มและสื่อเพื่อการเรยี นรู้ อย่าง การศกึ ษา โดยการศึกษาข้อมูลสารสนเทศจากผล ปลอดภยั และพอเพยี งต่อการจัดสง่ิ อานวยความ การนิเทศ ตดิ ตาม ประเมินการจดั การศกึ ษา และจัด สะดวกให้บริการด้านสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ประชุมระดมความคดิ เหน็ จากบุคลากรใน อุปกรณ์เพ่ือสนบั สนุนการจดั การประสบการณ์ การ สถานศกึ ษาเพ่ือมสี ่วนร่วมในการกาหนดเป้าหมาย จดั ทาระบบสารสนเทศออนไลน์สาหรับใช้ในการ ปรบั วสิ ัยทัศน์ กาหนดพนั ธกิจ กลยุทธ์ ในการจัด บริหารจัดการศกึ ษา ควรไดร้ บั การปรับปรงุ และ การศกึ ษาของสถานศึกษา ปรับแผนพฒั นาคุณภาพ พัฒนา เพื่อให้การบรหิ ารการจดั การศึกษาเกิดสภาพ จัดการศกึ ษา แผนปฏิบตั ิการประจาปี ให้ คล่องและทนั การณ์ สอดคลอ้ งกับสภาพปัญหา ความตอ้ งการ และ นโยบายการปฏริ ปู การศึกษา จัดหาทรัพยากร จดั สรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ผรู้ บั ผิดชอบ ดาเนนิ การพฒั นาตามแผนงานเพ่อื ให้บรรลุ เปา้ หมายท่กี าหนดไว้อย่างเป็นระบบ การจัดประสบการณท์ ่เี น้นเดก็ เปน็ สาคัญ การจัดประสบการณ์ท่เี น้นเด็กเปน็ สาคัญ - ครมู คี วามรู้ความเขา้ ใจในการจดั - ครคู วรใชแ้ นวทางการปฏิบัติงานแบบเพอ่ื นชว่ ย ประสบการณ์ สามารถจัดประสบการณ์การเรียนรทู้ ี่ หลากหลายสอดคล้องกับความแตกต่างระหว่าง เพอ่ื น และแนวทางการจัดการความร้โู ดยใชโ้ รงเรยี น บุคคล สามารถบริหารจดั การชน้ั เรยี นทส่ี รา้ งวนิ ัย เปน็ ฐาน ควรให้คณะครูทุกคนได้รบั การอบรมการ เชงิ บวกได้ ทาใหเ้ กิดบรรยากาศการเรียนรู้ท่ีมี พัฒนาศักยภาพของดา้ นการทางานวจิ ยั ในเรือ่ ง ความสขุ มรี ะบบการนเิ ทศภายในเพ่ือการ นวตั กรรม เพ่ือพัฒนาคุณภาพดา้ นการจดั พฒั นาการจัดการเรยี นการสอนอยู่อย่าง ประสบการณ์ สม่าเสมอ มีการบริหารจดั การชน้ั เรยี นอย่างเปน็ ระบบ มกี ารวจิ ัยพฒั นานวัตกรรมเพ่ือส่งเสริม รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดบั การศึกษาปฐมวยั ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบา้ นตลิง่ สูงสามัคคี สานักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
๓๗ จดุ เด่น จุดควรพัฒนา พัฒนาการของเด็กอย่างเต็มตามศกั ยภาพ มกี าร ผลติ ส่ือและนวัตกรรมสรา้ งสรรคร์ ะดับปฐมวยั มาใช้ ในการจัดประสบการณ์ เพอื่ ส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับ ผู้เรียน ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงคก์ ารจัดการ เรยี นรู้ทาให้เดก็ มพี ฒั นาการท่ีดอี ยา่ งสมดลุ รอบด้าน แผนการพฒั นาคุณภาพเพ่อื ยกระดับคุณภาพมาตรฐานใหส้ งู ข้นึ 1. พฒั นาศักยภาพผ้เู รยี นสวู่ ิถใี นศตวรรษที่ 21 2. ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 3. พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การอย่างมีประสทิ ธิภาพ 4. พฒั นากระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั แนวทางการพฒั นาสถานศึกษาในอนาคต ๑. โครงการพฒั นาคุณภาพเด็กปฐมวัยด้านรา่ งกาย ๒. โครงการพัฒนาคณุ ภาพเด็กปฐมวัยด้านอารมณ์ จติ ใจ ๓. โครงการพัฒนาคณุ ภาพเด็กปฐมวยั ดา้ นสงั คม ๔. โครงการพฒั นาคุณภาพเด็กปฐมวยั ดา้ นสติปญั ญา 5. โครงการสง่ เสรมิ และพัฒนาศักยภาพครปู ฐมวัยดา้ นการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ 6. โครงการเสริมสร้างโรงเรียนให้เปน็ สงั คมแห่งการเรียนรู้ 7. โครงการระบบบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษาระดับปฐมวัย สรปุ ผลในภาพรวมของการดาเนนิ การของสถานศกึ ษา จากผลการดาเนินงานโครงการและกจิ กรรมต่างๆส่งผลใหส้ ถานศกึ ษาจัดการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ประสบผลสาเรจ็ ตามที่ตง้ั เป้าหมายไวใ้ นแต่ละมาตรฐาน ดังนี้ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพเด็ก อยู่ในระดบั คุณภาพยอดเยี่ยม ผลการดาเนนิ งานสงู กว่าเป้าหมาย มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ อยู่ในระดบั คุณภาพยอดเยี่ยม ผลการดาเนินงาน สูงกวา่ เป้าหมาย มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นเด็กเปน็ สาคญั อย่ใู นระดับคุณภาพ ยอดเยย่ี ม ผลการดาเนินงานสูงกว่าเปา้ หมาย มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพเด็ก อยูใ่ นระดบั คุณภาพมาตรฐานอยใู่ นระดับยอดเยี่ยม สถานศกึ ษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นอย่างหลากหลายทเี่ ปน็ ไป ตามปัญหาและความ ต้องการพฒั นาตามสภาพของเดก็ ปฐมวยั สอดคล้องกับจดุ เนน้ ของสถานศึกษาและสภาพของชมุ ชนท้องถิ่น จนมผี ลการพัฒนาคุณภาพของเดก็ อยู่ในระดบั ยอดเย่ียม พัฒนาการของคา่ เฉลี่ยผลการประเมินพัฒนาการ สูงขน้ึ เด็กมีพัฒนาการดา้ นร่างกายแข็งแรง มีสขุ นิสยั ที่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองมีพัฒนาการด้าน รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดับการศกึ ษาปฐมวัย ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนบ้านตลิง่ สูงสามัคคี สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
๓๘ อารมณ์ จติ ใจ สามารถควบคุมและแสดงออกทางอารมณ์ได้ดี ชว่ ยเหลือตนเองและเปน็ สมาชกิ ทดี่ ีของสงั คม และมีพัฒนาการด้านสตปิ ัญญา ส่ือสารได้ดี มที ักษะการคิดพื้นฐานและแสวงหาความรู้ ดังทป่ี รากฏผลประเมนิ ในมาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพเด็ก อยู่ในระดับคณุ ภาพมาตรฐานอยใู่ นระดบั ยอดเยย่ี ม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารปละจดั การ อย่ใู นระดับคุณภาพยอดเย่ียม สถานศกึ ษามีการวางแผน กาหนดหลักสตู รครอบคลมุ พฒั นาการทัง้ 4 ดา้ น โดยมีการประเมินและ พฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาใหส้ อดคล้องกบั หลักสูตรปฐมวัยและบรบิ ทของท้องถ่นิ โดยมีสว่ นรว่ มของ ผ้เู กีย่ วขอ้ งทุกภาคส่วน มีอัตราครูที่เพยี งพอต่อจานวนนกั เรียน : ครู ในอัตราสว่ น 1 ต่อ ๒๕ ครูไดร้ บั การ พัฒนาและฝึกอบรมตามเกณฑ์การพฒั นาวชิ าชาชพี มกี ารจัดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี PLC สภาพแวดล้อม ภายในโรงเรยี นเออ้ื ต่อการเรยี นรู้ มีความสะอาด ร่มรน่ื เรียบรอ้ ย และปลอดภยั มสี อ่ื เทคโนโลยใี นการเรยี นรู้ ทกุ หอ้ งเรยี นอย่างหลากหลาย ผู้บริหารดาเนนิ งาน ตดิ ตามตรวจสอบการดาเนนิ การตามระบบการประกัน คณุ ภาพการศึกษา ใช้ผลการประเมนิ และการดาเนนิ งานท่ีผ่านมาเป็นฐานในการพฒั นา และสอดคลอ้ งกบั เป้าหมายการพัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง สง่ ผลให้ผลการประเมินในมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารปละจดั การ อย่ใู นระดับคุณภาพยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี น้นเดก็ เป็นสาคัญ มผี ลประเมินอยู่ใน ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยี่ยม สถานศึกษามีการวางแผน และครูออกแบบการจัดกิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์ ส่งเสรมิ พัฒนาการเด็กอยา่ งสมดุล และเป็นไปตามวัย โดยการมสี ว่ นรว่ มของผู้ปกครอง จากการติดตามสอบถามโดยให้ ผปู้ กครองมีส่วนร่วมในการประเมนิ พัฒนาการ และเปดิ โอกาสใหแ้ สดงความคดิ เหน็ ช่วยเหลือนักเรยี นเพ่ือ พฒั นาและแก้ปญั หารายบุคคลและการประเมินผลจาก สภาพจรงิ ในทุกขน้ั ตอน การจัดกิจกรรมของครูมี ลักษณะเล่นปนเรียน โดยเน้นรปู แบบการจัดการเรยี นรู้โดยใชร้ ปู แบบ Active Learning ผลประเมินใน มาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการณท์ ่ีเน้นเดก็ เป็นสาคญั อยู่ในระดบั คุณภาพมาตรฐานอยู่ในระดับยอดเยีย่ ม . รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดบั การศึกษาปฐมวัย ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบา้ นตลง่ิ สงู สามคั คี สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๓๙ ภาคผนวก - ประกาศมาตรฐานและประกาศเปา้ หมายของสถานศึกษา - คาสง่ั คณะกรรมการจัดทามาตรฐานและประกาศเปา้ หมายของสถานศึกษา - คาสงั่ คณะกรรมการประเมินตดิ ตามตรวจสอบตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา - คาสั่งคณะกรรมการจดั ทารายงานผลการปฏบิ ัติงานของสถานศึกษา - ภาพถ่ายกจิ กรรม รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดับการศึกษาปฐมวัย ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนบ้านตลิง่ สงู สามคั คี สานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๔๐ คาสงั่ โรงเรียนบา้ นตลงิ่ สงู สามคั คี ท่ี 48 /2563 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการจดั ทามาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ************************************ พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี ก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 มาตรา ๙ (๓)ได้กาหนดการจัดระบบโครงสร้าง และกระบวนการจดั การศึกษา ให้ยึดหลักที่สาคัญข้อหนึ่ง คือ มกี ารกาหนดมาตรฐานการศึกษา และจดั ระบบประกันคุณภาพการศึกษาทกุ ระดับ และประเภทการศกึ ษาโด มาตรฐานการศึกษา ๔๘ ให้หนว่ ยงานตน้ สังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา และถอื วากการประกันคุณภาพเป็นส่วนหน่งึ ของการบริหารการศึกษาทีต่ ้องเปิดเผยตอ่ สาธารณชน เพอ่ื นาไปสู่การพัฒนาคณุ ภาพมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกนั คณุ ภาพภายนอก ตามประกาศคณะกรรมการประกนั คุณภาพในระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน เรือ่ ง กาหนด หลกั เกณฑแ์ ละแนวปฏิบัตเิ กยี่ วกับการประกันคุณภาพภายในระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ระบุให้ สถานศึกษากาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา เพื่อเป็นแนวทางการในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประกอบกบั ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน เพื่อการประกนั คณุ ภาพ ภาในของสถานศึกษาฉบบั วันท่ี ๖ สิงหาคม ๒๕๖๑ จานวน ๓ มาตรฐาน โรงเรียนบา้ นตลิ่งสูงสามคั คี จะดาเนนิ การจัดทามาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา เพ่ือเป็น แนวทางการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา โดยยดึ หลักการมสี ่วนรว่ มของชุมชนและหนว่ ยงานท่เี ก่ยี วข้อง ทงั้ ภาครฐั และเอกชน จงึ แต่งตั้งคณะกรรมการจดั ทามาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา มีหน้าทใ่ี นการร่วม ประชุม ปรึกษาหารือและดาเนินการจดั ทามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ให้มีความเหมาะสม สอคล้อง กบั มาตรฐานการศึกษาชาติ ดังต่อไปนี้ 1. คณะกรรมการอานวยการ ประกอบดว้ ย 1.1 นายสุทธริ ักษ์ รามชมุ ผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านตลิง่ สงู สามคั คี ประธานกรรมการ 1.2 นายชัยธวัช คงปา่ ประธานกรรมการสถานศึกษา กรรมการ 1.3 นางสาวสีนวล ทวสี กจิ ครู โรงเรยี นบ้านตล่ิงสงู สามคั คี กรรมการ 1.4 นางสาวณิชาภา ด่อนแผ้ว ครู โรงเรยี นบ้านตลิง่ สูงสามคั คี กรรมการ/เลขานุการ หนา้ ท่ี 1. กาหนดนโยบาย วางแผน การดาเนนิ งาน 2. ให้คาปรกึ ษาแนะนา สนับสนุน และนเิ ทศติดตามการดาเนินงานของคณะกรรมการ ฝ่ายตา่ ง ๆ /2. คณะกรรมการดาเนนิ การ... รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนบา้ นตลง่ิ สงู สามคั คี สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๔๑ 2. คณะกรรมการดาเนนิ การยกร่างมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ประกอบดว้ ย 2.1 นายสทุ ธิรกั ษ์ รามชุม ผอู้ านวยการโรงเรยี นบา้ นตล่งิ สูงสามคั คี ประธานกรรมการ 2.2 นางสาวสีนวล ทวสี กิจ ครู โรงเรียนบา้ นตลง่ิ สูงสามัคคี กรรมการ 2.3 นางนวลจนั ทร์ สุคง ครู โรงเรยี นบ้านตล่ิงสูงสามคั คี กรรมการ 2.4 นางจิดาภา ชา้ งไผ่ ครู โรงเรียนบ้านตล่งิ สงู สามัคคี กรรมการ 2.5 นายประยรู วงศค์ า ครู โรงเรยี นบ้านตลงิ่ สูงสามคั คี กรรมการ 2.6 นางสาวณชิ าภา ดอ่ นแผ้ว ครู โรงเรียนบา้ นตลิ่งสูงสามคั คี กรรมการ 2.7 นางสาวนงนชุ สทุ ธิ ครู โรงเรียนบา้ นตล่งิ สงู สามคั คี กรรมการ 2.8 นายอฐิ แย้มยมิ้ ครู โรงเรียนบา้ นตล่งิ สูงสามัคคี กรรมการ 2.9 เด็กหญงิ พนั ธท์ พิ ย์ พรมบตุ ร คณะกรรมการนักเรยี นฯ กรรมการ 2.10 เดก็ ชายณรงคร์ ัตน์ พมิ สวรรค์ คณะกรรมการนกั เรียนฯ กรรมการ 2.11 เดก็ ชายธนเทพ กล้ากสิการ คณะกรรมการนกั เรียนฯ กรรมการ 2.12 นางสาวรักษิณา แกว่นธัญญะกจิ ตัวแทนผูป้ กครอง กรรมการ 2.13 นายวชิ าญ จลุ มสุ ิ กรรมการท่ีปรึกษา กรรมการ 2.14 นายสมศกั ดิ์ รตั นสตู ร กรรมการทป่ี รกึ ษา กรรมการ 2.15 นายไพบูลย์ กลา้ กสกิ าร กรรมการที่ปรกึ ษา กรรมการ 2.16 นายชุมพล คาฝอย กรรมการทปี่ รกึ ษา กรรมการ 2.17 นายคาตัน อยสู่ ุภาพ กรรมการทป่ี รึกษา กรรมการ 2.18 นายบรรจบ เกษมณี กรรมการที่ปรึกษา กรรมการ 2.19 นายจกั รพงษ์ ขนุ พลนาควาสกรรมการที่ปรึกษา กรรมการ 2.20 นายจาปา วังคีรี กรรมการที่ปรกึ ษา กรรมการ 2.21 นายวไิ ล พรมพิทกั ษ์ กรรมการทป่ี รึกษา กรรมการ 2.22 นางสาวเบญจรัตน์ คาหอมครู โรงเรยี นบา้ นตลิง่ สงู สามคั คี กรรมการ/เลขานกุ าร 2.23 นายสรุ ยิ มณฑล มะลานาจธรุ การ โรงเรียนบ้านตล่ิงสูงสามัคคี กรรมการ/ ผ้ชู ว่ ยเลขานุการ หนา้ ท่ี 1. ศึกษารายละเอยี ดมาตรฐานการศึกษาขนั้ พื้นฐานของกระทรวงศกึ ษาธิการ 2. รา่ งมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาแต่ละมาตรฐาน ให้สอดคลอ้ งกับสภาพ บรบิ ทของสถานศึกษานักเรียนและชมุ ชน และสอดคล้องกับสภาพบรบิ ทของ สถานศึกษาขั้นพ้นื ฐานของกระทรวงศึกษาธิการ /3. คณะกรรมการพจิ ารณา... รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดบั การศึกษาปฐมวยั ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนบา้ นตลง่ิ สูงสามคั คี สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
๔๒ 3. คณะกรรมการพจิ ารณากล่ันกรองมาตรฐาน ประกอบดว้ ย 3.1 นายสุทธิรกั ษ์ รามชมุ ผูอ้ านวยการโรงเรยี นบ้านตล่ิงสูงสามคั คี ประธานกรรมการ 3.2 นายชัยธวชั คงป่า ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ กรรมการ 3.3 นายวนิ ัย พุทธสะแก้ว ผแู้ ทนผปู้ กครอง กรรมการ 3.4 นายสเุ ทพ สขุ เกษม ผแู้ ทนองค์กรชมุ ชน กรรมการ 3.5 นายจาปี วังคีรี ผแู้ ทนองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ กรรมการ 3.6 นายสสุ ัน บญุ ประคม ผแู้ ทนศษิ ย์เก่า กรรมการ 3.7 พระวราทศิ ธมมฺทนิ ฺโน ผแู้ ทนองคก์ รศาสนา กรรมการ 3.8 นายบุญเลศิ คามาลี ผทู้ รงคณุ วุฒิ กรรมการ 3.9 นางจิดาภา ชา้ งไผ่ ผแู้ ทนครู กรรมการ/เลขานกุ าร หน้าที่ 1. พจิ ารณากลัน่ กรองมาตรฐานจากคณะกรรมการชดุ 2 2. แก้ไข ปรับปรงุ มาตรฐานให้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน 3. ประเมินผลและสรุปผลการดาเนนิ งาน 4. คณะกรรมการประสานงาน และสรุปผล 4.1 นายสทุ ธิรักษ์ รามชุม ผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านตล่งิ สูงสามคั คี ประธานกรรมการ 4.2 นางสาวสนี วล ทวีสกจิ ครู โรงเรยี นบา้ นตล่ิงสูงสามัคคี กรรมการ 4.3 นายอฐิ แยม้ ย้มิ ครู โรงเรยี นบา้ นตล่ิงสงู สามคั คี กรรมการ 4.4 นางสาวณิชาภา ด่อนแผว้ ครู โรงเรียนบา้ นตลิ่งสูงสามคั คี กรรมการ/เลขานกุ าร หนา้ ท่ี 1. ประสานงานคณะกรรมการทุกฝ่าย 2. รวบรวมผลการพิจารณากลั่นกรองมาตรฐาน 3. สรปุ ผล และจัดทารปู เลม่ มาตรฐาน และดาเนนิ การประกาศ ให้คณะกรรมการท่ีไดร้ ับการแต่งต้ังทกุ คน ปฏบิ ัติหนา้ ท่ีไดร้ ับมอบหมาย ให้บรรลุตาม วตั ถุประสงค์ของการดาเนนิ งาน เปน็ ไปด้วยความเรียบร้อย เกิดประโยชน์สูงสดุ ต่อราชการ ทัง้ นี้ ตั้งแตบ่ ัดนี้เป็นต้นไป สงั่ ณ วนั ที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 (นายสุทธิรักษ์ รามชุม) ผอู้ านวยการโรงเรยี นบ้านตลิ่งสงู สามัคคี รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ระดับการศกึ ษาปฐมวัย ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ โรงเรียนบา้ นตล่งิ สงู สามคั คี สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
๔๓ ประกาศโรงเรยี นบา้ นตลง่ิ สูงสามัคคี เรือ่ ง มาตรฐานการศกึ ษาและเปา้ หมายความสาเรจ็ ระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน --------------------------------------------------------------------- ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ทีก่ าหนดให้ สถานศกึ ษาตอ้ งมมี าตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาน้นั คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐานของโรงเรียน บ้านตลง่ิ สูงสามคั คี มีมติเหน็ พ้องตอ้ งกนั ใหค้ วามเหน็ ชอบรา่ งมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาและ เปา้ หมายความสาเรจ็ ตามท่โี รงเรยี นบ้านตลิ่งสงู สามัคคี ในคราวประชุมครัง้ ท่ี 1 เม่ือวนั ที่ 16 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2563 โรงเรียนจงึ ประกาศ เรื่อง มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและเป้าหมาย ความสาเรจ็ ตามมาตรฐานการศึกษา เพ่ือเปน็ กลไกการพฒั นารว่ มกนั ระหว่างโรงเรียนและผมู้ ีส่วนเกยี่ วข้อง และสรา้ งความเช่ือมนั่ ใหแ้ กส่ ังคม ชุมชน ตามเอกสารแนบท้ายประกาศฉบับนี้ ทั้งน้ตี ง้ั แต่ปีการศึกษา 2563 เป็นตน้ ไป จนกวา่ จะมกี ารเปลยี่ นแปลงในเวลาท่ีเหมาะสมต่อไป ประกาศ ณ วันที่ 16 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2563 (นายชัยธวัช คงป่า) (นางภทั รวดี สขี า) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พื้นฐาน ผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นตลง่ิ สงู สามคั คี รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดับการศึกษาปฐมวยั ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรียนบ้านตลงิ่ สูงสามัคคี สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๒
๔๔ เอกสารแนบทา้ ยประกาศโรงเรียนบา้ นตลงิ่ สงู สามคั คี เรื่อง มาตรฐานการศึกษาและเปา้ หมายความสาเรจ็ ระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ประกาศ ณ วนั ท่ี 16 เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2563 การกาหนดค่าเป้าหมาย แนบท้ายประกาศโรงเรยี นบา้ นตล่ิงสงู สามัคคี เรอ่ื ง การกาหนดค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาระดับการศกึ ษาปฐมวัย และระดับการศึกษาข้นั พื้นฐานเพอ่ื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา --------------------------------------------------------------------------------------- ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั มาตรฐาน/ประเด็นการพจิ ารณา คา่ เป้าหมาย มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก ยอดเย่ียม 1.1มีพฒั นาการดา้ นรา่ งกาย แข็งแรง มีสุขนสิ ยั ทีด่ ี และดแู ลความปลอดภยั ของตนเองได้ 99 1.2มีพฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 100 1.3มีพัฒนาการดา้ นสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกท่ดี ขี องสังคม 99 1.4มีพฒั นาการด้านสติปญั ญา สื่อสารได้ มที ักษะการคดิ พ้ืนฐาน และแสวงหาความรู้ 99 มาตรฐานท่ี 2กระบวนการบริหารและการจดั การ 2.1 มีหลักสตู รครอบคลมุ พัฒนาการทัง้ 4 ด้าน สอดคล้องกบั บรบิ ทของทอ้ งถน่ิ ยอดเยย่ี ม 2.2 จดั ครูให้เพยี งพอกบั ช้นั เรียน 90 2.3 ส่งเสริมให้ครมู ีความเชี่ยวชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ 100 2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและส่ือเพ่ือการเรยี นรู้ อย่างปลอดภยั และเพยี งพอ 100 2.5 ใหบ้ รกิ ารสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรเู้ พ่อื สนับสนนุ การจัดประสบการณ์ 94 2.6 มรี ะบบบริหารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสใหผ้ ้เู กีย่ วข้องทกุ ฝ่ายมีสว่ นร่วม 92 มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ 95 3.1 จัดประสบการณ์ทส่ี ่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอยา่ งสมดุลเตม็ ศักยภาพ 3.2 สร้างโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ัติอยา่ งมีความสขุ ยอดเยีย่ ม 3.3 จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ใชส้ อื่ เทคโนโลยีท่เี หมาะสมกับวัย 100 3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนาผลการประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรับปรงุ การ 100 จัดประสบการณ์ และพัฒนาเด็ก 100 100 รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (SAR) ระดบั การศึกษาปฐมวัย ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ โรงเรยี นบา้ นตลิ่งสูงสามัคคี สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๒
Search