Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการสร้างคุณภาพชีวิต

โครงการสร้างคุณภาพชีวิต

Published by s.pannawitt, 2020-06-08 05:06:51

Description: โครงการสร้างคุณภาพชีวิต

Search

Read the Text Version

1 โครงการสรางคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจพอเพียงสูชมุ ชน วนั ท่ี 14 มถิ ุนายน 2561 ณ บานเลขท่ี 41 หมทู ่ี 5 ตาํ บลนาปา อําเภอเมอื งชลบุรี จงั หวัดชลบุรี กศน.ตําบลนาปา ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมอื งชลบรุ ี

2 คํานาํ เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาท่ีช้ีถึง แนวทางการดํารงอยู และปฏิบัติตนใหดําเนินไป ในทางสายกลางของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งใน การพัฒนา การบริหารประเทศ โดยเฉพาะการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจเพื่อใหกาวทันโลกในยุค โลกาภิวัฒน เพื่อนํามาซ่ึงความเจริญเปนสิ่งที่ทุกสังคมปรารถนา และพยายามหาหนทางไปสู เปาหมายดวยวิธีการตางๆตามระบบความคิด ความเชื่อ และกําหนดอุดมการณ เปาหมาย นโยบาย และกลยทุ ธการพฒั นาทม่ี ีผลสืบเนื่องไปถึงวถิ กี ารดํารงชวี ิตตา ง ๆ ของคนในสังคม กศน.ตําบลนาปา ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญปญหาดังกลาว จึงไดจัดทําโครงการสราง คุณภาพชีวิต เศรษฐกจิ พอเพยี งสชู ุมชน น้ีข้ึน ทายน้ี กศน.ตําบลนาปา ตองขอบคุณ กศน.อําเภอเมืองชลบุรี และผูท่ีเกี่ยวของท่ีให คําปรึกษาแนะนําการจัดทําโครงการฯ หากมีขอบกพรองประการใด ผูจัดตองขออภัยมาไว ณ ที่น้ี และจะปรับปรุงใหดยี ่งิ ขน้ึ ในโอกาสตอ ไป กศน.ตาํ บลนาปา มถิ ุนายน 2561

3 สารบัญ หนา บทที่ 1 บทนาํ .............................................................................................................................1 หลักการและเหตุผล.................................................................................................1 วัตถปุ ระสงค.............................................................................................................1 เปา หมาย..................................................................................................................1 ผลลัพธ.....................................................................................................................1 ดัชนีวัดผลสําเร็จของโครงการ..................................................................................2 2 เอกสารการศึกษาและรายงานท่เี ก่ยี วขอ ง.....................................................................3 ยทุ ธศาสตรแ ละจดุ เนนการดาํ เนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561……………………………………………………………………………..........................3 แนวทาง/กลยทุ ธก ารดําเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ของ กศน.และ กศน.อําเภอเมืองชลบรุ ี...................................................................16 กรอบการจดั โครงการสรางคุณภาพชีวติ เศรษฐกจิ พอเพียงสูชุมชน.……................19 ความรเู ก่ียวกบั เร่ืองการเพาะเห็ดฟาง…….………………………….……………................19 3 วธิ ดี ําเนินงาน...............................................................................................................25 ประชุมบุคลากรกรรมการสถานศกึ ษา....................................................................25 จัดตง้ั คณะทํางาน...................................................................................................25 ประสานงานกบั หนวยงานและบคุ คลทเี่ กีย่ วของ....................................................25 ดาํ เนินการตามแผน................................................................................................26 สรุปผลและรายงาน................................................................................................26

4 สารบัญ หนา บทที่ 4 ผลการดาํ เนินงานและการวิเคราะหขอ มูล....................................................................27 ตอนท่ี 1 ขอมลู สว นตวั ผตู อบแบบถามของผเู ขารว มโครงการสรา งคณุ ภาพชีวติ เศรษฐกิจพอเพยี งสูช มุ ชน.........................................................................................27 ตอนที่ 2 ขอมูลเก่ยี วกบั ความคดิ เหน็ ของผูเขารว มโครงการสรางคณุ ภาพชีวติ เศรษฐกจิ พอเพียงสชู ุมชน.........................................................................................29 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ เสนอแนะ......................................................................31 ผลทีป่ รากฏ..............................................................................................................31 สรุปผล.....................................................................................................................32 อภปิ รายผล..............................................................................................................32 ขอ เสนอแนะ............................................................................................................32 บรรณานุกรม ภาคผนวก

5 สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา 1 แสดงคา รอยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามเพศ....................................32 2 แสดงคารอยละของผูต อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามอายุ....................................32 3 แสดงคารอ ยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามอาชพี .................................33 4 แสดงคา รอยละของผูต อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามระดับการศึกษา.................33 5 ผลการประเมนิ โครงการสรางคณุ ภาพชวี ติ เศรษฐกจิ พอเพียงสชู มุ ชน..….…………..34

6 บทที่ 1 บทนํา หลกั การและเหตผุ ล เศรษฐกจิ พอเพียง เปน ปรชั ญาท่ีชี้ถึงแนวทางปฏบิ ัตติ น โดยคาํ นงึ ถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสรางภูมคิ มุ กนั ทีด่ ี เพ่ือพรอมรับตอความเสี่ยง บนพน้ื ฐานของความรอบรู ความรอบคอบ ระมดั ระวงั และคุณธรรม การใชค วามรอู ยางถกู หลักวิชาการ ควบคไู ปกับการกระทํา ท่ีไมเ บยี ดเบยี นกัน การแบง ปน ชวยเหลอื ซง่ึ กันและกนั ความรวมมอื ปรองดองกันในสงั คม จะสรา ง สายใย เชอื่ มโยงคนในภาคสวนตา งๆของสงั คมเขาดว ยกนั สรา งสรรคพลังในทางบวก นาํ ไปสคู วาม สามคั คี การพัฒนาท่สี มดุลและย่ังยนื และการพรอมรบั ตอการเปล่ียนแปลงตางๆ ภายใตกระแส โลกาภวิ ัฒน กศน. ตาํ บลนาปา จงึ ไดจ ัดทาํ โครงการสรางคุณภาพชวี ติ เศรษฐกจิ พอเพยี งสชู มุ ชน ขน้ึ เพ่ือใหประชาชนไดตระหนักและเกิดการเรียนรู ในการพึง่ พาตนเอง มีการดําเนนิ ชวี ติ ใหอ ยอู ยา ง พอประมาณ เดินทางสายกลาง มคี วามพอดี มีความพอเพยี งกบั ตนเอง ใชเวลาวางใหเ กดิ ประโยชน มี คณุ คา สรางความรกั สามัคคี พฒั นาความผกู พนั ในครอบครวั มากยง่ิ ขน้ึ ให และสามารถทําบญั ชี รายรับรายจายไดอยา งถูกตอง วตั ถุประสงค 1. เพ่ือใหป ระชาชน มกี ารใชช วี ิตประจาํ วนั ตามหลกั การของความพอเพียง ความพอดี การใชช วี ิตอยางรอบคอบ ไมประมาท ใชทรัพยากรทีม่ ีอยูใ หเกดิ ประโยชนค ุม คา 2. เพ่อื ใหป ระชาชน นําความรูที่ไดร บั ไปปรับใชในชวี ิตประจําวัน สามารถลดรายจาย เพม่ิ รายไดภายในครวั เรอื น และมคี ุณภาพชีวิตทีด่ ี เปาหมาย เชงิ ปริมาณ ประชาชนตาํ บลนาปา จํานวน 15 คน เชิงคณุ ภาพ รอ ยละ 80 ประชาชนตาํ บลนาปา มีการใชชีวิตประจาํ วนั ตามหลักการของความ พอเพยี ง ความพอดี ใชชวี ติ อยางรอบคอบ ไมป ระมาท ใชทรพั ยากรที่มีอยูอยา งคุมคา และสามารถลด รายจาย เพ่มิ รายไดภ ายในครัวเรือน และมคี ุณภาพชีวิตท่ีดี ผลลพั ธ ประชาชนตาํ บลนาปา รอ ยละ 80 มีความรู ความเขาใจเกย่ี วกับหลกั การใช ชีวิตประจําวนั ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง พอประมาณ มเี หตผุ ล มภี ูมิคมุ กัน มีความรู คคู ณุ ธรรม พอกิน พอใช ลดคา ใชจ า ย เพมิ่ รายไดใหกับครัวเรอื น และมีคุณภาพชีวติ ท่ีดี

7 ดชั นตี ัวชี้วดั ผลสําเรจ็ ของโครงการ ตัวชว้ี ัดผลผลิต - มีผูเขารว มโครงการฯ ไมนอ ยกวารอ ยละ 80 ของกลุม เปาหมาย - ผเู ขารวมโครงการฯ มคี วามพงึ พอใจในระดับดีขนึ้ ไปไมนอยกวา รอยละ 80 ตัวชว้ี ัดผลลัพธ - ผเู ขา รวมโครงการฯ ไมน อยกวารอยละ 50 สามารถนําไปประยกุ ตใชใ น ชีวติ ประจําวนั ได

8 บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาท่ีเกย่ี วของ ในการจัดทํารายงานโครงการสรางคุณภาพชีวติ เศรษฐกิจพอเพียงสชู ุมชน ครง้ั น้ี ผูจ ัดทาํ โครงการไดท าํ การคน ควาเนือ้ หาเอกสารการศึกษาท่เี กยี่ วของ ดงั นี้ 1.ยทุ ธศาสตรและจดุ เนนการดําเนนิ งานสาํ นกั งาน กศน. ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2561 2. แนวทาง/กลยทุ ธการดาํ เนินงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ของ กศน.อําเภอเมืองชลบรุ ี 3. กรอบการจดั กจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชมุ ชน 4. ความรูเ กย่ี วกบั เรื่องการทําเหด็ นางฟา 1. ยุทธศาสตรแ ละจุดเนน การดาํ เนินงาน สํานกั งาน กศน.ประจําปงบประมาณ 2561 วสิ ัยทัศน กกกกกกกกคนไทยไดรับโอกาสการศกึ ษาและการเรียนรูตลอดชวี ิตอยา งมีคุณภาพ สามารถดาํ รงชีวิต ที่เหมาะสมกับชวงวัย สอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จําเปนในโลก ศตวรรษที่ 21 พันธกิจ กกกกกกกก1. จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพื่อ ยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรูของประชาชนทุกกลุมเปาหมายใหเหมาะสมทุกชวงวัย และพรอ มรับการเปล่ยี นแปลงบรบิ ททางสังคม และสรางสังคมแหงการเรียนรูต ลอดชวี ติ กกกกกกกก2. สงเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือขาย ในการมีสวนรวมจัดการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรูตลอดชีวิต รวมทั้งการดําเนินกิจกรรมของศูนยการ เรยี นและแหลง การเรียนรอู น่ื ในรูปแบบตางๆ กกกกกกกก3. สงเสริมและพัฒนาการนําเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชใหเกิด ประสทิ ธภิ าพในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยใหกบั ประชาชนอยา งทว่ั ถึง กกกกกกกก 4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู สื่อและนวัตกรรม การวัดและ ประเมนิ ผลในทกุ รูปแบบใหสอดคลอ งกบั บรบิ ทในปจ จบุ ัน กกกกกกกก5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการใหมปี ระสทิ ธิภาพ เพอ่ื มุงจัดการศกึ ษาและ การเรียนรทู ี่มคี ณุ ภาพ โดยยึดหลักธรรมาภบิ าล เปาประสงค กกกกกกกก1. ประชาชนผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมท้ังประชาชนท่ัวไปไดรับ โอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ อยางเทาเทียมและท่ัวถึง เปนไปตามสภาพ ปญหา และความ ตองการของแตละกลุมเปาหมาย

3 กกกกกกกก2. ประชาชนไดรบั การยกระดับการศึกษา สรางเสริมและปลูกฝงคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และ ความเปนพลเมืองอันนําไปสูการยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสรางความเขมแข็งใหชุมชน เพ่ือ พฒั นาไปสูค วามมัน่ คงและยั่งยนื ทางดา นเศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม ประวัติศาสตร และส่งิ แวดลอ ม กกกกกกกก3. ประชาชนไดรับโอกาสในการเรียนรูและมีเจตคติทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีท่ี เหมาะสมสามารถคดิ วเิ คราะห และประยุกตใ ชในชีวิตประจําวัน รวมท้ังแกปญ หาและพัฒนาคุณภาพ ชวี ติ ไดอยา งสรางสรรค กกกกกกกก4. ประชาชนไดรับการสรางและสงเสริมใหมีนิสัยรักการอานเพื่อการแสวงหาความรูดวย ตนเอง กกกกกกกก5. ชุมชนและภาคีเครือขายทุกภาคสวน รวมจัด สงเสริม และสนับสนุนการดําเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย รวมทงั้ การขับเคลอ่ื นกิจกรรมการเรยี นรขู องชมุ ชน กกกกกกกก6. หนวยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทัล มาใชใน การยกระดบั คณุ ภาพในการจัดการเรียนรแู ละเพม่ิ โอกาสการเรยี นรูใหกับประชาชน กกกกกกกก7. หนวยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อและการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อแกปญหาและ พัฒนาคุณภาพชีวิต ท่ีตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบรบิ ทดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร และสิ่งแวดลอม รวมทั้งตามความตองการของประชาชน และชุมชนในรูปแบบท่ี หลากหลาย กกกกกกกก8. บุคลากรของหนวยงานและสถานศึกษาไดรับการพัฒนาเพ่ือเพ่ิมสมรรถนะในการ ปฏบิ ตั ิงานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อยางมีประสทิ ธภิ าพ กกกกกกกก9. หนวยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจดั การตามหลักธรรมาภบิ าล ตัวช้วี ัด ตวั ช้วี ัดเชิงปริมาณ 1. จํานวนผูเรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีไดรับการสนับสนุน คาใชจ ายตามสิทธิทีก่ ําหนดไว 2. จํานวนของคนไทยกลุมเปาหมายตางๆ ที่เขารวมกิจกรรมการเรียนรู/ไดรับบริการ กจิ กรรม การศึกษาตอเน่ือง และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ท่ีสอดคลอ งกับสภาพ ปญ หา และความตองการ 3. จํานวนผูรับบรกิ ารในพืน้ ท่ีเปา หมายไดร บั การสง เสรมิ ดานการรูหนังสอื และการพฒั นา ทักษะชวี ติ 4. จํานวนผูผา นการอบรมตามหลกั สูตรที่กําหนดของกจิ กรรมสรา งเครอื ขา ยดิจทิ ลั ชมุ ชน ระดับตําบล 5. จํานวนประชาชนไดรับการอบรมตามหลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่อื การส่ือสารดา นอาชีพ (ระยะสนั้ ) สําหรบั ประชาชนในศนู ยอ าเซยี นศึกษา กศน. 6. จํานวนประชาชนท่ีไดรับการอบรมใหมีความรู ในอาชีพการเกษตรที่เหมาะสมกับ สภาพบรบิ ท และความตอ งการของพ้นื ท/ี่ ชุมชน 7. จํานวนนักเรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนทัว่ ไปท่ีเจา ถงึ บริการการศึกษาตามอธั ยาศัย

4 ประเมนิ 8. จาํ นวนนกั เรียน นักศกึ ษาที่ไดรบั บรกิ ารตวิ เขมเตม็ ความรู ตนเอง 9. รอยละของสถานศึกษาที่มีระบบประกันคุณภาพภายใน และมีการจัดทํารายงานการ 10. รอยละของหนวยงานและสถานศึกษาที่มีการใชระบบเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดทํา ฐานขอมูลชุมชนและการบริหารจัดการเพ่ือสนับสนุนการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย 11. จาํ นวนบุคลากรของหนวยงานและสถานศึกษาไดรบั การพัฒนาเพ่ือเพิ่มสมรรถนะใน การ ปฏบิ ตั งิ านการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 12. จํานวนองคกรภาคสว นตาง ๆ ทัง้ ในและตางประเทศ ที่รว มเปนภาคีเครอื ขายในการ ดําเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ตวั ชวี้ ัดเชงิ คุณภาพ 1. รอยละของกําลังแรงงานท่ีสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตนหรือเทียบเทา ไดร ับการศึกษาระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรอื เทียบเทา 2. รอยละที่เพิ่มข้ึนของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษา นอกระบบโรงเรยี น (N-NET) 3. รอยละของนักเรยี น/นักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาที่ไดรับบริการติวเขม เต็มความรูเพมิ่ สูงข้นึ 4. รอยละของผูเขารวมกิจกรรมท่ีสามารถอานออกเขียนไดและคิดเลขเปนตาม จุดมุง หมายของกิจกรรม 5. รอ ยละผูจบหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษานอกระบบที่สามารถนาํ ความรูความเขาใจไป ใชได ตามจุดมงุ หมายของหลกั สูตร/กจิ กรรมที่กาํ หนด 6. รอยละของประชาชนกลุมเปาหมายท่ีลงทะเบียนเขารวมกิจกรรม มีรายไดเพ่ิมข้ึน จากการพัฒนาอาชพี ตามโครงการศูนยฝ กอาชีพชุมชน 7. รอยละของประชาชนกลุมเปาหมายที่ผานการอบรมตามหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อ การส่ือสารดา นอาชีพ (ระยะสั้น) มีความรูใ นการส่ือสารภาษาอังกฤษ และสามารถนาไปประยกุ ตใ ชใ น การดําเนนิ ชีวิตได 8. รอยละของผูเขารับการอบรมหลักสูตรการดูแลผูสูงอายุกระทรวงศึกษาธิการ ผาน เกณฑก ารอบรมตามหลกั สตู รทีก่ าํ หนด 9. รอยละของประชาชนกลุมเปาหมายในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดน ภาคใต ไดรับการพฒั นาศักยภาพ ทกั ษะอาชพี สามารถมีงานทําหรือนาํ ไปประกอบอาชีพได 10. รอยละของตาํ บล/แขวง ทม่ี ีปรมิ าณขยะลดลง

5 11. รอ ยละการอานของคนไทยเพ่ิมข้นึ 12. รอ ยละของครู กศน. ที่สามารถจัดกระบวนการเรียนรูภาษาองั กฤษเพือ่ การสื่อสารได อยางสอดคลองกับบริบทของผูเรียน 13. รอยละของคะแนนการประเมนิ คุณธรรมและความโปรงใสของการดําเนินงานของ หนวยงาน นโยบายเรงดวนเพ่อื รวมขับเคลอื่ นยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ 1. ยุทธศาสตรดานความมัน่ คง กกกกกกกก 1. สงเสริมการจดั การเรียนรูตามพระบรมราโชบายดานการศกึ ษาของ รชั กาลท่ี 10 1.1 เสริมสรางความรูความเขาใจที่ถูกตองในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตรยิ ท รงเปน ประมุข มีความเปนพลเมอื งดี เคารพความคิดของผูอนื่ ยอมรับความแตกตา ง และหลากหลายทางความคิดและอดุ มการณ รวมทัง้ สงั คมพหวุ ฒั นธรรม 1.2 สง เสริมการจัดกิจกรรมการเรยี นรูทปี่ ลกู ฝง คุณธรรม สรา งวนิ ัย จิตสาธารณะ และ อุดมการณความ ยึดม่ันในสถาบันหลักของชาติ รวมทั้งการมีจิตอาสา ผานกิจกรรมลูกเสือ กศน. และกิจกรรมอื่นๆ ตลอดจนสนับสนุนใหมีการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมใหกับ บุคลากรในองคกร กกกกกกก 2. พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในเขตพื้นท่ีพิเศษ 2.1 เขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต และพืน้ ท่ชี ายแดน กกก2.1.1 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหมี ความสอดคลองกบั บริบทของสงั คม วฒั นธรรม และพ้นื ท่ี เพือ่ สนบั สนุนการแกไขปญหาและพฒั นาพ้ืนท่ี กกก2.1.2 เรงจัดทําแผนและมาตรการดานความปลอดภัยที่ชัดเจนสําหรับ หนวยงานและสถานศึกษา รวมทั้งบุคลากรท่ีปฏิบัติงานในพื้นท่ีเขตพัฒนาพิเศษ โดยบูรณาการแผน และปฏบิ ัตงิ านรว มกับหนวยงานความมน่ั คงในพ้นื ที่ 2.1.3 สง เสริมและสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรูในสถาบันศึกษาปอเนาะ ในรูปแบบตางๆ ที่หลากหลายตรงกับความตองการของผูเรยี น อาทิ การเพิ่มพูนประสบการณ การเปดโลก ทศั น การยดึ ม่ันในหลกั คณุ ธรรมและสถาบันหลกั ของชาติ 2.1.4 สนับสนุนใหมีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทใหมีสมรรถนะที่ สูงขน้ึ เพ่อื ใหสามารถปฏบิ ัติงานไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ 2.2 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และพ้ืนที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก โดย สงเสริมการจัดการศึกษาเพื่อยกระดับการศึกษาและพัฒนาศักยภาพประชาชน สรางงานและพัฒนา อาชีพท่ีเปนไปตามบริบทและความตองการของประชาชนในพืน้ ท่ี 2. ยุทธศาสตรดานการพัฒนากําลงั คน การวิจัย และนวัตกรรมเพอื่ สรางขดี ความสามารถในการ แขง ขันของประเทศ

6 2.1 ขบั เคล่ือน กศน. สู “Smart ONIE” ในการจัดการศึกษาและการเรยี นรูทเ่ี สริมสราง ศักยภาพของประชาชนใหสอดคลองกบั การพัฒนาประเทศ 1. พัฒนาความรูความสามารถ ทกั ษะการใชภ าษาอังกฤษของครแู ละบุคลากร และขยาย ผลไปยังการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของประชาชนในรูปแบบตางๆ อยางเปน รปู ธรรม เชน Boot Camp หลักสูตรภาษาอังกฤษ การจดั หลักสูตรภาษาเพ่ืออาชพี 2. พฒั นาความรแู ละทักษะเทคโนโลยีดิจิทัล การใช Social Media และ Application ตางๆ เพ่ือพฒั นารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ของครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 2.2 พัฒนากาํ ลังคนใหเ ปน “Smart Digital Persons (SDPs)” ท่มี ีทกั ษะดานดิจทิ ัลเพือ่ รองรบั การพัฒนาประเทศ 1. สงเสริมการจัดการเรียนรูดาน Digital เพื่อใหประชาชน มีความรูพ้ืนฐานดาน Digital และความรูเรื่องกฎหมายวาดวยการกระทาความผิดเกยี่ วกับคอมพิวเตอร สาํ หรับการใชประโยชน ใน ชวี ิตประจาวนั รวมท้งั การพฒั นาและการเขาสูอาชีพ 2. สรางความรูความเขาใจและทักษะพ้ืนฐานใหกับประชาชน เกี่ยวกับการทําธุรกิจและ การคาออนไลน (พาณิชยอิเล็กทรอนิกส) เพื่อรว มขบั เคล่อื นเศรษฐกิจดจิ ทิ ลั 3. พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบตางๆ อยางเปน รูปธรรม โดยเนน ทักษะภาษาเพื่ออาชีพ ทง้ั ในภาคธุรกจิ การบรกิ าร และการทองเที่ยว 3. ยุทธศาสตรด า นการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคนใหมีคณุ ภาพ กกกกกกกก1. เตรียมความพรอ มการเขาสูส งั คมผูสูงอายุอยา งมีคณุ ภาพ (Smart Aging Society) 1.1 สงเสรมิ การจดั กิจกรรมใหกับประชาชนเพื่อสรางตระหนักถึงการเตรยี มพรอ มเขาสูสงั คม ผสู ูงอายุ (AgeingSociety) มีความเขาใจในพัฒนาการของชวงวัย รวมท้ังเรียนรูและมีสวนรวมในการ ดแู ลรบั ผดิ ชอบผูสูงอายุในครอบครวั และชมุ ชน 1.2 พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรูสําหรับประชาชนในการเตรียมความพรอม เขาสวู ัยสูงอายทุ เ่ี หมาะสมและมคี ณุ ภาพ 1.3 จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสาหรับผูสูงอายุภายใตแนวคิด “Active Aging” การศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ใหสามารถดูแลตนเองทั้งสุขภาพกายและ สขุ ภาพจิต และรจู ักใชป ระโยชนจ ากเทคโนโลยี 1.4 สรางความตระหนักถึงคุณคาและศักดิ์ศรีของผูสูงอายุ เปดโอกาสใหมีการเผยแพรภูมิปญญา ของผสู ูงอายุ และใหมสี วนรวมในกิจกรรมดา นตา งๆ ในชมุ ชน เชน ดา นอาชีพ กฬี า ศาสนาและวัฒนธรรม กกกกกก2. สงเสริมการจัดการเรียนรูดานเกษตรกรรม (Smart Farmer : เกษตรกรปราดเปร่ือง) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมในการจัดกระบวนการเรียนรูดานเกษตรกรรมที่ เหมาะกับบริบทของพ้ืนท่ีและความตองการของชุมชนรวมทั้งการเพ่ิมมูลคาสินคาทางการเกษตรและสราง ชองทางการจําหนายสินคาผานชองทางตางๆ โดยตระหนักถึงคุณภาพของผลผลิตความปลอดภัย ตอ ระบบนเิ วศน ชุมชน และผูบ รโิ ภค

7 กกกกกกก3. สงเสริมใหมีการจัดการเรียนการสอนแบบ “สะเต็มศึกษา” (STEM Education)สําหรับ นักศึกษาและประชาชน โดยบูรณาการความรูดานวทิ ยาศาสตร ควบคูกับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และคณิตศาสตร เพอื่ ประยุกตใ ชในชีวิตประจําวนั พฒั นาทักษะชวี ติ สกู ารประกอบอาชีพ กกกกกกก 4. เพ่ิมอัตราการอานของประชาชน โดยการจัดกิจกรรมสงเสริมการอานในรูปแบบตางๆ เชน อาสาสมัครสงเสริมการอาน หองสมุดประชาชน บานหนังสือชุมชน หองสมุดเคล่ือนท่ีสําหรับชาว ตลาด ตามพระราชดําริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพ่ือใหประชาชนมี ความสามารถในระดับอานคลอง เขาใจความ คิดวิเคราะหพ้ืนฐาน และสามารถรับรูขอมูลขาวสารที่ ถกู ตอ งและทันเหตุการณ รวมทัง้ นาํ ความรทู ่ีไดร ับไปใชประโยชนใ นการปฏิบตั ิจริง กกกกกกกก5. ศูนยฝ กอาชพี ชุมชน สู “วสิ าหกิจชมุ ชน : ชมุ ชนพ่ึงตนเอง ทําได ขายเปน” 5.1 สงเสริมการจัดการศึกษาอาชีพที่สอดคลองกับศักยภาพของชุมชน และความ ตองการของตลาด รวมท้ังสรางเครือขายการรวมกลุมในลักษณะวิสาหกิจชุมชน สรางรายไดใหกับ ชมุ ชน ใหช มุ ชนพ่งึ พาตนเองได 5.2 สงเสริมการใชเทคโนโลยีในการสรางมูลคาเพ่ิมใหกับสินคา การทําชองทาง เผยแพรแ ละจําหนา ยผลิตภณั ฑข องวสิ าหกิจชุมชนใหเ ปนระบบครบวงจร กกกกกกกก 6. จดั กระบวนการเรียนรูต ามแนวทางเกษตรธรรมชาติสูการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม อยา งย่งั ยืน 6.1 พัฒนาบุคลากรและแกนนําเกษตรกรในการเผยแพรและจัดกระบวนการเรยี นรู ตามแนวทางเกษตรธรรมชาตสิ ูการพฒั นาอาชีพเกษตรกรรม 6.2 จดั ตง้ั ศูนยก ารเรียนรูตน แบบระดบั ตาํ บลดา นเกษตรธรรมชาตสิ กู ารพัฒนาอาชีพ เกษตรกรรม เพ่ือถายทอดความรูดา นเกษตรธรรมชาติสูก ารพัฒนาอาชพี เกษตรกรรมใหก บั ชุมชน 6.3 สงเสริมใหมีการบูรณาการระหวาง ศฝช. และ กศน.อําเภอ ในการจัด กระบวนการเรียนรตู ามแนวทางเกษตรธรรมชาติสกู ารพฒั นาอาชพี เกษตรกรรมใหก ับประชาชน 4. ยทุ ธศาสตรด านการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา กกกกกกกv4.1. สงเสริมการนําระบบคูปองการศึกษามาใชเพื่อสรางโอกาสในการเขาถึงบริการ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ท่ีสอดคลองกับความตองการของประชาชน ผูรับบรกิ าร กกกกกกกก4.2. สรา งกระบวนการเรยี นรูในรูปแบบ E-learning ท่ีใชร ะบบเทคโนโลยีเขามาบรหิ าร จัดการเรียนรู เพ่ือเปนการสรางและขยายโอกาสในการเรียนรูใหกับกลุมเปาหมายไดสะดวก รวดเร็ว ตรงตามความตอ งการของประชาชนผรู บั บริการ กกกกกกกก4.3. เพ่ิมอตั ราการรหู นงั สอื และยกระดบั การรูหนงั สอื ของประชาชน 1) เรงจัดการศึกษาเพ่ือเพ่ิมอัตราการรูหนังสือ และคงสภาพการรูหนังสือ ให ประชาชนสามารถอานออก เขียนได และคิดเลขเปน โดยเฉพาะประชาชนในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะ กิจจังหวัดชายแดนภาคใตและพื้นท่ีหางไกลโดยมีการวัดระดับการรูหนังสือการใชสื่อ กระบวนการ และกิจกรรมพัฒนาทักษะในรูปแบบตางๆ ท่ีเหมาะสม และสอดคลองกับสภาพพื้นที่และ

8 กลุมเปาหมายใหประชาชนสามารถฟง พูด อาน และเขียนภาษาไทย เพ่ือประโยชนในการใช ชีวติ ประจําวันได 2) ยกระดับการรูหนังสือของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการรูหนังสือ ในรูปแบบตางๆ รวมทั้งทักษะดานเทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือเปนเครื่องมือในการเรียนรูตลอดชีวิตของ ประชาชน กกกกกกกก4.4 ยกระดับการศึกษาใหกับกลุมเปาหมายทหารกองประจําการใหจบการศึกษานอก ระบบระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน สามารถนําความรูที่ไดร ับไปพัฒนาตนเองไดอยางตอเนื่อง กกกกกกกก4.5 พลิกโฉม กศน. ตาํ บล สู “กศน.ตาํ บล 4 G” 1) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรท่ีเก่ียวของกบั การจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรยี นรู : Good Teacherใหเปนตัวกลางในการเชือ่ มโยงความรูกับผรู ับบริการ มีความเปน“ครมู ืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบรูและทันตอการเปล่ียนแปลงของสังคม เปนผูจัดกิจกรรมการเรียนรูและ บริหารจดั การความรูท ด่ี ี รวมทั้งเปน ผูปฏิบัตงิ านอยางมคี วามสขุ 2) พัฒนา กศน.ตําบล ใหมีบรรยากาศและสภาพแวดลอมเอื้อตอการเรียนรูอยาง ตอเนื่อง : Good Place Best Check-Inมีความพรอมในการใหบริการการศึกษาและการเรียนรู มีส่ิง อํานวยความสะดวก เปนแหลงขอมูลสาธารณะที่งายตอการเขาถึง และสะดวกตอการเรียนรูตลอด ชวี ิตอยา งสรางสรรค ดึงดดู ความสนใจ และมคี วามปลอดภัยสําหรับผรู บั บรกิ าร 3) สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรูภายใน กศน.ตําบล : Good Activitiesใหมีความ หลากหลาย นาสนใจ ตอบสนองความตอ งการของชุมชน เพอื่ พัฒนาศกั ยภาพการเรียนรูของประชาชน รวมทั้งเปด โอกาสใหชมุ ชนเขา มาจดั กิจกรรมเพือ่ เช่ือมโยงความสัมพนั ธของคนในชมุ ชน 4) เสริมสรางความรว มมือกับภาคีเครือขายท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรปกครองสวน ทองถิ่น และการมีสวนรวมของชุมชน : Good Partnershipเพื่อสรางความรู ความเขาใจ และความ รวมมอื ในการสง เสริม สนับสนนุ และจดั การศึกษาและการเรยี นรูใหกับประชาชนอยา งมีคุณภาพ 4.6 ประสานความรวมมือ หนวยงาน องคกร หรือภาคสวนตางๆท่ีมีแหลงเรียนรูอื่นๆ เชน พิพิธภัณฑ ศูนยเ รยี นรู แหลงโบราณคดี หองสมุด เพ่ือสงเสรมิ การจัดการศึกษาตามอธั ยาศัยให มีรูปแบบทีห่ ลากหลาย และตอบสนองความตอ งการของประชาชน 5. ยทุ ธศาสตรดานสงเสรมิ และจดั การศึกษาเพอื่ เสรมิ สรางคุณภาพชีวิตท่เี ปนมิตรกับสงิ่ แวดลอ ม กกกกกกกถ 5.1. สง เสรมิ ใหม ีการใหค วามรกู ับประชาชนเกีย่ วกับการปอ งกันผลกระทบและปรบั ตัวตอ การ เปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศและภัยพิบตั ิธรรมชาติ กกกกกกกก5.2. สรางความตระหนักถึงความสําคัญของการสรางสังคมสีเขียว การกําจัดขยะและ มลพิษในเขตชมุ ชน กกกกกกกก5.3. สงเสริมใหห นว ยงานและสถานศึกษาใชพลังงานที่เปน มิตรกบั สิ่งแวดลอมรวมท้ังลดการ ใชท รัพยากรท่สี งผลกระทบตอสิง่ แวดลอม 6. ยทุ ธศาสตรด านการพฒั นาประสทิ ธิภาพระบบบริหารจดั การ กกกกกกก 6.1 พัฒนาระบบฐานขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาเพ่ือการบริหารจัดการอยางเปน ระบบ และเชือ่ มโยงกับระบบฐานขอ มลู กลางของกระทรวงศึกษาธกิ าร

9 6.2 สงเสริมการใชระบบสํานักงานอิเล็กทรอนิกส (E-office) ในการบริหารจัดการ เชน ระบบการลา ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส ระบบการขอใชรถราชการ ระบบการขอใชหองสมุด เปน ตน 6.3 พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่อื ชวยในการบริหารจดั การอยางเตม็ รูปแบบ ทั้งระบบการจัดทําแผนปฎิบัติการ และระบบการรายงานผลการดําเนินงานประจําป รวมท้ังระบบ การประกันคณุ ภาพของสถานศึกษา 6.4 สงเสริมการพัฒนาบุคลกรทุกระดับใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตําแหนง ให ตรงกบั สายงานหรือความชาํ นาญ ภารกิจตอเน่อื ง กกกกกกกก1. ดานการจัดการศึกษาและการเรียนรู 1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กกก1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแตปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยดําเนินการใหผูเรียนไดรับการสนับสนุนคาจัดซื้อตําราเรียน คาจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน และ คา เลา เรียนอยางทั่วถึงและเพยี งพอเพ่ือเพ่ิมโอกาสในการรับการศึกษาที่มคี ุณภาพโดยไมเสียคาใชจาย กกก2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานใหกับกลุมเปาหมายผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา ท้ังระบบการใหบรกิ าร ระบบการเรียนการสอน ระบบการวัดและประเมินผล การเรียน ผานการเรียนแบบเรียนรูดวยตนเอง การพบกลุม การเรียนแบบช้ันเรียน และการจัดการศึกษา ทางไกล กกก3) จัดใหมีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณ ท่ีมีความโปรงใส ยุติธรรม ตรวจสอบได มีมาตรฐานตามท่ีกําหนด และสามารถตอบสนองความตองการของ กลมุ เปา หมายไดอ ยา งมีประสทิ ธภิ าพ กกก4) จัดใหกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน ท่ีมีคุณภาพท่ีผูเรียนตองเรียนรู และเขารวม ปฎิบัติกิจกรรมเพ่ือเปนสวนหน่ึงของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสรางความสามัคคี กิจกรรมท่ี เกี่ยวกับการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด การบําเพ็ญสาธารณประโยชนอยางตอเน่ือง การสงเสริม การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสาและการจัดตง้ั ชมรม/ชุมนุม พรอมท้ังเปดโอกาสใหผูเรยี นนาํ กิจกรรมการ บาํ เพ็ญประโยชนอื่นๆนอกหลักสูตรมาใชเ พ่ิมชว่ั กจิ กรรมใหผ ูเรียนจบตามหลกั สูตรได 1.2 การสง เสริมการรหู นงั สือ 1) พัฒนาระบบฐานขอมลู ผูไมรูหนังสือ โดยเฉพาะในเขตพัฒนาพิเศษจังหวัดชายแดน ใต ใหม คี วามครบถวน ถูกตอ ง ทันสมัยและเปนระบบเดียวกนั ทัง้ สว นกลางและพ้นื ท่ี 2) พัฒนาหลักสูตร ส่ือ แบบเรยี นเคร่ืองมือวดั ผลและเครอื่ งมือการดําเนินงานการ สงเสรมิ การรูหนังสือทส่ี อดคลองกบั สภาพแตล ะกลมุ เปา หมาย 3) พฒั นาครู กศน.และภาคีเครือขา ยรว มจัด ใหม คี วามรู ความสามารถ และทกั ษะ กระบวนการเรยี นรูใหก บั ผไู มรหู นงั สืออยา งมีประสิทธภิ าพ และอาจจัดใหม ีอาสาสมัครการรูหนงั สอื ใน พ้นื ทท่ี ี่มีความตองการจาเปน เปน พเิ ศษ

10 4) สง เสรมิ สนับสนุนใหสถานศกึ ษาจัดกิจกรรมสง เสริมการรูหนงั สือ การคงสภาพ การรหู นงั สือการพฒั นาทกั ษะการรูหนังสอื ใหกบั ประชาชนเพ่ือเปนเคร่อื งมอื ในการศกึ ษาและเรียนรู อยางตอเน่อื งตลอดชวี ติ ของประชาชน 1.3 การศึกษาตอ เน่อื ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทําอยางย่ังยืน โดยใหความสําคัญกับการจัด การศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทํา และอาชีพท่ีสอดคลองกับศักยภาพของผูเรียนและศักยภาพของแต ละพ้นื ท่ี 2) จัดการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชวี ิตใหกับทกุ กลมุ เปาหมาย โดยเฉพาะคนพกิ าร ผสู งู อายุท่ีสอดคลอ งกบั ความตอ งการจาเปน ของแตล ะคนบุคคล และมุงเนน ใหทุกกลุม เปาหมายมี ทักษะ การดํารงชีวิตตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได มีความรูความสามารถในการบริหาร จัดการชีวิตของตนเองใหอยูในสังคมไดอยางมีความสุข มีคุณธรรมจริยธรรม รวมทั้งสามารถใชเวลา วา งใหเปนประโยชนต อตนเอง ครอบครัว และชุมชน โดยจัดกิจกรรมการศึกษาในรปู แบบตาง ๆ อาทิ คา ยพฒั นาทกั ษะชวี ติ การจดั ตัง้ ชมรม/ชุมนุม การสงเสรมิ ความสามารถพิเศษตา ง ๆ 3) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใชหลักสูตรและการจัดกระบวนการ เรียนรูแบบบูรณาการในรูปแบบของการฝกอบรม การเรียนทางไกล การประชุม สัมมนา การจัดเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู การจัดกิจกรรมจิตอาสา การสรางชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ที่เหมาะสม กบั กลุมเปาหมาย และบริบทของชมุ ชนแตละพ้ืนท่ี โดยเนน การสรางจิตสานกึ ความเปนประชาธิปไตย ความเปนพลเมืองดี การสง เสริมคณุ ธรรมและจริยธรรมในชุมชน การบาเพ็ญประโยชน การขบั เคลอื่ น การเปนสมาชิกประชาคมอาเซียน การบริหารจัดการนาการรับมือกับสาธารณภัย การเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน การอนุรักษพลังงาน การอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม 1.4 การศึกษาตามอธั ยาศยั 1) สงเสริมใหมีการพัฒนาแหลงการเรียนรูในระดับตําบล เพื่อการถายทอดองคความรู และจดั กจิ กรรมเพอื่ เผยแพรอ งคค วามรูในชุมชนไดอยา งท่วั ถงึ 2) จดั กิจกรรมสง เสริมการเรียนรเู พือ่ ปลกู ฝง นสิ ยั รักการอาน และพฒั นาความสามารถ ในการอานและศักยภาพการเรียนรขู องประชาชนทกุ กลุมเปาหมาย 3) สงเสริมใหมีการสรางบรรยากาศ และส่ิงแวดลอมท่ีเอ้ือตอการอานใหเกิดข้ึนใน สังคมไทยโดยสนับสนุนการพัฒนาแหลงการเรียนรูใหเกิดข้ึนอยางกวางขวางและท่ัวถึง เชน พัฒนา หอ งสมุดประชาชนทุกแหงใหเ ปนแหลงเรียนรตู ลอดชวี ิตของชุมชน สงเสริมและสนบั สนุนอาสาสมัคร สงเสริมการอาน การสรางเครือขายสงเสริมการอาน จัดหนวยบริการเคล่ือนที่พรอมอุปกรณเพ่ือ สงเสริมการอานและการเรียนรูท่ีหลากหลายออกใหบริการประชาชนในพื้นที่ตาง ๆ อยางทั่วถึง สม่ําเสมอ รวมท้ังเสริมสรางความพรอมในดานส่ืออุปกรณเพื่อสนับสนุนการอาน และการจัดกิจกรรม เพ่อื สงเสรมิ การอา นอยางหลากหลาย

11 4) จัดสรา งและพัฒนาศูนยวทิ ยาศาสตรเพื่อการศึกษา ใหเปนแหลงเรียนรูวิทยาศาสตร ตลอดชีวิตของประชาชนและเปนแหลงทองเท่ียวประจําทองถิ่น โดยจัดสรางและพัฒนานิทรรศการ พัฒนาส่ือที่สรางแรงบันดาลใจสูง และจัดกิจกรรมการศึกษาที่เนนการเสริมสรางความรู สอดแทรก วิธีการคิดแบบวิทยาศาสตรการฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและปลูกฝงเจตคติทาง วิทยาศาสตร โดยบูรณาการความรูดานวิทยาศาสตร ควบคูกับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตรและ คณิตศาสตร อยางสอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของของชุมชน ประเทศ รวมทั้งการเปล่ียนแปลงระดับภูมิภาคและระดับโลก เพื่อใหประชาชนมีความรู มีความสามารถในการ คิดเชิงวิเคราะห มีทักษะที่จาเปนในโลกศตวรรษที่ 21 มีความสามารถในการปรับตัวรองรับการ ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงในอนาคตไดอยา งมีประสทิ ธิภาพ และสามารถนําความรูและทักษะไป ประยกุ ตใชใ นการดําเนินชีวิต การพัฒนาอาชีพ การรักษาสงิ่ แวดลอม การบรรเทาและปองกนั ภยั พบิ ัติ ทางธรรมชาติ 2. ดา นหลักสตู ร ส่ือ รปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรู การวดั และประเมนิ ผล งานบริการทาง วชิ าการ และการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 2.1 สงเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูและกิจกรรมเพื่อ สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีหลากหลาย ทันสมัย รวมทั้งหลักสูตร ทอ งถ่นิ ทส่ี อดคลองกับสภาพบริบทของพน้ื ที่ และความตองการของกลมุ เปาหมายและชมุ ชน 2.2 สงเสริมการพัฒนาส่ือแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกสและสื่ออ่ืนๆ ท่ีเอื้อตอการ เรยี นรูของผเู รยี นกลมุ เปาหมายท่ัวไปและกลุมเปาหมายพิเศษ 2.3 พัฒนารูปแบบการจดั การศึกษาทางไกลใหมีความทันสมัยดวยระบบหอ งเรยี นและ การควบคมุ การสอบออนไลน 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู และประสบการณใหมีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของกลุมเปาหมายได อยา งมปี ระสทิ ธิภาพ 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะ หลักสูตรในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานใหไดมาตรฐาน โดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการ สอบอิเล็กทรอนิกส(e-Exam) มาใชอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ 2.6 สงเสริมและสนับสนนุ การศึกษาวิจัย พฒั นาหลักสตู ร รูปแบบการจัดกระบวนการ เรียนรู การวัดและประเมินผล และเผยแพรรูปแบบการจัด สงเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย เพ่ือใหมีการนาไปสูการปฏิบัติอยางกวางขวางและมีการ พฒั นาใหเ หมาะสมกบั บริบทอยา งตอ เนือ่ ง 2.7 พฒั นาระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาใหไดมาตรฐาน เพ่ือพรอมรับการ ประเมินคุณภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญของ ระบบการประกันคุณภาพ และสามารถดําเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาไดอยาง ตอเนื่องโดยใชการประเมินภายในดวยตนเอง และจัดใหมีระบบสถานศึกษาพ่ีเลี้ยงเขาไปสนับสนุน

12 อยางใกลชิด สําหรับสถานศึกษาที่ยังไมไดเขารบั การประเมินคุณภาพภายนอก ใหพัฒนาคุณภาพการ จดั การศึกษาใหไ ดคณุ ภาพตามมาตรฐานท่ีกําหนด 3. ดานเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศนเพ่ือการศึกษาใหเช่ือมโยงและ ตอบสนองตอการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพ่ือ กระจายโอกาสทางการศึกษาสําหรับกลุมเปาหมายตา งๆ ใหมีทางเลือกในการเรียนรูที่หลากหลายและ มีคณุ ภาพ สามารถพัฒนาตนเองใหรูเทาทันส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เชน รายการ พฒั นาอาชีพเพ่ือการมีงานทา รายการติวเขม เติมเตม็ ความรู ฯลฯ เผยแพรทางสถานีวิทยศุ ึกษา สถานี วิทยุโทรทศั นเ พอื่ การศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร (ETV)และทางอนิ เทอรเ น็ต 3.2 พัฒนาชองทางการเผยแพรการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยผานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารแบบออนไลน เพ่ือสงเสริมใหครู กศน. นํา เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมาใชในการสรางกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษา และสถานีโทรทัศนเพื่อการศึกษาเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ การผลิต และการออกอากาศใหกลุมเปาหมายสามารถใชเปนชองทางการเรียนรูที่มีคุณภาพไดอยาง ตอเน่ืองตลอดชีวิต โดยขยายเครือขายการรับฟงใหสามารถรับฟงไดทุกท่ี ทุกเวลา ครอบคลุมพ้ืนท่ีท่ัว ประเทศ และเพ่ิมชองทางใหสามารถรับชมรายการโทรทัศนไดท ั้งระบบ Ku - Band , C - Band และ ทางอินเทอรเน็ต พรอมท่ีจะรองรับการพัฒนาเปนสถานีวิทยุโทรทัศนเพื่อการศึกษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการใหบริการสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาใหไดหลายชองทางท้งั ทาง อินเทอรเน็ตและรูปแบบอ่ืน ๆ เชน Application บนโทรศัพทเคลื่อนท่ี และ Tablet, DVD, CD, VCD และ MP3 เปนตนเพ่ือใหกลุมเปาหมายสามารถเลือกใชบริการเพื่อเขาถึงโอกาสทางการศึกษา และการเรียนรูไดตามความตองการ 3.5 สํารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลดานสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอยางตอเน่ือง และนําผลมาใชในการพัฒนางานใหมีความถูกตอง ทันสมัยและสามารถสงเสริมการศึกษาและการ เรยี นรูตลอดชวี ิตของประชาชนไดอยางแทจรงิ 4. ดานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดําริ หรอื โครงการอนั เกี่ยวเนือ่ งจากราชวงศ 4.1 สงเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ หรือ โครงการอันเกย่ี วเน่อื งจากราชวงศ 4.2 จัดทําฐานขอมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน. ท่ีสนองงานโครงการอัน เน่ืองมาจากพระราชดําริ หรือโครงการอันเก่ียวเนื่องจากราชวงศ ที่สามารถนาไปใชในการวางแผน การตดิ ตามประเมินผลและการพัฒนางานไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพ 4.3 สงเสริมการสรางเครือขายการดําเนินงานเพ่ือสนับสนุนโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดําริเพอ่ื ใหเกิดความเขม แข็งในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

13 4.4 พฒั นาศูนยก ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แมฟ าหลวง” ใหมีความพรอมในการ จัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามบทบาทหนาทีท่ กี่ ําหนดไวอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ 4.5 จัดและสงเสริมการศึกษาตลอดชีวิตใหสอดคลองกับวิถีชีวิตของประชาชนบน พน้ื ท่สี งู ถิน่ ทรุ กันดาร และพืน้ ทชี่ ายขอบ 5. ดานการศกึ ษาในจงั หวัดชายแดนภาคใต พนื้ ทเ่ี ขตเศรษฐกิจพเิ ศษ และพืน้ ทบี่ ริเวณชายแดน 5.1 พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในจังหวัด ชายแดนภาคใต 1) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมสงเสริมการศึกษาและการเรียนรูท่ีตอบสนอง ปญหาและ ความตองการของกลุมเปาหมายรวมท้ังอตั ลกั ษณและความเปน พหวุ ฒั นธรรมของพ้นื ที่ 2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอยางเขมขนและ ตอ เน่ืองเพ่ือใหผเู รียนสามารถนาํ ความรูท่ีไดรับไปใชป ระโยชนไดจริง 3) ใหหนวยงานและสถานศึกษาจัดใหมีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแกบุคลากร และ นกั ศกึ ษา กศน. ตลอดจนผูม าใชบริการอยา งท่วั ถงึ 5.2 พฒั นาการจดั การศกึ ษาแบบบูรณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ 1) ประสานความรวมมือกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของในการจัดทาแผนการศึกษาตาม ยทุ ธศาสตรและบรบิ ทของแตล ะจังหวดั ในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พิเศษ 2) จัดทําหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นท่ี โดยเนนสาขาท่ีเปนความตองการของ ตลาด ใหเกิดการพัฒนาอาชพี ไดต รงตามความตองการของพื้นที่ 5.3 จัดการศึกษาเพ่ือความมั่นคงชายแดนของศูนยฝกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณ ชายแดน (ศฝช.) 1) พัฒนาศูนยฝกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน ใหเปนศูนยฝกอาชีพ ชุมชนตนแบบดานเกษตรกรรม เปนศูนยสาธิตการประกอบอาชีพ ศูนยการเรียนรูตนแบบการจัด กิจกรรมตามแนวพระราชดําริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สําหรับประชาชนตามแนวชายแดนดวย วธิ กี ารเรยี นรูท ห่ี ลากหลาย 2) มุงจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพ โดยใชวิธีการหลากหลาย ใชรูปแบบเชิงรุกเพ่ือ การเขาถึงกลุมเปาหมาย เชน การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความรวมมือกับเครือขาย การจัด อบรมแกนนาดานอาชีพที่เนนเรื่องเกษตรธรรมชาติท่ีสอดคลองกับบริบทของชุมชนชายแดน ใหแก ประชาชนตามแนวชายแดน 6. ดา นบุคลากร ระบบการบริหารจดั การ และการมีสว นรว มของทุกภาคสวน 6.1 การพัฒนาบคุ ลากร 1) พัฒนาบุคลากรทกุ ระดับ ทกุ ประเภทใหมสี มรรถนะสูงขึ้นอยางตอ เน่ือง ท้งั กอ น และระหวางการดารงตําแหนงเพ่ือใหมีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบริหาร จัดการการดําเนินงานของหนวยงานและสถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมท้ังสงเสริมให บุคลากรในสังกัดพัฒนาตนเองเพื่อเล่ือนตําแหนงหรือเล่ือนวิทยฐานะโดยเนนการประเมินวิทยฐานะ เชงิ ประจักษ

14 2) พัฒนาศึกษานิเทศก กศน. ใหมีสมรรถนะที่จาเปนครบถวน มีความเปนมืออาชีพ สามารถปฏบิ ัตกิ ารนิเทศไดอ ยางมีศักยภาพ เพื่อรว มยกระดับคุณภาพการจดั การศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยในสถานศึกษา กศน. 3) พัฒนาหัวหนา กศน. ตําบล/แขวง ใหมีสมรรถนะสูงขึ้นในการบริหารจัดการ กศน. ตําบล/แขวงและการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนการเปนนักจัดการ ความรูและผูอานวยความสะดวกในการเรียนรูเพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพอยาง แทจ รงิ 4) พฒั นาครู กศน. และผทู ่เี กีย่ วขอ งใหสามารถจัดรปู แบบการเรยี นรูไดอยา งมีคณุ ภาพ โดยสง เสรมิ ใหมีความรคู วามสามารถในการจัดทาแผนการสอน การจดั กระบวนการเรียนรู การวดั และ ประเมนิ ผลและการวจิ ัยเบ้อื งตน 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ท่ีรับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู ใหมี ความรูความสามารถและมีความเปนมืออาชีพในการจัดบริการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตของ ประชาชน 6) สงเสรมิ และพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ กศน. ตําบล/แขวง เพอ่ื การมีสว นรวมใน การบรหิ ารการดําเนินงานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน. ตาํ บล/แขวง อยา งมปี ระสทิ ธิภาพ 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ใหสามารถทาหนาที่เปนผูจัด สงเสริมและสนับสนุนการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสรางสัมพันธระหวางบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือขายทั้งใน และตางประเทศในทุกระดับ โดยจัดใหมีกิจกรรมการพัฒนาสมรรถนะ และเสริมสรางความสัมพันธ ภาพและเพม่ิ ประสิทธภิ าพในการทํางานรวมกันในรูปแบบทีห่ ลากหลายอยางตอเนื่อง 6.2 การพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานและอัตรากาํ ลัง 1) จัดทําแผนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและดําเนินการปรับปรุงสถานที่ และวัสดุ อุปกรณ ใหม ีความพรอมในการจดั การศึกษาและการเรียนรู 2) บรหิ ารอตั รากําลงั ที่มีอยทู ้ังในสวนที่เปนขา ราชการ พนักงานราชการ และลูกจาง ให เกิดประสทิ ธิภาพสงู สดุ ในการปฏิบัตงิ าน 3) แสวงหาภาคเี ครอื ขา ยในทองถิ่นเพ่ือการมสี วนรวมในการดาํ เนนิ กจิ กรรม การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งระดมทรัพยากรเพื่อนามาใชในการปรับปรุงโครงสราง พ้นื ฐานใหมีความพรอมสําหรบั ดาํ เนินกิจกรรมสงเสรมิ การเรยี นรขู องประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ 1) พัฒนาระบบฐานขอมูลใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเช่ือมโยงกันท่ัว ประเทศอยางเปนระบบเพอ่ื ใหห นว ยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนาไปใชเปนเคร่ืองมือสําคัญ ในการบริหาร การวางแผนการปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมทั้งจัดบริการการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอยางมปี ระสทิ ธิภาพ 2) เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากับ ควบคุม และเรงรดั การเบกิ จา ยงบประมาณใหเปน ตามเปาหมายที่กําหนดไว

15 3) พัฒนาระบบฐานขอมูลรวมของนักศึกษา กศน. ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันทั่วประเทศ สามารถสืบคนและสอบทานไดทันความตองการเพ่ือประโยชนในการจัด การศึกษาใหก ับผเู รยี นและการบริหารจดั การอยางมีประสิทธภิ าพ 4) สงเสริมใหมีการจัดการความรูในหนวยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมท้ัง การศึกษาวิจัยเพ่ือสามารถนามาใชในการพัฒนาประสิทธิภาพการดําเนินงานท่ีสอดคลองกับความ ตองการของประชาชนและชุมชนพรอมทั้งพัฒนาขีดความสามารถเชิงการแขงขันของหนวยงานและ สถานศึกษา 5) สรางความรวมมือของทุกภาคสวนทั้งในประเทศและตางประเทศ ในการพัฒนาและ สงเสริมการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย และการเรียนรตู ลอดชวี ติ 6.4 การกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผล 1) สรางกลไกการกากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหเช่ือมโยงกับหนวยงาน สถานศึกษา และภาคี เครอื ขายทง้ั ระบบ 2) ใหหนวยงานและสถานศึกษาที่เกี่ยวของทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกํากับ ติดตามและรายงานผลการนํานโยบายสูการปฏิบัติ ใหสามารถตอบสนองการดําเนินงานตามนโยบาย ในแตล ะเร่อื งไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสื่ออื่น ๆ ท่ีเหมาะสม เพ่ือ การกาํ กบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลอยา งมีประสทิ ธิภาพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติ ราชการ ประจําปของหนวยงาน สถานศึกษา เพ่ือการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคํารับรองการปฏิบัติ ราชการประจําป ของสํานักงาน กศน. ใหดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ เปนไปตามเกณฑ วิธีการ และระยะเวลาทีก่ าํ หนด 5) ใหม ีการเช่ือมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทัง้ หนว ยงานภายในและภายนอก องคกร ต้งั แตส วนกลาง ภมู ิภาค กลมุ จังหวดั จังหวดั อาํ เภอ/เขต และตําบล/แขวง เพ่ือความเปน เอกภาพในการใชข อ มลู และการพฒั นางานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 2. แนวทาง/กลยทุ ธการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ของ กศน.อาํ เภอเมืองชลบุรี ปรชั ญา “คิดเปน ทาํ เปน เนน ICT” วิสยั ทศั น “จัดการศึกษาตลอดชวี ติ ผูกมติ รกบั เครือขา ย กระจายความรูส ชู ุมชน ทกุ ทที่ ุกเวลาดว ย ICT มีอาชพี และแขง ขนั ในประชาคมอาเซียนอยา งยงั่ ยนื \" อัตลักษณ “กาวไปในยุคดิจิทลั ”

16 เอกลกั ษณ “องคกรออนไลน” พนั ธกจิ 1. จดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ที่มคี ุณภาพ เพื่อยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรยี นรูข องประชาชนทุกกลุมเปาหมายใหเหมาะสมทุกชวงวัย และพรอมรับการ เปล่ยี นแปลงบริบททางสังคม และสรางสังคมแหง การเรียนรตู ลอดชวี ติ 2. สงเสริม สนบั สนุน และประสานภาคเี ครือขา ย ในการมสี วนรวมจดั การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย และการเรยี นรูตลอดชีวติ รวมทั้งการดําเนินกิจกรรมของศูนยก ารเรยี นและแหลง การเรียนรอู ื่น ในรูปแบบตางๆ 3. สงเสริมและพัฒนาการนําเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยดี จิ ิทลั มาใชใหเ กดิ ประสิทธภิ าพในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยใหกับประชาชนอยางทวั่ ถึง 4. พฒั นาหลกั สูตร รูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรู สอื่ และนวตั กรรม การวดั และประเมนิ ผล ในทกุ รปู แบบใหส อดคลอ งกบั บรบิ ทในปจ จุบัน 5. พฒั นาบคุ ลากรและระบบการบริหารจดั การใหมีประสทิ ธภิ าพ เพอื่ มุงจัดการศึกษาและ การเรยี นรทู ี่มีคุณภาพ โดยยึดหลกั ธรรมาภบิ าล เปา ประสงค กกกกกกก 1. ประชาชนผูดอ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา รวมทง้ั ประชาชนท่ัวไปไดรบั โอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน การศึกษาตอ เนื่อง และการศึกษาตามอธั ยาศัยท่ีมคี ุณภาพ อยา งเทาเทยี มและทวั่ ถงึ เปน ไปตามสภาพ ปญหา และความ ตองการของแตล ะกลมุ เปาหมาย 2. ประชาชนไดรบั การยกระดับการศึกษา สรางเสรมิ และปลกู ฝงคณุ ธรรม จริยธรรม และ ความเปนพลเมืองอนั นาํ ไปสูก ารยกระดบั คุณภาพชวี ติ และเสรมิ สรางความเขมแขง็ ใหชุมชน เพอ่ื พัฒนาไปสคู วามมน่ั คงและยงั่ ยนื ทางดา นเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร และส่งิ แวดลอม กกกกกกก3. ประชาชนไดรับโอกาสในการเรยี นรูแ ละมีเจตคตทิ างวิทยาศาสตรและเทคโนโลยที ี่ เหมาะสมสามารถคิด วิเคราะห และประยกุ ตใชในชีวิตประจาํ วนั รวมทงั้ แกป ญ หาและพัฒนาคุณภาพ ชวี ติ ไดอ ยางสรา งสรรค กกกกกกก4. ประชาชนไดร บั การสรางและสงเสรมิ ใหม ีนิสัยรกั การอา นเพ่ือการแสวงหาความรดู วย ตนเอง กกกกกกก5. ชุมชนและภาคเี ครอื ขา ยทุกภาคสว น รว มจดั สงเสรมิ และสนบั สนุนการดาํ เนนิ งาน การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั รวมทั้งการขบั เคลอื่ นกจิ กรรมการเรียนรขู องชุมชน กกกกกกก6. กศน.อําเภอเมืองชลบุรี ตองพฒั นา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดจิ ิทัล มาใชใน การยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรแู ละเพ่มิ โอกาสการเรยี นรูใ หกบั ประชาชน กกกกกกก7. กศน.อําเภอเมืองชลบุรี ตอ งพฒั นาส่ือและการจดั กระบวนการเรียนรเู พ่ือแกปญ หาและ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ท่ตี อบสนองกบั การเปล่ียนแปลงบรบิ ทดานเศรษฐกจิ สังคม การเมอื ง วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตร และส่ิงแวดลอ ม รวมทงั้ ตามความตองการของประชาชน และชุมชนในรปู แบบท่ี หลากหลาย

17 กกกกกกก8. บุคลากร กศน.อําเภอเมืองชลบรุ ี ตองไดรบั การพฒั นาเพ่ือเพมิ่ สมรรถนะในการ ปฏิบตั งิ านการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อยา งมปี ระสทิ ธิภาพ ก9. กศน.อําเภอเมืองชลบุรี ตองมีระบบการบริหารจัดการตามหลกั ธรรมาภบิ าล ตัวชี้วดั ตัวช้ีวดั เชิงปริมาณ กกกกกกก1.จํานวนผเู รยี นการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐานท่ีไดร บั การสนับสนนุ คา ใชจา ยตามสิทธทิ ี่กําหนดไว กกกกกกก2. จํานวนกลมุ เปาหมายตา งๆ ท่ีเขา รวมกจิ กรรมการเรียนรู/ไดรับบรกิ ารกิจกรรมการศึกษา ตอเนอ่ื ง และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยทส่ี อดคลองกับสภาพ ปญ หา และความตอ งการ กกกกกกก 3. จํานวนผรู บั บรกิ ารในพื้นทีเ่ ปาหมายไดร ับการสง เสริมดานการรหู นังสือและการพัฒนา ทักษะชวี ิต กกกกกกก 4. รอยละการอา นของคนไทยเพ่ิมขนึ้ กกกกกกก 5. จาํ นวนนักศึกษาท่ีไดร ับบรกิ ารตวิ เขม เตมิ เตม็ ความรู กกกกกกก 6. จํานวนแหลง เรยี นรใู นระดับตําบลทม่ี คี วามพรอมในการใหบรกิ ารการศกึ ษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กกกกกก 7. จํานวนประชาชนไดร บั การอบรมตามหลักสูตรภาษาองั กฤษเพ่ือการสอ่ื สารดา นอาชีพ (ระยะสัน้ ) สาํ หรับประชาชนในศนู ยอาเซียนศึกษา กศน. 8. จํานวน นกั ศึกษาและกลุมเปา หมายเขาถงึ บรกิ ารความรนู อกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั ผานชองทางส่ือเทคโนโลยที างการศกึ ษา และเทคโนโลยกี ารสอื่ สาร 9. จํานวนผูผานการอบรมตามหลักสูตรท่ีกําหนดของโครงการสรางเครือขายดิจิทัลชุมชน ระดบั ตาํ บล 10. จํานวนบุคลากรของกศน.อาํ เภอเมืองชลบุรีไดร ับการพัฒนาเพ่ือเพ่มิ สมรรถนะใน การปฏิบตั ิงาน การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 11. กศน.อาํ เภอเมืองชลบุรมี รี ะบบประกันคุณภาพภายในและมีการจัดทํารายงานการประเมินตนเอง ตวั ชี้วัดเชิงคุณภาพ กกกกกกกก1. รอยละท่ีเพิ่มข้ึนของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอก ระบบโรงเรียน (N-NET) กกกกกกกก2. รอยละของกําลังแรงงานทส่ี ําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน หรือเทยี บเทา ไดร ับ การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทยี บเทา กกกกกกกก3. รอยละของนักศกึ ษาที่มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนในวิชาที่ไดร ับบริการติวเขมเติมเต็มความรู เพิ่มสูงข้นึ กกกกกกกก4. รอยละผจู บหลักสูตร/กจิ กรรมการศึกษานอกระบบทสี่ ามารถนําความรูความเขา ใจไปใชไ ด ตามจุดมุงหมายของหลักสูตร/กิจกรรมท่ีกําหนด กกกกกกกก5. รอยละของผูเขารว มกจิ กรรมที่สามารถอานออกเขยี นไดและคิดเลขเปน เปนไปตาม จดุ มุงหมายของกิจกรรม

18 กกกกกกกก6. รอยละของประชาชนกลุมเปา หมายท่ีลงทะเบียนเรยี นท่ีมีรายไดเ พิ่มข้ึนจากการพัฒนา อาชีพตามโครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน กกกกกกกก7. รอยละของประชาชนกลุมเปาหมายท่ผี านการอบรมตามหลักสูตรภาษาอังกฤษเพื่อการ สอื่ สารดานอาชีพ (ระยะส้ัน) มีความรูในการส่ือสารภาษาอังกฤษ และสามารถนําไปประยุกตใชในการ ดําเนินชวี ติ ได กกกกกกกก8. รอยละของ กศน.ตําบล ทส่ี ามารถดําเนนิ งานโครงการ/กิจกรรมตามบทบาทภารกิจท่ี รบั ผิดชอบไดส าํ เร็จตามเปาหมายที่กําหนดไวอยางโปรงใส ตรวจสอบได โดยใชทรัพยากรอยางคุมคา/ตาม แผนที่กําหนดไว กลยุทธ 1. มี กศน.ตําบลเปน หลักแหลง 2. มคี อมฯ/อุปกรณครบทุก กศน.ตาํ บล 3. ใหทุกคนมีความรู ICT 4. มรี ะบบจัดเกบ็ /รายงานผานออนไลน 5. ภายใน1-2 ปต องเปน 1 ใน กศน.จังหวดั 6. ภายใน 3 ปตองเปน 1-5 ของสาํ นักงาน กศน. กรอบดา นการกจิ กรรมการศกึ ษาเศรษฐกิจพอเพียง จัดการศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใชหลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู แบบ บูรณาการในรูปแบบของการฝกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู การจัด กิจกรรม จิตอาสา การสรางชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ท่ีเหมาะสมกับกลุมเปาหมาย และ บริบทของชุมชน แตละพื้นท่ี โดยจัดกระบวนการใหบุคคลรวมกลุมเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรูรวมกัน สรางกระบวนการจิตสาธารณะ การสรางจิตสํานึกความเปนประชาธิปไตย ความเปนพลเมืองดี การ สงเสริมคุณธรรม จริยธรรม การบําเพ็ญ ประโยชนในชุมชน การบริหารจัดการน้ํา การรับมือกับสา ธารณภัย การอนุรักษพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม ชวยเหลือซึ่งกันและกันในการ พัฒนาสงั คม การเพาะเหด็ นางฟา ขั้นตอนท่ี 1 การเตรียมโรงเรือนสาํ หรบั เพาะเห็ดนางฟา

19 รูปภาพท่ี 1 การเพาะเหด็ นางฟา 1. การเตรยี มโรงเรอื นสาํ หรับเพาะเห็ดนางฟา สําหรับโรงเรือนเพาะเหด็ นางฟา นน้ั ควรมขี นาด 2 x 15 x 2 (กวาง x ยาว x สูง) เมตร ซึ่งจะวางกอนเช้อื เห็ดนางรม และเห็ดนางฟา ไดป ระมาณ 4,000 กอน โรงเรือนควรเปนแบบท่สี รา ง งา ย ลงทุนนอย และวัสดทุ ี่จะนาํ มาสรา งเปนโรงเรอื นน้นั จะตองหางายท่มี ีอยูในทองถนิ่ เปนวสั ดทุ ่ีมา จากธรรมชาติ เชน ฟาง, หญา แฝก, ไมไ ผ เปน ตน สาํ หรบั การสรา งโรงเรอื นใหเ หมาะสมน้ันควรสราง ในที่เยน็ ช้นื และสะอาดปราศจากศตั รูของเห็ดทจี่ ะเขา มารบกวน หลังคามงุ จากหรือแฝก แลวคลุมทับ ดว ยสะแลนอีก 1 ชิ้น การคลมุ หลงั คาขนึ้ อยูก บั ชนิดของเห็ดดวย เพอื่ ปองกนั ลม ลมแรง ลมคอย ลม หนาว ลมแหง แลง สภาพลม สภาพอากาศ มผี ลกระทบตอการออกดอกของเห็ดไดเชน เดียวกัน ปด ประตดู วยกระสอบปา นหรือแผน ยาง ปพู นื้ ดว ยทราย เพ่ือเก็บความชน้ื ทศิ ทางลม กอมีสว นสาํ คัญใน การโรงเพาะเหด็ ตอ งดูทศิ ทางของลมเหนือลมใต เพื่อปอ งกนั การพดั พาเชือ้ โรค ทจี่ ะมผี ลตอกอนเหด็ และการออกดอกของเหด็ รปู ภาพที่ 2 การเตรียมโรงเรือนสําหรบั เพาะเหด็ นางฟา การสรางโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟา ขนาด 2 x 15 x 2 มที ง้ั หมด 4 ดานดว ยกนั ซึ่งแตล ะดานสามารถ เก็บกอนเชอื้ เหด็ นางรม และเหด็ นางฟา ไดถ ึง 1,000 กอน ซ่งึ การทาํ โรงเรือนในลกั ษณะน้ี ใชพ้ืนทีร่ วม แลวแคป ระมาณ 60 ตารางเมตรเทา นัน้ วัสดุในการทํางานก็ใชท ่มี ีอยตู ามธรรมชาติ เชน ไมไ ผ ไมย ูคา หรอื อน่ื ๆ ตัวเสาก็อาจจะใชไมท ม่ี ีขนาดใหญเพื่อความแขง็ แรงของโรงเรือน หลงั คากใ็ ชหญาแฝก ซ่งึ

20 เปน วัสดทุ ีเ่ หมาะกบั การทําโรงเรอื นเปน อยา งดี เนื่องจากสามารถกักเก็บความรอนชื้นไดดี เปน ภมู ิอากาศที่เห็ดนางรม และเห็ดนางฟา ชอบ ขนั้ ตอนท่ี 2 การทํากอนเชื้อเพาะเห็ดนางฟา รูปภาพท่ี 3 การทํากอนเช้ือเพาะเห็ดนางฟา วธิ ีการทํากอนเช้อื เพาะเหด็ นางรม และเห็ดนางฟา การทาํ กอนเช้ือเพาะเหด็ นางฟานน้ั จําเปน ตองหาวสั ดุอุปกรณท ีต่ อ งเตรียมดังนี้ ไดแกขี้ เล่อื ยยางพาราหรือขีเ้ ล่ือยไมเนอ้ื ออน แตใ นทางปฏบิ ตั ินน้ั ขี้เล่อื ยยางพาราจะใหผ ลดที ส่ี ุด จากนน้ั ก็หา สวนผสมตา งๆเพื่อใหไดคณุ คาทางอาหารมากยิง่ ข้ึน และสตู รการทํากอ นเชื้อเหด็ นางรม และเห็ด นางฟามสี วนผสมหลัก ๆดังนี้ ขี้เลอ่ื ยยางพาราแหง สนิท 100 กิโลกรมั ราํ ละเอยี ด 6 – 8 กิโลกรมั ขา วโพดปน 3 – 5 กิโลกรัม ปนู ยิบซัม 1 กโิ ลกรมั หนิ ปูนหรอื ผงชอลก 1 กิโลกรัม ดีเกลือ 0.2 กโิ ลกรัม นาํ้ 80 กิโลกรมั EM 1 ลติ ร เมือ่ หาสวนผสมมาครบแลว กท็ าํ การตากและกองข้ีเล่ือยยางพาราไวป ระมาณ 7 วัน จากนัน้ คอยทําการผสมโดยการเติมน้ําลงประมาณ 70 เปอรเ ซนต ทดสอบโดยการกําสว นผสมถา มี นา้ํ ซึมตามงามมือแสดงวาการผสมนผ้ี สมนาํ้ มากเกินไปแตถาเม่ือบบี แลวข้เี ลอ่ื ยแตกเปน 3 กอนแสดง วา การผสมใชไ ดเ รียกวาพอดแี ลวแตถ าวา ถา กาํ แลว แบมอื ออกแลว ข้เี ลื่อยจับตัวไมเ ปน กอนแสดงวา เติมนํ้านอยจนเกินไป เมอ่ื ผสมเขา กันไดที่แลวก็ทําการกรอกใสถุงเพาะเหด็ ใสใหไดนํ้าหนักประมาณ

21 800 – 900 กรัม หลังจากนั้นก็ทําการรวบปากถุงกระทงุ กับพ้ืนใหแนนพอประมาณหลงั จากน้ันกท็ ํา การใสคอขวด ขั้นตอนท่ี 3 การหยอดเช้ือและบมเช้อื เหด็ นางฟา การหยอดเชื้อและบมเช้ือเห็ดนางฟา เมื่อทํากอนเชอื้ เสรจ็ แลว เราก็จะนาํ กอ นเชื้อทีไ่ ดท ําการหยอดเช้อื และบม เชื้อเหด็ นางรม และเหด็ นางฟา ตามลําดับ โดยกอนอ่นื กอนเชื้อที่ไดนัน้ เราก็จะนาํ มาทําการนงึ่ เพื่อฆา เช้ือ ถามหี มอนง่ึ ความดนั อยูแลว กใ็ หน่งึ ท่ีความดนั 25 ปอนดตอ ตารางนว้ิ โดยทําการน่งึ ทีร่ ะยะเวลาประมาณ 1 – 2 ชวั่ โมง ถาไมมีหมอน่งึ ความดันอาจใชหมอ น่ึงจากถังนาํ้ มนั 200 ลิตร แทนก็ได แตจ ะตองทาํ การนง่ึ ประมาณ 3 ครั้ง โดยทําการนง่ึ ท่ีอุณหภูมิ 100 อาศาเซลเซียส นงึ่ ท่ีระยะเวลาประมาณ 2-3 ชว่ั โมง และทาํ การน่ึงท้งั หมด 3 ครั้ง เม่อื ผา นข้นั ตอนการนึ่งฆา เชื้อเรียบรอยแลว เราก็จะทาํ การหยอดเชือ้ เหด็ ลงสูกอ นเช้อื เช้ือเห็ดจากเมล็ดขา วฟา งควรหยอดเชื้อลงประมาณ 20 – 25 เมล็ด เม่ือหยอดเช้ือ ลงสกู อ นเชือ้ เหด็ เสร็จแลว ใหทําการปดปากถงุ กอนเชอ้ื ใหเรียบรอย หลงั จากทาํ การหยอดเชื้อลงใน กอ นเชื้อเสร็จ เราก็จะทําการบม เชอื้ เห็ดในอกี ข้นั ตอนหน่ึง โดยการบม เชอื้ นั้นตองนาํ กอ นไปบม ไวที่ ระยะเวลาประมาณ 20-25 วัน กรรมวิธกี ารบมก็ไมยงุ ยากอะไร เพยี งแตตองเก็บใหเ ปน ระเบียบ ไม ถกู แดด ไมถ ูกฝน ลมไมโกรกไมม แี มลง ไมมีหนู อากาศถายเทไดส ะดวก ขัน้ ตอนท่ี 4 การเกบ็ เกย่ี วผลผลติ เหด็ นางฟา การเกบ็ เกยี่ วผลผลติ เหด็ นางรม และเห็ดนางฟา หลังจากทไ่ี ดเราทําการบม เช้ือเห็ดนางรม และเห็ดนางฟาเรียบรอยแลว กเ็ ปน ชว ง ระยะเวลาของการเปดดอกและทําการเกบ็ เก่ียวผลผลติ เหด็ นางรม และเหด็ นางฟา จะออกดอกเม่ือมี ความช้นื สงู พออากาศไมร อนมาก เม่ือถูกเหน่ียวนาํ ดว ยอากาศเยน็ ตอนกลางคนื กจ็ ะออกดอกไดด ี เทคนคิ ท่ที ําใหออกดอกสมา่ํ เสมอและดอกใหญสามารถทําไดด งั น้ี เมื่อเกบ็ ดอกเสรจ็ ตอ งทาํ ความ สะอาดหนากอนเช้อื โดยเข่ียเศษเห็ดออกใหห มด งดใหนาํ้ สัก 3 วัน เพอื่ ใหเชื้อฟกตัวแลวกก็ ลบั มาให น้ําอกี ตามปกติเหด็ กจ็ ะเกิดเยอะเหมือนเดิมหรอื เม่อื เก็บดอกเหด็ เสรจ็ ก็ทําความสะอาดหนากอ นเชื้อ เหมือนเดมิ แลวรดั ปากถุงไมใหอ ากาศเขา ทง้ิ ระยะเวลาประมาณ 2 – 3 วัน ใหนํา้ ปกตหิ ลังจากนั้นก็ เปด ปากถุงกจ็ ะเกดิ ดอกทส่ี มํา่ เสมอเปน การเหนี่ยวนาํ ใหอ อกดอกพรอมกัน เมอื่ เห็ดออกดอกและบาน จนไดข นาดท่ตี อ งการแลว ใหเกบ็ ดอกโดยจับท่โี คนดอกท้ังชอ โยกซายขวา-บนลาง แลวดึงออกจากถุง เห็ด ระวังอยา ใหป ากถุงเหด็ บาน ถาดอกเหน็ โคนขาดติดอยูใหแ คะออกท้ิงใหสะอาดเพ่ือปองกนั การ เนาเสยี เปน สาเหตุทําใหเกิดหนอนจากการวางไขข องแมลงได การดลู ักษณะดอกเหด็ ทค่ี วรเก็บ คอื ดอกไมแ ก หรือออนจนเกนิ ไป ดทู ี่ขอบดอกยงั งุมอยคู ือดอกทีเ่ หมาะแกการเก็บเก่ียว ถา ขอบยกขึ้น แสดงวาแกแลว ดอกเห็ดท่ีแกจดั และออกสปอรเ ปน ผงขาวดานหลังดอกเห็ด ตอ งรีบเก็บออก เพราะ สปอรจะเปนตวั ชกั นาํ ใหแมลงเขา มาในโรงเรือนเพาะเหด็ นางรม และเหด็ นางฟาได ขัน้ ตอนที่ 5 ปญ หาทพี่ บในการเพาะเห็ดนางฟา

22 ปญหาท่ีพบในการเพาะเหด็ นางรม และเห็ดนางฟา เราสามารถวิเคราะหปญหาในการเพาะเหด็ นางรม และเหด็ นางฟาออกมาได 7 ขอหลัก ๆ ดงั น้ี 1. เชื้อในถุงไมเ ดนิ สาเหตุ ขณะหยอดเชอ้ื ถงุ กอนเชอ้ื รอนเกนิ เช้ือออนแอเกินไป และลมื หยอดเชื้อ วธิ แี กไข ตั้งกอ นเช้ือใหเย็นอยางนอ ย 24 ชั่งโมง คดั เช้อื ออนแอทิง้ กอ นหยอดเชอื้ ขณะหยอดเช้อื ตอง มีสติ และสมาธิแนนแน 2. หนอนแมลงหว่กี นิ เสนใย สาเหตุ แมลงหวี่ไขไวท ี่ฝาจุกหรือสําลี วิธีแกไ ข ตรวจสอบสขุ ภาพอนามัยของโรงเรือน จุก สาํ ลี ตอ งนงึ่ ฆาเชอื้ สําลตี องอุดใหแ นน ปด กระดาษใหส นทิ อยาใหม ีชอง 3. เชอ้ื เดิน แตห ยุด มีกล่นิ บดู มนี าํ้ เมอื ก มสี เี หลอื ง เขยี ว หรือสีดาํ สาเหตุ มรี าหรือแบคทเี รยี ปนเปอน น่ึงฆา เชื้อไมห มด นึ่งฆาเชอ้ื ดีแตกระบวนการลดความรอนและเปด หมอ นง่ึ ไมถ ูกตอง เชอ้ื เหด็ ท่ีใชไ มมีคณุ ภาพ วธิ กี ารหยอดเชอื้ ไมด ี บมถงุ กอนเช้อื หนาแนน เกนิ ไปทําให การระบายอากาศไมดี มีคารบอนไดออกไซคมาก วธิ ีแกไ ข ใหท บทวนสาเหตหุ ลกั ของการปนเปอน ตรวจกระบวนการน่งึ เร่อื ง เวลา อณุ หภมู ิ จํานวน กอน ไลอากาศในหมอ น่งึ คอยๆลดความรอ น อยาเปด หมอนึ่งอยา รวดเรว็ ตรวจดูจกุ สําลวี า แนน หรอื ไม ใชเช้ือเห็ดทบ่ี ริสุทธิ์ อบรมวิธีการปลอดเช้อื และปรับปรุงวธิ ีทํางาน หองบมเชื้อควรมีอณุ หภูมิ 25 – 30 องศาเซลเซียส ปรบั ปรงุ เร่ืองสุขอนามัยฟารม 4. เชือ้ เดนิ เตม็ กอน แตไมออกดอก สาเหตุ เช้อื เปนหมัน เชื้อไมดี สภาพแวดลอ มในโรงเรือนไมเหมาะสม มีสง่ิ ปนเปอน เชน รา ไร แบคทีเรีย หนอน และมีการใชสารเคมมี ากเกนิ ไป วิธแี กไ ข จัดหาเชอ้ื ใหม จัดสภาพในโรงเรือนใหเหมาะสม จัดสขุ อนามัยฟารม แสง อณุ หภมู ิ ความช้ืน การถา ยเทอากาศ และไมควรใชสารเคมกี าํ จดั แมลง 5. เกิดดอกเห็ดแตกา นยาวหมวกดอกไมแ ผออก สาเหตุ แสงไมเ พยี งพอและมีคารบ อนไดออกไซคม ากเกนิ ไป วธิ แี กไข ปรับแสงใหมากขน้ึ จดั ใหอ ากาศถายเทไดด ีขึ้น 6. เกิดหนอ มากแตด อกกลับเตบิ โตนอย สาเหตุ เช้อื ออนแอ เงื่อนไขเหมาะแกก ารเกิดหนอ ไมเหมาะแกการพฒั นาของดอก ขาดออกซิเจนและ แสง อาหารในกอ นเชื้อไมเ พียงพอหรือไมมีคุณภาพ เช้ือท่ีใชไมดี มีคณุ ภาพตํ่า มจี ุลนิ ทรยี ตางๆรบกวน การถายเทอากาศไมดี ความช้ืนสูงเกนิ ไปและรดนํ้ามากเกนิ ไป เกดิ จากการใชสารเคมใี นชวงเปด ดอก การแกไข เปล่ยี นเช้ือใหม ปรับเงือ่ นไขของการเกดิ ดอก เพ่ิมการถา ยเทอากาศ เพิ่มชองแสง ตรวจสอบคุณภาพของวัตถดุ ิบ ใชเชอ้ื ทมี่ อี ัตราการเดนิ เสนใยดี ปรับโรงเรอื นไมใหเหมาะกบั จลุ นิ ทรยี  เพมิ่ การถายเทอากาศ ลดความชน้ื ลง ควรเลิกใชส ารเคมใี นชวงเปดดอก 7. เกิดดอกเพยี งรุน เดยี วรุน ตอ ไปไมเ กดิ สาเหตุ อาหารในกอนเชื้อไมเ พยี งพอ เกิดการปนเปอน การจดั โรงเรอื นไมดี เชื้อไมดี การแกไข ปรับสตู รอาหารใหม จัดการเรือ่ งสุขอนามยั ฟารม ปรับเรื่องแสง อณุ หภมู ิ ความชนื้ ขดู ลอก

23 ผิวสวนทป่ี ากถงุ ออก ปรบั ปรุงวิธีการจัดการและเอาใจใสม ากข้ึน เปล่ียนเชือ้ ใหม # เพ่ิมเติม : เหด็ เปน พชื ท่ีมกี ารตอบสนองตอ สภาพแวดลอ มและสิง่ เรา ภายนอกอยา งรวดเรว็ ฉะน้นั ปญ หาที่พบถา ไดรับการแกไ ขทถี่ กู ตองและทันทวงที กจ็ ะทําใหเห็ดนางฟาเจริญเตบิ โตไดดขี ึ้น และ เปน เหด็ ที่มีคุณภาพ

24 บทที่ 3 วิธีการดาํ เนินงาน ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองชลบุรี ไดตระหนัก และจัดทําโครงการเรียนรูวิถีเศรษฐกิจพอเพียงนําสูความสุขของชีวิตอยางย่ังยืน เพื่อเรียนรูหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใหกับประชาชนท่ัวไป ตําบลนาปา อําเภอเมืองชลบุรี มีการใช ชีวิตประจําวันตามหลักการของความพอเพียง ความพอดี ใชชีวิตอยางรอบคอบ ไมประมาท ใช ทรัพยากรท่ีมีอยูอยางคุมคา และสามารถลดรายจาย เพิ่มรายไดภายในครัวเรือน และมีคุณภาพ ชีวติ ทดี่ ี โดยมขี น้ั ตอนดังนี้ 1. ประชมุ บคุ ลากร กศน.อําเภอเมืองชลบรุ ี 2. จัดต้ังคณะทาํ งาน/คณะอนุกรรมการและคณะทาํ งานเพ่ือดําเนนิ งาน 3. ประสานงาน/ประชาสัมพันธและเปดรบั สมัคร 4. ดําเนนิ งานตามแผน 5. วัดผล/ประเมินผล/สรปุ ผลและรายงาน 1. ประชุมปรกึ ษาหารือการจัดโครงการฯ กศน.อาํ เภอเมอื งชลบุรี กศน.ตาํ บลนาปา ไดวางแผนประชุมบคุ ลากรกรรมการ กศน.อําเภอเมืองชลบุรี เพ่ือหาแนวทางในการดําเนินงานและกําหนดวัตถปุ ระสงครวมกนั 2. แตงตั้งคณะทํางาน จดั ทาํ คาํ สัง่ แตงตง้ั คณะทํางานโครงการเพื่อมอบหมอบหมายหนา ทีใ่ นการทํางานให ชดั เจน เชน 2.1 คณะกรรมการท่ปี รึกษา/อํานวยการ มีหนาทีอ่ ํานวยความสะดวก และใหคาํ ปรึกษา แกไ ขปญหาทเ่ี กดิ ข้นึ 2.2 คณะกรรมการ กศน.ตําบลนาปา ในการจัดหาอปุ กรณ เตรยี มใชจดั โครงการฯ 2.3 คณะกรรมการฝายบันทึกภาพและประชาสัมพันธ มีหนาทบ่ี นั ทึกภาพกจิ กรรมตลอด โครงการ และประชาสมั พนั ธกิจกรรมใหส าธารณชนไดทราบ 2.4 คณะกรรมการฝา ยรบั ลงทะเบยี นและประเมนิ ผลหนา ทจ่ี ดั ทาํ หลักฐานการ ลงทะเบียนผเู ขารวมโครงการ และรวบรวมการประเมนิ ผล และรายงานผลการดําเนินการ 3. ประสานงาน/เครือขายทเี่ กีย่ วของ ประสานงานกับผเู ขารวมโครงการ วิทยากร และคณะครู เชน ประสานเรอื่ งสถานทใ่ี ช ทาํ กิจกรรม รปู แบบการจัดกิจกรรมโครงการ วัน เวลา สถานท่ี รายละเอยี ดการเขารว มกิจกรรม พรอ มทงั้ ประชาสมั พันธก ารจัดกจิ กรรม

25 4. ดําเนนิ การตามแผนงานโครงการ โครงการเรียนรวู ถิ ีเศรษฐกิจพอเพยี งนําสูค วามสุขของชวี ิตอยา งยั่งยนื ในวนั ที่ 7 ธันวาคม 2561 ณ บา นเลขท่ี 41/1 หมูท ี่ 7 ตําบลนาปา อาํ เภอเมืองชลบรุ ี จังหวัดชลบุรี จํานวน 10 คน โดยจดั กจิ กรรมโดยใชก ระบวนการกลุมและการอภิปราย 5. สรุปผลและรายงาน โครงการเรียนรวู ถิ ีเศรษฐกจิ พอเพียงนําสคู วามสขุ ของชวี ิตอยา งยั่งยนื ในวนั ที่ 7 ธันวาคม 2561 ณ บานเลขที่ 41/1 หมทู ี่ 7 ตาํ บลนาปา อาํ เภอเมืองชลบุรี จงั หวดั ชลบุรี โดย จดั กจิ กรรมโดยใชกระบวนการกลมุ และการอภปิ ราย จะนําแนวทางเรียนรูหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง มีการใชช ีวิตประจําวันตามหลักการของความพอเพยี ง ความพอดี ใชชีวติ อยางรอบคอบ ไม ประมาท ใชทรัพยากรทมี่ ีอยอู ยา งคมุ คา และสามารถลดรายจาย เพิม่ รายไดภ ายในครวั เรือน และมี คณุ ภาพชีวติ ทด่ี ี กศน.ตําบลนาปา ไดด ําเนนิ การตามขน้ั ตอนและไดรวบรวมขอ มลู จากแบบสาํ รวจสถิติท่ี ใชในการวเิ คราะห คือโดยกําหนดคา ลาํ ดับความสําคญั ของการประเมนิ ผลออกเปน 5 ระดับ ดงั น้ี มากทีส่ ดุ ใหคะแนน 5 มาก ใหคะแนน 4 ปานกลาง ใหคะแนน 3 นอ ย ใหค ะแนน 2 นอยทสี่ ดุ ใหคะแนน 1 ในการแปลผล ผจู ัดทําไดใชเกณฑการพิจารณาจากคะแนนเฉลีย่ ตามแนวคิดของ บุญชม ศรสี ะอาด และบุญสง นิวแกว (2535, หนา 22-25) 4.51-5.00 หมายความวา ดีมาก 3.51-4.50 หมายความวา ดี 2.51-3.50 หมายความวา ปานกลาง 1.51-2.50 หมายความวา นอย 1.00-1.50 หมายความวา ตองปรับปรงุ ผเู ขา รวมโครงการ จะตองกรอกขอมลู ตามแบบสอบถาม เพ่อื นาํ ไปใชในการประเมนิ ผลของ การจดั กิจกรรมดงั กลา ว และจะไดนาํ ไปเปน ขอมลู ปรับปรุง และพัฒนา ตลอดจนใชใ นการจดั ทาํ แผนการดําเนนิ การในปตอไป

26 บทท่ี 4 ผลการดําเนนิ งานและการวเิ คราะหขอ มลู ในการจัดโครงการสรา งคณุ ภาพชวี ิต เศรษฐกจิ พอเพียงสูชมุ ชน ในวันพฤหัสบดีที่ 14 มิถุนายน 2561 เวลา 08.00-16.30 น. ณ บานเลขท่ี 41 หมูท่ี 5 ตําบลนาปา อําเภอเมือง ชลบุรี จังหวัดชลบุรี ผูเขารวมโครงการ จาํ นวน 15 คน ซึ่งไดสรุปผลจากแบบสอบถามและนําเสนอ ผลการวเิ คราะหขอมูล จากการกําหนดขนาดของกลุมตัวอยา งโดยใชตารางจงั หวดั ชลบรุ ี ซึ่งไดสรุปผล จากแบบสอบถามและนําเสนอผลการวเิ คราะหขอ มลู จากผูเขา รวม จาํ นวน 15 ชดุ ตอนท่ี 1 ขอมูลสวนตัวผูตอบแบบถามของผูเขารวมโครงการสรางคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ พอเพยี งสูชมุ ชน วนั พฤหัสบดที ี่ 14 มิถนุ ายน 2561 เวลา 08.00-16.30 น. ณ บา นเลขที่ 41 หมูท่ี 5 ตําบลนาปา อําเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ผูเขารวมโครงการ จํานวน 15 คน ผูเขารวม กิจกรรมที่ตอบแบบสอบถามไดนํามาจําแนกตามเพศ อายุ และอาชีพ ผูจัดทําไดนําเสนอจําแนกตาม ขอมลู ดงั กลาว ดังปรากฏตามตารางที่ 1 ดงั ตอไปน้ี ตารางที่ 1 แสดงคา รอยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามเพศ เพศ ชาย หญงิ ความคิดเหน็ จํานวน รอยละ จํานวน รอ ยละ ผูเขารวมกิจกรรมโครงการสรางคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจพอเพียงสชู ุมชน 5 33.33 10 66.67 จากตารางท่ี 1 แสดงวา ผูตอบแบบสอบถามของผเู ขา รวมโครงการสรา งคุณภาพชวี ติ เศรษฐกิจ พอเพียงสูช มุ ชน ประชาชนตาํ บลนาปา เปนชาย 5 คน รอ ยละ 33.33 เปน หญงิ 10 รอยละ 66.67 ตารางที่ 2 แสดงคา รอยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามอายุ อายุ ตํ่ากวา 15 ป 15-29 ป 30-39 ป 40-49 ป 50-59 ป 60 ปขึ้นไป ประเภท ความคิดเหน็ จาํ นวน รอยละ จํานวน รอยละ จาํ นวน รอยละ จํานวน รอ ยละ จํานวน รอ ยละ จํานวน รอ ยละ ผเู ขา รว มกิจกรรม -- 8 53.33 -- 1 6.67 2 13.33 4 26.67 โครงการสราง คณุ ภาพชวี ติ เศรษฐกิจพอเพียง สชู มุ ชน

27 จากตารางท่ี 2 แสดงวา ผูต อบแบบสอบถามของผูเขารวมผูเ ขา รว มกิจกรรมโครงการ สรางคุณภาพชวี ิต เศรษฐกิจพอเพยี งสูชมุ ชน ประชาชนตําบลนาปา ในชวงอายุ 15-29 ป มีจํานวน สงู สุด 8 คน คดิ เปนรอยละ 53.33 ในชวง มีจาํ นวน 1 คน คิดเปนรอ ยละ 6.67 ในชวงอายุ 50 -59 ป มีจาํ นวน 2 คน คิดเปน รอ ยละ 13.33 และอายุ 60 ปขนึ้ ไป มีจาํ นวน 4 คน คดิ เปน รอยละ 26.67 ตารางที่ 3 แสดงคารอยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามอาชพี อาชพี รบั ราชการ พนักงาน คาขาย เกษตรกร รบั จา ง อื่น ๆ รัฐวิสาหกจิ ประเภท จํา รอ ย จํา รอย จํา รอย จาํ รอ ย จาํ รอ ย จํา รอย ความคิดเห็น นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ ผูเขา รว มกิจกรรม - - - - 1 6.67 1 6.67 6 40.00 7 46.66 โครงการสรางคุณภาพ ชีวิต เศรษฐกิจพอเพยี งสู ชุมชน จากตารางที่ 3 แสดงวา ผตู อบแบบสอบถามของผูเ ขา รว มกจิ กรรมโครงการ สรางคุณภาพชีวติ เศรษฐกจิ พอเพียงสชู มุ ชน ประชาชนตําบลนาปา มี อาชีพคา ขาย จาํ นวน 1 คน คิดเปน รอ ยละ 6.67 อาชีพเกษตรกร จํานวน 1 คน คดิ เปน รอ ยละ 6.67 อาชพี รับจาง จํานวน 6 คน คดิ เปน รอ ยละ 40.00 และ อาชีพอื่น ๆ จํานวน 7 คน คดิ เปนรอยละ 46.66 ตารางท่ี 4 แสดงคา รอ ยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามระดับการศกึ ษา ประถม ม.ตน ม.ปลาย สงู กวา ม.ปลาย อาชพี จาํ นวน รอ ยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอ ยละ จํานวน รอ ยละ ความคิดเห็น ผเู ขา รว มกิจกรรม 7 46.67 5 33.33 2 13.33 1 6.67 โครงการ สรางคุณภาพชวี ิต เศรษฐกจิ พอเพียงสู ชมุ ชน จากตารางที่ 4 แสดงวา ผูตอบแบบสอบถามของผเู ขารวมกจิ กรรมโครงการสรางคุณภาพชวี ิต เศรษฐกจิ พอเพยี งสชู มุ ชน ประชาชนตําบลนาปา มีระดบั การศึกษาในชวงระดบั ประถมศึกษา จํานวน 7 คน คดิ เปนรอยละ 46.67 ชวงระดับ ม.ตน จาํ นวน 5 คน คดิ เปนรอ ยละ 13.33 ชว งระดบั ม.ปลาย มีจาํ นวน 2 คน คดิ เปน รอยละ 13.33 และ ชว งระดบั สูงกวา ม.ปลาย จาํ นวน 1 คน คดิ เปน รอยละ 6.67

28 ตอนท่ี 2 ขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของผูเขารวมโครงการสรางคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ พอเพียงสูชุมชน ในวันพฤหัสบดีท่ี 14 มิถุนายน 2561 เวลา 08.00-16.30 น. ณ บานเลขท่ี 41 หมทู ่ี 5 ตําบลนาปา อาํ เภอเมอื งชลบุรี จังหวัดชลบุรี ผูเขา รวมโครงการ จํานวน 15 คนดังปรากฏใน ตารางท่ี 5 ตารางท่ี 5 ผลการประเมนิ โครงการสรางคุณภาพชวี ติ เศรษฐกจิ พอเพียงสูชมุ ชน เนื้อหาโครงการสรา งคุณภาพชวี ิต เศรษฐกจิ พอเพยี งสูช ุมชน x̄ N = 15 S.D. อนั ดบั ที่ ระดับผลการประเมนิ ดานหลกั สูตร 4.67 1.กิจกรรมทส่ี อดคลองกับวัตถุประสงคของหลกั สตู ร 4.60 0.49 3 ดมี าก 2.เนอ้ื หาของหลกั สูตรตรงกับความตองการของผูเขา 4.80 0.51 4 ดมี าก 4.60 0.41 1 ดีมาก อบรม 4.60 0.51 4 ดมี าก 3.การจัดกิจกรรมทาํ ใหผ เู ขาอบรมสามารถคิดเปน 4.73 0.51 4 ดมี าก 4.67 0.46 2 ดมี าก แกปญหาได 4.53 0.49 3 ดมี าก 4.ผเู ขารบั การอบรมมีสว นรว มในการแสดงความคิดเหน็ 4.67 0.52 5 ดมี าก 0.49 3 ดมี าก ตอการจัดทาํ หลักสตู ร 4.60 ดมี าก 5.ผเู ขารบั การอบรมสามารถนําความรูไปใชใน 4.80 4.60 0.51 4 ดมี าก ชวี ิตประจําวนั ได 4.67 0.41 1 ดมี าก 6.ส่ือ/เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม 4.66 0.51 4 ดมี าก 0.49 3 ดมี าก ดานวทิ ยากร 0.48 ดีมาก 7.วทิ ยากรมคี วามรูค วามสามารถในการจดั กิจกรรม 8.เทคนิค/กระบวนการในการจดั กจิ กรรมของวทิ ยากร 9.วทิ ยากรมกี ารใชส ือ่ สอดคลองและเหมาะสมกับ กจิ กรรม ดานสถานท่ี ระยะเวลา และความพึงพอใจ 10.บุคลกิ ภาพของวทิ ยากร 11.สถานทใี่ นการจดั กจิ กรรมเหมาะสม 12.ระยะเวลาในการจดั เหมาะสม 13.ความพงึ พอใจในภาพรวมของผรู ับการอบรม คา เฉลีย่

29 จากตาราง 5 พบวา โดยเฉล่ียแลวผูเขารับการอบรมในโครงการสรางคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง สูชุมชน อยูในระดับ ดีมาก เม่ือวิเคราะหเปนรายขอความพึงพอใจในภาพรวมของผูรับการอบรม (x̄ = 4.66) ลําดับที่ 1 การจัดกิจกรรมทําใหผูเขาอบรมสามารถคิดเปน แกปญหาได, สถานที่ในการ จัดกิจกรรมเหมาะสม (x̄ =4.80) เปนลําดับที่ 2 สื่อ/เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมมีความ เหมาะสม ( x̄ =4.73) เปนลําดับท่ี 3 กิจกรรมที่สอดคลองกับวัตถุประสงคของหลักสูตรวิทยากรมี ความรูความสามารถในการจัดกิจกรรม, ความพึงพอใจในภาพรวมของผรู ับการอบรม (x̄ =4.67) เปน ลําดับที่ 4 เนื้อหาของหลักสูตรตรงกับความตองการของผูเขาอบรม, ผูเขารับการอบรมมีสวนรวมใน การแสดงความคิดเห็นตอการจัดทําหลักสูตร, ผูเขารับการอบรมสามารถนําความรูไปใชใน ชีวิตประจําวันได, บุคลิกภาพของวิทยากร (x̄ =4.60) เปนลําดับที่ 5 .เทคนิค/กระบวนการในการจัด กจิ กรรมของวิทยากร (x̄ =4.53) ตามลาํ ดบั ตารางที่ 6 ขอมูลอน่ื ในการอบรมโครงการสรางคณุ ภาพชวี ิต เศรษฐกจิ พอเพียงสชู ุมชน เนื้อหาโครงการสรา งคุณภาพชีวิต เศรษฐกจิ พอเพยี งสูชมุ ชน N =15 1. การมสี วนรวมในกิจกรรมกลุม 2. ความพงึ พอใจในการเขารว มโครงการ x̄ S.D. อนั ดบั ที่ ระดับผลการประเมนิ 3. การคิดอยางมเี หตุผล 0.51 3 ดมี าก 4. การเขาใจ และรบั ฟงความคดิ เหน็ จากผูอน่ื 4.60 0.52 4 ดมี าก 5.การรจู ัก และเขา ใจตนเอง 4.53 0.52 4 ดมี าก คา เฉลยี่ 4.53 0.49 2 ดมี าก 4.67 0.41 1 ดมี าก 4.80 0.49 ดีมาก 4.63 จากตารางที่ 6 พบวา โดยเฉลยี่ แลวผเู ขารวมโครงการสรางคณุ ภาพชีวิต เศรษฐกจิ พอเพียงสชู มุ ชน อยูในระดบั ดมี าก (x̄ = 4.63) เมือ่ วเิ คราะหเปน รายขอพบวา การมสี วนรวมในกิจกรรมกลมุ (x̄ =4.80) เปนลําดับที่ 1 การเขา ใจ และรับฟงความคดิ เห็นจากผอู ่ืน (x̄ = 4.67) การมสี วนรวมใน กจิ กรรมกลมุ (x̄ = 4.60) ความพงึ พอใจในการเขา รวมโครงการ, การคิดอยา งมเี หตผุ ล (x̄ = 4.53) ตามลําดบั

30 บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ จากโครงการสรางคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจพอเพียงสูชุมชน โดยมีวัตถุประสงค เพ่ือให ประชาชน มีการใชชีวิตประจําวันตามหลักการของความพอเพียง ความพอดี ใชชีวิตอยางรอบคอบ ไมประมาท ใชทรัพยากรท่ีมีอยูอยางคมุ คา และสามารถลดรายจาย เพิ่มรายไดภ ายในครัวเรือน และ มีคุณภาพชีวิตท่ีดี ในวันพฤหัสบดีที่ 14 มิถุนายน 2561 เวลา 08.00-16.30 น. ณ บานเลขท่ี 41 หมทู ่ี 5 ตําบลนาปา อําเภอเมืองชลบุรี จงั หวัดชลบรุ ี ท้งั นขี้ อสรปุ และอภปิ รายผลและขอเสนอแนะ ดังน้ี ผลทปี่ รากฏ การจัดทําโครงการสรางคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจพอเพียงสูชุมชน ในวันพฤหัสบดีที่ 14 มิถุนายน 2561 เวลา 08.00-16.30 น. ณ บานเลขท่ี 41 หมูที่ 5 ตําบลนาปา อําเภอเมืองชลบุรี จงั หวัดชลบุรี ผเู ขารว มโครงการทงั้ หมด จํานวน 15 คน ตลอดระยะเวลาท่รี ับการอบรม โดยมกี าร ซกั ถามพดู คุยตอบโต ในวทิ ยากรอยา งสนใจในดานตา ง ๆ คอื ดา นหลักสตู ร - กิจกรรมทีจ่ ดั สอดคลองกบั วตั ถุประสงคของหลักสูตร - เน้ือหาของหลักสูตรตรงกบั ความตองการของผูรับบริการ - การจดั กิจกรรมทําใหผ ูร บั บริการสามารถคิดเปนทาํ เปนแกปญหาเปน - ผรู บั บรกิ ารมสี วนรวมในการแสดงความคดิ เห็นตอ การจัดทําหลกั สูตร - ผรู บั บรกิ ารสามารถนําความรูไปปรบั ใชใ นชีวิตประจําวนั ได - สือ่ /เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมมคี วามเหมาะสม ดา นวิทยากร - วทิ ยากรมคี วามรูค วามสามารถในการจัดกจิ กรรม - เทคนคิ /กระบวนในการจดั กิจกรรมของวทิ ยากร - วทิ ยากรมกี ารใชสื่อทส่ี อดคลองและเหมาะสมกับกจิ กรรม - บคุ ลกิ ภาพของวทิ ยากร ดา นสถานที่ ระยะเวลา และความพึงพอใจ - สถานที่ในการจดั กิจกรรมเหมาะสม - ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมเหมาะสม - ความพงึ พอใจในภาพรวมของผรู บั บรกิ ารตอการเขา รว มกจิ กรรม

31 สรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน ผูเขารว มโครงการสรา งคณุ ภาพชีวิต เศรษฐกิจพอเพยี งสูช ุมชน ของ กศน.ตําบลนาปา สงั กดั ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอเมืองชลบรุ ี มคี วามพงึ พอใจอยใู น ระดับดีมาก คดิ เปน รอยละ 4.66 อภิปรายผล จากกิจกรรมโครงการสรางคุณภาพชวี ติ เศรษฐกจิ พอเพยี งสูช มุ ชน ของ กศน.ตาํ บลนาปา สงั กดั ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอเมืองชลบุรี 1. เขา รว มโครงการมีความคิดเห็นตอโครงการสรางคณุ ภาพชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง สชู ุมชน ระดบั ดมี าก 2. ที่รว มโครงการมีความเปนระเบยี บและพรอมเพยี งกนั ในการรว มกิจกรรม 3. ผูทรี่ ว มโครงการไดรบั ประสบการณต รงจากวทิ ยากร 4. ผเู ขารว มโครงการสามารถนําความรูท ี่ไดไ ปถายทอดตอผอู ่ืน 5. ผูเขา รวมโครงการมคี วามสขุ และสนกุ กับการรวมกิจกรรม ขอเสนอแนะ ดา นแบบสาํ รวจและวัดความพึงพอใจของผเู ขา รบั การอบรม - วทิ ยากรตลก เฮฮา ไมง ว ง - วทิ ยากรมกี ารใชส ่ือท่ีสอดคลอ งและเหมาะสมกับกิจกรรม

32 บรรณานกุ รม กรมการศกึ ษานอกโรงเรยี น. (ม.ป.ป. : 9), (2546:76). บญุ ชม ศรสี ะอาด และ บุญสง นิวแกว. (2535 หนา 22 – 25). บรรพต สวุ รรณประเสรฐิ . (2544:12). สาํ นกั งานบรหิ ารการศึกษานอกโรงเรยี น. (2549:2), (2549:5). สุทธดิ า หงสบุญเสรมิ , 2550 : 42 วิชัย วงษใหญ. (2525:2-3), (2525:10). https://autanfarmhed.wordpress.com/

33 ภาคผนวก

34 รายงานผลการดาํ เนินงานโครงการสรางคุณภาพชวี ติ เศรษฐกิจพอเพียงสูชุมชน ประจาํ ปง บประมาณ 2561 งบดาํ เนนิ งาน กิจกรรมโครงการสรางคุณภาพชีวติ เศรษฐกิจพอเพียงสูชมุ ชน ผูร บั ผดิ ชอบโครงการ นางสาวศศิวัณย ออนศรที อง ครู กศน.ตําบลนาปา **************************************************************** 1. หลักการและเหตผุ ล เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปนปรชั ญาทช่ี ้ถี งึ แนวทางปฏบิ ัติตน โดยคาํ นงึ ถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล และการสรา งภูมคิ ุมกนั ทดี่ ี เพื่อพรอมรับตอความเสย่ี ง บนพืน้ ฐานของความรอบรู ความรอบคอบ ระมดั ระวงั และคณุ ธรรม การใชค วามรูอยางถูกหลกั วชิ าการ ควบคไู ปกับการกระทํา ท่ีไมเบยี ดเบยี นกัน การแบงปน ชวยเหลอื ซึ่งกันและกนั ความรวมมอื ปรองดองกนั ในสงั คม จะสราง สายใย เช่ือมโยงคนในภาคสวนตา งๆของสงั คมเขาดว ยกนั สรางสรรคพ ลงั ในทางบวก นําไปสูค วาม สามคั คี การพฒั นาท่ีสมดลุ และยง่ั ยืน และการพรอมรบั ตอการเปลย่ี นแปลงตางๆ ภายใตกระแส โลกาภวิ ัฒน กศน. ตาํ บลนาปา จึงไดจ ัดทาํ โครงการสรางคุณภาพชีวิต เศรษฐกจิ พอเพียงสชู ุมชน ข้ึน เพือ่ ใหประชาชนไดต ระหนักและเกดิ การเรียนรู ในการพงึ่ พาตนเอง มีการดําเนนิ ชวี ิตใหอ ยอู ยาง พอประมาณ เดินทางสายกลาง มคี วามพอดี มีความพอเพยี งกับตนเอง ใชเ วลาวางใหเ กดิ ประโยชน มีคณุ คา สรา งความรักสามัคคี พัฒนาความผกู พนั ในครอบครวั มากยงิ่ ขึน้ ให และสามารถทําบัญชี รายรับรายจา ยไดอยางถูกตอ ง 2. วัตถุประสงค 1. เพือ่ ใหประชาชน มกี ารใชชวี ิตประจาํ วนั ตามหลกั การของความพอเพียง ความพอดี การใชช วี ติ อยา งรอบคอบ ไมประมาท ใชท รัพยากรทมี่ ีอยูใหเ กิดประโยชนคมุ คา 2. เพอื่ ใหป ระชาชน นําความรทู ไี่ ดร บั ไปปรบั ใชในชวี ติ ประจําวัน สามารถลดรายจา ย เพ่ิม รายได ภายในครวั เรือน และมีคุณภาพชวี ิตทด่ี ี 3. เปาหมาย เชิงปรมิ าณ - ประชาชนในตาํ บลนาปา จํานวน 15 คน เชิงคุณภาพ - ประชาชนตําบลนาปา มกี ารใชช ีวิตประจําวนั ตามหลกั การของความพอเพยี ง ความพอดี ใชช ีวติ อยา งรอบคอบ ไมประมาท ใชท รัพยากรท่มี อี ยูอยา งคุมคา และสามารถลดรายจาย เพ่มิ รายไดภ ายในครัวเรอื น และมีคุณภาพชวี ิตทีด่ ี

35 4. ตัวชี้วดั ความสาํ เร็จของโครงการ 4.1 ตัวชี้วดั ผลผลติ - ประชาชนในตําบลนาปา จํานวน 15 คน มีการใชช วี ิตประจําวันตาม หลักการของความพอเพียงความพอดี ใชช วี ิตอยางรอบคอบ ไมประมาท ใชทรัพยากรที่มีอยอู ยาง คุมคา และสามารถลดรายจา ยเพม่ิ รายไดภ ายในครวั เรือน และมคี ุณภาพชีวติ ที่ดี 4.2 ตัวชวี้ ดั ผลลพั ธ - รอ ยละ 80 ประชาชนตาํ บลนาปา มีการใชชวี ิตประจาํ วันตามหลักการ ของความพอเพยี งความพอดี ใชช ีวิตอยางรอบคอบ ไมป ระมาท ใชทรพั ยากรที่มอี ยูอยางคมุ คา และ สามารถลดรายจา ย เพ่ิมรายไดภ ายในครวั เรอื น และมีคณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ี 5. ตัวช้ีวดั ความสาํ เรจ็ โครงการ การดาํ เนนิ งาน รายการ ประชมุ คณะกรรมการดาํ เนินงาน .ประสานสานงานกบั นักศึกษา เครอื ขาย จดั ทําแผน/ การวางแผน โครงการเสนอเพอื่ ขออนมุ ัตจิ าก ผอู ํานวยการ การปฏิบตั ิ ประสานงานกบั นักศกึ ษา เครอื ขา ย เพ่อื นําประชาชนเขา การตรวจสอบ/ประเมนิ ผล รวมโครงการ ดําเนนิ การตามโครงการสรางคุณภาพชีวติ เศรษฐกิจพอเพยี งสูชุมชน แนวทางการนําผลการประเมินไป สงั เกตจากพฤติกรรม จากการสงั เกต การสัมภาษณ ปรบั ปรุง ชมนิทรรศการและลงมือปฏบิ ัตแิ ละแบบสอบถาม ของผเู ขารว มโครงการฯ มีการปฏิบตั ติ ามวิทยากร เปน อยา งดี และเปน ที่พึงพอใจของผเู ขารว มโครงการฯ ผเู ขารวมโครงการฯ มีการใชช ีวิตประจําวนั ตามหลกั การ ของความพอเพยี ง ความพอดี ใชช วี ติ อยางรอบคอบ ไมป ระมาท ใชท รัพยากรทม่ี ีอยอู ยางคุมคา และสามารถ ลดรายจา ย เพมิ่ รายไดภ ายในครวั เรอื น และมีคณุ ภาพชวี ิต ที่ดี 6. ระยะเวลาดําเนินงาน วันท่ี 14 มิถุนายน 2561 7. สถานที่ในการจัดโครงการ บา นเลขท่ี 41 หมทู ่ี 5 ตาํ บลนาปา อําเภอเมืองชลบรุ ี จังหวัดชลบุรี

36 8. ผลการดําเนนิ โครงการ 8.1 ผลการประเมนิ ขอมูลพ้ืนฐานของผเู ขารวมโครงการ - จาํ นวนผเู ขารว มโครงการ 15 คน ชาย 5 คน หญงิ 10 คน 8.2 ความพงึ พอใจของผเู ขารวมโครงการ ตอภาพรวมของโครงการ - ผูเขารว มโครงการ ความพึงพอใจ รอยละ 90 8.3 บรรลตุ ามวตั ถุประสงค - รอยละ 80 ประชาชนตาํ บลนาปา มีการใชชวี ติ ประจาํ วันตามหลกั การ ของความพอเพยี งความพอดี ใชชวี ิตอยา งรอบคอบ ไมประมาท ใชทรพั ยากรที่มีอยูอยางคมุ คา และ สามารถลดรายจา ย เพิ่มรายไดภ ายในครัวเรอื น และมีคุณภาพชีวติ ที่ดี 9. ปญหาและอุปสรรคท่ีเกดิ ขน้ึ ระหวางการดําเนินงาน - สว นใหญป ระชาชนมีความพึงพอใจในระดับดี 10. ขอเสนอแนะในการจดั กจิ กรรมโครงการในครง้ั ตอไป - 11. ภาพกจิ กรรม

37 นางนนั ตพร ศกั ดิ์นทีธร บรรยาย/สาธิต/ปฏบิ ัติ โครงการสรา งคุณภาพชวี ิต เศรษฐกจิ พอเพยี งสูชมุ ชน เขารว มโครงการฯ มีมกี ารใชชีวติ ประจาํ วันตามหลกั การ ของความพอเพยี งความพอดี ใชช วี ติ อยางรอบคอบ ไมประมาท ใชท รพั ยากรที่มีอยูอยางคมุ คา และ สามารถลดรายจาย เพ่ิมรายไดภ ายในครวั เรือน และมีคณุ ภาพชวี ติ ที่ดี ….........ศศิวณั ย ออนศรที อง..........ผรู ายงาน (นางสาวศศวิ ณั ย ออนศรที อง) ครู กศน.ตาํ บล

38 คณะผูจัดทํา ทป่ี รกึ ษา 1.นายไพรตั น เนื่องเกตุ ผูอํานวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั อาํ เภอสัตหีบ รกั ษาการในตําแหนง ผูอ ํานวยการ ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อําเภอเมืองชลบรุ ี 2.นางสาวเอมอร แกวกลาํ่ ศรี ครชู าํ นาญการพิเศษ 3.นางสาวกมลลักษณ ย่ิงสขุ ผล ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน คณะทาํ งาน ครู กศน.ตาํ บลนาปา นางสาวศศวิ ัณย ออนศรีทอง ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น นางสาวกมลลกั ษณ ย่งิ สุขผล คณะบรรณาธิการ นางสาวศศวิ ณั ย ออนศรีทอง ครู กศน.ตาํ บลนาปา เจาหนาท่จี ดั พิมพ/ผเู ขียน นางสาวศศวิ ัณย ออนศรที อง ครู กศน.ตาํ บลนาปา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook