Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปเนื้อหาสุขศึกษา พลศึกษา ทช31002

สรุปเนื้อหาสุขศึกษา พลศึกษา ทช31002

Published by s.pannawitt, 2022-06-18 03:20:13

Description: สรุปเนื้อหาสุขศึกษา พลศึกษา ทช31002

Search

Read the Text Version

1

2 เอกสารสรปุ เน้ือหาท่ตี อ งรู รายวิชาสุขศึกษา พลศกึ ษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รหัส ทช31002 หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สํานักงานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ หามจาํ หนาย หนงั สือเรยี นนี้จดั พมิ พด วยเงินงบประมาณแผนดินเพ่ือการศกึ ษาตลอดชีวติ สาํ หรับประชาชน ลขิ สิทธ์เิ ปนของสํานกั งาน กศน.สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



3 สารบัญ คํานํา หนา คําแนะนําการใชเ อกสารสรปุ เนอ้ื หาทต่ี อ งรู โครงสรา งรายวชิ า 1 บทท่ี 1 ระบบตา ง ๆ ของรางกาย 2 เร่อื งที่ 1 โครงสราง หนา ท่ี และการทํางานและการดแู ลรักษาระบบ 3 อวัยวะทส่ี าํ คญั ของรา งกาย 16 เรื่องท่ี 2 การวางแผนและปฏิบัตติ นเพ่ือการเสรมิ สรา งพัฒนาการ 18 ดานสขุ ภาพของตนเองและครอบครวั 19 กิจกรรมทา ยบท 20 บทที่ 2 ปญ หาเพศศึกษา 21 23 เรื่องท่ี 1 การส่ือสาร ตอรองและการขอความชวยเหลอื เก่ียวกบั ปญ หา 24 ทางเพศ 30 เรือ่ งท่ี 2 การจัดการกบั อารมณและความตอ งการทางเพศ 31 เรอ่ื งที่ 3 ความเชือ่ ทผ่ี ิด ๆ ทางเพศท่ีสงผลตอ สขุ ภาพทางเพศ 32 เรื่องที่ 4 อิทธพิ ลของสอื่ ตา ง ๆ ที่สงผลใหเกิดปญ หาทางเพศ 35 เรือ่ งที่ 5 กฎหมายท่ีเกี่ยวขอ งกับการละเมดิ ทางเพศและกฎหมาย 38 42 คมุ ครองเดก็ และสตรี กจิ กรรมทา ยบท บทท่ี 3 อาหารและโภชนาการ เรื่องที่ 1 โรคขาดสารอาหาร เร่ืองท่ี 2 การสุขาภบิ าลอาหาร เร่อื งท่ี 3 การจดั โปรแกรมอาหารใหเหมาะสมกบั บคุ คลกลุมตา ง ๆ กิจกรรมทายบท

4 สารบญั (ตอ ) หนา บทที่ 4 การเสริมสรา งสขุ ภาพ 43 เรอื่ งที่ 1 การรวมกลมุ เพื่อเสรมิ สรา งสุขภาพในชุมชน 44 เร่ืองที่ 2 การออกกาํ ลังกายเพอื่ สุขภาพ 47 กจิ กรรมทา ยบท 53 บทท่ี 5 โรคทถ่ี า ยทอดทางพันธกุ รรม 54 เรอ่ื งที่ 1 โรคที่ถายทอดทางพันธกุ รรม 55 เรอ่ื งท่ี 2 การวางแผนรว มกับชมุ ชนเพ่ือปองกันและหลีกเลีย่ งโรคตดิ ตอ 59 และโรคที่เปนปญ หาสาธารณสขุ เร่อื งที่ 3 ผลกระทบของพฤตกิ รรมสุขภาพที่มตี อการปองกนั โรค 61 เรื่องที่ 4 ขอมูลขาวสารและแหลงบริการเพื่อการปอ งกนั โรค 62 กจิ กรรมทา ยบท 64 บทท่ี 6 ความปลอดภยั จากการใชยา 66 เรื่องท่ี 1 หลักการและวิธีการใชย า 67 เรือ่ งท่ี 2 ความเชอ่ื เก่ยี วกับการใชยา 71 เรื่องท่ี 3 วเิ คราะหอนั ตรายจากการใชยาการปอ งกันและการชว ยเหลอื 75 เรอ่ื งที่ 4 การแนะนําในการเลือกใชขอมูลขาวสารเกีย่ วกบั การใชย า 80 กจิ กรรมทายบท 82 บทที่ 7 ผลกระทบจากสารเสพตดิ 83 เรอ่ื งท่ี 1 การวิเคราะหป ญหา สาเหตุ และผลกระทบจากการแพร 84 ระบาดของสารเสพตดิ เร่ืองที่ 2 การมีสวนรว มในการปองกันสารเสพตดิ ในชุมชน 86 เร่ืองที่ 3 กฎหมายท่ีเกีย่ วของกบั สารเสพตดิ 88 กจิ กรรมทายบท 91

5 สารบัญ (ตอ ) หนา บทที่ 8 ทกั ษะชวี ิตเพือ่ สขุ ภาพจติ 92 เร่อื งที่ 1 ความหมาย ความสําคญั ของทักษะชีวิต 10 ประการ 93 เร่ืองท่ี 2 ทักษะชวี ิตที่จาํ เปน 3 ประการ 94 เรือ่ งท่ี 3 การประยกุ ตใ ชทกั ษะชีวติ ในการทํางาน การปรับตวั และ 98 การแกปญ หาชีวิต เรื่องที่ 4 การแนะนํากระบวนการทักษะชีวิตในการแกป ญหากับผูอ ่ืน 98 กจิ กรรมทา ยบท 100 บทท่ี 9 อาชพี จําหนายอาหารสาํ เรจ็ รปู ตามสขุ าภบิ าล 101 เรื่องท่ี 1 ลกั ษณะธุรกิจผลติ อาหารสําเรจ็ รูป 102 เรื่องท่ี 2 วิธกี ารดาํ เนินงานของธรุ กิจผลติ และจาํ หนา ยอาหารสาํ เรจ็ รปู 103 เร่ืองท่ี 3 คณุ สมบตั ิรา นอาหารหรอื สถานทจี่ ําหนายอาหารสําเรจ็ รูป 108 ตามหลกั สุขาภิบาล กิจกรรมทายบท 109 เฉลยกจิ กรรมทายบท 110 บรรณานกุ รม 124 คณะผจู ดั ทํา 126

6 คาํ แนะนาํ ในการใชเอกสารสรุปเนื้อหาที่ตองรู หนังสือสรุปเนอ้ื หารายวชิ าสุขศึกษา พลศึกษา เลมน้ีเปนการสรุปเนื้อหาจาก หนังสือ เรียน สาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชาสุขศึกษา พลศึกษา ทช 31002 ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาชั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) เพ่ือใหผูเรียน กศน. ทําความเขาใจและเรียนรูในสาระสําคัญ ของเนอื้ หารายวิชาสาํ คัญ ๆ ไดส ะดวก และสามารถเขาถึงแกน ของเนอ้ื หาไดด ขี ึ้น ในการศึกษาหนังสือสรุปเน้ือหารายวิชาสุขศึกษา พลศึกษา เลมน้ี ผูเรียน ควรปฏบิ ตั ิ ดังนี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาสุขศึกษา พลศึกษา จากหนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนิน ชีวิต รายวิชาสขุ ศกึ ษา พลศกึ ษา ทช 31002 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดบั การศึกษาชั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) ใหเขาใจ กอ น 2. ศกึ ษารายละเอยี ดเนื้อหาของหนงั สอื สรุปเนือ้ หารายวิชาสขุ ศึกษา พลศกึ ษา ใหเขาใจ อยา งชดั เจน ทลี ะบท จนครบ 9 บท 3. หากตองการศึกษารายละเอียดเน้ือหารายวิชาสุขศึกษา พลศึกษา เพิ่มเติม ผูเรียน กศน. สามารถ ศึกษาหาความรูเพิ่มเติมจากตํารา หนังสือเรียนท่ีมีอยูตามหองสมุดหรือราน จําหนายหนังสือเรียน หรือครูผสู อน

1 บทที่ 1 ระบบตาง ๆ ของรา งกาย สาระสําคัญ อวัยวะตางๆ ทุกสวนของรางกายคนเรา ทํางานสัมพันธกันเปนระบบ ทุกระบบ ตางมี ความสําคัญตอ รางกายทัง้ สิน้ หากระบบใดทํางานผิดปกตจิ ะสง ผลกระทบตอระบบ อื่นๆ ดวย เราจึงควรรูจักปองกัน บํารุงรักษาอวัยวะตาง ๆ ในทุกระบบ ใหสมบูรณแข็งแรงทํางานได ตามปกตอิ ยเู สมอ จะชว ยใหเรามีสขุ ภาพทด่ี ี ผลการเรียนรูท่คี าดหวัง 1. อธิบายความสาํ คัญของระบบอวยั วะแตละระบบได 2. บอกโครงสรา งของระบบอวยั วะแตล ะระบบได 3. อธิบายหนา ทแ่ี ละการทํางานของอวัยวะแตละระบบได 4. บอกวธิ ีการดแู ลปอ งกนั ความผดิ ปกติของระบบอวัยวะ 6 ระบบได 5. อธบิ ายวธิ ีการสรางเสรมิ และดาํ รงประสิทธิภาพของระบบอวยั วะ 6 ระบบได 6. วางแผนการเสรมิ สรา งพฒั นาการของตนเองและครอบครวั ได 7. ปฏบิ ตั ติ นเพือ่ การเสรมิ สรา งพัฒนาการของตนเองและครอบครัวได ขอบขายเนื้อหา เรื่องท่ี 1 โครงสราง หนาที่ และการทํางานและการดูแลรักษาระบบอวัยวะที่สําคัญ ของรางกาย - ระบบหายใจ - ระบบยอ ยอาหาร - ระบบขับถาย - ระบบสืบพันธุ - ระบบตอ มไรทอ - ระบบประสาท เร่ืองท่ี 2 การวางแผนและปฏิบัติตนเพ่ือการเสริมสรางพัฒนาการดานสุขภาพ ของตนเองและครอบครัว

2 เร่ืองที่ 1 โครงสราง หนาที่ และการทาํ งานและการดแู ลรักษาระบบอวัยวะทสี่ ําคญั ของรางกาย ระบบอวัยวะของรางกาย ทําหนาที่แตกตางกันและประสานกันอยางเปนระบบ ซ่ึงระบบที่สาํ คญั ของรา งกาย มีโครงสราง หนาทแ่ี ละการทํางาน ดงั น้ี 1. ระบบหายใจ การหายใจเปนกระบวนการนํา ออก ซิเจ นใน อาก าศเ ขาสู ปอด โด ย ออกซิเจนจะไปสลายสารอาหารและได พ ลั ง ง า น อ อ ก ม า ร ว ม ถึ ง ก า ร กํ า จั ด คารบอนไดออกไซดซ่ึงเปนของเสียออก จากรางกาย ทางเดนิ หายใจ ประกอบดว ยอวัยวะตางๆ ดงั น้ี 1. จมกู (Nose) ภายในจะมีเยื่อบุจมูก และขนจมกู ซึ่งชวยกรองฝนุ ละออง 2. คอหอย (Pharynx) หลอดอาหารและหลอดลมจะมาพบกันทค่ี อหอย 3. กลองเสยี ง (Larynx) อยโู คนลิน้ เขา ไป ในผูช ายเรยี กวาลกู กระเดือก 4. หลอดลม (Trachea) อยตู อ จากกลอ งเสียง ผนังดานในจะมเี มือกคอยกักฝุนละออง ไมใ หผานเขา ไปถึงปอด 5. ข้วั ปอด (Bronchus) มี 2 ขา งอยปู ลายสดุ ของหลอดลม 6. ปอด (Lung) จะอยูภายในทรวงอกท้ัง 2 ขาง ลักษณะคลายฟองน้ํามีความยืดหยุนมาก ภายในปอดจะมถี ุงลมซ่ึงเปน จุดและเปล่ยี นอากาศดีและอากาศเสยี กระบวนการหายใจ รางกายของเราตองการออกซิเจน เพ่ือการดํารงชีวิต โดยกลไกลของการหายใจเขา และ หายใจออก ดงั น้ี 1. การหายใจเขา เกดิ จากกลา มเนือ้ กะบังลมหดตัว ซ่ึงทําใหความดันภายในปอดลดลง อากาศภายนอกจงึ เขามาแทนท่ีได

3 2. การหายใจออก เรม่ิ ขน้ึ เม่อื กลามเนื้อกะบังลมคลายตัว ทําใหความดันภายในปอด เพม่ิ สงู ข้ึนกวาความดันบรรยากาศ อากาศจงึ ไหลจากปอดสูบรรยากาศภายนอก การดแู ลปองกันความผดิ ปกติของระบบหายใจ 1. หลกี เล่ียงทที่ ่ีอากาศไมบริสทุ ธ์ิ เพราะจะทําใหไ ดร ับสารพษิ 2. หาโอกาสไปอยูท ท่ี ่ีอากาศบรสิ ทุ ธ์ิหายใจ เชน ตามทุง นา ปา เขา ชายทะเล เปนตน 3. ไมส บู บหุ ร่ี และไมอ ยใู กลค นสบู บุหร่ี 4. ควรตรวจสภาพปอดดวยการเอกซเรยอยางนอยปล ะ 1 คร้งั 5. หลีกเลยี่ งการอยูใ กลช ดิ คนทเี่ ปนโรคตดิ ตอทางลมหายใจ 6. เม่อื อากาศเปล่ยี นแปลง ควรรกั ษาความอบอุนของรางกายอยเู สมอ 7. ออกกําลงั กายใหร า งกายแข็งแรงอยเู สมอ จะทําใหความจุปอดดขี ้ึน 8. ถา มคี วามผิดปกติเกี่ยวกับระบบหายใจควรรบี พบแพทย 2. ระบบยอ ยอาหาร หลังจากกินอาหารเขาไป อาหารจะถูก ยอยสลายเปน สารท่ีมีโมเลกุลขนาดเล็กไมซับซอน เชน กลูโคสหรือกรดอะมิโน การยอยอาหารทําไดโดยการ เคี้ยวบด และใชส ารเคมีพวกเอนไซนตาง ๆ เขาชวยเพ่ือ เรง ปฏิกริ ิยาการยอ ยอาหารใหรวดเร็วข้ึน อาหารที่ยอย แลว จะถกู ขบั ออกจากรา งกาย โครงสรางและหนา ท่ีของอวยั วะในระบบยอยอาหาร 1. ปาก ใชฟน บดเค้ยี วอาหารใหละเอียด 2. คอหอย เปนทอ ที่อยรู ะหวา งดา นหลงั ของปากและหลอดลม 3. หลอดอาหาร จะลําเลียงอาหารไปยังกระเพาะอาหาร 4. กระเพาะอาหาร มีลักษณะเปนถุงขนาดใหญ ผนังในกระเพาะจะเปนลูกคล่ืน นํา้ ยอ ยในกระเพาะอาหารจะชวยยอ ยและละลายขนาดของอาหารใหม อี นุภาคเล็กลง 5. ลาํ ไสเล็ก ทาํ หนาที่ดูดซึมสารอาหารเขา สกู ระแสเลือด

4 6. ลําไสใหญ เปนที่รับกากอาหารจากลําไสเล็กและกลายเปนอุจจาระ ลําไสใหญ สว นตน จะมไี สต ง่ิ ยน่ื ออกมา ลาํ ไสใหญส ว นกลางเรยี กวาไสตรง 7. ตับ เปนอวัยวะท่ีเกี่ยวของกับการยอยอาหารและกระบวนการเมตาบอลิซึมของ รางกาย ทําหนาท่ีผลิตน้ําดีออกสูลําไส เพื่อชวยใหไขมันถูกยอยและดูดซึมงายข้ึน สรางเม็ด เลือดในวัยทารก ควบคุมปริมาณเลือด ควบคุมเมตาบอลิซึมของคารโบไฮเดรต ไขมัน และ โปรตีน เปน แหลงสะสมแรเหล็ก ทองแดง วิตามินเอ วิตามินดี และวิตามินบีสอง นอกจากน้ีตับยัง เปนแหลง ผลิตความรอ นที่สําคัญของรางกาย 8. ถงุ น้าํ ดี สรา งจากตับ นํ้าดีจําเปนตอการยอยอาหารประเภทไขมัน ขับสีและของ เสียอื่น ๆ ออกจากรางกาย ดูดซึมวิตามินเอและเค เกลือน้ําดี ทําหนาที่ดูดซึมไขมันและ ควบคุมคอเลสเตอรอล ใหอ ยูในสภาพสารละลาย 9. ตับออน เปนอวัยวะที่ตั้งอยูใตตับและกระเพาะอาหาร ทําหนาท่ีผลิตนํ้ายอย ฮอรโมนอินซลู ินและกลูคากอน การดแู ลปองกนั ความผดิ ปกตขิ องระบบยอ ยอาหาร 1. รับประทานอาหารใหครบทุกประเภทในแตละม้ือ และรับประทานอาหาร แตพ อควร ไมม ากหรอื นอ ยจนเกนิ ไป โดยเค้ยี วอาหารใหละเอยี ด 2. รับประทานอาหารทสี่ ะอาด และปรุงสุกใหม ๆ 3. ไมร บั ประทานอาหารพรํา่ เพร่อื จุกจิก และทานใหตรงเวลา 4. อยา รีบรบั ประทานอาหารขณะกําลงั เหน่อื ย 5. ไมค วรรบั ประทานอาหารท่มี รี สจดั จนเกนิ ไป 6. ถายอจุ จาระใหเปน เวลาและสมา่ํ เสมอ 3. ระบบขบั ถาย การขบั ถา ยเปนกระบวนการกําจัดของเสียท่ีรางกายไมตองการออกมาภายนอกรางกาย เรียกวา การขับถายของเสีย อวัยวะท่ีเก่ียวของกับการกําจัดของเสีย ไดแก ปอด ผิวหนัง กระเพาะปสสาวะ และลําไสใหญ เปนตน

5 การกําจดั ของเสยี ทางปอด การกําจัดของเสียทางปอด กําจัดออกมาในรูปของนํ้าและกาซคารบอนไดออกไซด ซ่ึงเปนผลที่ไดจากกระบวนการหายใจ โดยนํ้าและกาซคารบอนไดออกไซดจะแพรออก จากเซลลเขา สหู ลอดเลอื ด และเลือดจะทําหนาที่ลําเลียงไปยังปอด แลวแพรเขาสูถุงลมท่ีปอด หลังจากนั้นจงึ เคลอ่ื นผานหลอดลมแลว ออกจากรายกายทางจมกู การกําจดั ของเสียทางผวิ หนัง ผวิ หนังนอกจากจะทาํ หนาทีก่ าํ จดั ของเสยี ออกจากรางกายในรปู ของเหง่ือแลว ยังมีสวน ระบายความรอนใหแกรางกายเพื่อขับเหง่ือออกสูภายนอก เหง่ือท่ีรางกายขับออกมาน้ันประกอบ ไปดวยนา้ํ เปน สวนใหญ และจะมีเกลอื บางชนดิ ถกู ขบั ปนออกมาดว ย จึงทาํ ใหเ หงือ่ มรี สเค็ม ระบบขบั ถายปส สาวะ อวยั วะท่เี กยี่ วของกบั ระบบขับถายปสสาวะมี ดงั น้ี 1. ไต (Kidneys) มอี ยู 2 ขา ง รปู รางคลายเมล็ดถั่วแดง อยูทางดางหลังของชองทอง บริเวณเอวในไตจะมีหลอดไต ทําหนาท่ีกรองปสสาวะออกจากเลือด ดังน้ันไตจึงเปนอวัยวะ สาํ คญั ทีใ่ ชเปน โรงงานสําหรับขับถายปส สาวะดวยการกรองของเสีย เชน ยูเรยี เกลือแร และนํ้า ออกจากเลือดท่ีไหลผานเขามาใหเปนนํ้าปสสาวะแลวไหลผานกรวยไตลงสูทอไตเขาไปเก็บไว ที่กระเพาะปสสาวะ 2. กรวยไต (Pelvis) คือ ชองกลวงภายในที่มีรูปรางเหมือนกรวย สวนของกนกรวย จะติดตอ กับกานกรวย 3. ทอไต (Useter) มีลักษณะเปนทอออกมาจากไตทั้ง 2 ขาง เช่ือมตอกับกระเพาะ ปสสาวะจะเปน ทางผานของปส สาวะจากไตไปสูกระเพาะปสสาวะ 4. กระเพาะปสสาวะ (Urinary Bladder) เปนท่ีรองรับน้ําปสสาวะจากไตที่ผานมา ทางทอไต สามารถขยายได ขับปสสาวะไดประมาณ 1 ลิตร แตถาเกิน 700 ซีซี (ลูกบาศก เซนตเิ มตร) อาจเปนอนั ตรายได เมือ่ มีนาํ้ ปส สาวะมาอยใู นกระเพาะปส สาวะมากข้ึนจะรูสึกปวด ปส สาวะ 5. ทอ ปสสาวะ (Urethra) เปนทอ ทีต่ อ จากกระเพาะปสสาวะไปสูอวัยวะเพศ ซ่ึงทอนี้ จะเปนทางผา นของปส สาวะเพื่อทจ่ี ะไหลออกสภู ายนอก ปลายทอจึงเปนทางออกของปสสาวะ

6 การดแู ลปองกนั ความผดิ ปกติของระบบขบั ถายปส สาวะ 1. ดืม่ นา้ํ สะอาด อยางนอยวันละ 6 – 8 แกว 2. ไมค วรกลนั้ ปส สาวะนานเกนิ ไป 3. ไมค วรรบั ประทานอาหารรสเคม็ มาก 4. ควรปอ งกันการเปน น่ิวในระบบทางเดนิ ปส สาวะ โดยหลกี เลย่ี งการรับประทานผัก ที่มีสารออกซาเลตสงู เชน หนอไม ชะพลู ผักแพว ผกั กระโดน เปนตน 5. ควรรับประทานอาหารประเภทโปรตีน เพื่อชวยลดอัตราการเกิดน่ิวในระบบ ทางเดนิ ปส สาวะ 6. เมือ่ มีความผิดปกตเิ กย่ี วกับระบบทางเดนิ ปส สาวะควรปรกึ ษาแพทย ระบบขบั ถา ยของเสยี ทางลําไสใ หญ การยอยอาหารจะส้ินสุดลงบริเวณรอยตอระหวางลําไสเล็กกับลําไสใหญ เน่ืองจาก อาหารที่ลําไสเล็กยอยแลวจะเปนของเหลว หนาที่ของลําไสใหญครึ่งแรก คือ ดูดซึมของเหลว นา้ํ เกลือแรและน้ําตาลกลูโคสท่ียังเหลืออยูในกากอาหาร สวนลําไสใหญครึ่งหลังจะเปนที่พัก กากอาหารซงึ่ มีลักษณะก่งึ ของแขง็ ลําไสใหญ จะขบั เมอื กออกมาหลอ ล่นื เพ่อื ใหอุจจาระเคล่ือน ไปตามลําไสใหญไดงายข้ึน ถาลําไสใหญดูดนํ้ามากเกินไป เนื่องจากอาหารตกคางอยูในลําไส ใหญห ลายวัน จะทาํ ใหกากอาหารแข็ง เกิดความลําบากในการขับถาย ซง่ึ เรียกวา ทองผกู 4. ระบบสืบพนั ธุ การสืบพันธุเปนสิ่งท่ีทําใหมนุษยดํารงเผาพันธุอยูได ซ่ึงตองอาศัยองคประกอบสําคัญ เชน เพศชายและเพศหญงิ แตละเพศจะมีโครงสรางของเพศ และการสืบพันธุ ซึ่งแตกตางกัน ดังนี้ ระบบสืบพันธุของเพศชาย อวัยวะสบื พนั ธุของเพศชายสวนใหญจะ อยูภายนอกลําตัว ประกอบดวยสวนท่ีสําคัญ ๆ ดงั น้ี 1. ลงึ คหรือองคชาต (Penis) เปนอวัยวะ สืบพนั ธุของเพศชาย รปู ทรงกระบอกอยูดานหนา

7 ของหัวเหนา บรเิ วณดา นหนาตอนบนถึงอัณฑะ มีลักษณะยื่นออกมา ประกอบดวยกลามเน้ือท่ี เหนียว แตม ีลักษณะนุม และอวัยวะสวนน้ีสามารถยืดและหดได ท่ีบริเวณตอนปลายลึงคจะมี เสนประสาทและหลอดเลือดมาเลี้ยงอยูเปนจํานวนมาก ลึงคจะแข็งตัวและเพ่ิมขนาดขึ้น ประมาณเทาตวั เน่อื งมาจากการไหลค่ังของเลือดท่ีบริเวณน้ีมีมาก และในขณะท่ีลึงคแข็งตัวน้ัน จะพบวาตอมเล็ก ๆ ที่อยูในทอปสสาวะจะผลิตน้ําเมือกเหนียว ๆ ออกมา เพื่อชวย ในการหลอลื่น และทาํ ใหตวั อสจุ ิสามารถไหลผานออกสภู ายนอกได 2. อัณฑะ (Testis) ประกอบดวย ถุงอัณฑะ เปนถุงท่ีหอหุมตอมอัณฑะไว มีลักษณะเปน ผิวหนังบาง ๆ สีคลํ้าและมีรอยยน จะหดหรือหยอนตัวเม่ืออุณหภูมิของอากาศเปลี่ยนแปลง เพ่ือชว ยรักษาอณุ หภมู ิภายในถงุ อัณฑะใหเ หมาะสมกับการสรางตวั อสุจิ ตอ มอณั ฑะมีอยู 2 ขาง ทําหนาท่ีผลิตเซลลสืบพันธุเพศชายหรือเช้ืออสุจิ มีลักษณะรูปรางคลายกับไขไกฟองเล็ก ๆ ตอม อณั ฑะท้ังสองจะบรรจอุ ยูภายในถุงอณั ฑะ 3. ทอนาํ ตัวอสุจิ (Vas deferens) อยูเหนืออัณฑะ ตอมาจากทอพักตัวอสุจิ ทอนี้จะเปน ชองทางใหตัวอสุจิ ไหลผานจากทอ พกั ตวั อสจุ ิไปยงั ทอของถุงเก็บอสจุ ิ 4. ทอ พักตัวอสจุ ิ (Epidymis) อยูเหนือทอนําตัวอสุจิ ทอน้ีมีลักษณะคลายรูปดวงจันทรครึ่ง ซีก ซึ่งหอยอยูติดกับตอมอัณฑะ ประกอบดวยทอท่ีคดเคี้ยวจํานวนมาก เมื่อตัวอสุจิถูกสรางข้ึน มาแลว จะถกู สงเขาสทู อนี้ เพ่อื เตรยี มทจ่ี ะออกมาสูท อ ปส สาวะ 5. ตอมลูกหมาก (Prostate gland) มลี กั ษณะคลา ยลกู หมาก เปนตอมท่ีหุมสวนแรก ของทอปสสาวะไวและอยูใตกระเพาะปสสาวะ ทําหนาที่หลั่งของเหลวที่มีลักษณะคลายนม มีฤทธิ์เปนดางอยางออน ซึ่งขับออกไปผสมกับนํ้าอสุจิที่ถูกฉีดเขามาในทอปสสาวะ ของเหลว ดงั กลาวน้จี ะเขา ไปทาํ ลายฤทธิก์ รดจากนํา้ เมือกในชองคลอดเพศหญิง เพื่อปองกันไมใหตัวอสุจิ ถูกทาํ ลายดว ยสภาพความเปนกรดและเพอ่ื ใหเกิดการปฏิสนธิขึ้น ระบบสืบพันธุของเพศหญิง อวัยวะสบื พันธขุ องเพศหญิงสว นใหญจะ อยูภายในลําตัว ประกอบดวยสวนท่ีสําคัญๆ ดงั นี้ 1. ชองคลอด (Vagina) อยูสวนลางของทอง มีลักษณะเปนโพรง ผนังดานหนาของ ชองคลอดจะติดอยูกับกระเพาะปสสาวะ สวนผนังดานหลังจะติดกับสวนปลายของลําไสใหญ

8 ซ่ึงอยใู กลทวารหนกั ทช่ี อ งคลอดน้นั มเี สน ประสาทมาเลยี้ งเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะอยางย่ิง ท่บี รเิ วณรอบรเู ปด ชอ งคลอด 2. คลิทอริส (Clitoris) เปนปุมเล็ก ๆ ซ่ึงอยูบนสุดของรูเปดชองคลอด มีลักษณะ เหมือนกับลึงคของเพศชายเกือบทุกอยาง แตขนาดเล็กกวาและแตกตางกันตรงท่ีทอปสสาวะ ของเพศหญิงจะไมผานผากลางคลิตอริสเหมือนกับในลึงค ประกอบดวย หลอดเลือดและ เสน ประสาทตางๆ มาเล้ยี งมากมายเปน เนอ้ื เย่ือทีย่ ดื ไดหดไดและไวตอความรสู กึ ทางเพศ 3. มดลกู (Uterus) เปนอวัยวะที่ประกอบดวยกลา มเนอื้ และมีลักษณะภายในกลวง มผี นงั หนาอยูระหวางกระเพาะปสสาวะซึ่งอยูขางหนาและสวนปลายลําไสใหญ (อยูใกลทวาร หนัก) ซึง่ อยขู างหลังไขจะเคลอื่ นตัวลงมาตามทอรังไข เขาไปในโพรงของมดลูก ถาไขไดผสมกับ อสุจิแลวจะมาฝงตัวอยูในผนังของมดลูกท่ีหนาและมีเลือดมาเล้ียงเปนจํานวนมาก ไขจะ เจรญิ เตบิ โตเปนตัวออ นตรงบริเวณนี้ 4. รังไข (Ovary) มีอยู 2 ตอม ซึ่งอยูในโพรงของอุงเชิงกราน มีรูปรางคอนขางกลมเล็ก ขณะทยี่ ังเปนตัวออ นตอมรังไขจะเจริญเติบโตในโพรงของชองทองและเมื่อคลอดออกมาบางสวน จะอยใู นชองทอง และบางสวนจะอยูในองุ เชิงกราน ตอ มาจะคอย ๆ เคลื่อนลดลงตํ่าลงมาอยูในอุง เชงิ กราน นอกจากนี้ ตอ มรังไขจ ะหล่งั ฮอรโมนเพศหญงิ ออกมาทําใหไ ขส กุ และเกดิ การตกไข 5. ทอ รังไข (Fallopain tubes) ภายหลงั ทีไ่ ขห ลดุ ออกจากสวนที่หอ หมุ แลว ไขจ ะผาน เขา สทู อรงั ไข ปลายขางหนึ่งมีลักษณะคลายกรวยซ่ึงอยูใกลกับรังไข สวนปลายอีกขางหน่ึงน้ัน จะเรยี วเลก็ ลงและไปติดกับมดลูก ทอรังไขจะทําหนาท่ีนําไขเขาสูมดลูก โดยอาศัยการพัดโบก ของขนท่ีปากทอ ซึ่งทําหนาที่คลายกับน้ิวมือจับไขใสไปในทอรังไขและอาศัยการหดตัวของ กลา มเนือ้ เรียบ การดแู ลปองกนั ความผดิ ปกตขิ องระบบสบื พันธุ 1. อาบน้ําอยางนอยวันละ 2 ครั้ง ควรเช็ดใหแหงและอยาปลอ ยใหอวัยวะเพศเปยกช้ืน 2. ควรเลือกชดุ ช้นั ในที่สวมใสสบายและสะอาด 3. ขบั ถา ยในหอ งสว มทถ่ี ูกสขุ ลกั ษณะ และไมกล้นั ปส สาวะ เพราะจะเกดิ อาการติดเช้ือ ในระบบทางเดินปส สาวะได 4. ควรใชถงุ ยางอนามยั ทกุ คร้งั ท่ีมีเพศสัมพันธ 5. ทํากิจกรรมตา ง ๆ เพ่ือไมใ หห มกมุนในเร่ืองเพศ เชน ออกกําลังกาย เลน ดนตรี เปนตน

9 6. ควรประพฤติและปฏิบัติตนตามประเพณีไทย เชน การรักนวลสงวนตัว ไมชิงสุกกอนหาม เพื่อปอ งกนั ปญหาเร่ืองเพศ 7. เมื่อมีความผิดปกตใิ ด ๆ เกดิ ขึ้นเก่ยี วกับอวัยวะสืบพนั ธุ ควรรีบไปพบแพทยท นั ที 5. ระบบตอ มไรทอ ในรางกายของมนษุ ยม ีตอมในรา งกาย 2 ประเภท คือ 1. ตอมมีทอ (Exocrine gland) เปนตอมท่ีสรางสารเคมีออกมาแลวสงไปยังตําแหนงออก ฤทธ์ิ โดยอาศัยทอลําเลียงของตอมโดยเฉพาะ เชน ตอมน้ําลาย ตอมสรางเอนไซมยอยอาหาร ตอ มนํา้ ตา ตอ มสรางเมอื ก ตอ มเหงือ่ เปน ตน 2. ตอมไรทอ (Endocrine gland) เปนตอมท่ีสรางสารเคมีขึ้นมาแลวสงไปออกฤทธิ์ยัง อวัยวะเปา หมาย โดยอาศัยระบบหมุนเวียนเลือด เนื่องจากไมมีทอลําเลียงของตอมโดยเฉพาะ สารเคมีนเ้ี รยี กวา ฮอรโมน ตอมไรทอมีอยูหลายตอมกระจายอยูในตําแหนงตางๆ ท่ัวรางกาย ฮอรโมนทผี่ ลิตขึน้ จากตอ มไรทอมีหลายชนิด แตละชนิดทํางานแตกตางกัน โดยจะควบคุมการ ทาํ งานของอวัยวะตา ง ๆ อยางเฉพาะเจาะจง เพอื่ ใหเ กิดการเจรญิ เตบิ โต กระตุนหรือยับยั้งการ ทํางาน ฮอรโ มนสามารถออกฤทธิไ์ ด โดยใชปริมาณเพียงเล็กนอย ตอมไรทอท่ีสําคัญ มี 7 ตอม ไดแ ก 2.1 ตอมใตสมอง (Pituitary gland) เปนตอมไรทอ อยูตรงกลางสวนลางของ สมอง ตอมนี้ขับสารท่ีมีลักษณะขุนขาวคลายเสมหะ จึงเรียกวา ตอมพิทูอิตารี ตอมใตสมอง ประกอบ ดวยเซลลท ม่ี ีรปู รางแตกตางกันมากชนิดท่ีสุด แบงออกเปน 3 สวน คือ ตอมใตสมอง สวนหนา ตอมใตสมองสวนกลาง และตอมใตส มองสวนหลงั ตอ มใตส มองท้งั สามสวนน้ีตางกันท่ี โครงสราง และการผลิตฮอรโมน 2.2 ตอมไทรอยด (thyroid) มีลักษณะเปน พู 2 พู อยูสองขา งของคอหอย โดยมี เยอื่ บาง ๆ เชอ่ื มตดิ ตอ ถึงกันได ตอ มน้ีถือไดว าเปน ตอ มไรทอ ทใ่ี หญท ี่สุดในรางกายมีเสนเลือดมา หลอเลีย้ งมากทสี่ ุด ตอ มไทรอยดผ ลติ ฮอรโมนทีส่ ําคญั ไดแ ก 2.2.1 ฮอรโมนไธรอกซิน (thyroxin hormone) ทําหนาท่ีควบคุมการเผา ผลาญสารอาหารกระตุน การเปลี่ยนไกลโคเจนไปเปน กลูโคสและเพ่มิ การนํากลูโคสเขา สูเซลล บทุ างเดนิ อาหาร จงึ เปนตวั เพม่ิ ระดบั นาํ้ ตาลกลูโคสในเลอื ด

10 2.2.2 ฮอรโมนแคลซิโทนิน (Calcitonin) ทําหนาท่ีลดระดับแคลเซียมใน เลือดท่ีสูงเกินปกติ ใหเ ขา สูระดบั ปกติ โดยดงึ แคลเซยี มสวนเกนิ ไปไวท ่ีกระดกู 2.3 ตอมพาราไธรอยด (parathyroid gland) อยูติดกับเนื้อของตอมไธรอยดทาง ดานหลังในคน มีลักษณะรูปรางเปนรูปไขขนาดเล็กมีสีนํ้าตาลแดงหรือน้ําตาลปนเหลือง ฮอรโมนทสี่ าํ คัญทส่ี รา งจากตอมน้ี คือ พาราธอรโมน ทําหนาที่รักษาสมดุลของแคลเซียม และ ฟอสฟอรัสในรางกายใหคงท่ี โดยทํางานรว มกบั แคลซโิ ตนนิ เนอื่ งจากระดับแคลเซียมในเลือด มีความสําคัญมาก เพราะจําเปนตอการทํางานของกลามเน้ือประสาทและการเตนของหัวใจ ดงั นน้ั ตอมพาราธอรโมนจึงจัดเปนตอ มไรทอทม่ี คี วามจําเปนตอ ชวี ติ 2.4 ตอมหมวกไต (adrenal gland) อยูเหนือไตท้ัง 2 ขาง ลักษณะตอม ทางขวาเปนรปู สามเหลยี่ ม สวนทางซายเปนรูปพระจนั ทรคร่ึงเสยี้ ว ตอมนี้ประกอบดวยเนื้อเย่ือ 2 ชนดิ คือ อะดรีนัลคอรเ ทกซ และอะดนี ัลเมดุลลา 2.5 ตับออน ภายในเนือ้ เยอ่ื ตับออนจะมไี อสเ ลตออฟแลงเกอรฮานสเปนตอมเล็ก ๆ ประมาณ 2,500,000 ตอ ม หรอื มีจํานวนประมาณรอยละ 1 ของเน้ือเยื่อ ตับออนท้ังหมด ฮอรโ มนผลิตจากไอสเลตออฟแลงเกอรฮานสท ส่ี ําคัญ 2 ชนิดคอื 2.5.1 อินซูลิน (Insulin) สรางมาจากเบตาเซลลที่บริเวณสวนกลางของไอส เลตออฟแลงเกอรฮานส หนาที่สําคญั ของฮอรโมนนี้ คอื รักษาระดับน้ําตาลในเลือดใหเปนปกติ เมื่อรางกายมีนํ้าตาลในเลือดสูงอินซูลินจะหลั่งออกมามากเพื่อกระตุนเซลลตับ และเซลล กลามเนื้อนาํ กลูโคสเขา ไปในเซลลมากข้นึ และเปลี่ยนกลูโคสใหเปนไกลโคเจนเพื่อเก็บสะสมไว นอกจากนี้อินซูลินยังกระตุนใหเซลลทั่วรางกายมีการใชกลูโคสมากข้ึน ทําใหระดับนํ้าตาลใน เลือดลดลงสูระดับปกติ ถากลุมเซลลท่ีสรางอินซูลินถูกทําลายระดับนํ้าตาลในเลือดจะสูงกวา ปกติทาํ ใหเปนโรคเบาหวาน 2.5.2 กลูคากอน (Glucagon) เปนฮอรโมนที่สรางจากแอลฟาเซลล ซ่ึงเปนเซลลอีกประเภทหน่ึงของไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส กลูคากอนจะไปกระตุนการ สลายตัวของไกลโคเจนจากตับและกลามเนือ้ ใหน้ําตาลกลูโคสปลอยออกมาในเลอื ดทําใหเ ลือดมี กลูโคสเพิ่มข้นึ 2.6 รังไข (Ovaries) ตอมอวัยวะสืบพันธุของเพศหญิงซ่ึงอยูท่ีรังไขจะสราง ฮอรโมนทส่ี าํ คญั คือ เอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรน

11 2.7 อัณฑะ (Testis) ตอมอวัยวะสืบพันธุของเพศชายซ่ึงอยูที่อัณฑะจะสราง ฮอรโมนทสี่ ําคัญทสี่ ดุ คอื เทสโตสเตอโรน ซึง่ จะสรา งข้ึนเม่อื เร่มิ วยั หนุม การดแู ลปอ งกนั ความผดิ ปกตขิ องระบบตอ มไรทอ 1. เลือกรบั ประทานอาหารท่มี ีประโยชนต อ รา งกาย และมปี รมิ าณท่ีเพียงพอ 2. หลีกเลยี่ งอาหารที่มีไขมนั สงู อาหารขยะและอาหารทมี่ ีรสจดั 3. ดม่ื น้ําอยางนอยวนั ละ 6 – 8 แกว และหลกี เลีย่ งเครื่องดืม่ ที่มแี อลกอฮอล 4. อาศยั ในสภาพแวดลอมทไี่ มม ีพิษ เพือ่ ปองกนั ผลกระทบทีอ่ าจเกิดข้นึ 5. ออกกาํ ลงั กายอยางสมา่ํ เสมอ และพักผอ นใหเพยี งพอ 6. มองโลกในแงด ี และหลีกเล่ยี งความเครยี ด 7. สํารวจความเจริญเติบโตของรางกาย โดยการช่ังน้ําหนักและวัดสวนสูง หากพบวา ผิดปกติควรปรกึ ษาแพทย 6. ระบบประสาท (Nervous System) การทํางานของระบบประสาทเปนกระบวนการที่สลับซับซอนมาก และเปนระบบที่มี ความสัมพันธกับการทํางานของระบบกลามเนื้อ เพ่ือใหรางกายสามารถปรับตัวใหเขากับ สภาพแวดลอม ท้ังภายในภายนอกรางกาย ระบบประสาทนส้ี ามารถแบงแยกออก 3 สว น ดงั น้ี 1. ระบบประสาทสวนกลาง (Central nervous system : CNS) ประกอบดวยสมอง และไขสนั หลงั ซง่ึ มหี นาท่ดี ังตอ ไปนี้ 1.1 หนา ทีข่ องสมอง 1.1.1 ควบคมุ ความจาํ ความคิด การใชไหวพรบิ 1.1.2 ควบคมุ การเคลื่อนไหวของกลามเน้ือ โดยศูนยควบคุมสมองดานซาย จะไป ควบคมุ การทาํ งานของกลา มเนื้อดา นขวาของรางกาย สวนศูนยควบคุมสมองดานขวาทํา หนาท่คี วบคมุ การทาํ งานของกลา มเนื้อดานซายของรางกาย 1.1.3 ควบคุมการพูด การมองเห็น การไดย นิ 1.1.4 ควบคุมการเผาผลาญอาหาร ความหวิ ความกระหาย 1.1.5 ควบคมุ การกลอกลกู ตา การปดเปด มา นตา 1.1.6 ควบคุมการทํางานของกลามเน้ือใหทํางานสัมพันธกัน และชวยการ ทรงตัว

12 1.1.7 ควบคุมกระบวนการหายใจ การเตน ของหวั ใจ การหดตัวและขยายตัว ของเสน เลอื ด 1.1.8 สําหรับหนาท่ีของระบบประสาทท่ีมีตอการออกกําลังกายตองอาศัย สมองสวนกลางโดยสมองจะทําหนาท่ีนึกคิดที่จะออกกําลังกาย แลวออกคําส่ังสงไปยังสมอง เพอื่ วางแผนจัดลําดับการเคลอ่ื นไหว แลวจงึ สง คาํ สั่งตอไปยังประสาทกลไก ซึง่ เปนศูนยที่จะสง คาํ สัง่ ลงไปสไู ขสันหลัง 1.2 หนาทขี่ องไขสันหลงั 1.2.1 ทาํ หนา ทสี่ ง กระแสประสาทไปยงั สมอง เพือ่ ตคี วามและสั่งการ และใน ขณะเดียวกนั ก็รบั พลังประสาทจากสมองซ่ึงเปน คําสง่ั ไปสูอ วัยวะตาง ๆ 1.2.2 เปนศูนยกลางของปฏิกิริยาสะทอน คือ สามารถที่จะทํางานไดทันที เพื่อปองกันและหลีกเลี่ยงอันตรายที่อาจจะเกิดข้ึนกับรางกาย เชน เม่ือเดินไปเหยียบหนาม ทแ่ี หลมคม เทาจะยกหนีทันทโี ดยไมต องรอคําสัง่ จากสมอง 1.2.3 ควบคมุ การเจริญเติบโตของอวัยวะตาง ๆ ท่ีมีเสนประสาทไขสันหลังไปสู อวยั วะตา ง ๆ 2. ระบบประสาทสว นปลาย (Peripheral nervous system : PNS) ประกอบดวย 2.1 เสนประสาทสมอง มี 12 คู ทอดมาจากสมองผา นรูตา ง ๆ ของกะโหลกศีรษะ ทําหนาท่ีรับความรูสึก บางคูทําหนาท่ีเกี่ยวกับการเคล่ือนไหวและบางคูจะทําหนาท่ีท้ังรับ ความรสู กึ และการเคล่อื นไหว 2.2 เสนประสาทไขสันหลัง มี 31 คู ถาหากเสนประสาทไขสันหลังบริเวณใด ไดรับอันตราย จะสงผลตอการเคล่ือนไหวและความรูสึกของอวัยวะที่เสนประสาทไขสันหลัง ตัวอยา งเชน เสน ประสาทไขสันหลงั บริเวณเอวและบริเวณกนไดรับอันตราย จะมีผลตออวัยวะ สวนลา ง คือ ขาเกอื บทั้งหมดอาจจะมอี าการของอมั พาตหมดความรูสกึ และเคล่ือนไหวไมไ ด 2.3 ระบบประสาทอัตโนมัติ สวนใหญจะทําหนาที่ควบคุมการทํางานของอวัยวะ ภายในและทํางานอยูนอกอํานาจจติ ใจ การดแู ลปองกนั ความผดิ ปกติของระบบประสาท 1. ตรวจรา งกายเกีย่ วกบั ระบบประสาทอยา งสมํ่าเสมอ 2. รบั ประทานอาหารท่ีมีประโยชนตอรา งกายและอาหารทีช่ ว ยบํารุงสายตา 3. ไมค วรรบั ประทานอาหารท่มี ไี ขมันสงู เครื่องด่ืมทีม่ ีแอลกอฮอลแ ละนํ้าอดั ลม

13 4. การใชส ายตาควรมีแสงสวา งเพยี งพอ เชน การอา นหนงั สือ การดูโทรทศั นเ ปน ตน 5. การทาํ งานหนาจอคอมพิวเตอร ควรมีการหยุดพักเปนระยะ ๆ เพ่ือไมใหรางกาย และตาเกดิ อาการเมื่อยลา 6. พกั ผอนใหเ พียงพอ และออกกําลงั กายอยา งสมํ่าเสมอ 7. ทํากิจกรรมเพื่อคลายความเครียด เชน เลนดนตรี รองเพลง การทํางานอดิเรก การนั่งสมาธิ เปน ตน 8. หากมอี าการผดิ ปกตเิ กีย่ วกับระบบประสาทควรรีบปรึกษาแพทยท นั ที เรื่องที่ 2 การวางแผนและปฏบิ ตั ิตนเพ่ือการเสรมิ สรา งพฒั นาการดานสุขภาพของ ตนเองและครอบครวั หลักการของกระบวนการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบ ตางๆ ในรางกาย มแี นวทางในการปฏิบัติ ดังนี้ 1. รักษาอนามยั สวนบุคคล 2. บรโิ ภคอาหารใหถ ูกตองและเหมาะสม 3. ออกกาํ ลงั กายสมา่ํ เสมอ 4. ทาํ จิตใจใหรา เริงแจม ใสอยูเสมอ 5. หลีกเลีย่ งอบายมุขและสงิ่ เสพติดใหโทษ 6. ตรวจเช็ครางกายอยเู สมอ การวางแผนเสริมสรา งพฒั นาการดานสุขภาพของตนเองและครอบครวั การท่ีจะมีสุขภาพดีไดนั้น ไมวาจะเปนสุขภาพของตนเองหรือของบุคคลในครอบครัว ไมใชเปน สง่ิ เกิดขน้ึ ไดด ว ยความบงั เอญิ หากแตจําเปนที่จะตองมีการวางแผนในการดูแลสุขภาพ ลวงหนา ซ่งึ จะชว ยใหเกิดผลดี ดงั นี้ 1. สามารถท่ีจะกําหนดวิธีการ หรือเลือกรูปแบบท่ีเหมาะสมกับการดําเนินชีวิตของ ตวั เราเองหรอื บุคคลในครอบครวั ไดอ ยางเหมาะสม 2. สามารถที่จะกําหนดชวงเวลาในการดูแลสุขภาพไดอยางเหมาะสม อาจจะมีกิจกรรมการ ออกกําลังกายในชวงเชาหรือในบางครอบครัวอาจจะมีเวลาวางในชวงเย็น ก็อาจจะกําหนด กิจกรรมการสงเสริมสุขภาพในชวงเย็นก็ไดหรืออาจจะกําหนดชวงเวลาในการตรวจสุขภาพ ประจําปข องบุคคลในครอบครวั ไดอ ยางเหมาะสม

14 3. เปนการเฝาระวังสุขภาพทั้งของตนเองและบุคคลในครอบครัว ไมใหปวยดวยโรคตาง ๆ นบั วาเปน การสรางสุขภาพ ซงึ่ จะดีกวาการท่ีจะตองมาซอมสุขภาพ หรือการรักษาพยาบาลใน ภายหลัง 4. ชวยในการวางแผนเรื่องของเศรษฐกิจและการเงินในครอบครัว เน่ืองจากไมตองใช จายเงนิ ไปในการรักษาพยาบาล 5. สง เสริมสขุ ภาพทั้งของตนเองและบคุ คลในครอบครัว 6. ทาํ ใหค ุณภาพชวี ิตทัง้ ของตนเองและสมาชิกในครอบครัวดขี ึ้น การปฏิบัติตนเพอ่ื การเสริมสรา งพฒั นาการของตนเองและครอบครวั 1. ออกกําลังกายสมาํ่ เสมอ ปฏิบัตอิ ยา งนอ ย 2-3 ครง้ั ใน 1 สัปดาห แตละครั้งใชเวลาใน การออกกําลังกายไมนอยกวา 30 นาที ใหปฏิบัติตามหลักของการออกกําลังกาย โดยยึดหลัก หนัก นาน บอย จะเปนการออกกําลังกายท่ีดีมาก การออกกําลังกายตองปฏิบัติตาม ความสามารถของบุคคล ตามวัย ตามความ เหมาะสม ท้ังเวลา สถานที่ เพศ วัย การออก กําลังกายจะชวยใหเกิดประโยชนตอการทํางานของระบบตางๆ ในรางกาย สงผลใหสุขภาพ แขง็ แรง 2. รบั ประทานอาหารตอ งใหครบ 5 หมูแ ละเหมาะสมกับวัย โดยเฉพาะวัยท่ีกําลังเติบโต มีการพัฒนาทางรางกาย ควรรับประทานอาหารใหเพียงพอ เชน วัยรุนยังอยูในวัยของการ เจริญเติบโตและตองออกกําลังกาย จึงตองชดเชยดวยคารโบไฮเดรต สรางเสริม การเจริญเตบิ โตดว ยอาหารประเภท โปรตนี 3. พกั ผอ นใหเ พยี งพอ ระยะเวลาในการนอนหลับพักผอนของแตละวัย มีความแตกตาง เชน วยั เดก็ ตอ งพักผอ นนอนหลับใหมาก ๆ ในวัยผใู หญ การนอนอาจนอยลงแตตองไมนอยกวา 6-8 ช่ัวโมง และชวงของการนอนหลับใหหลับสนิทเพ่ือใหการหล่ังของสารแหงความสุข อยางเต็มที่ ใชเวลาวางในวันหยุดทํากิจกรรมหรือไปเที่ยวพักผอนยังสถานที่ทองเท่ียวรวมกับ ครอบครวั เพ่อื ผอ นคลายและสรา งสมั พันธภาพในครอบครวั 4. เห็นความสําคัญของการตรวจสุขภาพรางกายและไดรับการตรวจสุขภาพรางกาย อยางนอ ยปล ะ 1 ครง้ั และในการตรวจสุขภาพรางกาย ตองตรวจทุกระบบอยางละเอียด เชน การตรวจเลือด เพอื่ ตรวจหา ความผดิ ปกตใิ นเลือด การตรวจปสสาวะ การตรวจมวลกระดูกใน วยั ผูใ หญ ตรวจการทํางานของระบบ สาํ คัญๆ ในรา งกาย

15 5. หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงตอรางกาย โดยเฉพาะพฤติกรรมเสี่ยงที่กอใหเกิดอันตราย ตอ ตนเอง ในชวงการเปนวยั รุน เชน การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มท่ีมีแอลกอฮอล การสําสอน ทางเพศ ตลอดจนการทดลองหรือใกลช ิดกับผูท ต่ี ดิ สารเสพติด 6. อยูในสิ่งแวดลอมท่ีดี ซึ่งเราสามารถหลีกเล่ียง หรือเลือกท่ีจะอยูในบริเวณที่มี ส่งิ แวดลอ มทด่ี ไี ด เพราะส่ิงแวดลอมมผี ลกระทบตอสุขภาพ การมีท่ีอยูอาศัยที่ปราศจากพาหะ นาํ โรค เชน ไขเลอื ดออก อุจจาระรว ง การท่เี ราอยูใ นบริเวณที่มีส่ิงแวดลอมดี สะอาด ทําใหเรา มีอากาศหรือสถานที่ผกั ผอ นหยอนใจที่ดี มี นํา้ สะอาดบริโภค มีหองน้าํ หองสวมที่ดี ปราศจาก ขยะมลู ฝอย จะทําใหส ขุ ภาพของเราดไี ปดวย การจดั เกบ็ สงิ่ ของเคร่ืองใชใน บา นใหเปนระเบียบ เรียบรอย ทําความสะอาดบาน ควรทําอยางสม่ําเสมอ เพื่อไมใหเปนที่อยูของแมลงสาบ หรือ ทาํ ใหเ กิดโรคภูมิแพ หอบหดื และโรคในระบบทางเดินอาหาร

16 กจิ กรรมทา ยบทที่ 1 กิจกรรมที่ 1 จงตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ 1. จงบอกโครงสรางของระบบอวยั วะในรา งกายมา 1 ระบบ พรอมทั้งยกตัวอยางวิธีการดูแล ปองกันความผดิ ปกตขิ องระบบอวัยวะนั้น ๆ 2. จงอธิบายวิธีการเสริมสรางและดํารงประสิทธิภาพของระบบอวยั วะในรา งกาย กิจกรรมท่ี 2 จงเลอื กคําตอบที่ถูกตอ งที่สดุ เพียงคําตอบเดยี ว 1. ถา ถุงน้าํ ดีถกู ตัดออก ขอใดจะเกิดผลกระทบตอระบบทางเดนิ อาหารอยางไร ก. เบือ่ อาหาร ข. อาหารไขมันไมถูกยอย ค. ไมส ามารถสรา งเอนไซมไ ลเปสได ง. เปนแผลทกี่ ระเพาะอาหารและลําไส 2. ขอ ใดเปนการดูแลปองกันความผดิ ปกตขิ องระบบขบั ถายปส สาวะ ก. ไมควรกล้นั ปสสาวะนานเกนิ ไป ข. ดม่ื น้ําสะอาด อยา งนอ ยวันละ 6 – 8 แกว ค. หลกี เลีย่ งการรบั ประทานผักที่มีสารออกซาเลตสูง ง. ถูกทุกขอ 3. หากทานมีปญหาเกี่ยวกับระบบยอ ยอาหาร ไมค วร ปฏิบตั ิอยางไร ก. เค้ียวอาหารใหล ะเอียด ข. ถายอจุ จาระใหเปน เวลาและสมาํ่ เสมอ ค. รับประทานอาหารที่สะอาด และปรงุ สกุ ใหม ๆ ง. รบั ประทานอาหารพร่ําเพรอ่ื จกุ จกิ และทานใหต รงเวลา 4. ขอใดคือหนา ทีข่ องถงุ อัณฑะ ก. สรา งฮอรโมน ข. สรา งตัวอสจุ ิ ค. เปนท่ีพักอสจุ ิ ง. ทาํ ใหต วั อสุจสิ ามารถไหลผา นออกสูภายนอกได

17 5. ขอใดไมใช หลักการของกระบวนการสรา งเสรมิ และดาํ รงประสทิ ธภิ าพการทาํ งานของระบบ ตาง ๆ ในรา งกาย ก. รักษาอนามยั สว นบคุ คล ข. ออกกาํ ลงั กายสมาํ่ เสมอ ค. รบั ประทานยาบาํ รงุ รางกาย ง. บริโภคอาหารใหถ ูกตอ งและเหมาะสม

18 บทที่ 2 ปญหาเพศศกึ ษา สาระสําคญั มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับปญหาทางเพศ มีทักษะในการส่ือสารและตอรองเพ่ือทํา ความชวยเหลือเกี่ยวกับปญหาทางเพศได สามารถอธิบายวิธีการจัดการกับอารมณและความ ตอ งการทางเพศไดอยางเหมาะสม เขาใจถึงความเช่ือที่ผิดเกี่ยวกับเรื่องเพศท่ีสงผลตอสุขภาพ ทางเพศ อิทธิพลของสื่อท่ีสงผลใหเกิดปญหาทางเพศ ตลอดจนเรียนรูถึงกฎหมายที่เก่ียวของ กบั การลว งละเมดิ ทางเพศ และกฎหมายคุมครองเดก็ และสตรี ผลการเรียนรทู ค่ี าดหวงั 1. บอกช่ือหนว ยงานทใ่ี หค วามชวยเหลอื เกีย่ วกับปญ หาทางเพศได 2. อธิบายข้นั ตอนการส่อื สารเพ่ือหาความชวยเหลือเกย่ี วกับปญหาทางเพศ 3. อธิบายการจัดการกบั อารมณแ ละความตองการทางเพศไดอ ยา งเหมาะสม 4. วิเคราะหค วามเช่อื ผิด ๆ เรอื่ งเพศทีส่ งผลตอ สขุ ภาพทางเพศ 5. วิเคราะหสถานการณส มมุตปิ ญ หาทางเพศทีไ่ ดรบั อิทธพิ ลจากส่ือตาง ๆ ได 6. ระบกุ ฎหมายที่เก่ียวขอ งกบั การลวงละเมิดทางเพศ และกฎหมายคุม ครองเดก็ และสตรี ขอบขายเนื้อหา เรือ่ งที่ 1 การสอ่ื สาร ตอ รองและการขอความชว ยเหลอื เกย่ี วกบั ปญ หาทางเพศ เรอ่ื งท่ี 2 การจัดการกับอารมณ และความตองการทางเพศ เร่ืองที่ 3 ความเชือ่ ท่ผี ดิ ๆ ทางเพศท่ีสงผลตอ สขุ ภาพทางเพศ เรื่องท่ี 4 อทิ ธิพลของส่อื ตาง ๆ ทีส่ ง ผลใหเ กิดปญ หาทางเพศ เรอื่ งท่ี 5 กฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ งกบั การละเมดิ ทางเพศและกฎหมายคุมครองเด็ก และสตรี

19 เรอื่ งท่ี 1 การสอื่ สาร ตอ รองและการขอความชว ยเหลอื เกี่ยวกบั ปญ หาทางเพศ แหลงบริการที่ใหความชวยเหลือปญหาจากการมีเพศสัมพันธในปจจุบัน มีหลาย หนวยงานที่เขามาดาํ เนินงานในดานนี้ ซึง่ เปน บริการท่ดี ี เชอื่ ถอื ได และอํานวยประโยชนในการ ใหความรู ความเขาใจท่ีถูกตอง หรือแนะนําใหคําปรึกษาสําหรับนําไปใชแกปญหาจากการมี เพศสัมพนั ธ ดงั น้ี 1. คลนิ กิ ใหบ ริการปรึกษาปญหาสุขภาพ (คลินิกนิรนาม) ในกรุงเทพมหานคร และ ปริมณฑล ไดแก (1) กองกามโรค  0 2286 0108, 0 2286 0531, 0 2285 6382 ตอ 41 (2) หนวยกามโรคและโรคเอดส นางเลิ้ง  0 2281 0651, 0 2281 7398 (3) หนวย กามโรคและโรคเอดสบ า นชวี ี  0 2245 7194 (4) หนว ยกามโรคและโรคเอดสพระปนเกลา  0 2460 1449 (5) หนวยกามโรคและโรคเอดส ทาเรือ  0 2249 2141, 0 2249 7574 (6) หนวยกามโรคและโรคเอดสวชิระ  0 2243 0151 ตอ 2631 (7) หนวย กามโรคและโรคเอดส บางเขน  0 2521 0819, 0 2972 9609 ตอ 30 (8) โรงพยาบาล บําราศนราดรู  0 2590 3737, 0 2590 3506, 0 2590 3510 (9) คลินิกนิรนามสภากาชาดไทย  0 2256 4107 9 หรอื โรงพยาบาล/ศูนยบ รกิ ารสาธารณสขุ ของรฐั ท่ัวประเทศ 2. คลนิ กิ ใหบ ริการปรกึ ษาปญหาสุขภาพ (คลนิ กิ นิรนาม) ในตา งจังหวดั ไดแ ก หนวย กามโรคและโรคเอดสสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด ศูนยหนวยงานกามโรคและโรคเอดส สํานักงานควบคุมโรคติดตอ ศูนยสงเสริมสุขภาพเขต หรือโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวง สาธารณสขุ ของรฐั ท่วั ประเทศ 3. หนวยบรกิ ารปรึกษาปญ หาทเี่ กดิ ขึน้ จากการมีเพศสัมพันธทางโทรศัพท ไดแก (1) มลู นิธศิ ูนยฮ อตไลน  0 2277 7699, 0 2277 8811 (ฟรี) (2) โครงการเขาถึงเอดส  0 2372 2222 ทกุ วนั เวลา16.00-20.00 น. (3) โรงพยาบาลบําราศนราดูร  0 2590 3737, 0 2590 3506, 0 2590 3510 ในวันจันทร - ศุกร เวลา 8.30 - 16.30 น. (4) สมาคมวางแผน ครอบครัวแหงประเทศไทย  0 2245 7382 5, 0 2245 1888 ในวันจันทร - ศุกร เวลา 9.00 - 17.00 น. และวันเสาร - อาทิตย เวลา 9.00 - 15.00 น. และ (5) สายดวนชวนรูเอดส  1654, 0 2219 2400 (ระบบโทรศัพทอัตโนมตั ิ) 4. หนวยงานบริการดานสวัสดิการและสังคมสงเคราะห จะใหคําปรึกษาและ หาแนวทางแกไขปญ หาแกผ ทู ไี่ ดรับความเดือดรอนจากการมีเพศสัมพันธที่ไมถูกตองเหมาะสม เชน หญิงทถี่ กู ขมขืน การต้ังครรภไ มพึงประสงค เด็กถูกทอดทง้ิ ดงั นี้

20 4.1 ดานการศกึ ษา ไดแ ก (1) มลู นิธิราชประชาสมาสัยในพระบรมราชูปถมั ภ  0 2588 3720 4 (2) กลมุ ปญาภิวัฒน  0 2951 0450 2 ตอ 307 และ (3) มูลนิธิ หมอเสมพร้ิงพวงแกว จ.เชียงใหม  0 5343 8017 4.2 ดา นทพี่ ักอาศัยและใหก ารดแู ล ไดแก (1) สถานสงเคราะหเ ด็กออ นพญาไท  0 224 5635, 0 2246 4092 (2) สถานสงเคราะหเด็กบานเวยี งพิงค จ.เชียงใหม  0 5321 1877 (3) มูลนิธิเกื้อดรุณ จ.เชียงใหม  0 5340 8424 (4) สมาคมสงเสริม สถานภาพสตรีในพระอุปถมั ภพระเจาวรวงศเธอพระองคเจาโสมสวลีพระวรราชา ทินัดดามาตุ  0 2929 2301 10 (5) เมอรซีเซ็นเตอร  0 2381 1821, 0 2392 7981, 0 2671 5313 (6) บา นพักใจ  0 2234 2381, 0 2234 8258 (7) สวนสนั ติธรรม จ.ปทมุ ธานี  08 1212 0840, 0 2563 1203 และ (8) วัดพระบาทนํ้าพุ จ.ลพบุรี  08 1403 0836, 08 1406 6547, 08 1948 0634, 08 1948 3604 4.3 ดานการดูแลรักษาที่บาน ไดแก (1) องคกรหมอไรพรมแดน  0 2375 6491 (2) องคการสยามแคร  0 2539 5299, 0 2530 5902 และ (3) มูลนิธิดวงประทีป  0 2671 4045-8 4.4 ดานการสงเคราะหเงินและทุนประกอบอาชีพ ไดแก (1) กรมประชาสงเคราะห  0 2281 3199, 0 2281 3517, 0 2281 3767 (2) กองสวัสดิการและคุมครองแรงงาน  0 2221 7587, 0 2223 1689 (3) สํานักงานประชาสงเคราะหจังหวัดทุกจังหวัดและ สํานักงานสวสั ดิการและคมุ ครอง แรงงานจังหวัดทกุ จงั หวดั เรือ่ งที่ 2 การจดั การกบั อารมณและความตอ งการทางเพศ ถงึ แมวาอารมณทางเพศเปนเพียงอารมณหนึ่ง ซ่งึ เมื่อเกิดขนึ้ แลวหายไปได แตถาหาก ไมร จู ักจัดการกบั อารมณเ พศแลว อาจจะทําใหเ กดิ การกระทําทไ่ี มถกู ตอ ง กอใหเกิดความเสียหาย เดอื ดรอ นแกต นเองและผอู นื่ ดงั น้นั ผเู รยี นควรจะไดเรียนรูถึงวิธกี ารจัดการกับอารมณท างเพศอยาง เหมาะสม ไมตกเปนทาสของอารมณเพศ ซ่ึงการจัดการกับอารมณทางเพศอาจแบงตามความ รนุ แรงไดเ ปน 3 ระดบั ดงั นี้ ระดับที่ 1 การควบคมุ อารมณทางเพศ อาจทําได 2 วธิ ี คอื 1. การควบคุมจิตใจตนเอง พยายามขมใจตนเอง มิใหเกิดอารมณทางเพศได หรือถาเกิด อารมณทางเพศใหพ ยายามขมใจไว เพอ่ื ใหอารมณทางเพศคอ ยๆ ลดลงจนสสู ภาพอารมณท่ีปกติ

21 2. การหลกี เลย่ี งจากส่งิ เรา ส่งิ เราภายนอกทยี่ ่ัวยอุ ารมณทางเพศหรือยัว่ กิเลสยอมทําให เกิดอารมณทางเพศได ดังน้ัน การตัดไฟเสียแตตนลม คือหลีกเลี่ยงจากส่ิงเราเหลานั้นเสียจะ ชวยใหไ มเกิดอารมณไ ด เชน ไมด สู อ่ื ลามกตาง ๆ ไมเ ทีย่ วกลางคนื เปน ตน ระดบั ท่ี 2 การเบี่ยงเบนอารมณทางเพศ ถาเกิดอารมณทางเพศจนไมอาจควบคุมไดควรใชวิธีการเบี่ยงเบนใหไปสนใจสิ่งอื่น แทนท่ีจะหมกมุนอยูกับอารมณทางเพศ เชน ไปออกกําลังกาย ประกอบกิจกรรมนันทนาการ ตา งๆ ใหส นกุ สนาน เพลิดเพลิน ไปทํางานตางๆ เพ่ือใหจิตใจมุงท่ีงาน ไปพูดคุยสนทนากับคน อ่นื เปนตน ระดบั ที่ 3 การปลดปลอยหรอื ระบายอารมณท างเพศ ถาเกิดอารมณทางเพศระดับมากจนเบ่ียงเบนไมได หรือสถานการณน้ันอาจทําใหไมมี โอกาสเบี่ยงเบน อารมณทางเพศก็ปลดปลอย หรือระบายอารมณทางเพศดวยวิธีการที่ เหมาะสมกบั สภาพของวยั รนุ ซึง่ สามารถทําได 2 ประการ คือ 1. การฝนเปยก (Wet Dream) ในเพศชาย ซึ่งการฝนน้ีเราไมสามารถบังคับใหฝนหรือ ไมใหฝน ได แตจะเกิดขึน้ เองเม่ือเราสนใจหรือมีความรูสึกในทางเพศมากจนเกินไปหรืออาจเกิด การสะสมของนาํ้ อสจุ มิ ีมากจนลน ถุงเก็บน้ําอสุจิ ธรรมชาติจะระบายนํ้าอสุจิออกมาโดยการให ฝน เกี่ยวกับเรอ่ื งเพศจนถงึ จดุ สดุ ยอด และมกี ารหล่ังนํ้าอสุจิออกมา 2. การสําเร็จความใครดวยตนเอง หรืออาจเรียกอีกอยางหน่ึงวาการชวยเหลือตัวเอง (Masturbation) ทําไดท้ังผูหญิงและผูชาย ซ่ึงผูชายแทบทุกคนมักมีประสบการณในเร่ืองนี้แต ผูหญิงน้ันมีเปนบางคนที่มีประสบการณในเรื่องนี้ การสําเร็จความใครดวยตนเองเปนเรื่อง ธรรมชาติของคนเรา เมื่อเกิดอารมณทางเพศจนหยุดยั้งไมได เพราะการสําเร็จความใครดวย ตนเองไมทําใหตนเอง และผูอ ่ืนเดอื ดรอ น เรือ่ งท่ี 3 ความเช่อื ทผ่ี ดิ ๆ ทางเพศท่สี ง ผลตอ สุขภาพทางเพศ ความคิดผดิ ๆ น้ัน ความจรงิ เปน แคความคิดเทานั้น ถายังไมไ ดก ระทํา ยอมไมถือวาเปน ความผิด เพราะการกระทํายังไมเกดิ ขึ้น โดยเฉพาะความเช่ือผดิ ๆ เกีย่ วกับเรื่องเพศน้ัน ถาคิดใหม ทําใหม ก็จะไมเกิดผลรายในการดําเนินชีวิตประจําวัน ความเขาใจผิด ๆ ทางเพศ ท่ีองคการ อนามยั โลกไดต พี มิ พไ ว มีดงั น้ี

22 1. ผูชายไมควรแสดงอารมณแ ละความรูสึกเกี่ยวกับความรัก คาํ ส่งั สอนในอดตี ท่วี า ผูชายไมควรแสดงอารมณและความรูสึกเกี่ยวกับความรักใหออก นอกหนา ไมอ ยางนัน้ จะไมเ ปน ชายสมชาย ผชู ายจงึ แสดงออกถึงความรักผานการมีเพศสัมพันธ จนเหมือนวาผูชายเกิดมาเพื่อจะมีเซ็กส ทั้งๆ ที่ตองการจะระบายความรักออกไปเทานั้นเอง แทจริงแลว ผูชายสามารถจะแสดงอารมณรักออกมาทางสีหนาแววตา การกระทําอะไรตอมิ อะไรได 2. การถูกเนอ้ื ตอ งตวั จะนําไปสกู ารมีเซ็กส เพราะความเชื่อท่วี า ถาผหู ญิงยอมใหผ ชู ายถูกเนือ้ ตองตัวแลว แสดงวาตัวเองมีใจกับเขา เขาจึงพยายามตอไปที่จะมีสัมพันธสวาทที่ลึกซ้ึงกวาน้ันกับเธอ เปนความเขาใจผิด เพราะ บางครั้งผูหญงิ แคตองการความอบอนุ และประทบั ใจกบั แฟนของเธอเทาน้ัน โดยไมไดคิดอะไร เลยเถิดไปขนาดนั้น การจับมือกัน การโอบกอดสัมผัสกายของกันและกัน แทท่ีจริงเปนการ ถายทอดความรักท่บี ริสุทธ์ิ ท่ีสามารถจะสัมผัสจับตองได โดยไมจําเปนจะตองมีการรวมรักกัน ตอ ไปเลย และไมควรท่ีฝา ยใดฝายหนงึ่ จะกดดนั ใหอกี ฝา ยตอง มีเซ็กสดว ย 3. การมีเพศสมั พันธท่รี ุนแรงจะนาํ ไปสูการสขุ สมท่มี ากกวา ความเช่อื ทว่ี า ผชู ายทม่ี พี ละกาํ ลังมาก ๆ จะสามารถมีเพศสัมพันธกับหญิงสาวไดรวดเร็ว รนุ แรง และทําใหเ ธอไปถึงจดุ สดุ ยอดไดง า ย รวมทง้ั มีความเขาใจผิดเสมอ ๆ วา อาวุธประจํากาย ของฝา ยชายท่ใี หญเ ทา นนั้ ทจี่ ะทําใหผ หู ญิงมคี วามสขุ ได แทจ รงิ แลว การมีสมั พันธส วาทท่ีอบอุน เน่นิ นานเขาใจกนั ชวยกันประคับประคองความรักได 4. การมคี วามสัมพนั ธท างเพศกค็ ือการรวมรัก การรว มรักเปนการแสดงความรกั ผา นภาษากาย เปนสัมผสั รกั ท่คี นสองคนถายทอดใหแก กันจากการสมั ผสั ทางผวิ กายสวนไหนกไ็ ดไ มใ ชเ ฉพาะสวนน้นั เทาน้ัน 5. ผูชายควรเปนผูนาํ ในการรวมรกั คนทั่วไปมักจะคิดเสมอ ๆ วาการจะมอี ะไรกันนัน้ ผูชายตองเปนคนกระทํา และผูหญิงเปน ฝายรองรับการกระทํานั้นแทจริงแลวการรวมรักเปนกระบวนการที่คนสองคนสามารถ ปรบั เปล่ยี นเปน ฝายนาํ ในการกระทาํ ไดโ ดยเสมอภาคซ่งึ กนั และกัน 6. ผหู ญงิ ไมควรจะเปนฝายเร่มิ ตนกอน เซ็กสเปน การสอ่ื สาร 2 ทางระหวางคน 2 คน ท่ีจะรวมมือกันบรรเลงบทเพลงแหงความ พิศวาส ซึ่งตองผลัดกันนําผลัดกันตามและตองชวยกันโล ชวยกันพายนาวารักไปยังจุดหมาย ปลายทางแหงความสุขสมรว มกัน

23 7. ผูชายนึกถงึ แตเ รื่องเซ็กสตลอดเวลา มีคํากลาวผดิ ๆ ทพี่ ดู กนั ตอ เน่ืองมาวา ผชู ายนกึ ถึงแตเรอื่ งของการมีเพศสมั พนั ธท เ่ี รียกกัน ส้ันๆ วาเซ็กส อยูตลอด ท้ัง ๆ ท่ีความเปนจริงคือ ผูชายไมไดคิดถึงเร่ืองเซ็กสอยูตลอดเวลา เขาคิดถึงเร่ืองอื่นอยูเหมือนกัน ไมวาจะเปนเร่ืองงาน เรื่องครอบครัว เพียงแตผูชายพรอมจะมี เซ็กสเสมอและไมไ ดห มายความวา เม่อื เขาพรอ มทจ่ี ะมีเซ็กสแลว เขาจําเปน จะตองมีเสมอไป 8. ผหู ญิงตอ งพรอ มเสมอท่ีจะมเี ซ็กสเมอ่ื สามีตอ งการ ในยคุ ปจ จุบันผชู ายและผูหญงิ เทา เทยี มกนั การจะมีเซก็ สก ันกเ็ ปน กจิ กรรมรว มที่ คนสองคนจะตองใจตรงกันกอน ไมใ ชแ คฝ ายใดฝา ยหน่งึ ตอ งการแลวอีกฝายจะตองยอม 9. เซ็กส เปน เรื่องธรรมชาติไมต อ งเรียนรู ผเู ฒา ผูแกม ักจะพยายามพูดเสมอ ๆ วา เพศศึกษาไมสาํ คัญ ทําไมรุนกอน ๆ ไมตอง เตรียมตัวในการเรียนรูเลย แตการเตรียมตัวท่ีดียอมมีชัยไปกวาครึ่ง เร่ืองราวเก่ียวกับ ความสมั พันธของคนสองคนกเ็ ชน กนั สามารถเรียนรูวิธีการท่ีจะเพิม่ ความสุขใหแกกันและกันได กอนทจี่ ะเกดิ เหตุการณน นั้ เร่อื งที่ 4 อิทธิพลของสื่อตาง ๆ ท่สี ง ผลใหเกดิ ปญหาทางเพศ ปจ จบุ ันส่ือมอี ทิ ธพิ ลตอ การดาํ เนินชีวติ ทุกดานรวมถึงดา นปญ หาทางเพศดว ย เพราะส่ือมี ผลตอ พฤติกรรมการตัดสินใจของคนในสังคม ทุกคนจึงตองบริโภคขาวสารอยูตลอดเวลา เชน การชมรายการขาวทางทีวที กุ เชา การอานหนังสอื พมิ พ หรือเลนอินเตอรเน็ต ซึ่งบางคนอาจจะ ใชบริการรบั ขา วสารทาง SMS เปน ตน สอื่ จงึ กลายเปน สง่ิ ท่มี ีอิทธิพลตอ ความคดิ และความรูสึก และการตดั สินใจทีส่ ําคญั ของคนในสงั คมอยางหลีกเล่ียงไมได จากปจจัยดังกลาวอิทธิพลของสื่อจึงยอมท่ีจะกอใหเกิดการเปล่ียนแปลงไดในทุกๆ ภาคสว นของสังคมไมว าจะเปนสังคมเมืองหรือแมแตในสังคมชนบทก็ตาม ซ่ึงการเปลี่ยนแปลง น้ันยอ มทีจ่ ะเกิดข้ึนไดทั้งทางที่ดีข้ึนและทางที่แยลง และส่ิงสําคัญสื่อคือส่ิงท่ีมีอิทธิพลโดยตรง ตอทกุ ๆ คนในสังคมไมวาจะเดก็ วยั รนุ หรอื กระท่ังผูใหญ อิทธพิ ลของส่ือท่ีนับวันจะรุนแรงมาก ข้ึน ไมวาจากสภาพเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงของสังคม เน่ืองมาจากความพยายามในการ พัฒนาประเทศใหมีความเจริญกาวหนาในดานตาง ๆ เพื่อใหทัดเทียมกับนานาประเทศ กอใหเ กดิ วัฒนธรรมทห่ี ลัง่ ไหลเขา มาในประเทศไทย โดยผานส่ือท้ังวิทยุ โทรทัศน ส่ิงพิมพและ อินเตอรเน็ต สื่อจึงกลายเปนสิ่งที่มีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิต และนําพาไปสูปญหาและ ผลกระทบหลาย ๆ ดาน ของชีวิตแบบเดิม ๆ ซึ่งลวนมาจากการรับสื่อและอิทธิพลส่ือยังทําให

24 เกิดพฤตกิ รรมเลียนแบบ เชน ขาวอาชญากรรม ภาพยนตรหรือละครท่ีเน้ือหารุนแรง ตอสูกัน ตลอดจนสื่อลามกอนาจาร ซ่ึงสงผลใหเด็กและคนที่รับสื่อ จิตนาการตามและเกิดการ เลียนแบบ โดยจะเห็นไดจากการที่เด็กหรือคนท่ีกออาชญากรรมโดยบอกวาเลียนแบบมาจาก หนัง จากส่ือตาง ๆ แมกระทั่งการแตงกายตามแฟชั่นของวัยรุน การใชความรุนแรงในการ แกป ญ หา ความรนุ แรงทางเพศ ท่เี กดิ ขึ้นอยใู นสังคมไทยขณะน้ีสวนใหญเปนผลมาจากอิทธิพล ของสอื่ สอ่ื มวลชนจงึ มีความสําคัญอยางย่ิงตอการเขาไปมีบทบาทและมีอิทธิพลตอการดําเนิน ชีวติ ของคนในสงั คม มกี ารเปลย่ี นแปลงเกดิ ข้ึนตลอดเวลา บางส่ิงเปลยี่ นแปลงอยางรวดเรว็ แตบ างสงิ่ คอย ๆ จางหายไปทลี ะเลก็ ละนอ ย จนหมดไปในท่สี ุด เชน การทปี่ ระเทศกาวหนาทาง เทคโนโลยีการส่ือสารทําใหขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมคนไทย ทั้งสังคมเมืองและสังคมชนบท มกี ารเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว แตจ ากการทีเ่ ราไมส ามารถปฏิเสธการรับขาวสาร ความบันเทิง จากสือ่ ได แตเ ราสามารถเลือกรับส่ือท่ดี มี ปี ระโยชน ไมรนุ แรงและไมผ ดิ ธรรมนองคลองธรรมได เรื่องที่ 5 กฎหมายท่ีเกี่ยวของกับการลวงละเมิดทางเพศและกฎหมายคุมครองเด็กและ สตรี คดีความผิดเกี่ยวกับเพศ โดยเฉพาะความผิดฐานขมขืนกระทําชําเรา ถือเปนความผิด ที่รุนแรงและเปนที่หวาดกลัวของผูหญิงจํานวนมาก รวมทั้งผูปกครองของเด็ก ไมวาจะเปน เดก็ หญงิ หรอื เดก็ ชาย ย่งิ ปจ จุบันจากขอ มูลสถติ ติ า ง ๆ ทําใหเราเห็นกันแลววา การลวงละเมิด ทางเพศนัน้ สามารถเกดิ ขน้ึ ไดก บั คนทุกเพศ ทุกวยั กฎหมายที่บัญญัติไวเพื่อคุมครองผูหญิงและ ผูเสียหายจากการลวงละเมิดทางเพศมีบัญญตั ิอยใู นลกั ษณะความผิดเกยี่ วกบั เพศ ดงั น้ี มาตรา 276 ผูใดขมขืนกระทาํ ชาํ เราหญิงซึ่งมิใชภริยาตน โดยขูเข็ญประการใดๆ โดยใช กาํ ลังประทษุ ราย โดยหญงิ อยูในภาวะท่ีไมสามารถขัดขืนได หรือโดยทําใหหญิงเขาใจผิดคิดวา ตนเปนบคุ คลอนื่ ตอ งระวางโทษจาํ คุกตั้งแตส ี่ปถึงย่ีสิบปและปรับต้ังแต แปดพันบาทถึงสี่หมื่น บาท ถา การกระทาํ ความผิดตามวรรคแรกได กระทําโดยมีหรือใชอาวุธปนหรือวัตถุระเบิด หรือ โดยรวมกระทาํ ความผิดดวยกัน อนั มลี กั ษณะเปน การโทรมหญงิ ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสิบหาป ถึงย่ีสิบปแ ละปรับตั้งแตส ามหม่นื ถึงส่หี ม่ืนบาทหรอื จาํ คุกตลอดชวี ิต มาตรา 277 ผใู ดกระทาํ ชําเราเด็กหญงิ อายไุ มเ กินสิบหาป ซ่ึงมิใชภริยาตน โดยเด็กหญิง นั้นจะยินยอมหรอื ไมก ็ตาม ตองระวางโทษจําคุกต้ังแตส่ีปถึงย่ีสิบปและปรับตั้งแตแปดพันบาท ถึงสี่หมื่นบาท ถา การกระทําความผิดตามวรรคแรกเปนการกระทําแกเด็กหญิงอายุยังไมถึงสิบ

25 สามป ตอ งระวางโทษจาํ คุกต้งั แตเจ็ดปถ ึงยสี่ บิ ปแ ละปรบั ต้ังแตห นงึ่ หมื่นส่ีพันบาทถึงสี่หม่ืนบาท หรือจําคุกตลอดชีวิต ถาการกระทําความผิดตามวรรคแรกหรือวรรคสองไดกระทําโดยรวม กระทําความผิดดวยกันอันมีลักษณะเปนการโทรมหญิงและเด็กหญิงน้ันไมยินยอม หรือได กระทาํ โดยมอี าวธุ ปน และวัตถุระเบิด หรือโดยใชอาวธุ ตอ งระวางโทษจําคุกตลอดชีวิต ความผิด ตามทบ่ี ญั ญัตไิ วในวรรคแรก ถาเปน การกระทําท่ีชายกระทาํ กับหญิงอายุต่ํากวาสิบสามป แตยัง ไมเกินสิบหาป โดยเด็กหญิงน้ันยินยอมและภายหลังศาลอนุญาตใหชายและหญิงน้ันสมรสกัน ผูกระทําผิดไมตองรับโทษ ถาศาลอนุญาตใหสมรสในระหวางท่ีผูกระทําผิดกําลังรับโทษใน ความผิดนนั้ อยู ใหศ าลปลอยผกู ระทําผดิ นัน้ ไป มาตรา 277 ทวิ ถาการกระทําความผิดตามมาตรา 276 วรรคแรก หรือมาตรา 277 วรรคแรก หรือวรรคสอง เปน เหตใุ หผูถ ูกกระทาํ (1) รบั อนั ตรายสาหสั ผูก ระทําตอ งระวางโทษจาํ คุกต้งั แตสบิ หา ปถ ึงยส่ี บิ ปแ ละปรับ ตั้งแตสามหมืน่ บาทถึงสีห่ ม่ืนบาท หรอื จําคกุ ตลอดชวี ติ (2) ถงึ แกความตาย ผกู ระทําตอ งระวางโทษประหารชวี ติ หรอื จาํ คกุ ตลอดชีวติ มาตรา 277 ตรี ถาการกระทําความผิดมาตรา 276 วรรคสองหรือมาตรา 277 วรรค สาม เปนเหตุใหผถู กู กระทาํ (1) รบั อันตรายสาหัส ผูก ระทําตองระวางโทษประหารชีวติ หรอื จาํ คกุ ตลอดชีวติ (2) ถงึ แกความตาย ผูกระทําตอ งระวางโทษประหารชวี ติ โดยสรปุ การจะมคี วามผดิ ฐานกระทําชาํ เราได ตอ งมอี งคป ระกอบความผิด ดังนี้ 1. กระทาํ ชาํ เราหญงิ อืน่ ท่ีมิใชภรรยาตน 2. เปน การขม ขืน บงั คบั ใจ โดยมีการขูเขญ็ หรอื ใชก าํ ลงั ประทษุ ราย หรอื ปลอมตวั เปน คนอ่นื ทหี่ ญงิ ชอบและหญิงไมส ามารถขดั ขืนได 3. โดยเจตนา ขอ สงั เกต กระทําชาํ เรา = ทําใหของลับของชายลวงล้ําเขาไปในของลับของหญิง ไมวาจะลวงล้ํา เขาไปเล็กนอยเพียงใดก็ตามและไมวา จะสําเรจ็ ความใครห รอื ไมก ็ตาม การขมขนื = ขม ขืนใจโดยท่ีหญงิ ไมสมคั รใจ การขมขนื ภรรยาของตนเองโดยทีจ่ ดทะเบยี นสมรสแลวไมเปนความผดิ การรวมเพศโดยท่ผี หู ญิงยินยอมไมเ ปนความผดิ แตถา หญิงนั้นอายุไมเ กิน 13 ป แมยนิ ยอมก็มีความผดิ

26 การขมขืนกระทําชําเราผทู อี่ ยภู ายในปกครองของตนเอง เชน บุตร หลาน ลูกศิษยที่อยู ในความดแู ล ตองรบั โทษหนกั ขึ้น มาตรา 278 ผูใดกระทําอนาจารแกบ ุคคลอายตุ ่ํากวาสิบหาป โดยขูเข็ญดวยประการใด ๆ โดยใชก าํ ลงั ประทุษราย โดยบุคคลนั้นอยูในภาวะที่ไมสามารถขัดขืนไดหรือโดยทําใหบุคคล น้นั เขา ใจผิดวา ตนเปน บคุ คลอ่ืน ตองระวางโทษจําคุกไมเ กินสิบป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรอื ท้งั จาํ ทง้ั ปรบั มาตรา 279 ผใู ดกระทําอนาจารแกเ ดก็ อายไุ มเกนิ สิบหาป โดยเด็กนัน้ จะยินยอมหรือไม ก็ตาม ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจํา ท้ังปรับ ถาการกระทําความผิดตามวรรคแรก ผูกระทําไดกระทําโดยขูเข็ญดวยประการ ใด ๆ โดยใช กําลงั ประทษุ รายโดยเดก็ นน้ั อยูในภาวะทไี่ มสามารถขัดขืนได หรือโดยทําใหเด็กน้ันเขาใจผิดวา ตนเปน บคุ คลอน่ื ตองระวางโทษจาํ คุก ไมเ กินสบิ หา ป หรือปรับไมเกินสามหม่ืนบาท หรือท้ังจํา ท้ังปรบั มาตรา 280 ถาการกระทําความผิดตามมาตรา 278 หรือ มาตรา 279 เปนเหตุให ผถู ูกกระทํา (1) รบั อนั ตรายสาหสั ผกู ระทําตองระวางโทษจาํ คุก ต้ังแตหาปถึงย่ีสิบปและปรับตั้งแต หนง่ึ หมื่นบาทถึงส่หี ม่นื บาท (2) ถงึ แกค วามตาย ผกู ระทาํ ตอ งระวางโทษประหารชวี ิต หรอื จาํ คกุ ตลอดชีวติ การจะมีความผิดฐานทาํ อนาจารได ตองมีองคป ระกอบ คอื 1 ทําอนาจารแกบ คุ คลอายเุ กนิ กวา 13 ป 2 มกี ารขมขู ประทุษรายจนไมสามารถขดั ขนื ได หรอื ทําใหเขา ใจวาเราเปน คนอื่น 3 โดยเจตนา ขอสังเกต อนาจาร = การทําหยาบชาลามกใหเปนที่อับอายโดยท่ีหญิงไมสมัครใจ หรือโดยการ ปลอมตัวเปนสามีหรือคนรัก การทําอนาจารกับเด็กอายุไมเกิน 13 ป แมเด็กยินยอมก็เปน ความผดิ ถาทาํ อนาจารกับบุคคลใดแลวบุคคลน้ันไดรับอันตรายหรือถึงแกความตายตองไดรับ โทษหนักขึ้น การทําอนาจารไมจําเปนตองทํากับหญิงเสมอไป การทําอนาจารกับชายก็ถือเปน ความผิดเชนเดียวกันไมวาผูกระทําจะเปนหญิงหรือชายก็ตาม ความผิดทั้งการขมขืนกระทํา ชาํ เราและการกระทาํ อนาจารน้ี ผูก ระทําจะไดรับโทษหนักขึ้นกวา ทก่ี าํ หนดไวอ ีก 1 ใน 3

27 หากเปน การกระทําผดิ แก 1. ผูสบื สนั ดาน ไดแ ก บุตร หลาน เหลน ล่อื (ลูกของหลาน) ท่ีชอบดว ยกฎหมาย 2. ศิษยซ ึง่ อยใู นความดูแล ซ่ึงไมใชเ ฉพาะครูท่มี ีหนา ท่ีสอนอยางเดียว ตองมีหนาที่ดูแล ดวย 3. ผูอยูในความควบคมุ ตามหนาทรี่ าชการ 4. ผูอยูในความปกครอง ในความพิทกั ษ หรอื ในความอนุบาลตามกฎหมาย นอกจากน้ี ยงั มมี าตราอืน่ ๆ ท่เี ก่ียวของอีก ไดแก มาตรา 282 ผูใดเพ่ือสนองความใครของผูอ่ืน เปนธุระจัดหาลอไป หรือพาไปเพื่อการ อนาจาร ซ่ึงชายหรือหญิง แมผูนั้นจะยินยอมก็ตาม ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสิบป และปรับต้ังแตสองพันบาทถึงสองหม่ืนบาท ถาการกระทําความผิดตามวรรคแรกเปนการ กระทําแกบุคคลอายเุ กินสิบหา ป แตย งั ไมเ กนิ สบิ แปดป ผูก ระทาํ ตอ งระวางโทษจําคุกตั้งแตสาม ปถึงสิบหาปและปรับต้ังแตหกพันบาทถึงสามหม่ืนบาท ถาการกระทําความผิดตามวรรคแรก เปนการกระทําแกเด็กอายุยังไมเกินสิบหาป ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกต้ังแตหาปถึงยี่สิบป และปรับตั้งแตหนึ่งหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท ผูใดเพ่ือสนองความใครของผูอื่น รับตัวบุคคลซึ่งผู จัดหา ลอไป หรือพาไปตามวรรคแรก วรรคสอง หรือวรรคสาม หรือสนับสนุนในการกระทํา ความผดิ ดงั กลา วตองระวางโทษตามที่บัญญัติไวในวรรคแรก วรรคสอง หรือวรรคสาม แลวแต กรณี มาตรา 283 ผใู ดเพ่อื สนองความใครของผูอ่ืน เปนธุระจัดหาลอไป หรือพาไป เพื่อการ อนาจาร ซง่ึ ชายหรอื หญิง โดยใชอุบายหลอกลวง ขูเข็ญ ใชกําลังประทุษรายใชอํานาจครอบงํา ผดิ คลองธรรม หรือใชวิธีขมขืนใจดวยประการอื่นใด ตองระวางโทษจําคุก ตั้งแตหาปถึงยี่สิบป และปรบั ตัง้ แตหนงึ่ หม่ืนบาทถึงส่ีหมื่นบาท ถาการกระทําตามความผิดตามวรรคแรก เปนการ กระทาํ แกบ ุคคลอายเุ กินสิบหา ปแ ตย งั ไมเกินสบิ แปดป ผูกระทาํ ตอ งระวางโทษจําคกุ ต้ังแตเจ็ดป ถงึ ย่สี บิ ปและปรับตัง้ แตหน่ึงหมนื่ สีพ่ นั บาทถึงส่ีหมน่ื บาท หรือจําคกุ ตลอดชวี ิต ถา การกระทําผิด ตามวรรคแรกเปนการกระทําแกเด็กอายุยังไมเกินสิบหาป ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกต้ังแต สิบปถึงย่ีสิบปและปรับตั้งแต สองหม่ืนบาทถึงสี่หม่ืนบาท หรือจําคุกตลอดชีวิต หรือประหาร ชีวติ ผใู ดเพือ่ สนองความใครของผูอื่น รับตัวบุคคลซ่ึงมีผูจัดหา ลอไป หรือพาไปตามวรรคแรก วรรคสอง หรอื วรรคสาม หรือสนบั สนนุ ในการกระทําความผิดดังกลาว ตองระวางโทษตามท่ี บัญญัตไิ วในวรรคแรก วรรคสอง หรือวรรคสามแลว แตก รณี

28 มาตรา 283 ทวิ ผูใดพาบคุ คลอายเุ กนิ สิบหาปแ ตย ังไมเกนิ สบิ แปดปไปเพ่อื การอนาจาร แมผนู ั้นจะยินยอมก็ตาม ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาปหรือปรับไมเกินหน่ึงหมื่นบาทหรือท้ัง จําท้ังปรับ ถาการกระทําความผิดตามวรรคแรก เปนการกระทําแกเด็กอายุยังไมเกินสิบหาป ผูกระทาํ ตอ งระวางโทษจําคุกไมเกินเจด็ ปห รือปรบั ไมเ กนิ หน่งึ หมน่ื สพ่ี นั บาท หรือท้ังจําทั้งปรับ ผูใ ดซอ นเรนบคุ คลซงึ่ ถูกพาไปตามวรรคแรกหรือวรรคสอง ตองระวางโทษตามท่ีบัญญัติในวรรค แรกหรือวรรคสองแลวแตกรณี ความผิดตามวรรคแรกและวรรคสาม เฉพาะกรณีที่กระทําแก บคุ คลอายุเกินสบิ หา ป เปน ความผดิ อนั ยอมความได มาตรา 284 ผูใดพาผูอื่นไปเพ่ือการอนาจาร โดยใชอุบายหลอกลวง ขูเข็ญ ใชกําลัง ประทุษรา ย ใชอาํ นาจครอบงาํ ผิดคลองธรรมหรอื ใชว ิธีขมขืนใจดวยประการอื่นใด ตองระวาง โทษจําคกุ ตัง้ แตห นึ่งปถึงสิบปและปรับต้ังแตสองพันบาทถึงหนึ่งหมื่นบาท ผูใดซอนเรนบุคคล ซึ่งเปนผูถูกพาไปตามวรรคแรก ตองระวางโทษเชนเดียวกับผูพาไปนั้น ความผิดตามมาตราน้ี เปนความผิดอันยอมความได มาตรา 317 ผูใดปราศจากเหตุอันสมควรพรากเด็กอายุยังไมเกินสิบหาปไปเสียจากบิดา มารดา ผูปกครอง หรือผูดูแล ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสามปถึงสิบหาปและปรับตั้งแตหาพัน บาทถงึ สามหม่ืนบาท ผูใดโดยทจุ ริต ซือ้ จําหนา ย หรือรับตัวเด็กซึ่งถูกพรากตามวรรคแรก ตอง ระวางโทษเชนเดียวกบั ผพู รากน้ัน ถา ความผดิ ตามมาตรานี้ไดกระทําเพื่อหากําไร หรือเพื่อการ อนาจาร ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกต้ังแตหาปถึงย่ีสิบปและปรับ ต้ังแตหน่ึงหม่ืนบาทถึงส่ี หมืน่ บาท มาตรา 318 ผูใดพรากผูเยาวอายุกวาสิบหาปแตยังไมเกินสิบแปดปไปเสียจากบิดา มารดา ผูป กครอง หรอื ผดู แู ล โดยผูเ ยาวนน้ั ไมเตม็ ใจไปดว ย ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสองปถึง สิบปและปรบั ตั้งแตส่พี นั บาทถงึ สองหมื่นบาท ผูใดโดยทุจริต ซื้อ จําหนาย หรือรับตัวผูเยาวซึ่ง ถกู พรากตามวรรคแรกตองระวางโทษเชนเดยี วกบั ผพู รากน้ัน ถา ความผิดตามมาตรานี้ไดกระทํา เพ่ือหากําไร หรือเพ่ือการอนาจาร ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสามปถึงสิบหาปและ ปรับต้งั แตห า พนั บาทถงึ สามหมนื่ บาท มาตรา 319 ผูใดพรากผูเยาวอายุกวาสิบหาปแตยังไมเกินสิบแปดปไปเสียจากบิดา มารดา ผูปกครองหรือผูดูแลเพื่อหากําไรหรือเพ่ือการอนาจาร โดยผูเยาวน้ันเต็มใจไปดวย ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสองปถึงสิบปและปรับตั้งแตส่ีพันบาทถึงสองหมื่นบาท ผูใดกระทํา ทจุ รติ ซื้อ จาํ หนาย หรอื รบั ตวั ผเู ยาวซึง่ ถกู พรากตามวรรคแรกตองระวางโทษเชนเดียวกบั ผพู รากน้นั ผใู ดจะมคี วามผดิ ฐานพรากผูเยาวความผดิ นั้นจะตองประกอบดว ย

29 1. มกี ารพรากบคุ คลไปจากการดูแลของบดิ ามารดา ผูด แู ล หรือผูป กครอง 2. บคุ คลทีถ่ ูกพรากจะเต็มใจหรอื ไมก็ตาม 3. ปราศจากเหตผุ ลอนั สมควร 4. โดยเจตนา ขอสังเกต การพรากผูเยาว = การเอาตัวเด็กที่อายุยังไมครบบรรลุนิติภาวะไปจากความดูแลของ บิดามารดา ผปู กครอง หรอื ผูดแู ลไมวา เดก็ นั้นจะเตม็ ใจหรอื ไมก็ตาม การพรากผูเยาวอ ายุไมเกิน 13 ป แตไมเกนิ 18 ป โดยผูเยาวไมเต็มใจเปนความผิด ผูท่ี รับซื้อหรือขายตัวเดก็ ท่ีพรากฯ ตองรับโทษเชนเดียวกับผูพราก ผูที่พรากฯ หรือรับซ้ือเด็กท่ีถูก พรากฯ ไปเปน โสเภณี เปนเมียนอยของคนอน่ื หรอื เพอ่ื ขม ขืนตองรบั โทษหนกั ขน้ึ การพรากผเู ยาวอายเุ กนิ 13 ป แตไมเ กนิ 18 ป แมผ เู ยาวจ ะเต็มใจไปดว ย ถานาํ ไป เพอ่ื การอนาจารหรอื คากาํ ไรเปน ความผดิ เชน พาไปขมขืน พาไปเปน โสเภณี เปน ตน

30 กิจกรรมทา ยบทท่ี 2 กิจกรรมที่ 1 จงตอบคําถามตอไปนี้ 1. หากทานมีปญหาเร่ืองสุขภาพทางเพศ และตองการรับคําปรึกษา สามารถติดตอขอรับ คาํ ปรกึ ษาไดจ ากที่ใดบางใหย กตวั อยา งประกอบ 2. จงยกตวั อยา งความเชื่อผดิ ๆ เร่ืองเพศที่สง ผลตอ สขุ ภาพทางเพศ พรอมแสดงความคิดเหน็ 3. หากนายสมชายไดกระทําอนาจารแก ด.ญ.สมหญิง ซ่ึงอายุ 13 ป ตองไดรับโทษ เชน ใดบา ง 4. นายศกั ดิช์ ายกระทําชําเรา นางสมศรี ซึง่ ไมใ ชภ รรยาตนเอง ตองไดร ับโทษเชน ใดบาง

31 บทท่ี 3 อาหารและโภชนาการ สาระสําคญั มีความรูความเขาใจถึงปญหา สาเหตุและการปองกันโรคขาดสารอาหาร ตลอดจน สามารถบอกหลักการปฏิบัติตนตามหลักสุขาภิบาลดานอาหาร ไดอยางถูกตองเหมาะสมและ สามารถจัดโปรแกรมอาหารที่เหมาะสมได ผลการเรียนรทู ค่ี าดหวัง 1. อธิบายปญ หา สาเหตุของโรคขาดสารอาหารได 2. อธบิ ายอาการของโรคขาดสารอาหารได 3. บอกแนวทางการปองกนั โรคขาดสารอาหารได 4. บอกหลกั การและปฏบิ ตั ิตนตามหลักสุขาภบิ าลอาหารไดอยา งเหมาะสม 5. จดั โปรแกรมอาหารทีเ่ หมาะสมสาํ หรบั ตนเองและครอบครัวผสู งู อายแุ ละผปู วยได ขอบขายเนอ้ื หา เรือ่ งที่ 1 โรคขาดสารอาหาร เรื่องที่ 2 หลกั การสขุ าภิบาลอาหาร เรือ่ งที่ 3 การจดั โปรแกรมอาหารที่เหมาะสมสําหรบั บุคคลกลุมตาง ๆ

32 เร่ืองท่ี 1 โรคขาดสารอาหาร ประเทศไทยแมจะไดช่ือวา เปน ดินแดนทีอ่ ดุ มสมบรู ณ มีอาหารมากมายหลากหลายชนิด นอกจากจะสามารถผลิตอาหารพอเลี้ยงประชากรในประเทศไทยแลว ยังมากพอที่จะสงไป จําหนายตา งประเทศไดปละมากๆ อีกดวย แตกระน้ันก็ตาม ยังมีรายงานวาประชากรบางสวน ของประเทศเปนโรคขาดสารอาหารอีกจํานวนไมนอย โดยเฉพาะทารกและเด็กกอนวัยเรียน เด็กเหลานี้อยูในสภาพรางกายไมเจริญเติบโตเต็มที่ มีความตานทานตอโรคติดเชื้อต่ํา นอกจากน้ีนิสัยโดยสวนตัวของคนไทยเปนสาเหตุหน่ึงที่ทําใหโรคขาดสารอาหาร คนไทยเลือก รับประทานอาหารตามรสปาก รีบรอนรับประทานเพื่อใหอ่ิมทอง หรือรับประทานตามที่หามา ได โดยไมคํานึงถึงวามีสารอาหารท่ีใหคุณคาโภชนาการตอรางกายครบถวนหรือไมพฤติกรรม เหลาน้ีอาจทําใหเกิดโรคขาดสารอาการไดโดยไมรูสึกตัว การเรียนรูเก่ียวกับสาเหตุและการ ปองกันโรคขาดสารอาหารจะชวยใหเด็กและเยาวชนมีสุขภาพแข็งแรงเติบโตเปนผูใหญที่ สมบรู ณต อ ไป ดงั นนั้ ถา รา งกายของคนเราไดร ับสารอาหารไมครบถวนหรือปรมิ าณไมเ พียงพอกับความ ตองการของรา งกาย จะทาํ ใหเ กดิ ความผิดปกติและเกิดโรคขาดสารอาหารได โรคขาดสารอาหารทส่ี าํ คญั และพบบอ ยในประเทศไทย มีดังนี้ 1. โรคลกั ปด ลกั เปด สาเหตุ เกดิ จากการรับประทานอาหารท่มี ีวติ ามนิ ซีไมเพียงพอ คนท่ีขาดวิตามินซีมักจะ เจ็บปว ยบอย เนื่องจากมคี วามตา นทานโรคต่ํา อาการ ออนเพลีย เหงอื กบวมแดง มีเลือดออกตามไรฟนปวดกลามเนื้อและปวดในขอ ถาเปน นานๆ อาจเปนโรคโลหติ จาง การปองกัน รับประทานอาหารท่ีทีวิตามนิ ซใี หเพียงพอ ไดแก ผลไมสดและผักสดตางๆ เชน มะขามปอม มะเขือเทศ ฝร่ัง กลว ย มะรมุ ผกั ชี ถัว่ งอก กะหล่ําปลี เปน ตน 2. โรคคอพอก สาเหตุ เกิดจากรางกายขาดสารไอโอดีน หรือรับประทานผักดิบที่ไปยับยั้งการทํางาน ของสารไอโอดนี เชน ผกั กะหล่ําปลี กะหลา่ํ ดอก อาการ ตอ มไทรอยดจ ะบวมโต เสยี งแหบ เหนอื่ ยงา ย หายใจและกลืนอาหารลําบาก การปองกัน รับประทานอาหารทะเลใหมาก เชน กุง หอย ปู ปลา เปนตน ถาไมสามารถหา อาหารทะเลไดควรบริโภคเกลืออนามัย ซ่ึงเปนเกลือสมุทรผสมไอโอดีนที่ใชในการประกอบ

33 อาหารแทนได นอกจากนี้ควรหลีกเล่ียงอาหารที่มีสารขัดขวางการใชไอโอดีน เชน กะหล่ําปลี ดบิ 3. โรคขาดธาตุไอโอดนี หรอื โรคเออ สาเหตุ เกดิ จากการรับประทานอาหารที่มีไอโอดีนตํ่าหรืออาหารที่มีสารขัดขวางการใช ไอโอดีนในรา งกาย อาการ พัฒนาทางรางกายและจติ ใจ รา งกายเจรญิ เติบโตชา เตย้ี แคระแกร็น สตปิ ญ ญา เสอื่ ม อาจเปนใบห รอื หูหนวกดว ย การปองกัน รับประทานอาหารทะเลใหมาก เชน กุง หอย ปู ปลา เปนตน ถาไม สามารถหาอาหารทะเลไดควรบริโภคเกลืออนามัย ซึ่งเปนเกลือสมุทรผสมไอโอดีน ท่ีใชในการ ประกอบอาหารแทนได นอกจากนคี้ วรหลีกเลยี่ งอาหารที่มีสารขัดขวางการใชไอโอดีน เชน พืช ตระกูลกะหล่าํ ปลี ซ่ึงกอนรับประทานควรตมเสยี กอ น ไมค วรรบั ประทานดิบ ๆ 4. โรคตาฟาง สาเหตุ เกดิ จากรางกายขาดวติ ามนิ เอ อาการ มองไมเห็นภาพในทมี่ ืดหรือที่มีแสงสลวั ตาสแู สงจาไมไ ด เคืองตา นํ้าตาไหล การปอ งกัน รบั ประทานอาหารที่มีวิตามินเอใหเพียงพอ เชน ไขแดง นํ้ามันตับปลา นม เนย ผกั ใบเขียวเขมและและผักทม่ี ีสเี ลอื ง เชน ผักบุง ตําลงึ คะนา ฟกทอง มะละกอสุก มะมวง สุก มะเขือเทศ โดยการรับประทานผักท่ีปรุงดวยนํ้ามัน ซ่ึงจะชวยในการดูดซึมวิตามินเอใน รา งกาย 5. โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก สาเหตุ เกดิ จากความตองการธาตุเหลก็ สูงจากการเปลยี่ นแปลงทางสรีรวทิ ยา โดยเฉพาะ ผูห ญงิ ทม่ี ีประจําเดือน การไดรับธาตุเหล็กจากอาหารไมเพียงพอ การสูญเสียเลือด การเปนพยาธิ โดยเฉพาะพยาธปิ ากขอ การเปนแผลในกระเพาะอาหาร เปน รดิ สีดวงทวาร อาการ เบื่ออาหาร ออนเพลีย หงุดหงิด มึนงง ปวดศีรษะ ผิวหนังซีด เล็บเปราะ ถาไม รักษาจะมีผลเสยี ตอความจําและสมาธใิ นการเรียนรู การปอ งกนั รบั ประทานอาหารทม่ี วี ติ ามินเอใหเพยี งพอ เชน ไขแ ดง นํ้ามันตับปลา นม เนย ผกั ใบเขียวเขมและผกั ที่มีสเี หลอื ง เชน ผกั บงุ ตาํ ลงึ คะนา ฟก ทอง มะละกอสกุ มะมวงสุก มะเขอื เทศ โดยการรบั ประทานผักทป่ี รุงดวยนํา้ มัน ซึ่งจะชว ยในการดดู ซมึ วิตามนิ เอในรา งกาย

34 6. โรคกระดกู ออ น สาเหตุ เกิดจากรางกายขาดวิตามินดีและแคลเซียม อาการ ออนเพลยี ปวดกระดกู ขาจะคดและโคง จะเห็นปุมกระดูกนูนตามรอยตอของ กระดูกซีโ่ ครงดานหนา และรางกายเจริญเตบิ โตชา การปอ งกนั รับประทานอาหารที่มีวิตามินดีและแคลเซียม ไดแก นมสดและผลิตภัณฑ จากนม เตาหู ปลาเล็กปลานอย ผักใบเขียวเขม และควรใหรางกายไดรับแสงแดดในตอนเชา และเยน็ 7. โรคเหนบ็ ชา สาเหตุ เกิดจากรางกายขาดวิตามนิ บี 1 อาการ เบ่ืออาหาร ปวดกลามเนื้อบริเวณนอง รูสึกชาตามปลายประสาท เชน มือเทา ออ นเพลยี เทาไมมีแรง ลกุ เดนิ ไมไ ด และอาจมีอาการทางหัวใจ เชน หอบเหน่ือยงายหรือหัวใจ วาย การปอ งกนั รบั ประทานอาหารท่ที ีวติ ามินบี 1 เชน ขาวแดง ขาวซอมมอื เนือ้ หมู ปลา ไข ถั่วเมลด็ แหง 8. โรคปากนกกระจอก สาเหตุ เกิดจากการรับประทานอาหารที่มีวติ ามินบี 2 ไมเ พยี งพอ อาการ เปนแผลหรือรอยแตกที่มุมปากท้ังสองขางหรือซอกจมูกมีเกล็ดใสเล็กๆ ล้ินมีสีแดงกวา ปกติและเจ็บ หรือมีแผลท่ีผนังภายในปาก รูสึกคันและปวดแสบปวดรอนที่ตา อาการเหลานี้ เรียกวา โรคปากนกกระจอก คนท่ีเปนโรคน้ีจะมีอาการ ออนเพลีย เบื่ออาหารและอารมณ หงุดหงดิ การปองกัน รับประทานอาหารที่มีวิตามินบี 2 ใหเพียงพอและเปนประจํา เชน นมสด นมปรงุ แตง นมถวั่ เหลอื ง นํ้าเตา หู ถัว่ เมลด็ แหง ขาวซอ มมือ ผกั ผลไม เปน ตน สรปุ การขาดสารอาหารประเภทใดประเภทหน่ึงหรือหลายๆ ประเภท นอกจากจะมีผล ทําใหรางกายไมสมบูรณแข็งแรงและเปนโรคตางๆ ไดแลว ยังทําใหเปนอุปสรรคตอการ ดํารงชีวิต อีกทั้งยังมีผลกระทบตอสุขภาพของประชากรโดยตรง ซึ่งจะมีผลตอการพัฒนา ประเทศในท่สี ุด ดงั นน้ั จงึ จําเปน อยา งย่งิ ท่ที ุกคนควรเลอื กรบั ประทานอาหารอยางครบถวนตาม หลกั โภชนาการ ซึง่ ไมจ าํ เปนตองเปนอาหารที่มรี าคาแพงเสมอไป แตควรรับประทานอาหารให ไดสารอาหารครบถวนในปริมาณท่ีพอเพียงกับรางกายตองการในแตละวัน น่ันคือ หากรบั ประทานใหดีแลวจะสง ผลถึงสุขภาพความสมบูรณแข็งแรงของรางกาย

35 เรื่องที่ 2 การสุขาภบิ าลอาหาร การสขุ าภบิ าลอาหาร (Food Sanitation) หมายถึง การดําเนินการดวยวิธีการตางๆ ท่ีจัดการเกี่ยวกับอาหารทั้งในเร่ืองของการปรับปรุง การบํารุงรักษาและการแกไขเพื่ออาหาร ทีบ่ รโิ ภคเขา ไปแลว มผี ลดตี อ สุขภาพอนามัยโดยใหอาหารมีความสะอาด ปลอดภัยและมีความ นาบริโภค อาหาร หมายความวา ของกินหรือเครื่องคํ้าจนุ ชีวติ ไดแก 1. วัตถุทุกชนิดท่ีคนกิน ด่ืม อม หรือนําเขาสูรางกายไมวาดวยวิธีใดๆ หรือในรูป ลักษณะใดๆ แตไ มร วมถงึ ยา วตั ถอุ อกฤทธติ์ อจติ และประสาท หรอื ยาเสพติดใหโ ทษ 2. วัตถทุ ี่มุง หมายสําหรับใชหรอื ใชเ ปนสวนผสมในการผลิตอาหาร รวมถึงวัตถุ เจือปน อาหาร สี และเครอ่ื งปรงุ แตงกล่นิ – รส ความสําคญั ของการสขุ าภิบาลอาหาร อาหารเปน ปจ จัยสําคัญของมนุษย ทุกคนตองบริโภคอาหารเพื่อการเจริญเติบโตและ การดํารงชีวิตอยูได แตการบริโภคอาหารน้ันถาคํานึงถึงคุณคาทางโภชนาการความอรอย ความนาบริโภคและการรับประทานใหอ่ิมถือไดวาเปนการไมเพียงพอและส่ิงสําคัญที่ตอง พจิ ารณาในการบริโภคอาหารนอกเหนอื จากที่กลาวแลว คือความสะอาดของอาหารและความ ปลอดภัยตอ สุขภาพของผบู ริโภค ทง้ั นีเ้ พราะวาอาหารท่ีเราใชบริโภค แมวาจะมีรสอรอยแตถา เปน อาหารสกปรกยอมจะมีอนั ตรายตอ สุขภาพของผบู รโิ ภค กอ ใหเกดิ อาการปวดทอง อุจจาระ รวง อาเจียน เวียนศีรษะ หนามืด ตาลาย เปนโรคพยาธิทําใหผอม ซูบซีด หรือแมแตเกิดการ เจ็บปว ยในลกั ษณะเปนโรคเรอ้ื รัง โรคที่เกิดนี้เรียกวา “โรคที่เกิดจากอาหารเปนสื่อนํา” ลักษณะ ความรนุ แรงของการเปนโรคน้ี ข้ึนอยูก บั ชนิดและปริมาณของเชอื้ โรค หนอนพยาธิ หรือสารพิษ บริโภคเขาไปควรแกปญหาดวยการใหคนเราบริโภคอาหารท่ีสะอาดปราศจากเชื้อโรค หนอนพยาธิและสารพิษ นั่นคือจะตอง มีการจัดการและควบคุมอาหารใหสะอาด เรียกวา การสุขาภบิ าล การปนเปอ น จําแนกออกเปน 2 ประเภท คอื 1. พิษที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติของอาหาร เชน เห็ดพิษ ปลาปกเปา แมงดาทะเล มันสําปะหลงั ดบิ หอยบางชนิด เปนตน 2. พษิ ทเ่ี กดิ จากอาหารท่ีมีสารพษิ เจือปน แบง ออกไดเปน 5 ประเภท

36 2.1 พิษจากจุลินทรียในอาหาร เชน แบคทีเรีย ทําใหเกิดอหิวาตกโรค โรคบิด (ไมมีตวั ) โรคไขร ากสาดนอย (ไขไทฟอยด) ฯลฯ เช้ือไวรัส เชน โรคตับอักเสบ โรคไขสันหลัง อกั เสบ และโรคคางทมู เชือ้ รา เชน พิษจากสารอัลฟา ทอกซิน ปรสิต (พยาธชิ นิดตางๆ) 2.2 โลหะเปน พิษในอาหาร ปลาสามารถสะสมความเขมขนของสารปรอทที่โรงงาน ปลอยลงแมนํ้าลาํ คลอง หรือจากภาชนะพลาสตกิ หรอื กรรมวธิ ใี นการผลิตท่ีตอ งใชโลหะ เชน สผี สมอาหาร น้าํ สมสายชู อาหารกระปอ ง 2.3 พิษจากยาฆาแมลงตกคาง เชน ผักชนิดตางๆ ผูที่บริโภคนิยมบริโภค ปลาเค็ม ผขู ายมักจะใสส ารดีดที ปี อ งกันหนอนและแมลงวัน 2.4 การใชร งั สีแกมมา ฆา เช้ือจลุ ินทรียใ นอาหาร ลดปรมิ าณเนาเสยี และยดื อายุการ เก็บอาหารสด หรือการทดลองระเบิดปรมาณูมักจะกระจายสูอากาศ และนํ้าอยางกวางขวาง และรวดเร็ว 2.5 พิษจากวัตถุเจือปนในอาหาร เชน สีผสมอาหาร และสารปรุงแตงรส เชน รสหวานจากสารขณั ฑสกร สารชูรส สารบอแรกซ นํ้าปลา นํ้าสม ปรงุ รส สารกนั บูดเปน ตน กระบวนการทอ่ี าหารถูกปนเปอ น วิธีการจดั การสุขาภบิ าลอาหาร ดาํ เนนิ การในเร่ืองดงั ตอ ไปน้ี 1.การเลอื กซอ้ื อาหารสด 1.1 ผักและผลไม เลอื กทม่ี ีสภาพดี สด สะอาด ไมช้ํา ไมเนา ไมมีคราบตกคางของ ยาฆา แมลง การเลือกซื้อควรคํานึงถงึ คุณคา ทางอาหาร ถกู ตอ งตามฤดูกาล 1.2 เนือ้ สตั วชนิดตา ง ๆ สด สะอาด สไี มคลํา้ ไมม ีกลนิ่ และอยูในสภาพดี เชน เนื้อ หมู เนื้อวัว ไมมีกล่ินเหม็นเปร้ียวหรือเปนเมือกล่ืน ถามีการเนาเสีย เนื้อวัวจะเสียจากขาง นอกเขาขางใน สวนเนือ้ หมูจะเสียจากขา งในออกมาขางนอก (จึงใหใชมีดจิ้มดมดู) และสังเกต ดตู อ งไมมีตัวออ นของพยาธติ วั ตดื เปน เม็ดสีขาวคลายเมด็ สาคู 1.3 ปลา เหงือกมีสีแดง ครีบเหงือกปดสนิท บริเวณใตทองสะอาด ไมมีกลิ่นเหม็น และเมือก ตาเปดโตเต็มที่ เกลด็ ตอ งเปนมนั 1.4 หอย เปลือกจะตอ งปดแนน ไมมีกลิ่นเหม็น เปลือกตองไมมเี มือก 1.5 กงุ หวั และหางจะตอ งไมเ ปน สชี มพู ลาํ ตวั แนน ดูสดใส 1.6 ปู ควรเลอื กซื้อปูท่ีมชี วี ิตกดดูตรงทอ ง ถา เน้อื แนนจะแขง็ กดไมล ง 1.7 เน้ือเปด และไก ตองไมม กี ลน่ิ เหม็น ไมม รี อยชํา้

37 1.8 ไขส ด ผวิ เปลือกไขเรยี บไมเปน มัน ไมม ีรอยแตกรา วและสะอาด เมอ่ื สอ งดจู ะเหน็ ฟองอากาศขา งใน 2. การเลอื กซือ้ อาหารแหง พริกแหง หอม เคร่ืองเทศ ปลาแหง ปลาเค็ม ขาว ถั่ว หรืออาหารเม็ดแหงตาง ๆ ควรเลือกไมมีเชื้อรา สารพิษชนิดน้ีชื่อ “อะฟลาท็อกซิน” เช้ือราชนิดน้ีทนความรอนไดดีและ เปนสาเหตทุ ที่ ําใหเกิดมะเร็งตับ และสารกันบูดท่ีพบมากในอาหารแหง เชน กุงแหง ปลาเค็ม เน้ือเค็ม ควรเลือกซ้อื ทีไ่ มช นื้ และไมมีกล่ินเหม็นหืน 3. การเลอื กซอ้ื อาหารกระปอ ง ดูลกั ษณะกระปอ งควรใหม ไมบ บุ บวม ไมมีรอยรวั่ ไมม ีมสี นมิ 4. การเลอื กใชส ผี สมอาหาร สีผสมอาหารแบง ออกเปน 2 ชนิด ไดแก สีจากธรรมชาติ เชน สเี ขียวจากใบเตย สีมวง น้ําเงนิ จากดอกอญั ชัน สีแดง ชมพูจากดอกกหุ ลาบ สีทีส่ ังเคราะหจากสารเคมี สีประเภทนี้เปน อันตรายตอรางกาย ดังน้ันเพื่อความปลอดภัยควรเลือกรับประทานอาหารท่ีไมใสสี หรือใชสี จากธรรมชาตจิ ะไมเปนอันตรายตอ รางกาย การปรุงและจําหนา ย 1. การเตรียมอาหาร ควรคํานึงถึงความสะอาดของภาชนะท่ีนํามาใสการรักษาคุณคา อาหารและความปลอดภัยของอาหาร เชน การลางภาชนะที่นํามาใชทุกครั้ง การลางผักควรลาง กอนมานํามาห่นั เพ่ือรักษาคุณคา วติ ามนิ การลางเนอื้ สตั ว ไมควรนําไปแชน าํ้ ควรลางแลวนํา ขึน้ ทันที 2. การปรุงอาหาร อาหารแตละชนิดมักมีวิธีการปรุงไมเหมือนกัน แตตองคํานึงถึง ความสะอาด ปลอดภัย คุณภาพ ปริมาณและรสชาติของอาหารเปนหลักควรปรุง ใหสุกดวยความ รอ น ใชเวลานานเพียงพอทําลายเช้ือโรคพยาธิ ผูประกอบการอาหารควรปฏิบัติตามสุขวิทยา สวนบุคคลกอนทําอาหารทุกคร้ัง ลางมือใหสะอาดทุกคร้ังกอนลงมือปรุงอาหาร ไมพูดคุย ไอ จาม 3. การจําหนายอาหาร ภาชนะท่ีนํามาจําหนายอาหารควรสะอาด และปดมิดชิดกัน แมลงวันไตตอม ผูจําหนายจะตองคํานึงถึงความสะอาด การหยิบจับอาหารควรใชอุปกรณใน การหยบิ จบั อาหาร ไมควรใชมือหยิบอาหารโดยตรง

38 4. การเสรฟิ อาหาร เปน ข้นั ตอนทีม่ ีความสําคัญ เพราะอาจทําใหอาหารที่ปรุงแลวเกิด ป นเ ป อ น แ ล ะ เ ป น อั น ต ร า ย ต อ สุ ข ภ า พ ผู เ ส ริ ฟ อ า ห า ร ค ว ร เ ป น ผู ที่ มี สุ ข ภ า พ ดี ไมเ ปนโรคตดิ ตอ ควรลา งมือใหสะอาดทุกครงั้ ตัดเลบ็ สนั้ ผมหวีเรยี บรอ ย (ควรมีผาคลุมผมหรือ หมวกและผากันเปอน) เวลาไอ จามควรมีผาปดปากปดจมูก หลังจากใชหองนํ้า หองสวม ควรลา งมือถสู บูเสมอ การเสรฟิ ชอน สอม ตะเกยี บ ควรหยบิ เฉพาะดาม แกวน้ํา จาน ชาม หยบิ โดยระวงั มใิ หนิว้ มอื สัมผสั กบั อาหาร 5. การลา งและเกบ็ ภาชนะ ควรแยกขยะแหง และขยะเปย ก จําพวกเศษอาหารออกจาก กนั แลว ลางภาชนะดวยนํ้ายาลางจาน ลางนํ้าใหสะอาดจนไมมีคราบมันติด ผึ่งใหแหงแลวเก็บ เขาตใู หเ รียบรอ ย 6. การเก็บอาหาร คํานงึ การเก็บเพื่อไมใหบดู เนา เสยี หรืออาหารเสอ่ื มคณุ ภาพ ไดแก อุณหภูมิ ความช้ืน และสภาพของอาหาร ซึ่งเปนสาเหตุของอาหารบูด เนา เสียได อาหารแหงควรเก็บในภาชนะท่สี ะอาด แหง ปกปดมิดชดิ เรอื่ งที่ 3 การจดั โปรแกรมอาหารใหเ หมาะสมกบั บคุ คลกลมุ ตา งๆ สารอาหารประเภทตางๆ มีความจําเปนตอรางกาย โปรตีน คารโบไฮเดรตและไขมัน เปน สารอาหารทใี่ หพ ลังงาน และรางกายมีความตองการเปนปริมาณมาก สวนวิตามินและแร ธาตุบางชนิดไมใหพลงั งานแตจาํ เปนสําหรับการทาํ งานของระบบตาง ๆ ในรางกายชวยปองกัน โรคภยั ไขเจบ็ ทาํ ใหดํารงชีวิตอยูไดอยางมีความสุข มนุษยแตละเพศแตละวัยตองการพลังงาน และสารอาหารประเภทตางๆ ในปรมิ าณไมเทากัน ดังน้ันในการเลอื กรบั ประทานอาหาร จึงควร เลือกใหพอเหมาะกบั เพศ วยั ของแตละบุคคล 1. อาหารสําหรบั ทารก นํา้ นมมารดาเปนอาหารท่ีเหมาะสมสําหรับการเลี้ยงทารกเปน อยา งดี ในระยะทีม่ ารดาเร่มิ มีน้าํ นม นํ้านมที่ออกมาจะมสี ีเหลืองออน เรียกวานาํ้ นมเหลือง ซึ่งมี ประโยชนต อ ทารกมาก การใหทารกกินนมมารดามีขอดี คือ สะดวกตอการใหและโอกาสท่ีจะ ติดเชื้อนอ ยกวาเด็กทก่ี ินนมผสม การเลย้ี งทารกดวยนมผง ควรเลี้ยงเมอื่ จาํ เปน จรงิ ๆ เทา นั้น 2. อาหารสาํ หรับเด็กกอ นวัยเรยี น เด็กกอนวยั เรยี นมีความตองการอาหารทุกชนิด เชน เนื้อสตั ว นม ไข ขาว แปง นาํ้ ตาล ผัก ผลไมแ ละไขมัน เชนเดียวกับผูใหญ เพื่อใหไดสารอาหาร ครบถวนตามที่รางกายตองการ แตเลือกประเภทและปริมาณของอาหารที่แตกตางไปตาม รูปรางและน้ําหนักของรางกายแตละวัย ดังน้ัน จึงควรเอาใจใสดูแลเด็กใหไดอาหารอยาง เพียงพอ ไมปลอยใหเด็กเลือกรับประทานอาหารเองตามความพอใจ ซึ่งเด็กในวัยน้ีหาก

39 รบั ประทานอาหารไดถกู สว นตามความตอ งการของรางกาย จะทําใหร างกายเจริญเตบิ โตข้ึนเปน เด็กท่สี มบูรณตอไปในอนาคต 3. อาหารสําหรับเดก็ วัยเรียน มลี ักษณะเชนเดยี วกับเด็กกอ นวยั เรยี น เพียงแตจะเพ่ิม ปริมาณข้นึ ใหสมสว นกับความเจริญเติบโตของเด็กวัยเรียนเทา นน้ั 4. อาหารสําหรับวัยรุน วัยรุนเปนวัยท่ีรางกายเติบโตเร็ว ความสูงและน้ําหนักเพิ่มขึ้น มากและเปนวัยที่ใชพลังงานมากในการทํากิจกรรมประจําวัน จึงจําเปนตองไดรับอาหารที่มี ประโยชนในปริมาณท่ีเพียงพอ เพ่ือใหรางกายเจริญเติบโตเต็มที่และเปนผูใหญท่ีมีสุขภาพ สมบรู ณ โดยรบั ประทานอาหารใหเ ปนเวลา วนั ละ 3 มือ้ ในปรมิ าณที่พอดกี ับความตอ งการของ รา งกาย พยายามรบั ประทานอาหารหลายๆ อยางในแตละมอื้ ใหครบ 5 หมู 5. อาหารสาํ หรับผูส งู อายุ ควรคาํ นึงถึงผูสูงอายุเปนรายบุคคล เพราะผูสูงอายุ แตละ บคุ คลอาจจะชอบอาหารไมเหมือนกัน บางครั้งไมจําเปนวาทุกม้ือจะตองไดรับสารอาหารครบ ทกุ ประเภทอยใู นม้อื เดียว 5.1. ในการจัดอาหารอาจจะตองแบงอาหารใหเปนอาหารม้ือยอย 4–5 ม้ือ เพ่ือลด ปญหาการแนนทอ ง 5.2. อาหารควรจะเปนอาหารออน ยอยงาย รสไมจัด ถาเปนผักควรจะห่ันเปนชิ้น เล็กๆ น่ึงหรือวาตมใหน่ิมพยายามหลีกเล่ียงอาหารที่ทําใหเกิดแกส หรือทองอืด เชน ถ่ัวบาง ประเภท เปน ตน 5.3. อาหารควรเปนอาหารทมี่ ีคณุ ภาพ ไมไดผานขบวนการขัดสีและควรไดโปรตีน จากปลา เปน ตน 5.4. เนนใหใชวิธีการน่ึงมากกวาทอด เพื่อลดปริมาณไขมันที่รางกายจะไดรับเกินเขา ไป 5.5. อาหารเสริมท่ีแนะนํา ควรเสริมผักและผลไมใหมากขึ้น เชน ตําลึง ผักบุง คะนา มะเขือเทศสม เขียวหวาน กลวยสุก มะละกอสุก เปนตน จะชวยเพ่ิมใหผูสูงอายุไดรับกากใย ชว ยใหร ะบบขบั ถายดี 5.6. การจดั อาหารใหม ีสีสนั นารับประทาน โดยพยายามใชส ที เ่ี ปนธรรมชาติ ปรุงแตง ใหอาหารใหนารับประทาน อาหารที่จัดใหควรจะอุนหรือรอนพอสมควร เพ่ือเพ่ิมความอยาก อาหารใหมาก 5.7. ไมค วรใหผูสูงอายุรบั ประทานอาหารรสเผ็ดจัด จะเกิดอาการปวดมวนทอง หรือ ทานแลว เกดิ ความรูสกึ ไมสบายตัว อาจจะทาํ ใหเ กดิ ผลเสยี ตอทางเดินอาหารได

40 6. อาหารสําหรับผูปวย คนเราเม่ือเจ็บปวยยอมจะตองดูแลเรื่องสุขภาพอนามัย โดยเฉพาะเรอ่ื งอาหารเปน พิเศษ ผูป วยมีลักษณะการเจบ็ ปวยทีแ่ ตกตางกนั ยอมตอ งการบริโภค อาหารที่แตกตางกนั ดังน้ี 6.1. อาหารธรรมดา สําหรับผูปวยธรรมดาท่ีไมไดเปนโรครายแรงที่ตองรับประทาน อาหารเฉพาะจะเปนอาหารท่ีมีลักษณะและสวนประกอบเชนเดียวกับอาหารปกติ เปนอาหาร หลกั 5 หมู ใหไ ดส ารอาหารเพยี งพอกับความตองการของรางกาย 6.2. อาหารออน เปนอาหารสําหรับผูปวยท่ีไมสามารถเค้ียวไดตามปกติ ผูปวย ภายหลังการพักฟน หรือผูปวยท่ีเปนโรคเก่ียวกับทางเดินอาหารอยางเฉียบพลัน เชน ทองรวง บดิ เปนตน อาหารประเภทนจ้ี ะเปนอาหารท่ีมีเนื้อนิ่ม มีรสออน ยอยงาย ไมมีกากแข็งหยาบ ไมม ันจัด เชน นม ครมี ไขท ุกชนดิ ทไี่ มใชวธิ ีทอด ปลานึ่งหรอื ยา ง เนอ้ื บด ไกตมหรือตุน ซุปใส แกงจืด ผกั ท่มี ีกากนอยและไมม กี ลิ่นฉุนตมสุกบดละเอยี ด นาํ้ ผลไมคั้น กลวยสกุ เปน ตน 6.3. อาหารเหลว เปนอาหารสําหรับผูปวยท่ีพักฟนหลังผาตัดและผูปวยที่เปนโรค เกี่ยวกบั กระเพาะอาหารและลําไส เปนอาหารทีย่ อยงา ย ไมม ีกาก มี 2 ชนดิ คอื 6.3.1. อาหารเหลวเชน นํ้าชาใสมะนาวและน้ําตาล ซุปใสที่ไมมีไขมัน น้ําขาวใส สารละลายน้าํ ตาลหรอื กลโู คส เปนตน ซึง่ จะใหรบั ประทานทีละนอยทุก 1–2 ชั่วโมง เมื่อผูปวย รบั ประทานไดม ากขึ้นจึงคอ ยเพิม่ ปรมิ าณ 6.3.2. อาหารเหลวขน เปนของเหลวหรือละลายเปน ของเหลว เชน นํ้าขาวขน ขาวบด หรอื เปยก เคร่อื งด่มื ผสมนม น้าํ ผลไม น้ําตม ผกั ไอศกรีม ตับบดผสมซุป เปนตน 6.3.3. อาหารพิเศษเฉพาะโรค เปนอาหารที่จัดข้ึนตามคําสั่งแพทย สําหรับโรค บางชนดิ ทตี่ องระมดั ระวังหรือควบคุมอาหารเปนพิเศษ เชน อาหารจํากัดโปรตีนสําหรับผูปวย โรคตับบางอยางและโรคไตเร้อื รัง อาหารกากนอยสําหรับผูปวยอุจจาระรวงรุนแรง อาหารกาก มากสาํ หรบั ผูทล่ี าํ ไสใ หญไมทาํ งาน อาหารแคลอรีตํ่าสําหรับผูปวยโรคเบาหวาน อาหารโปรตีน สูงสําหรับผูปว ยทขี่ าดโปรตีนหรือหลงั ผา ตดั อาหารจําพวกโซเดียมสําหรับผปู วยโรคหวั ใจ 7. อาหารสําหรับผูท่ีออกกําลังกาย คนท่ีออกกําลังกายโดยปกติตองใชพลังงานจาก รางกายมาก จึงตองการอาหารท่ีใหพลังงานมากกวาปกติ ดังนั้น ผูท่ีออกกําลังกายจึงควร รับประทานอาหารใหเ หมาะสม ดงั นี้ 7.1. อาหารกอ นออกกําลังกาย กอนออกกําลังกายคนเราไมควรรับประทานอาหารเพราะจะทํา ใหเกิดอาการจุก เสียด แนนและไมสามารถออกกําลังกายได กอนการออกกําลังกายควรให อาหารยอยหมดไปกอน ดงั นนั้ อาหารมือ้ หลักทรี่ ับประทานควรรับประทานกอนการออกกําลัง

41 กาย 3 – 4 ช่ัวโมง อาหารวางควรรับประทานกอนออกกําลังกาย 1 – 2 ชั่วโมง อาหาร ที่รับประทานควรเปนอาหารท่ีมีไขมันต่ํา และมีโปรตีนไมมากนัก มีคารโบไฮเดรตคอนขางสูง นอกจากนั้น ควรหลกี เล่ียงการรบั ประทานอาหารท่ีทําใหเกิดแกสในกระเพาะอาหาร เชน ของ หมกั ดอง อาหารรสจดั เปนตน 7.2. อาหารระหวางการออกกําลังกาย ปกติในระหวางการออกกําลังกาย รางกายจะขับ เหงื่อเพ่ือระบายความรอนและของเสียออกจากรางกาย ผูท่ีออกกําลังกายควรด่ืมนํ้าหรือ เคร่ืองดื่มที่มเี กลือแร เพอื่ ทดแทนน้ําและเกลือแรท่ีสูญเสียไปในระหวางออกกําลังกาย และไม รับประทานอาหาร เพราะจะทําใหเ กิดอาการจดุ เสยี ด แนน และอาหารไมยอย ซ่ึงเปนอุปสรรค ในการออกกําลังกาย 7.3. อาหารหลังการออกกําลังกาย การออกกําลังกายจะทําใหคนเราสูญเสียพลังงาน ไปตามระยะเวลาและวิธกี ารออกกําลังกาย หลังการออกกําลังกายจึงควรรับประทานอาหารท่ี ใหพ ลังงานเพ่ือชดเชยพลังงานท่ีสูญเสียไป การออกกําลังกายบางประเภทตองการสารอาหาร เพอื่ ชดเชยพลงั งานท่สี ญู เสียไปและสรา งเสริมพลงั งานท่ีจะใชในการออกกําลังกายในคร้ังตอไป ดวยจึงตอ งรับประทานอาหารที่มีสารอาหารเหมาะสมในปรมิ าณทเี่ พียงพอ

42 กจิ กรรมทายบทท่ี 3 กจิ กรรมที่ 1 จงตอบคําถามตอไปนี้ 1. ใหผ เู รยี นอธิบายสาเหตุ อาการ และการปองกันโรคทีเ่ กิดจากการขาดสารอาหารมา 1 โรค 2. จงอธบิ ายหลกั การจดั อาหารสาํ หรบั ผูส งู อายุ 3. จงอธบิ ายการเลือกซื้ออาหารสดมา 3 ชนิด กจิ กรรมที่ 2 จงเลือกคาํ ตอบท่ีถกู ตอ งท่ีสดุ เพียงคาํ ตอบเดยี ว 1. โรคเหนบ็ ชาเกิดจากการขาดสารอาหารชนดิ ใด ก. วิตามนิ เอ ค. วิตามินบี 2 ข. วติ ามนิ บี 1 ง. วิตามนิ ดแี ละแคลเซยี ม 2. นายแดงมอี าการออนเพลีย เหงอื กบวมแดง มีเลือดออกตามไรฟน ปวดกลา มเนอ้ื และ ปวดในขอ เปน อาการของการขาดสารอาหารประเภทใด ก. วิตามินซี ค. ธาตเุ หล็ก ข. วติ ามนิ เอ ง. สารไอโอดีน 3. พษิ ของเชอ้ื โรคชนิดใดท่ีทาํ ใหเกดิ โรคตับอักเสบ ก. แบคทีเรยี ค. ไวรัส ข. เช้ือรา ง. ปรสติ 4. สารอะฟลาทอ็ กซิน (Alfatoxin) เปน สาเหตทุ ่ที าํ ใหเ กิดโรคใด ก. วณั โรค ค. โรคมะเรง็ ปอด ข. โรคมะเร็งตบั ง. ไขสันหลังอกั เสบ

43 บทท่ี 4 การเสริมสรางสุขภาพ สาระสําคญั มีความรูในเรื่องการวางแผนพัฒนาและเสริมสรางสุขภาพของตนเอง และครอบครัว ตลอดจนรวมกจิ กรรมเสริมสรางสขุ ภาพของชุมชนอยางสมํา่ เสมอ และสามารถบอกถึงหลักการ และรูปแบบของวธิ กี ารออกกําลังกายของตนเอง ผอู ืน่ และชุมชนไดอยา งถูกตอ งเหมาะสม ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวัง 1. ประเมินภาวะสุขภาพของตนเองและครอบครัวได 2. วางแผนพฒั นาและเสริมสรา งสุขภาพของตนเองและครอบครวั ไดอ ยางเหมาะสม 3. มสี วนรว มในกิจกรรมสรางเสริมสขุ ภาพของชมุ ชน 4. บอกหลกั การ รปู แบบ วธิ ีการของการออกกาํ ลังกายเพ่ีอสขุ ภาพไดอยา งถูกตอง 5. ระบแุ นวทางการออกกําลังกาย เพ่ือสขุ ภาพทเ่ี หมาะสมกับบคุ คลและวยั ตาง ๆ ขอบขายเนอ้ื หา เรอื่ งท่ี 1 การรวมกลมุ เพ่อื เสรมิ สรางสขุ ภาพในชมุ ชน เรื่องที่ 2 การออกกาํ ลังกายเพอ่ื สขุ ภาพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook