Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูู้ ม.ปลาย ทร02006

วิชาโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูู้ ม.ปลาย ทร02006

Published by s.pannawitt, 2021-02-11 03:46:30

Description: วิชาโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูู้ ม.ปลาย ทร02006

Search

Read the Text Version

v หนังสือเรยี น สาระทักษะการเรยี นรู้ รายวชิ าเลอื ก ทร02006 โครงงานเพอื่ พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้ ตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั เชียงใหม่ สํานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ห้ามจําหน่าย หนงั สือเรียนเล่มน้ีจดั พมิ พด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพ่อื การศึกษาตลอดชีวิตสาํ หรับประชาชน ลิขสิทธ์ิเป็ นของสาํ นกั งาน กศน. จงั หวดั เชียงใหม่

-ก- คาํ นาํ หนังสือเรียนรายวิชาเลือก วิชาโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ รหัสวิชา ทร02006 ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย จัดทําข้ึนเพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้และประสบการณ์ ซ่ึงเป็นไป ตามหลักการปรัชญาการศึกษานอกโรงเรียน และพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 ให้ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรม มีสติปัญญา มีศักยภาพในการประกอบอาชีพและ สามารถดํารงชวี ิตอยใู่ นสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสุข เพ่ือให้การจัดกระบวนการเรียนรู้ของสถานศึกษามีประสิทธิภาพ สถานศึกษาต้องใช้หนังสือเรียนท่ีมี คุณภาพ สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สังคม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ สถานศึกษา หนังสือเล่มน้ีได้ประมวลสาระความรู้ กิจกรรมเสริมทักษะ แบบวัดประเมินผลการเรียนรู้ไว้อย่าง ครบถ้วน โดยองค์ความรู้น้ันได้นํากรอบมาตรฐานการเรียนรู้ตามที่หลักสูตรกําหนดไว้ นํารายละเอียดเน้ือหา สาระมาเรียบเรียงอย่างมีมาตรฐานของการจัดทําหนังสือเรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอ่านเข้าใจง่ายและศึกษา คน้ ควา้ ด้วยตนเองได้อยา่ งสะดวก คณะผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเรียนรายวิชาโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู้ รหัสวิชา ทร02006 เล่มนี้จะเป็นส่ือที่อํานวยประโยชน์ต่อการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เพือ่ ให้ผู้เรียนสัมฤทธิ์ผลตามมาตรฐาน ตัวช้ีวัดท่ีกําหนดไว้ในหลักสูตร ทุกประการ คณะผจู้ ัดทํา สํานักงาน กศน.จงั หวัดเชียงใหม่  

-ข- สารบัญ เรือ่ ง หน้า คํานํา................................................................................................................................................... ก สารบัญ................................................................................................................................................ ข รายละเอียดวิชา.................................................................................................................................. ง คําอธิบายรายวชิ า................................................................................................................. จ แบบทดสอบก่อนเรียน........................................................................................................................ ฉ บทท่ี 1 หลกั การ แนวคดิ และความหมายของโครงงานเพื่อพัฒนาทกั ษะการเรียนรู.้ .......................... 1 แผนการเรยี นรปู้ ระจาํ บทท่1ี ................................................................................................. 2 ตอนท่ี 1.1 หลกั การของโครงงานเพ่ือพฒั นาทักษะการเรียนรู้.............................................. 3 ตอนท่ี 1.2 แนวคดิ ของโครงงานเพื่อพฒั นาทักษะการเรยี นร้.ู ............................................... 5 ตอนที่ 1.3 ความหมายของโครงงานเพ่ือพฒั นาทกั ษะการเรียนรู.้ ......................................... 7 กจิ กรรมท้ายบท.................................................................................................................... 10 บทที่ 2 ประเภทของโครงงานเพอื่ พัฒนาทักษะการเรียนรู.้ ................................................................. 12 แผนการเรยี นรปู้ ระจาํ บทที่ 2................................................................................................ 13 ตอนท่ี 2.1 ประเภทของโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรยี นร.ู้ ............................................. 14 กิจกรรมท้ายบท.................................................................................................................... 16 บทที่ 3 การเตรียมการวางแผนและข้นั ตอนกระบวนการจดั ทําโครงงานเพอื่ พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ 18 แผนการเรียนรปู้ ระจําบทท่ี 3………………………………………………………………………….………… 19 ตอนที่ 3.1 การพจิ ารณาเลือกโครงงาน……………………………………………………………….……… 20 ตอนท่ี 3.2 การวางแผนทาํ โครงงานและขั้นตอนกระบวนการทําโครงงาน………………….…… 21 กิจกรรมท้ายบท.................................................................................................................... 25 บทที่ 4 ทักษะทีจ่ ําเป็นในการทาํ โครงงานเพื่อพฒั นาทักษะการเรยี นร.ู้ .............................................. 27 แผนการเรยี นรปู้ ระจาํ บทท่ี 4……………………………………………………………………………………. 28 ตอนท่ี 4.1 ทักษะด้านการจัดการข้อมลู สารสนเทศ………………………………………………………. 29 ตอนท่ี 4.2 ทักษะการคดิ อย่างเป็นระบบ…………………………………………………………………….. 32 ตอนที่ 4.3 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์………………………………………………………….. 35 ตอนที่ 4.4 ทักษะการนําเสนอ…………………………………………………………………………………… 39 ตอนที่ 4.5 ทักษะการพฒั นาตอ่ ยอดความรู้………………………………………………………………… 41 กจิ กรรมท้ายบท.................................................................................................................... 43 บทที่ 5 การสะท้อนความคดิ เห็นต่อโครงงานเพอื่ พฒั นาทักษะการเรียนรู.้ .......................................... 45 แผนการเรยี นรู้ประจาํ บทท่ี 5................................................................................................ 46 ตอนที่ 5.1 แนวคิดเรือ่ งการสะท้อนความคิด........................................................................ 47 ตอนที่ 5.2 ความสาํ คญั ของการสะทอ้ นความคิด.................................................................. 49  

-ค- สารบญั (ตอ่ ) เรอื่ ง หน้า ตอนที่ 5.3 การประเมนิ โครงงานและการพัฒนาโครงงานจากข้อบกพร่องต่างๆ................... 50 กจิ กรรมท้ายบท.................................................................................................................... 52 แบบทดสอบหลงั เรียน......................................................................................................................... 54 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี น.......................................................................................... 56 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน................................................................................................... 57 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน................................................................................................... 57 ภาคผนวก........................................................................................................................................... 58 แบบฟอรม์ เสนอขออนมุ ตั โิ ครงงาน....................................................................................... 59 แบบฟอร์มการเขยี นรายงานโครงงาน................................................................................... 60 ปกแบบการเรียนร้โู ดยโครงงาน............................................................................................. 62 การอนมุ ัติแผนการเรียนรู้โดยโครงงาน.................................................................................. 63 บรรณานุกรม....................................................................................................................................... 64 คณะผูจ้ ดั ทํา........................................................................................................................................ 65 คณะบรรณาธิการ/ปรับปรุงแก้ไข....................................................................................................... 66  

-ง- รายละเอยี ดวิชา 1.คาํ อธิบายรายวิชา คําอธิบายรายวชิ า ทร02006โครงงานเพอื่ พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ จาํ นวน 3 หน่วยกิต ระดับประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานท่ี 1.1 มีความร้คู วามเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคตทิ ่ดี ีตอ่ การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง ศกึ ษาและฝกึ ทักษะเกีย่ วกบั เรอ่ื งตอ่ ไปนี้ หลกั การและแนวคดิ ของโครงงานเพ่ือพฒั นาทักษะการเรียนรู้ ความหมายของโครงงานเพอื่ พัฒนา ทักษะการเรียนรู้ ประเภทของโครงงานเพ่ือพฒั นาทักษะการเรยี นรู้ การเตรียมการ วางแผนและขนั้ ตอน กระบวนการจัดทําโครงงานเพือ่ พฒั นาทักษะการเรียนรู้ ทักษะและกระบวนการท่ีจาํ เป็นในการทาํ โครงงานเพ่ือ พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ (การหาข้อมูล การเลือกใชข้ อ้ มลู การจดั ทําข้อมูล การนําเสนอข้อมลู การพัฒนาต่อ ยอดความรู้) การสะท้อนความคิดเหน็ ต่อโครงงานเพอ่ื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ควรจัดในลกั ษณะของการบรู ณาการทักษะตา่ งๆ ไปพรอ้ มกบั การสร้างสถานการณ์ในการเรียนรู้อยา่ ง สร้างสรรค์ เพ่ือฝึกใหผ้ ้เู รียนได้ฝึกดาํ เนินการในการทําโครงงานและมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ท่ีทาํ ใหก้ ารเรยี นรู้ด้วยตนเองประสบความสําเรจ็ และนาํ ความรไู้ ปใช้ในวถิ ีชวี ติ ใหเ้ หมาะสมกับตนเองและชุมชน สังคม การวดั และประเมินผล ใช้การประเมินจากสภาพจริงของผู้เรยี นที่แสดงออกเกยี่ วกับดาํ เนินการในการทาํ โครงงาน ส่งโครงงาน และการทดสอบ  

-จ- รายละเอียดคําอธบิ ายรายวิชา ทร02006 โครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู้ จาํ นวน 3หน่วยกติ ระดับประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานที่ 1.1 มีความรู้ความเขา้ ใจ ทักษะ และเจตคตทิ ดี่ ีต่อการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ท่ี หวั เรื่อง ตวั ชี้วดั จาํ นวน เนื้อหา (ชวั่ โมง) 1 โครงงานเพื่อพฒั นา 1. มีความรู้ 1. หลกั การและแนวคดิ ของ 120 ทักษะการเรยี นรู้ ความเข้าใจ หลักการและ โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการ แนวคดิ โครงงาน เรียนรู้ ความหมายของโครงงาน 2.ความหมายของโครงงานเพื่อ เพื่อพฒั นาทักษะการ พฒั นาทักษะการเรยี นรู้ เรียนรู้ 3.ประเภทของโครงงานเพื่อ ประเภทของโครงงาน พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ การเตรียมการทาํ 4.การเตรียมการ วางแผนและ โครงงาน ทกั ษะและ ขั้ น ต อ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ทํ า กระบวนการในการทํา โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการ โครงงาน เรียนรู้ 2. มีความสามารถ 5.ทักษะและกระบวนการท่ี ในการดาํ เนินการทํา จําเป็นในการทําโครงงานเพ่ือ โครงงาน และสะท้อน พัฒนาทักษะการเรียนรู้ (การ ความคิดเห็นต่อโครงงาน หาข้อมูลการเลือกใช้ข้อมูล 3.มเี จตคติท่ีดี การจัดทําข้อมูล การนําเสนอ ตอ่ การทําโครงงานและ ข้ อ มู ล ก า ร พั ฒ น า ต่ อ ย อ ด เห็นคุณคา่ ของโครงงาน ความร้)ู 6. การสะท้อนความคิดเห็นต่อ โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการ เรียนรู้  

-ฉ- แบบทดสอบกอ่ นเรียน รายวชิ า โครงงานเพอื่ พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ จงกากบาท (X) ข้อท่ีถูกทีส่ ุดเพียงข้อเดยี ว 1. การได้มาของหวั เรื่องในการทําโครงงาน ควรจะได้มาจากทใี่ ดเปน็ อันดับแรก ก. สงั เกตสํารวจสง่ิ แวดล้อมรอบตวั ข. ไปศกึ ษาแนวคิดของโครงงานอ่นื ค. ไปศึกษานอกสถานท่ี ง. ปรกึ ษาอาจารย์ทปี่ รึกษาโครงงาน 2. ผูท้ ี่ควรเปน็ ท่ีปรกึ ษาโครงงานทด่ี ี ควรเป็นใคร ก. อาจารยป์ ระจําชน้ั ข. บคุ คลที่ไม่ใช่ครูอาจารย์ หรอื ผูอ้ าํ นวยการโรงเรยี น ค. ใครก็ไดท้ ีม่ ีความรู้ในเร่ืองของโครงงาน ง. ใครกไ็ ด้ทม่ี ีความร้ใู นเร่อื งท่ีเราศกึ ษา 3. สิง่ ท่ีควรทําเป็นอันดับแรกในการทําโครงงานคือทําอย่างไร ก. สอบถามเรื่องทจ่ี ะทําจากอาจารยท์ ปี่ รึกษา ข. คิดหัวเรอื่ งท่จี ะทํา ค. เตรยี มสถานทท่ี จ่ี ะทําโครงงาน ง. ศกึ ษาหาสถานท่ีที่จะประกวด 4. การจดั การเรียนการสอนแบบโครงงานมุ่งเน้นด้านใดถูกทส่ี ุด ก. มงุ่ เน้นใหผ้ เู้ รียนสามารถเอาสิง่ ท่ไี ดม้ าไปหารายได้ ข. มงุ่ เนน้ ใหผ้ ู้เรยี นเรียนรจู้ ากประสบการณ์ตรง ค. มุ่งเนน้ ให้ผู้เรียนหาเลยี้ งชพี เพยี งลาํ พัง ง. มุ่งเน้นให้ผเู้ รยี นสามคั คี 5. โครงงานคอื อะไร ก. สง่ิ ท่ีถูกบงั คบั กําหนดใหศ้ ึกษา ข. การเรยี นรู้โดยไม่อาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ค. การเรยี นรู้โดยไม่มีการวางแผน ง. กจิ กรรมทีเ่ ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รียนศกึ ษาสง่ิ ท่ีสนใจอย่างลึก 6. โครงงานตามสาระการเรยี นรู้ มีลกั ษณะเชน่ ใด ก. เปน็ การพฒั นาศักยภาพของตนเองไปด้านท่ีตนเองสนใจ ข. เปน็ การให้บูรณาการร่วมกับการเรยี นรู้ ค. เป็นการสร้างความสามัคคีในหมคู่ ณะ ง. เปน็ การนําความรู้ด้านต่างๆ มาประยุกต์ใชด้ ว้ ยกัน  

-ช- 7. ประเภทของโครงงานแบ่งออกไดเ้ ปน็ กีป่ ระเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท 8. การออกแบบเสื้อผา้ จดั อยู่ในโครงงานประเภทใด ก. โครงงานตามความถนดั ข. โครงงานตามสาระการเรยี นรู้ ค. โครงงานตามความสนใจ ง. โครงงานคณิตศาสตร์ 9. การใชส้ มุนไพรในการปราบศัตรพู ชื จดั อยู่ในโครงงานประเภทใด ก. ตามสาระการเรียนรู้ ข. ตามอัธยาศัย ค. ตามความสนใจ ง. ตามความถนัด 10. ขอ้ ใดคือจดุ มงุ่ หมายของการทําโครงงาน ก. เพอ่ื ให้ผเู้ รยี นไดผ้ ลประโยชน์จากกจิ กรรม ข. เพื่อใหผ้ เู้ รียนรู้รักสามคั คี ค. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนรถู้ ึงความเปน็ ไทย ง. เพื่อให้ผู้เรียนไดแ้ สดงออกซง่ึ ความคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์  

  บทท่ี 1 หลกั การ แนวคิด และความหมายของโครงงานเพ่อื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้  

2  แผนการเรยี นรปู้ ระจําบท บทที่ 1 หลักการ แนวคิด และความหมายของโครงงานเพอื่ พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ สาระสําคญั การจัดทําโครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ผู้ท่ีจะดําเนินการจัดโครงงานจะต้องรู้และเข้าใจถึง หลักการ แนวคิด และความหมายของโครงงาน เพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู้ เพ่ือจะได้นําความรู้และความ เข้าใจไปดําเนินการจัดทําโครงงานได้ ทั้งน้ีเพราะการจัดทําโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือ แสวงหาความรู้ด้วยตนเองในลักษณะท่ีผู้เรียนมีอิสระในการเลือกวิธี หรือเน้ือหาสาระตามศักยภาพและ สิง่ แวดล้อม รวมท้ังยังเป็นการสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ ที่จะไปขยายผลการเรียนรู้ด้วยตนเองต่อไปใน ภายภาคหนา้ ได้อย่างกว้างขวาง ผลการเรียนร้ทู ีค่ าดหวงั เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ หลักการ แนวคิดและความหมายของโครงงานเพื่อพัฒนา ทักษะการเรยี นรู้ ขอบข่ายเน้ือหา ตอนท่ี 1.1 หลักการของโครงงานเพอื่ พฒั นาทักษะการเรยี นรู้ ตอนท่ี 1.2 แนวคดิ ของโครงงานเพอ่ื พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ ตอนที่ 1.3 ความหมายของโครงงานเพ่อื พฒั นาทักษะการเรียนรู้ กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ศกึ ษาหนงั สอื เรียน บทที่ 1 2. ปฏบิ ัติกิจกรรมตามท่ีได้รบั มอบหมายในหนังสอื เรยี น ส่อื ประกอบการเรียนรู้ 1. หนังสือเรยี นบทท่ี 1 2. ใบงานท่ี1 ประเมนิ ผล 1. ประเมินผลจากการสงั เกต 2. ประเมินผลจากใบงาน  

3  ตอนที่ 1.1 หลักการของโครงงานเพื่อพัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ ผเู้ รียนจะมีความเข้าใจและสามารถนําโครงงานไปใช้ในการแสวงหาความรู้ได้อย่างดี ดังนั้นผู้เรียนควร มีโลกทัศน์ต่อโครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่กว้างขวาง ซ่ึงจําเป็นต้องทําความเข้าใจหลักการของ โครงงาน ซงึ่ ไดป้ ระมวลหลักการเฉพาะทส่ี ําคัญมาใหศ้ กึ ษาดังน้ี หลกั การของการทําโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ 1) เนน้ การแสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง 2) ผู้เรียนเป็นผูว้ างแผนในการศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเอง 3) ผเู้ รยี นลงมือปฏิบตั ดิ ้วยตนเอง 4) ผู้เรียนเปน็ ผนู้ าํ เสนอโครงงานด้วยตนเอง 5) ผเู้ รียนร่วมกําหนดแนวทางวดั ผลและประเมินผล จุดมุ่งหมายของการทาํ โครงงาน (www. thaigoodview.) 1) เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นไดศ้ ึกษาข้อมูลจากแหลง่ ความร้ตู ่างๆ ดว้ ยตนเอง 2) เพื่อใหผ้ ูเ้ รยี นได้แสดงความคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์ 3) เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ เช่น รู้จักทํางานร่วมกับบุคคลอ่ืน มีความ เชือ่ มัน่ ในตนเอง มีความรับผดิ ชอบ ฯลฯ 4) เพอื่ ให้ผเู้ รียนใชค้ วามร้แู ละประสบการณเ์ ลอื กทําโครงงานตามความสนใจ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 หมวด 4 มาตรา 22 กล่าวว่า “การจัดการศึกษายึดหลักว่า ให้ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือวา่ มคี วามสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ เต็มศักยภาพ” และมาตรา 24 กล่าวว่า “การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดําเนินการดงั ต่อไปน้ี...(7) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน... (11) ฝกึ ทักษะกระบวนการคิดและการจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกัน และแก้ปญั หา...(15) จัดกิจกรรมใหผ้ ู้เรยี นได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทําได้ คิดเป็นทําเป็น รักการอ่านและเกดิ การใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง...(23) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ต่างๆ อย่างได้ สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรมค่านิยมที่ดีงาม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา...(33) จดั การเรยี นรู้ให้เกิดขน้ึ ได้ ทุกเวลา ทุกสถานที่ มกี ารประสานความรว่ มมอื กบั บิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคคล ในชุมชนทุกฝา่ ย เพ่ือรว่ มกันพฒั นาผู้เรยี นตามศักยภาพ” “โครงงานเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีใช้พัฒนาความสามารถของผู้เรียน อีกทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ ตอบสนองต่อกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ จึงมีความจําเป็นอย่างย่ิงที่ครูต้องนําไปใช้ในการจัด กจิ กรรมการเรยี นรู้ เพ่ือพัฒนาความสามารถของผู้เรียนในทุกสาระการเรียนรู้ ซึ่งผู้เรียนต้องมีความสามารถใน การเลือกสรรให้ถูกต้อง และเหมาะสมกับระดับการศึกษาของตนเอง รวมถึงความสามารถในการนําความรู้ที่ เกิดจากการเสาะแสวงหาไปประยุกต์ใช้ชีวิตจริงได้ จึงนับว่าเป็นการปฏิรูปผู้เรียนให้รู้จักแสวงหาความรู้ด้วย ตนเองจากสือ่ ท่ีหลากหลายอยา่ งต่อเนอื่ งและยง่ั ยืน”  

4  ยทุ ธ ไกยวรรณ (2546 : 11) กล่าวว่า หลกั การของการเรียนวิชาโครงงานเน้นและเปิดโอกาสให้ผู้เรียน คิดเอง วางแผนการทํางานเอง ลงมือปฏิบัติงานด้วยตนเอง นําเสนอโครงงาน และร่วมกําหนดแนวทางการ วัดผลดว้ ย โดยมีครูเป็นผอู้ ํานวยความสะดวกและชีแ้ นะแนวทางการทํางานร่วมกัน แก้ปัญหากับผู้เรียนระหว่าง การทาํ โครงงาน การจัดการเรียนรู้การทําโครงงาน ควรอยู่บนพื้นฐานความเชื่อและหลักการปฏิรูปการเรียนรู้ คือ เช่ือมัน่ ในศกั ยภาพการเรยี นรู้ของผ้เู รยี น ภายใต้หลกั การจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสําคัญ และสอดคล้องกับ สภาพความเปน็ จรงิ ในท้องถิน่ (บรู ชยั ศิริมหาสารคร. 2549 : 19) คอื 1) ผเู้ รียนไดเ้ ลือกเรือ่ งประเด็นปญั หาท่ตี อ้ งการจะศกึ ษาด้วยตนเอง 2) ผู้เรียนไดเ้ ลอื กและหาวิธีการตลอดจนแหลง่ ข้อมูลที่หลากหลายด้วยตนเอง 3) ผูเ้ รยี นลงมอื ปฏิบตั แิ ละเรยี นรู้ด้วยตนเอง 4) ผู้เรยี นไดบ้ ูรณาการทกั ษะ ประสบการณ์ ความรู้ สิ่งแวดล้อมตามสภาพจริง 5) ผูเ้ รยี นเป็นผสู้ รปุ และสร้างองคค์ วามรดู้ ้วยตนเอง 6) ผ้เู รียนได้แลกเปลีย่ นเรยี นรกู้ ับผู้อืน่ 7) ผเู้ รียนไดน้ าํ ความร้ไู ปใช้จริง ( สาํ นกั งาน กศน.ภาคเหนอื . 2552 : 125)  

5  ตอนที่ 1.2 แนวคดิ ของโครงงานเพื่อพฒั นาทักษะการเรยี นรู้ การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นการเรียนรู้ที่ให้ความสําคัญต่อผู้เรียน ในการเลือกเรียนสิ่งต่างๆ ด้วย ตนเอง ทั้งเนื้อหา วิธีการ โดยมีครูเป็นผู้คอยอํานวยความสะดวก ช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้ประสบความสําเร็จ ในการเรียน ทั้งในแง่ของความรู้ด้านวิชาการ และความรู้ที่ใช้ในการดําเนินชีวิตและการทํางานในอนาคต เป็นผู้ท่ีมีความสมดุลท้ังด้านจิตใจ ร่างกาย ปัญญา อารมณ์ และสังคม การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียน ได้เรียนเร่ืองการจัดทําโครงงานนั้น นอกจากจะมีคุณค่าทางด้านการฝึกให้ผู้เรียนมีความรู้ความชํานาญ และมีความม่ันใจในการนําเอาวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหาหรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ด้วยตนเองแล้ว ยงั ใหค้ ุณคา่ อนื่ ๆ คือ 1) รู้จกั ตอบปญั หาโดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ไมเ่ ป็นคนท่ีหลงเชอื่ งมงายไร้เหตผุ ล 2) ไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ หาความรูใ้ นเรอื่ งทีต่ นสนใจ ไดอ้ ย่างลึกซ้ึงกว่าการจัดกิจกรรมการเรยี นร้ขู องครู 3) ทาํ ใหผ้ ู้เรยี นไดแ้ สดงออกถึงความสามารถพเิ ศษของตนเอง 4) ทําให้ผู้เรยี นเกิดความสนใจเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรนู้ ้ันๆ มากย่ิงข้ึน 5) ผเู้ รยี นได้ใช้เวลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ การเรียนรู้โดยใชโ้ ครงงาน สามารถช่วยให้ผ้เู รยี นไดฝ้ กึ ทักษะสําคญั ๆ ดังน้ี 1) สมั พันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal skill) 2) การแกป้ ญั หาและความขดั แยง้ (Conflict resolution) 3) ความสามารถในการถกเถียงเจรจาเพื่อนําไปสกู่ ารตัดสนิ ใจ (Consensus on decision) 4) เทคนิคการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลที่มีประสิทธิภาพ (Effective interpersonal Communication techniques) 5) การจัดการและการบริหารเวลา (Time management) 6) เตรยี มผเู้ รยี นเพ่ือจะออกไปทํางานรว่ มกับผอู้ นื่ 6.1) ทักษะในแงค่ วามรู้เกี่ยวกับความสามารถในการควบคุมจิตใจและควบคุมตนเอง (Discipline knowledge) 6.2) ทักษะเกย่ี วกบั กระบวนการกลุ่ม (Group-processskill) 7) ช่วยให้ผู้เรียนได้มีความรู้มากข้ึน มีมุมมองหลากหลาย(Multi perspective) อันจะนําไป สคู่ วามสามารถทางสติปญั ญา การรบั รู้ ความเขา้ ใจ การจดจํา และความสามารถในการทํางานร่วมกับผู้อ่ืนได้ดี ยงิ่ ข้นึ 8) เพิ่มความสามารถในการเข้าใจส่ิงต่างๆ ได้ดีขึ้น อันนําไปสู่ความสามารถในการคิด วเิ คราะห์และทักษะการสื่อสาร (Criticalthinking and Communication skill) (Freeman, 1995) 9) ช่วยสนับสนุนการพัฒนาทักษะการทํางานเป็นทีม จากการเรียนรู้จากประสบการณ์ (Experiential learning) (Kolb, 1984) 10) การเรียนแบบโครงงานช่วยให้เกิดการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน (Cooperative learning) ในกลุ่มของผู้เรียน ซ่ึงผู้เรียนแต่ละคนจะแลกเปลี่ยนความรู้ซ่ึงกันและกันในการเรียน โดยอาศัยกระบวนการ กล่มุ (group dynamic)  

6  แนวคิดสาํ คัญ การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นการเรียนรู้ที่เช่ือมโยงหลักการพัฒนาการคิดแบบบลูม (Blom) ท้ัง 6 ขั้น คอื ความรู้ความจาํ (Knowledge) ความเข้าใจ (Comprehension) การนําไปใช้ (Application) การวิเคราะห์ (Analysis) การสังเคราะห์ (Synthesis) การประเมินค่า (Evaluation) และยังเป็นกระบวนการเรียนรู้ตั้งแต่ การวางแผนการเรียนรู้ การออกแบบการเรยี นรู้ การสร้างสรรคป์ ระยุกต์ใช้ผลผลิต และการประเมินผลงานโดย ผสู้ อนมีบทบาทเปน็ ผ้จู ดั การเรยี นรู้ แคทซ์และชาร์ด (Katz and Chard, 1994) กล่าวถึงการสอนแบบโครงงานว่า วิธีการสอนน้ี มีจุดมุ่งหมายท่ีจะพัฒนาผู้เรียนทั้งชีวิตและจิตใจ (Mind) ซ่ึงชีวิตจิตใจในที่น้ีหมายรวมถึง ความรู้ ทักษะ อารมณ์ จรยิ ธรรมและความร้สู กึ ถึงสนุ ทรียศาสตร์ และได้เสนอว่าการจัดการเรียนการสอนโดยใช้การสอนแบบ โครงงานว่าควรมีเปา้ หมายหลัก 5 ประการ คือ 1) เป้าหมายทางสติปญั ญาและเป้าหมายทางจิตใจของผู้เรียน (Intellectual Goals and the Life of the Mind) คือการจัดการเรียนการสอนแบบเตรียมความพร้อม มุ่งให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อมอย่าง หลากหลาย และการมีปฏิสมั พันธ์กับสงิ่ ต่างๆ รอบตัว ผู้เรียนควรจะได้เข้าใจประสบการณ์และส่ิงแวดล้อมรอบ ตัวอยา่ งลึกซง้ึ ดงั นน้ั เป้าหมายหลักของการเรียนระดับนี้ จึงเป็นการมุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาความรู้ ความเข้าใจโลก ท่ีอยู่รอบๆ ตวั เขา และปลกู ฝังคณุ ลักษณะการอยากรอู้ ยากเรียนใหก้ ับผู้เรยี น 2) ความสมดุลของกจิ กรรม (Balance of Activities) การสอนแบบโครงงานจะทําให้ผู้เรียน ได้ปฏิบัติ กิจกรรมท่ีเหมาะสมท้ังกิจกรรมทางวิชาการ ใช้กิจกรรมเป็นสื่อทําให้เกิดการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทํา กิจกรรมคน้ หาความรู้ เป็นการเรียนรู้ผา่ นการเลน่ และการมีปฏิสมั พันธก์ ับสิง่ แวดลอ้ มต่างๆ ที่อย่รู อบตวั 3) สถานศึกษาคือส่วนหน่ึงของชีวิต (School as Life) การเรียนการสอนในสถานศึกษาต้องเป็นส่วน หน่งึ ในชีวิตของผู้เรียนไม่ใช่แยกออกจากชีวิตประจําวันโดยทั่วไป กิจกรรมในสถานศึกษาจึงควรเป็นกิจกรรมท่ี เกย่ี วขอ้ งกบั การดาํ เนนิ ชีวิตปกติ การมปี ฏิสมั พนั ธ์กับส่ิงแวดลอ้ มและผคู้ นรอบๆ ตวั ผเู้ รยี น 4) ศกร.เป็นชุมชนหน่ึงของผู้เรียน (Community Ethos in the Class) ทุกคนมีลักษณะเฉพาะตัว การสอนแบบโครงงานเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแต่ละคนได้แสดงออกถึงคุณลักษณะ ความรู้ ความเข้าใจ ความเช่ือ ของเขา ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบน้ีจึงเกิดการแลกเปลี่ยน การมีปฏิสัมพันธ์กันอย่างลึกซึ้ง ผู้เรียนได้ เรยี นรู้ความแตกต่างของตนกบั เพ่อื นๆ 5) การจัดกจิ กรรมการเรียนรูเ้ ป็นสงิ่ ทท่ี า้ ทายครู (Teaching as a Challenge) ในการจัดกิจกรรมการ เรียนรแู้ บบโครงงาน ครไู มใ่ ชผ่ ถู้ า่ ยทอดความรูใ้ ห้กับผูเ้ รียน แต่เป็นผู้คอยกระตุ้น ช้ีแนะ และให้ความสะดวกใน การเรียนรู้ของผเู้ รยี น โครงงานบางโครงงานครูเรียนรู้ไปพร้อมๆ กับผู้เรียน ครูร่วมกันคิดหาวิธีแก้ปัญหา ลงมือ ปฏิบัตไิ ปด้วยกนั ถอื เป็นการเรียนรู้ร่วมกัน  

7  ตอนท่ี 1.3 ความหมายของโครงงานเพ่อื พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ มีผู้รูไ้ ด้ใหค้ วามหมายของคาํ ว่าโครงงานไว้ในหลายมุมมอง ซึ่งไดป้ ระมวลมาให้ผเู้ รียนได้ศึกษาดงั นี้ “โครงงาน” หมายถึง วิธีการเรียนวิธีหนึ่งที่ผู้เรียนมุ่งทํางานเพ่ือให้เกิดความรู้ ควบคู่กับการทํางานให้ บรรลุเป้าหมาย มิใช่มุง่ ทํางานเพือ่ ให้บรรลุเป้าหมายอย่างเดยี ว ผ้ทู ําโครงงานจะต้องกําหนดภาระงานใด ภาระ งานหนึ่งขึ้นมาทํา แล้วใช้ภาระงานน้ันทําภาระงานอีกอย่างหนึ่งท่ีเรียกว่าภาระงานการศึกษาเรียนรู้ สร้าง ความรู้ขึ้นเพ่ือนําความรู้ไปใช้ปรับปรุงการทํางานให้บรรลุเป้าหมาย ในระหว่างท่ีทํางานให้บรรลุเป้าหมาย กท็ ํางานเพือ่ การศึกษาเรยี นร้อู กี ควบค่กู ันไปตลอด (จํานง หนนู ลิ . 2546:13) “โครงงาน” คือ การศึกษาค้นคว้าหาความรู้หรือหาคําตอบในข้อสงสัยเรื่องใดเรื่องหนึ่ง อย่างลึกซ้ึง ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย เกิดภาระงานในการศึกษาค้นคว้าด้วยความสนใจของผู้เรียนเอง มีคุณค่ากว่าการ ทาํ งานให้บรรลุเปา้ หมายที่เรียกว่าการทําโครงการ หรือการทํารายงานธรรมดาท่ีมีผู้กําหนดหัวข้อขึ้นให้ไปทํา” (จาํ นงหนนู ลิ . 2546:14 ) “โครงงาน” หมายถึง กิจกรรมท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า และลงมือปฏิบัติด้วยตนเองตาม ความสามารถ ความถนัด และความสนใจ โดยอาศยั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ หรือกระบวนการอื่นไปใช้ใน การศึกษาหาคําตอบ โดยมคี รูผสู้ อนคอยกระตุ้นแนะนําและให้คําปรึกษาแก่ผู้เรียนอย่างใกล้ชิด ต้ังแต่การเลือก หัวขอ้ ทจ่ี ะศกึ ษาคน้ ควา้ ดาํ เนนิ การวางแผน กําหนดข้ันตอนการดําเนินงาน และการนําเสนอผลงาน ซึ่งอาจทํา เป็นรายบุคคลหรือเปน็ กลุ่ม (วิโรจน์ ศรีโภคา และคณะ. 2544:9 ) “โครงงาน” คือ งานวิจัยเล็กๆ สําหรับผู้เรียน เป็นการแก้ปัญหาหรือข้อสงสัย หาคําตอบโดยใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หากเน้ือหาหรือข้อสงสัยเป็นไปตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ใด จะเรียกว่าโครงงาน ในกล่มุ สาระน้นั ๆ (www. tet2. org/index.) “โครงงาน” คือ การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งใดส่ิงหนึ่งหรือหลายๆ ส่ิง ท่ีอยากรู้คําตอบให้ลึกซึ้งหรือ เรียนรู้ในเร่ืองนั้นๆ ให้มากขึ้น โดยใช้กระบวนการวิธีการท่ีศึกษาอย่างมีระบบเป็นข้ันตอน มีการวางแผนใน การศึกษาอย่างละเอียด ปฏิบัติงานตามแผนท่ีวางไว้ จนได้ข้อสรุปหรือผลสรุปท่ีเป็นคําตอบในเรื่องนั้นๆ (www. thaigoodview.) “โครงงาน” คือ การเรียนรู้ท่ีเกิดจากความสนใจของผู้เรียน ที่ต้องการศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับส่ิงใดส่ิง หนึ่งหรือหลายๆ สิ่ง ท่ีสงสัยและต้องการคําตอบให้ลึกซ้ึงชัดเจน หรือต้องการเรียนรู้ในเร่ืองนั้นๆ ให้มากข้ึน กว่าเดิมโดยใช้ความรหู้ ลายๆ ด้านและทักษะกระบวนการท่ีต่อเน่ือง มีการวางแผนในการศึกษาและรับผิดชอบ ปฏิบัติตามแผนจนได้ข้อสรุปหรือผลการศึกษา หรือคําตอบเกี่ยวกับเร่ืองนั้นๆ อย่างเป็นระบบ เร่ืองที่จะทํา โครงงานควรเป็นเรื่องที่ผู้เรียนสนใจ และสอดคล้องตามสาระการเรียนรู้ตามรายวิชานั้น (สํานักงานสงเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.แนวทางการจัดการเรียนร้ หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานพุทธศักราช 2551 .นนทบุรี : บริษทั ไทย พบั บลิคเอด็ ดเู คช่นั จํากัด, 2553.) โครงงาน (project) จึงเป็นเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างผู้เรียนกับห้องเรียน และโลกภายนอก ซ่งึ ผเู้ รียนสามารถจะนาํ ความรู้ที่ไดร้ บั มาปรับใชไ้ ดใ้ นชีวิตจรงิ ของผ้เู รยี น ท้งั นเี้ พราะว่า ผู้เรียนต้องนําเอาความรู้ ที่ได้จากช้ันเรียนมาบูรณาการเข้ากับกิจกรรมท่ีจะกระทํา เพ่ือนําไปสู่ความรู้ใหม่ๆ ด้วยการสร้างความหมาย การแก้ปัญหา และการค้นพบด้วยตนเอง ผู้เรียนต้องสร้างและกําหนดความรู้ จากความคิดและแนวคิดที่มีอยู่  

8  กบั ความคิดและแนวคดิ ทีเ่ กดิ ขึ้นใหม่ ทําให้เกิดการปรับเปล่ียนความรู้ให้เป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้สิ่งใหม่ตาม มุมมองในทศั นะต่างๆ ท่รี วบรวมมาใหผ้ ู้เรียนได้ศึกษา จะเห็นไดว้ า่ โครงงานเป็นวิธีแสวงหาซ่ึงความรู้ด้วยตนเอง อีกหนทางหนึ่ง ซึ่งมีคุณค่าแตกต่างไปจากการเรียนรู้ด้วยวิธีอื่นๆ อยู่บ้าง โดยมีข้อเด่นตรงที่เป็นการแสวงหา ความรู้ท่ีต้องสัมผัสด้วยตนเอง อย่างไรก็ตามผู้เรียนควรสรุปความหมายของคําว่า โครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะ การเรยี นรู้ทีเ่ ปน็ ความเข้าใจของตัวทา่ นเอง ความหมายของการเรยี นรู้แบบโครงงาน การเรียนรู้แบบโครงงาน คือ การจัดให้นักศึกษารวมกลุ่มกันทํากิจกรรมร่วมกัน โดยมีจุดมุ่งหมายใน การศึกษาหาความรู้ หรือทํากิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งตามความสนใจของนักศึกษา การเรียนรู้แบบโครงงานน้ี จึงม่งุ ตอบสนองความสนใจ ความกระตอื รือร้น และความใฝ่เรียนรู้ของผู้เรียนเอง ในการแสวงหาข้อมูล ความรู้ ต่างๆ เพื่อทําโครงงานร่วมกันให้ประสบความสําเร็จตามจุดมุ่งหมายของโครงงาน การเรียนรู้โดยใช้โครงงาน เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ (Project Centered Learning) ซึ่งหมายถึง การกระทํากิจกรรมร่วมกัน ช่วยเหลือ กันในการแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นภายในกลุ่ม ด้วยวิธีการปฏิบัติจริง เพ่ือการเรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา อันนําไปสู่ ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ แสวงหาขอ้ มูลและแนวทางในการแกป้ ญั หาเหลา่ นั้น การเรียนรู้แบบโครงงาน อาจมีชอ่ื เรยี กอื่นท่มี คี วามหมายเดียวกัน ได้แก่ การเรียนรู้โดยใช้โครงงาน การเรียนรู้แบบโครงการ การเรียนรู้ โดยใชโ้ ครงงานเป็นศนู ยก์ ลางการเรยี นรู้ ในเรอ่ื งความหมาย ไดม้ ีผู้กลา่ วถึงไว้หลายคน เชน่ จากิซ และโรบิน (Jaques, 1984; Robbins, 1997) ได้ให้ความหมายของวิธีการเรียนรู้แบบโครงงาน (Group Project) ว่าหมายถึง การรวมกลุ่มกันของบุคคลมากกว่า 2 คนข้ึนไป มีปฏิสัมพันธ์กันร่วมกันกระทํา กิจกรรมอันนําไปสู่จุดมุ่งหมายบางประการ นอกจากนั้นแล้วโครงงานเป็นการจัดสถานการณ์ท่ีช่วยให้ผู้เรียน ไดเ้ รียนรู้ทาํ งานร่วมกนั แลกเปลย่ี นข้อมูลซึง่ กัน และกันและสนบั สนุนกนั ในการเรียนรู้ (Fascilitate Learning) สุชาติ วงศ์สุวรรณ (2542) กล่าวถึงความหมายของการเรียนรู้โดยใช้โครงงานว่าหมายถึง การจัดการ เรียนร้อู ีกรูปแบบหนึ่ง ที่เป็นการให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงในลักษณะของการศึกษา สํารวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐค์ ิดค้น โดยมคี รเู ป็นผูก้ ระตุ้น แนะนํา และให้คาํ ปรกึ ษาอย่างใกลช้ ิด สรุปได้ว่า การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นการเสริมสร้างศักยภาพการเรียนรู้ของแต่ละคน ให้ได้รับการ พัฒนาได้เต็มขีดความสามารถท่ีมีอยู่อย่างแท้จริง ทําให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้เรียนวิธีการเรียนรู้ สามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง รวมทั้งปลูกฝังนิสัยรักการเรียนรู้ อันจะนําไปสู่การเป็นบุคคลแห่งการ เรียนรู้ได้ในทีส่ ุด ความสําคัญของการเรียนรู้แบบโครงงาน การท่ีผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านโครงงาน ทําให้มองเห็น ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดกับข้อเท็จจริง ซ่ึงจะถูกเชื่อมโยงเข้าเป็นเร่ืองเดียวกัน ในลักษณะของ ความสัมพนั ธ์และการเชือ่ มโยง อนั จะสามารถนาํ ไปใช้ในสถานการณ์อืน่ ไดอ้ ย่างหลากหลาย สามารถบูรณาการ ความรู้มาช่วยกันทําโครงงาน เรียนรู้จักการทํางานร่วมกับผู้อ่ืน รู้จักการหาข้อมูลความรู้ต่างๆ ด้วยตนเอง ฝกึ ทักษะการสื่อสาร รู้จักการคิดแก้ไขปัญหาในส่วนของผู้เรียน การเรียนรู้จากโครงงานถือได้ว่าเป็นการเรียนรู้ รว่ มกันภายในกลุ่ม เพราะทุกคนได้เขา้ มามีสว่ นรว่ มในการค้นหาคําตอบหาความหมาย ตลอดจนแนวทางแก้ไข ปญั หา รว่ มคดิ รว่ มทาํ งาน ส่งผลให้เกิดกระบวนการค้นพบกระบวนการเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้ด้วยตนเอง สามารถ นําความรู้ท่ีได้รับมาแลกเปล่ียนประสบการณ์ และแลกเปล่ียนพื้นฐานความรู้ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน เป็น  

9  ลักษณะของการเรียนรู้ร่วมกัน ( Collaboration learning) ความรู้และสามารถด้านต่างๆ ท่ีมีอยู่ในตัวของ ผู้เรียน จะถูกกระตุ้นให้ได้แสดงออกมาอย่างเต็มท่ีขณะท่ีปฏิบัติกิจกรรม เช่นเดียวกับทักษะต่างๆ ท่ีจําเป็น สําหรับชีวิต เช่น ทักษะการทํางาน ทักษะการอยู่ร่วมกัน ทักษะการจัดการ ฯลฯ ก็จะถูกนําเอามาใช้อย่างเต็ม ตามศักยภาพ ในขณะที่ร่วมกันแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้นระหว่างการทําโครงงาน การเรียนรู้แบบโครงงานยังช่วย สง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท้ังหลายก็จะถูกปลูกฝังและสั่งสมในตัวผู้เรียน ในขณะที่ทุกคนร่วมกัน ทํางาน รวมท้ังเป็นการปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตย ฝึกหัดการรู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นเนื่องจากว่า แนวคิดหลักของการเรียนรู้แบบโครงงาน จะใช้หลักการเรียนรู้ร่วมกัน (Team learning) อันจะนําไปสู่การ เรียนรู้ด้วยการนําตนเอง ซึ่งมีผลโดยตรงต่อการเพ่ิมโอกาสในการเจริญก้าวหน้าของบุคคล ในการเรียนรู้และ พัฒนาความรู้ ความสามารถของตนเอง ความสามารถในการมีปฏิสัมพันธ์และทํางานร่วมกับผู้อื่นได้ดีและ มีประสิทธิภาพ ไม่ใช่สิ่งท่ีเกิดขึ้นเองได้หากแต่เป็นสิ่งท่ีต้องเกิดจากการเรียนรู้ เพื่อจะทําให้ทักษะดังกล่าว เกิดข้ึนในตัวของบุคคล การเรียนรู้เพื่อให้เกิดความสามารถและทักษะดังกล่าว สามารถทําให้เกิดได้โดยใช้ หลักการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนรวมกลุ่มกัน มีโอกาสร่วมกันในการเรียนรู้และทํางานร่วมกัน โดยใช้วิธี “group assignments in their courses” ซึ่งมีครูเป็นผู้อํานวยความสะดวกให้แก่ผู้เรียน และช่วยให้ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ทักษะดังกล่าวจากประสบการณ์ในการการทําโครงงานร่วนกัน ดังนั้นในการจัดการเรียนรู้แบบ โครงงานจึงต้องเน้นและให้ความสําคัญที่ตัวผู้เรียน โดยมุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาขีดความสามารถของตนเองอย่าง เตม็ ตามศกั ยภาพ มคี วามสมดุลทั้งด้านจิตใจ ร่างกาย ปัญญา และสังคม เป็นผู้รู้จักคิด วิเคราะห์ รักการเรียนรู้ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง มีเจตคติท่ีดี มีวินัย มีความรับผิดชอบ และมีทักษะที่จําเป็นสําหรับการดํารงชีวิต รวมทั้ง ทกั ษะทางอาชีพ สามารถพ่ึงตนเองและร่วมมือกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ การเรียนรู้แบบโครงงานต้องมุ่งพัฒนา ความสามารถทางอารมณ์ได้แก่ ความสามารถในการมีสติ รู้ตัวและความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสังคม ซึ่งถือว่าเป็นปัจจัยสําคัญที่จะทําให้คนเราประสบความสําเร็จในชีวิต เช่นเดียวกับความสามารถทางปัญญา ความสามารถหรือความฉลาดทางอารมณ์ที่จะต้องปลูกฝังให้ผู้เรียน ได้แก่ การรู้จักตนเอง การเข้าใจตนเอง ความสามารถในการควบคุมตนเอง ความเข้าใจและเห็นอกเห็นใจผู้อ่ืน มีความเชื่อมั่นและเห็นคุณค่าในตัวเอง ความสามารถในการแก้ไขขอ้ ขัดแย้งทางอารมณ์  

10  กจิ กรรมท้ายบท บทท่ี 1 คําช้ีแจง : ใหผ้ ู้เรยี นตอบคําถามให้สมบรณู ์ ข้อ1. ใหผ้ เู้ รยี นบอกหลกั การของการทาํ โครงงานเพอ่ื พัฒนาทักษะการเรยี นรมู้ าอยา่ งน้อย 3 ขอ้ ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ข้อ2. ใหผ้ เู้ รียนบอกแนวคิดของโครงงานเพ่ือพฒั นาทักษะการเรยี นรูม้ าอย่างนอ้ ย 3 ขอ้ ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ขอ้ 3. ให้ผ้เู รยี นสรปุ ความหมายของโครงงานเพื่อพฒั นาทักษะการเรยี นรู้ ตามท่ผี ู้เรียนเข้าใจมาพอสังเขป ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………..  

11  ขอ้ 4. ใหผ้ ้เู รยี นสรุปความหมายของการเรยี นรแู้ บบโครงงาน ตามทผ่ี ูเ้ รยี นเข้าใจมาพอสงั เขป ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ขอ้ 5. ใหผ้ ูเ้ รยี นสรุปความสําคัญของโครงงานเพ่อื พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ ตามท่ีผู้เรียนเขา้ ใจมาพอสังเขป ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………….…………………………………………………………………..  

  บทท่ี 2 ประเภทของโครงงานเพ่อื พฒั นาทกั ษะการเรยี นรู้  

13  แผนการเรียนรูป้ ระจาํ บท บทที่ 2 ประเภทของโครงงานเพอื่ พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ สาระสาํ คัญ การจดั ทําโครงงานเพอื่ พัฒนาทักษะการเรียนรู้ นอกจากผู้เรียนจะต้องรู้และเข้าใจถึงหลักการ แนวคิด และความหมายของโครงงานแล้ว ผู้เรียนยังต้องรู้เข้าใจและมีทักษะในการจําแนกรูปแบบของโครงงาน ซ่ึงเป็น ประโยชน์ในการจดั ทําโครงงานได้อย่างมีเป้าหมายชัดเจนและนําไปสู่ความสําเร็จ คือเกิดการเรียนรู้และค้นพบ องคค์ วามรดู้ ้วยตนเอง ผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวัง เพอื่ ให้ผเู้ รียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เกยี่ วกบั การจาํ แนกประเภทของโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการ เรยี นรู้ ขอบข่ายเน้ือหา ตอนท่ี 1 ประเภทของโครงงาน กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ศึกษาหนังสอื เรียน บทที่ 2 2. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามที่ได้รบั มอบหมายในหนงั สือเรียน สื่อประกอบการเรยี นรู้ 1. หนังสือเรยี นบทที่ 2 2. ใบงานท่ี 2 ประเมินผล 1. ประเมินผลจากการสงั เกต 2. ประเมนิ ผลจากใบงาน  

14  ตอนท่ี 2.1 ประเภทของโครงงาน การจําแนกประเภทของโครงงานอาจแบง่ ได้หลายลกั ษณะ เช่น 1. จําแนกตามกจิ กรรมการเรียนของผเู้ รียน ซึ่งแบง่ เปน็ 2 ประเภท ได้แก่ 1.1 โครงงานตามสาระการเรียนรู้ เป็นการกําหนดโครงงานที่บูรณาการระหว่างสาระการ เรยี นรู้และทักษะการแสวงหาความรู้เพอ่ื สร้างองคค์ วามรใู้ หมๆ่ ดว้ ยตนเอง 1.2 โครงงานตามความสนใจ เป็นการกําหนดโครงงานตามความถนัด ความสนใจ ความ ตอ้ งการของผเู้ รียน 2. จาํ แนกตามวตั ถุประสงคข์ องโครงงาน ซ่งึ แบ่งเปน็ 4 ประเภท ได้แก่ 2.1 โครงงานทเี่ ป็นการสํารวจรวบรวมขอ้ มลู 2.2 โครงงานทเี่ ปน็ การศกึ ษาค้นคว้าทดลอง 2.3 โครงงานที่เปน็ การศกึ ษาทฤษฎหี ลักการหรือแนวคิดใหมๆ่ ในการพัฒนาผลงาน 2.4 โครงงานทเ่ี ป็นการสรา้ งประดษิ ฐค์ ิดค้น โดยมีรายละเอียดในแต่ละประเภทของ ดังนี้ 1. โครงงานที่เป็นการสํารวจรวบรวมข้อมูล เป็นโครงงานท่ีมีวัตถุประสงค์ในการรวบรวมข้อมูล เรื่องใดเร่ืองหน่ึง แล้วนําข้อมูลนั้นมาจําแนกเป็นหมวดหมู่ในรูปแบบที่เหมาะสม ข้อมูลที่ได้จะนําไปปรับปรุง พัฒนาผลงาน ส่งเสริมผลผลิตให้มีคุณภาพดีย่ิงขึ้น ข้อมูลดังกล่าวอาจมีผู้จัดทําข้ึนแล้ว แต่มีการเปล่ียนแปลง จึงตอ้ งมีการจัดทําใหม่เพ่ือให้มีความทันสมัย สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผศู้ ึกษาโครงงาน โดยใช้วิธีการเก็บ ข้อมูลด้วยแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก เช่น การสํารวจแหล่งเรียนรู้ในชุมชน การสํารวจงาน บรกิ ารและสถานประกอบการในทอ้ งถ่นิ เป็นต้น ในการทําโครงงานประเภทสํารวจรวบรวมข้อมูล ไม่จําเป็นต้องมีตัวแปรเข้ามาเกี่ยวข้อง ผู้เรียน เพียงแต่สํารวจรวบรวมข้อมูลท่ีได้แล้ว และนําข้อมูลที่ได้มาจัดให้เป็นหมวดหมู่พร้อมนําเสนอ ก็ถือว่าเป็นการ สาํ รวจรวบรวมข้อมูล 2. โครงงานท่ีเป็นการศึกษาค้นคว้าทดลอง เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาเร่ืองใด โดยเฉพาะ โดยศึกษาหลักการและออกแบบการค้นคว้า ในรูปแบบการทดลองเพื่อยืนยันหลักการ ทฤษฎี เพ่ือ ศึกษาหาแนวทางในการเพิ่มคุณค่า และการใช้ประโยชน์ให้มากขึ้น เช่น การปลูกพืชโดยไม่ใช้สารเคมี การทํา ขนมอบชนิดต่างๆ โดยใช้วัสดุในท้องถิ่น การควบคุมการเจริญเติบโตของต้นไม้ประเภทเถา การศึกษาสูตร เครื่องดม่ื ทผ่ี ลติ จากธญั พชื ในการทําโครงงานประเภทการศึกษาค้นคว้าทดลอง จําเป็นต้องมีการจัดการกับตัวแปรท่ีจะมีผลต่อ การทดลอง มี 3 ชนิด คือ 2.1 ตัวแปรตน้ หรอื ตวั แปรอิสระ หมายถงึ เหตขุ องการทดลองนั้นๆ 2.2 ตวั แปรตาม ซึ่งจะเปน็ ผลท่เี กดิ จากการเปลีย่ นแปลงของตัวแปรตน้ 2.3 ตัวแปรแทรกซ้อน (Extraneous Variables) เป็นตัวแปรอ่ืนๆ ท่ีอาจมีผลต่อตัวแปรตาม โดยผ้วู จิ ยั ไมต่ อ้ งการใหเ้ กดิ เหตกุ ารณน์ น้ั ข้ึน  

15  3. โครงงานท่ีเป็นการศึกษาทฤษฎีหลักการหรือแนวคิดใหม่ๆ เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อ เสนอความรู้หรือหลักการใหม่ๆ เกี่ยวกับเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งท่ียังไม่มีใครเคยคิด หรือคิดขัดแย้ง หรือขยายจาก ของเดิมที่มีอยู่จากเนื้อหาวิชาการหลักการทฤษฎีต่างๆ นํามาปรับปรุง พัฒนาให้สอดคล้องมีความชัดเจน มีผลงานที่เป็นรูปธรรม ซ่ึงต้องผ่านการพิสูจน์อย่างมีหลักการและเชื่อถือได้ เช่น การใช้สมุนไพรในการปราบ ศัตรูพืช การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในการถนอมอาหารและปรุงอาหาร เกษตรแบบผสมผสาน เทคนิคการแก้ โจทย์ปัญหา การทําโครงงานประเภทน้ี ผทู้ าํ โครงงานจะต้องมีความรู้ในเร่ืองน้ันๆ เป็นอย่างดี จะสามารถอธิบายได้ อย่างมีเหตุผลและนา่ เช่อื ถือ จึงไมเ่ หมาะทจ่ี ะทาํ ให้ระดับผูเ้ รียนมากนัก 4. โครงงานที่เปน็ การสรา้ งประดิษฐ์คิดค้น เป็นโครงงานที่มีวัตถุประสงค์ คือ การนําความรู้ทฤษฎี หลักการ มาประยุกต์ใช้โดยประดิษฐ์เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ เพ่ือประโยชน์ต่างๆ หรืออาจเป็นการสร้างสรรค์ สิ่งประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือปรับปรุงของเดิมให้ดีข้ึนใช้ประโยชน์ได้มากย่ิงขึ้น เช่น การประดิษฐ์เครื่องควบคุม การรดนาํ้ การประดิษฐเ์ คร่ืองรับวิทยุ การประดิษฐข์ องชาํ ร่วย การออกแบบเสือ้ ผา้ จากสาระสําคญั ของการจัดประเภทโครงงาน ผู้เรียนจะเห็นได้ว่าโครงงานอาจจําแนกประเภทได้หลาย แนวคิด เช่น จําแนกตามกิจกรรมการเรียนรู้ของการจัดทําโครงงานเป็น 2 ประเภท คือ 1)โครงงานตามสาระ การเรียนรู้ 2)โครงงานตามความสนใจ และจําแนกตามวัตถุประสงค์ในการจัดทําโครงงานเป็น 4 ประเภท คือ 1)โครงงานที่เป็นการสํารวจรวบรวมข้อมูล หรือโครงงานประเภทสํารวจ 2)โครงงานที่เป็นการศึกษาค้นคว้า ทดลอง หรือโครงงานประเภททดลอง 3)โครงงานที่เป็นการศึกษาทฤษฎีหลักการหรือแนวคิดใหม่ๆ หรือ โครงงานประเภทพฒั นา 4)โครงงานทเี ปน็ การสร้างประดษิ ฐค์ ดิ คน้ หรอื โครงงานประเภทประดิษฐ์ การเรียนรู้เรื่องประเภทของโครงงาน จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนในการตัดสินใจออกแบบโครงงาน ให้สนองต่อวัตถปุ ระสงค์ที่ตอ้ งการจะศึกษาไดอ้ ย่างเหมาะสม  

16  กจิ กรรมท้ายบท บทที่ 2 คําชแี้ จง : ใหผ้ เู้ รยี นตอบคาํ ถามใหส้ มบรูณ์ ข้อ1. ให้ผูเ้ รยี นจําแนกประเภทของโครงงานเพื่อพฒั นาทักษะการเรยี นรมู้ าพอสงั เขป ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ขอ้ 2. ใหผ้ ูเ้ รยี นบอกประเภทของโครงงานท่จี าํ แนกตามวตั ถปุ ระสงคว์ า่ มีอะไรบา้ ง ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ขอ้ 3. ให้ผเู้ รยี นบอกลกั ษณะของโครงงานทีเ่ ปน็ การสํารวจ รวบรวมข้อมลู พร้อมยกตวั อย่างประกอบ ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….…  

17  ขอ้ 4. ใหผ้ ู้เรยี นอธิบายตัวแปรของโครงงานทเี่ ปน็ การค้นคว้า ทดลอง ตามที่ผูเ้ รียนเข้าใจมาพอสงั เขป ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ข้อ5. ใหผ้ ้เู รยี นยกตวั อยา่ งโครงงานทีเ่ ปน็ การสรา้ งประดิษฐ์ คดิ ค้นตามทีผ่ ู้เรยี นสนใจ มาอย่างน้อย 3 ตวั อย่าง พรอ้ มทง้ั อธบิ ายเหตุผล ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………….…  

  บทท่ี 3 การเตรยี มการวางแผนและขน้ั ตอนกระบวนการทําโครงงานเพอื่ พฒั นาทักษะการเรียนรู้  

19 แผนการเรยี นรู้ประจําบท บทที่ 3 การเตรียมการวางแผนและขั้นตอนกระบวนการทําโครงงานเพื่อพฒั นาทักษะการเรียนรู้ สาระสาํ คญั การทําโครงงานเป็นข้ันตอนการเรียนรู้ท่ีสําคัญ เพราะจะทําให้ผู้เรียน ได้นําความรู้เก่ียวกับการทํา โครงงานไปสู่การแสวงหาองค์ความรู้ ในทางปฏิบัติได้อย่างเป็นประโยชน์ในแต่ละระดับการเรียนรู้โครงงาน จะได้นาํ เสนอในลักษณะท่ีเป็นพ้นื ฐาน เพ่อื ให้ผเู้ รยี นได้ประยุกต์ใช้ในโอกาสต่อไปอยา่ งหลากหลาย ผลการเรยี นรทู้ ่คี าดหวัง เพื่อใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถเตรียมการและดาํ เนนิ การจดั ทําโครงงานเพ่ือพัฒนา ทกั ษะการเรยี นรูไ้ ด้ ขอบขา่ ยเนอื้ หา ตอนที่ 3.1 การพจิ ารณาเลือกโครงงาน ตอนที่ 3.2 การวางแผนทาํ โครงการและข้ันตอนกระบวนการทาํ โครงงาน กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ศึกษาหนังสอื เรยี น บทท่ี 3 2. ปฏบิ ัติกิจกรรมตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมายในหนงั สอื เรยี น สอื่ ประกอบการเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรียนบทท่ี 3 2. ใบงานท่ี 3 ประเมนิ ผล 1. ประเมนิ ผลจากการสงั เกต 2. ประเมินผลจากใบงาน  

20 ตอนท่ี 3.1 การพิจารณาเลอื กโครงงาน การพิจารณาเลือกโครงงานสําหรับการทําโครงงานประเภทต่างๆ มีแนวคิดกว้างๆ ให้ผู้เรียนได้ใช้เป็น กรอบความคิดในการตัดสินใจ พิจารณาเลือกหัวข้อในการทําโครงงานจากเรื่องปัญหาใกล้ๆ ตัว เร่ืองท่ตี อ่ ยอดจากบทเรยี นท่เี รียนมาแล้วโดยมีวิธีการคิด ดงั นี้ 1) ให้สงั เกตสง่ิ แวดล้อมใกล้ตวั ทเี่ ปน็ ปญั หา ในการสังเกตสิ่งแวดล้อมทั่วไปรอบๆ ตัวผู้เรียนท่ีเป็นปัญหา เช่น สิ่งแวดล้อมในสถานศึกษา ส่ิงแวดล้อมรอบบ้าน สิ่งแวดล้อมท่ัวไป เช่น ในสถานศึกษามีขยะเยอะ มีเศษไม้ เศษหญ้า หรือวัสดุต่างๆ ท่ีไม่ สามารถนาํ กลับมาใชป้ ระโยชนไ์ ด้แล้ว คดิ หาวธิ ใี ห้สามารถนาํ กลับมาใช้ให้เกิดประโยชนอกี ครัง้ 2) ใหส้ ํารวจปัญหาทีเ่ กิดจากอาชพี ในชมุ ชนหรือท้องถิ่น ในการประกอบอาชีพในชมุ ชนหรือท้องถนิ่ ว่ามปี ัญหาเกิดขึ้นอย่างไรบ้าง เช่น ปัญหาจากแมลงศัตรูพืช วชั พชื ตา่ งๆ หาวธิ ีกําจดั ศัตรพู ืชวชั พืชต่างๆ หรือนําสิ่งเหล่าน้ันมาใช้ให้เกิดประโยชน์ หรือวิธีในการเพ่ิมจํานวน ผลผลติ ของอาชพี ต่างๆ หาวิธีในการลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการผลิต หาวิธใี นการลดเวลา จาํ นวนตน้ ทนุ ฯลฯ 3) สํารวจปัญหาของอาชพี เสรมิ ในการสํารวจปัญหาจากการประกอบอาชีพเสริมของตัวผู้เรียนเอง ชุมชนหรือท้องถ่ินโดยการหาวิธีใน การเพ่ิมปรมิ าณ ผลผลิต คณุ ภาพของผลผลติ หรอื ปรบั ปรงุ วิธีการต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน เช่น การเลี้ยง ปลาสวยงาม ใหค้ ดิ หาวิธีในการทาํ ให้ปลามีสีสวยโดยคิดวิธีหาสตู รอาหาร วธิ ีในการเพาะพนั ธ์ปุ ลาเป็นต้น 4) สํารวจความเชือ่ ของคนในชุมชนหรอื ท้องถ่ิน ผู้เรียนสํารวจความเชื่อต่างๆ ของคนในชุมชนท้องถิ่น ซ่ึงเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านท่ีมีความเชื่อในเร่ือง ต่างๆ หรือที่เคยปฏบิ ัตสิ ืบตอ่ ๆ กันมา มาพิสจู น์หาขอ้ เท็จจรงิ ว่าทค่ี นในชมุ ชนทอ้ งถิ่นกระทาํ นั้น เป็นจริงหรือไม่ เช่น ความเชือ่ ในเรื่องฟันผุมีสาเหตุมาจากแมงกินฟันจริง หรือความเช่ือในเร่ืองห้ามหญิงมีครรภ์เย็บปักถักร้อย ฯลฯ แล้วนํามาคดิ หาแนวคดิ ในการทําโครงงาน 5) ศึกษาคน้ ควา้ จากหนังสือตาํ ราที่เกยี่ วขอ้ งหรือหนังสือพมิ พ์ ในการท่ีจะได้หัวข้อของโครงงาน การศึกษาหาความรู้จากหนังสือหรือตําราที่เก่ียวข้อง หรือ หนังสือพิมพ์ที่ได้นําเสนอเกี่ยวกับการทําโครงงาน ซ่ึงเราจะนําแนวคิดต่างๆ ที่ได้มาจากหนังสือพิมพ์ นาํ มาดัดแปลงหรอื คดิ เป็นหวั ขอ้ โครงงานได้ 6) ชม ฟงั รายการวทิ ยุหรอื โทรทศั น์ รายการวิทยุหรือโทรทัศน์หลายรายการ ได้นําเสนอเกี่ยวกับการทําโครงงานท่ีได้จัดทําประสบ ความสําเร็จไดน้ ํามาเสนอสูส่ ายตาบคุ คลทวั่ ไปโดยแนวคิดตา่ งๆ มาปรับปรุงเพ่อื คดิ เป็นหวั ขอ้ โครงงานได้ 7) ศกึ ษาจากนทิ รรศการหรือโครงงานของผูอ้ ื่น ในการเข้าศึกษาดูงานจากนิทรรศการต่างๆ ตามหน่วยงานหรือสถาบันทางการศึกษาได้จัดขึ้น เช่น ตามมหาวิทยาลัยต่างๆ หรือหน่วยงานของทางราชการหรือเอกชน จะมีการนําโครงงานประเภทต่างๆ เขา้ มาประกวดหรอื แขง่ ขนั แลว้ นาํ แนวคิดทีไ่ ด้จากการศึกษามาปรับปรงุ คิดเปน็ หัวข้อโครงงานของเราได้ 8) ผู้เรยี นสามารถสนทนาแลกเปลี่ยนความร้จู ากผรู้ หู้ รือครปู ระจาํ กลุม่ ในเรื่องทเ่ี ราสนใจเพ่ือหาแนวความคิดกว้างๆ หรือวิธใี นการตดั สนิ ใจในการเลือกคิดทาํ หวั ขอ้ โครงงาน  

21 ตอนที่ 3.2 การวางแผนทําโครงงานและขั้นตอนกระบวนการทําโครงงาน การทําโครงงานมีข้ันตอนกระบวนการ ดงั นี้ 1) การคิดและการเลือกหัวเร่อื ง ผ้เู รียนจะตอ้ งคิดและเลือกหัวเร่ืองของโครงงานด้วยตนเองว่าอยากจะ ศึกษาอะไร ทําไมจึงอยากศึกษา หัวเรื่องของโครงงานมักจะได้มาจากปัญหา คําถามหรือความ อยากรู้ อยาก เห็นเก่ียวกับเรื่องต่างๆ ของผู้เรียนเอง หัวเร่ืองของโครงงานควรเฉพาะเจาะจงและชัดเจน เม่ือใครได้อ่านช่ือ เรื่องแล้ว ควรเข้าใจและรู้เรื่องว่าโครงงานน้ีทําจากอะไร และควรคํานึงถึงประเด็นความเหมาะสมของระดับ ความรู้ ความสามารถของผู้เรียน วัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้ งบประมาณ ระยะเวลา ความปลอดภัยและแหล่งความรู้ เปน็ ตน้ 2) การวางแผนการทําโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ซ่ึงต้องมีแนวคิดที่กําหนดไว้ ล่วงหน้า เพ่ือให้การดําเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนําเสนอต่อครูประจํากลุ่มหรือ ครูท่ีปรึกษา เพื่อขอความเห็นชอบก่อนดําเนินการข้ันต่อไป การเขียนเค้าโครงของโครงงานโดยท่ัวไป เขยี นเพอ่ื แสดงแนวคดิ แผนงาน และข้นั ตอนการทําโครงงาน ซึ่งควรประกอบดว้ ยหัวข้อต่อไปนี้ 2.1) ช่ือโครงงาน : เป็นช่ือเรื่องที่ผู้เรียนจะทําการศึกษาค้นคว้า เพ่ือหาคําตอบหรือหา แนวทางในการแก้ปัญหา การต้ังช่ือเรื่อง ควรส่ือความหมายให้ได้ว่าเป็นโครงงานที่จะทําอะไร เพื่อใคร /อะไร ควรเปน็ ขอ้ ความที่กะทัดรัดชัดเจนสอื่ ความหมายไดต้ รง 2.2) ชือ่ ผ้ทู ําโครงงาน : เป็นการระบุช่ือของผู้ทําโครงงาน ถ้าเป็นโครงงานกลุ่มให้ระบุชื่อผู้ทํา โครงงานทุกคน พร้อมเขียนรายละเอียดงานหรือหน้าท่ีความรับผิดชอบ ในการทําโครงงานของแต่ละคนให้ ชดั เจน 2.3) ชอ่ื ท่ีปรึกษาโครงงาน : เป็นการระบุชื่อผู้ท่ีให้คําปรึกษา ให้คําแนะนําในการทําโครงงาน ของผู้เรียน 2.4) หลกั การและเหตุผลของโครงงาน : เป็นการอธิบายว่า เหตุใดจึงเลือกทําโครงงานเรื่องน้ี มีความสําคญั อยา่ งไร มหี ลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เก่ียวข้อง เร่ืองท่ีทําเป็นเรื่องใหม่ หรือมีผู้อื่นได้ศึกษาค้นคว้า เร่ืองน้ีไว้บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เร่ืองที่ทําได้ขยายผลเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเร่ืองท่ีผู้อื่นทําไว้อย่างไร หรือ เป็นการทาํ ซ้ําเพ่ือตรวจสอบผล 2.5) จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ : ควรมีความเฉพาะเจาะจงและสามารถวัดได้ เป็นการ บอกขอบเขตของงานทจ่ี ะทาํ ให้ชัดเจนขนึ้ ซง่ึ จุดม่งุ หมายหรือวัตถปุ ระสงค์มักเขียนว่าศกึ ษา. . . . . . . . . . . . . . . . . . . เพ่ือเปรียบเทียบ. . . . . . . . . . . . เพ่ือผลิต. . . . . . . . . . . . . . เพื่อทดลอง. . . . . . . . . หรือ เพื่อสํารวจ. . . . . . . . . . . . . . . . . ซ่ึงจุดประสงค์ของโครงงานที่จะบ่งบอกว่าเป็นโครงงานประเภทใด (ตาม เน้อื หาบทท่ี 2) และจดุ ม่งุ หมายของโครงงานจะเปน็ ทิศทางในการกําหนดวิธีการดําเนนิ โครงการ 2.6) สมมติฐานในการทําโครงงาน (ถ้ามี) : สมมติฐานเป็นคําตอบหรือคําอธิบายท่ีคาดไว้ ลว่ งหน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ และที่สําคัญ คือ เป็นข้อความท่ีมองเห็นแนวทางในการดําเนินการทดสอบได้ โครงงานวิจัยท่ีกําหนดสมมุติฐานควรเป็น โครงงานประเภททดลอง ซ่ึงมักจะต้องกําหนดตัวแปรในกระบวนการทดลอง นอกจากนี้ควรมี ความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรอิสระ (ตน้ ) และตวั แปรตาม ตัวแปรแทรกซ้อน ซ่ึงตัวแปรท่ีเกี่ยวข้อง : ตัวแปรอิสระ (ต้น) ส่ิงท่ี  

22 เป็นเหตุของปัญหา ตัวแปรตาม คือส่ิงที่เป็นผล ตัวแปรแทรกซ้อนคือ สิ่งที่อาจมีผลต่อตัวแปรตามโดยผู้วิจัยไม่ ตอ้ งการให้เกดิ เหตกุ ารณน์ น้ั ขนึ้ 2.7) วิธีดําเนินงานและข้ันตอนการดําเนินงาน : เป็นการเขียนให้เห็นข้ันตอนของการ ทําโครงงานต้ังแตเ่ ร่ิมต้นจนสนิ้ สุดการทาํ งาน โดยเขยี นใหช้ ดั เจนว่าจะต้องทําอะไรทาํ เมือ่ ไหร่ ท่ไี หน ให้ละเอียด ทกุ ข้นั ตอนและกิจกรรม 2.8) แผนปฏิบัติงาน : เป็นการนําขั้นตอนการทําโครงงานมาเขียนในรูปของปฏิทินตาราง กาํ หนดการทาํ งานในแต่ละขนั้ ตอน 2.9) ผลท่คี าดว่าจะได้รับ : เป็นการเขียนใหเ้ ห็นถงึ ประโยชน์ และผลทคี่ าดว่าจะได้รับจากการ ทําโครงงาน โดยให้ระบุว่าจะเกิดประโยชน์แก่ใครเกิดข้ึนอย่างไร ทั้งโดยทางตรงหรือทางอ้อมและ ผลท่ีคาดว่า จะได้รบั จะต้องสอดคล้องกบั จุดมงุ่ หมายหรือวัตถปุ ระสงค์ 2.10) เอกสารอ้างอิง : รายช่ือเอกสารท่ีนํามาอ้างอิงเพื่อประกอบการทําโครงงาน ตลอดจน การเขียนรายงานการทาํ โครงงาน ควรเขยี นตามหลักการทนี่ ยิ ม ท่ีมา http://maetang-tr02006.blogspot.com/2015/05/41.html 3) การดําเนินงานเมื่อท่ีปรึกษาโครงงานให้ความเห็นชอบเค้าโครงของโครงงานแล้ว ต่อไปก็เป็นขั้นลง มอื ปฏิบตั ิงานตามขนั้ ตอนท่ีระบไุ ว้ ผู้เรยี นต้องพยายามทาํ ตามแผนงานทีว่ างไว้ เตรียมวัสดุอุปกรณ์ และสถานท่ี ให้พร้อมปฏิบัติงานด้วยความละเอียดรอบคอบ คํานึงถึงความประหยัดและความปลอดภัยในการทํางาน ตลอดจนการบันทึกข้อมูลต่างๆ ว่าได้ทําอะไรไปบ้างได้ผลอย่างไร มีปัญหาและข้อคิดเห็นอย่างไร พยายาม บนั ทกึ ให้เป็นระเบียบและครบถว้ น  

23 4)การเขียนรายงานเกี่ยวกับโครงงาน เป็นวิธีสื่อความหมายวิธีหนึ่งท่ีจะให้ผู้อ่ืนได้เข้าใจถึงแนวคิด วิธีการดําเนินงาน ผลที่ได้ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ จากการศึกษาค้นคว้าตั้งแต่ต้นจนจบ การ เขียนรายงานโครงงานอาจไม่ระบุตายตัวเหมือนกันทุกโครงงาน ส่วนประกอบของหัวข้อในรายงานต้อง เหมาะสมกับประเภทของโครงงานและระดับชั้นของผู้เรียน องค์ประกอบของการเขียนรายงานโครงงาน แบง่ กวา้ งๆ เป็น 3 สว่ น ดงั นี้ 4.1) ส่วนปกและส่วนต้น ประกอบด้วย (1) ช่อื โครงงาน (2) โครงงาน ระดับ สถานศึกษา และวันเดือนปีทีจ่ ดั ทํา (3) ช่ือครูประจาํ กล่มุ อาจารย์ท่ปี รกึ ษา (4) คํานํา (5) สารบัญ (6) สารบัญตาราง หรือภาพประกอบ (ถา้ ม)ี (7) บทคัดย่อส้ันๆ ท่ีบอกเค้าโครงอย่างย่อๆ ซึ่งประกอบด้วย เร่ือง วัตถุประสงค์ วธิ กี ารศกึ ษา ระยะเวลา และสรปุ ผล (8) กิตติกรรมประกาศ เพ่ือแสดงความขอบคุณบุคคล หรือหน่วยงานท่ีให้ ความช่วยเหลือหรือมีส่วนเกีย่ วข้อง 4.2) ส่วนเนือ้ เร่อื ง ประกอบดว้ ย (1) บทนําบอกความเป็นมา ความสําคัญของโครงงาน บอกเหตุผล หรือเหตุจูงใจใน การเลอื กหวั ขอ้ โครงงาน (2) วัตถปุ ระสงค์ ของโครงงาน (3) สมมตฐิ านของการศกึ ษาคน้ ควา้ (4) การดําเนินงานอาจเขยี นเปน็ ตาราง แผนผังโครงงานเพ่ือให้การดําเนินงานเป็นไป ตามหัวข้อเร่ือง ตรงตามวตั ถปุ ระสงโครงงานและพสิ ูจน์คาํ ตอบ (สมมติฐาน) (5) สรุปผลการศึกษาเป็นการอธิบายคําตอบท่ีได้ จากการศึกษาค้นคว้าตามหัวข้อ ยอ่ ยท่ีตอ้ งการทราบวา่ เปน็ ไปสมมติฐานหรอื ไม่ (6) อภิปรายผล บอกประโยชน์หรือคุณค่าของผลงานที่ได้ และบอกข้อจํากัดหรือ ปัญหา อุปสรรค (ถา้ มี) พรอ้ มทั้งบอกขอ้ เสนอแนะในการศึกษาคน้ ควา้ โครงงานลกั ษณะใกลเ้ คียงกนั 4.3) ส่วนทา้ ย ประกอบดว้ ย (1) บรรณานุกรมหรือเอกสารอา้ งอิงหรือเอกสารท่ีใช้ค้นคว้า ซึ่งมีหลายประเภท เช่น หนังสือ ตํารา บทความ หรือคอลัมน์ ซึ่งจะมีวิธีการเขียนบรรณานุกรมต่างกัน เช่น หนังสือ ชื่อ นามสกุล ช่ือหนังสือ. สถานท่ีพิมพ์ : สํานักพิมพ์, ปีท่ีพิมพ์บทความในวาสารชื่อผู้เขียน \"ชื่อบทความ\" ชื่อวารสาร. ปีที่ หรือเล่มท่ี : หน้า ; วัน เดือน ปี. คอลัมน์จากหนังสือพิมพ์ ชื่อผู้เขียน \"ช่ือคอลัมน์ : ชื่อเร่ืองในคอลัมน์\" ชื่อ หนังสือพมิ พ.์ วัน เดือน ปี. หน้า. (2) ภาคผนวก เช่น โครงรา่ งโครงงาน ภาพกิจกรรม แบบสอบถาม บทสมั ภาษณ์  

24 5) การนําเสนอผลงาน การนําเสนอผลงานเป็นข้ันตอนสุดท้ายของการทําโครงงาน และเข้าใจถึง ผลงานนั้น การนําเสนอผลงานอาจทําได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมต่อประเภทของโครงงาน เนื้อหา เวลา ระดับของผู้เรียน เช่น การแสดงบทบาทสมมติ การเล่าเรื่อง การเขียนรายงาน สถานการณ์ จําลอง การสาธิต การจัดนิทรรศการ ซ่ึงอาจมีท้ังการจัดแสดงและการอธิบายด้วยคําพูด หรือการรายงานปาก เปล่า การบรรยาย ส่ิงสําคัญคือ พยายามทําให้การแสดงผลงานนั้นดึงดูดความสนใจของผู้ชม มีความชัดเจน เข้าใจง่าย และมคี วามถกู ตอ้ งของเนอื้ หา ที่มา http://maetang-tr02006.blogspot.com/2015/05/41.html  

25 กจิ กรรมทา้ ยบท บทที่ 3 คาํ ช้ีแจง : ให้ผูเ้ รยี นตอบคาํ ถามให้สมบรณู ์ ข้อที่ 1. การพจิ ารณาเลือกโครงงาน มวี ิธกี ารคดิ อยา่ งไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ้ ที่ 2. การวางแผนทาํ โครงงานและข้ันตอนกระบวนการทําโครงงาน มวี ธิ ีการอยา่ งไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................  

26 ข้อท่ี 3. ให้ผูเ้ รียนเรียงลําดับการจดั ทําโครงงานใหถ้ ูกต้อง ลําดบั ขนั้ ตอนท่ี ขน้ั ตอนการดําเนนิ งาน การเขยี นรายงานโครงงาน การวางแผนโครงงาน การเลอื กชื่อโครงงาน การดาํ เนินงานโครงงาน การนาํ เสนอผลการจดั การดําเนนิ งาน ข้อที่ 4. ให้ผู้เรียนเขยี นองคป์ ระกอบของการเขียนรายงานโครงงาน ท้งั 3 สว่ น มาพอสังเขป .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ้ ท่ี 5. ใหย้ กตัวอย่างแผนการปฏบิ ตั ิงานในการทาํ โครงงานมาพอสังเขป .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................  

  บทท่ี 4 ทกั ษะท่จี าํ เปน็ ในการทําโครงงานเพ่อื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้  

28 แผนการเรยี นรู้ประจําบท บทท่ี 4 ทักษะทจี่ าํ เป็นในการทําโครงงานเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ สาระสําคญั ความสามารถทจ่ี ะนาํ นวตั กรรมการจัดทําโครงงาน ไปเป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้ในทางปฏิบัติได้นั้น ผู้เรียนจาํ เป็นต้องมีทักษะเฉพาะทางในบางประการ การเรียนรทู้ กั ษะเหลา่ นน้ั จึงเปน็ สง่ิ จาํ เปน็ สาํ หรบั ผูเ้ รียน ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวัง เพือ่ ให้ผ้เู รียนมีความรู้ ความเขา้ ใจ และมที กั ษะในการทาํ โครงงานเพอื่ พฒั นาทักษะการเรียนรู้ ขอบขา่ ยเน้อื หา ตอนท่ี 4.1 ทกั ษะดา้ นการจัดการขอ้ มูลสารสนเทศ ตอนท่ี 4.2 ทักษะการคิดอย่างเปน็ ระบบ ตอนที่ 4.3 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตอนที่ 4.4 ทกั ษะการนําเสนอ ตอนที่ 4.2 ทักษะการพฒั นาตอ่ ยอดความรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ศกึ ษาหนงั สือเรยี น บทท่ี 4 2. ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตามท่ไี ดร้ บั มอบหมายในหนงั สอื เรียน ส่ือประกอบการเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรยี นบทที่ 4 2. ใบงานท่ี 4 ประเมนิ ผล 1. ประเมนิ ผลจากการสงั เกต 2. ประเมนิ ผลจากใบงาน  

29 ตอนที่ 4.1 ทกั ษะด้านการจดั การขอ้ มูลสารสนเทศ “ ขอ้ มลู (Data)”หมายถงึ กลุ่มตวั อกั ขระทเ่ี มื่อนํามารวมกันแลว้ มีความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง และ มีความสําคัญควรค่าแก่การจัดเก็บ เพ่ือนําไปใช้ในโอกาสต่อๆ ไป ข้อมูลมักเป็นข้อความท่ีอธิบายถึงสิ่งใด สิง่ หน่ึง อาจเป็นตวั อักษร ตัวเลขหรอื สัญลักษณใ์ ดๆ ที่สามารถนาํ ไปประมวลผลดว้ ยคอมพวิ เตอร์ได้ (www.itdestination.) “ข้อมูล (Data)” หมายถึง ข่าวสาร เอกสาร ข้อเท็จจริงเก่ียวกับบุคคล สิ่งของหรือเหตุการณ์ใน รูปแบบของตัวเลข ภาพ ตัวอักษรและสัญลักษณ์ต่างๆ เช่น คะแนนสอบวิชาภาษาไทย ราคาสินค้า จํานวน ผู้เรยี นในโรงเรียน (www.thaigoodview.) “ข้อมูล”หมายถึง ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติ เป็นกลุ่มสัญลักษณ์แทนปริมาณ หรือการ กระทําต่างๆ ที่ยังไม่ผ่านการวิเคราะห์ หรือการประมวลผล ข้อมูลอยู่ในรูปของตัวเลข ตัวหนังสือ รูปภาพ แผนภูมิ เปน็ ตน้ (www.internationalschool.) “สารสนเทศ (Information)” หมายถึง ข้อมูลต่างๆ ที่ได้ผ่านการเปล่ียนแปลงหรือมีการประมวลผล หรือวิเคราะห์สรุปผลด้วยวิธีการต่างๆ แล้วเก็บรวบรวมไว้ เพื่อนํามาใช้ประโยชน์ตามต้องการการประมวลผล (Data Processing) เป็นการนําข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ท่ีเก็บรวบรวมไว้มาผ่านกระบวนการต่างๆ เพื่อแปร สภาพขอ้ มลู ใหเ้ ป็นระบบและอยใู่ นรูปแบบท่ีตอ้ งการ (www.thaigoodview.) “สารสนเทศ”หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการเปล่ียนแปลง หรือจัดกระทําเพื่อผลของการเพ่ิมความรู้ ความ เข้าใจของผู้ใช้ ลักษณะของสารสนเทศจะเป็นการรวบรวมข้อมูลหลายๆ อย่าง ที่เกี่ยวข้องกันเพื่อจุดมุ่งหมาย อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ (internationalschool. eduzones.) “แหล่งข้อมูล”หมายถึง สถานท่ีหรือแหล่งที่เกิดข้อมูลแหล่งข้อมูล จะแตกต่างกันไปตามข้อมูล ท่ีต้องการ เช่น บ้านเป็นแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวกับผู้เรียน โดยบันทึกข้อมูลไว้ในทะเบียนบ้าน ห้องสมุดเป็น แหลง่ ข้อมลู เก่ียวกบั ความร้ตู า่ งๆ ขอ้ มูลบางอย่างเราอาจจะนํามาจากแหล่งข้อมูลหลายแหล่งได้ เช่น ราคาของ เล่นชนิดเดียวกัน เราอาจจะหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลซึ่งได้แก่ร้านค้าหลายๆ ร้านได้ และข้อมูลหรือราคาที่ได้ อาจจะแตกต่างกนั ไป หนังสอื พมิ พเ์ ปน็ แหล่งข้อมลู ท่ีมีท้ังข้อความ ตวั เลข รปู ภาพ การเลอื กใช้ขอ้ มูล (www.202. 143. 159. 117) การเลือกใช้ข้อมูลในการตัดสินใจเป็นสิ่งท่ีมีประโยชน์มาก เพราะในการดํารงชีวิตของคนเรา มกั เก่ยี วข้องกับเหตุการณ์ต่างๆ มากมาย จึงจําเป็นต้องอาศัยการตัดสินใจอย่างมีระบบระเบียบ มีหลักมีเกณฑ์ และมีเหตุผล โดยนําปจั จัยต่างๆ มาพิจารณาก่อนท่ีจะตัดสินใจ เพื่อให้ทางเลือกที่ดีท่ีสุดซ่ึงต้องอาศัยทั้งความรู้ ประสบการณ์ ข้อมูลข่าวสารต่างๆ เป็นส่วนประกอบ เพ่ือไม่ให้เกิดความผิดพลาดหรือโอกาสท่ีจะผิดพลาด มนี อ้ ยท่ีสดุ การจดั ทําข้อมลู ใหเ้ ป็นสารสนเทศ (www.krutong.) การจัดทําข้อมูลให้เป็นสารสนเทศท่ีจะเป็นประโยชน์ต่อการใช้งาน จําเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีเข้ามา ชว่ ยในการดาํ เนินการ เริ่มต้ังแต่การรวบรวมและตรวจสอบขอ้ มลู การดําเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็น สารสนเทศ และการดูแลรักษาสารสนเทศเพอื่ การใช้งาน ดงั ตอ่ ไปน้ี  

30 ก. การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล 1) การเกบ็ รวบรวมข้อมลู เป็นเร่ืองของการเก็บรวบรวมข้อมูลซ่ึงมีจํานวนมาก และต้องเก็บ ให้ได้อย่างทันเวลา เช่น ข้อมูลการลงทะเบียนเรียน ข้อมูลประวัติบุคลากร ปัจจุบันมีเทคโนโลยีช่วยในการ จัดเกบ็ อยู่เปน็ จาํ นวนมาก เช่น การป้อนขอ้ มลู เข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ การอ่านข้อมูลจากรหัสแท่ง การตรวจใบ ลงทะเบียนท่ีมีการฝนดนิ สอดาํ ในตําแหน่งตา่ งๆ เปน็ วิธกี ารเก็บรวบรวมข้อมลู เช่นกัน 2) การตรวจสอบข้อมูล เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจําเป็นต้องมีการตรวจสอบข้อมูล เพ่ือความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบต้องมีความเชื่อถือได้ หากพบที่ผิดพลาดต้องแก้ไขการตรวจสอบ ข้อมูลมีหลายวิธี เช่น การใช้ผ้ปู อ้ นข้อมลู สองคนป้อนข้อมลู ชุดเดียวกันเขา้ คอมพวิ เตอร์แลว้ เปรียบเทียบกัน ข. การประมวลผลขอ้ มลู แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1) การประมวลผลด้วยมอื วิธนี เ้ี หมาะกับขอ้ มลู จํานวนไม่มากและไม่ซับซ้อน อุปกรณ์ในการ คํานวณได้แก่ เครื่องคดิ เลข ลูกคิด 2) การประมวลผลด้วยเคร่ืองจักร วิธีนี้เหมาะกับข้อมูลจํานวนปานกลาง และไม่จําเป็นต้อง ใช้ผลในการคํานวณทนั ทีทันใด เพราะต้องอาศัยเคร่ืองจักรและแรงงานคน 3) การประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ วิธีนี้เหมาะกับงานที่มีจํานวนมาก ไม่สามารถใช้ แรงงานคนได้ และงานมีการคํานวณที่ยุ่งยากซับซ้อน การคํานวณด้วยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ จะให้ผลลัพธ์ท่ี ถูกตอ้ งแม่นยาํ และรวดเรว็ ลาํ ดบั ขน้ั ตอนในการประมวลผลข้อมลู มีดงั นี้ 1) การจัดแบ่งกลุ่มข้อมูล ข้อมูลที่เก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพ่ือเตรียมไว้สําหรับการ ใช้งาน การแบ่งแยกกลุ่มมีวิธีการที่ชัดเจน เช่น ข้อมูลในโรงเรียนมีการแบ่งเป็นแฟ้มประวัตินักเรียน และแฟ้ม ลงทะเบียน สมดุ โทรศัพท์หนา้ เหลืองมกี ารแบง่ หมวดสินค้าและบริการ เพอื่ ความสะดวกในการคน้ หา 2) การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูลตามลําดับ ตัวเลขหรือตัวอักษร เพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่ายประหยัดเวลา ตัวอย่างการจัดเรียงข้อมูล เช่น การจัดเรียงบัตร ข้อมูลผู้แต่งหนังสือในตู้บัตรรายการของห้องสมุดตามลําดับตัวอักษร การจัดเรียงช่ือคนในสมุดรายนามผู้ใช้ โทรศพั ทท์ ําใหค้ ้นหาไดง้ ่าย 3) การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีเป็นจํานวนมาก จําเป็นต้องมีการสรุปผลหรือสร้าง รายงานย่อ เพ่ือนําไปใช้ประโยชน์ข้อมูลที่สรุปได้นี้อาจส่ือความหมายได้ดีกว่า เช่น สถิติจํานวนนักเรียนแยก ตามระดับแตล่ ะระดับการศึกษา 4) การคาํ นวณ ขอ้ มลู ที่เกบ็ มเี ปน็ จาํ นวนมาก ข้อมลู บางส่วนเป็นขอ้ มูลตวั เลขท่ีสามารถนําไป คํานวณเพือ่ หาผลลพั ธบ์ างอยา่ งได้ ดังนัน้ การสรา้ งสารสนเทศจากขอ้ มลู จงึ อาศยั การคํานวณข้อมลู ที่เกบ็ ไว้ด้วย ค. การจัดเก็บและดูแลรักษาขอ้ มูล ประกอบดว้ ย 1) การเก็บรักษาข้อมูล หมายถึง การนําข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึกต่างๆ เช่น แผ่น บนั ทึกขอ้ มูล นอกจากนีย้ งั รวมถึงการดแู ล และการทําสาํ เนาข้อมูลเพ่ือใหใ้ ช้งานตอ่ ไปในอนาคตได้  

31 2) การค้นหาข้อมูล ขอ้ มูลท่ีจัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้งานได้ต่อไป การค้นหาข้อมูล จะต้องค้นได้ถูกต้องแม่นยํา รวดเร็ว จึงมีการนําคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วยในการทํางาน ทําให้การเรียกค้น กระทาํ ได้งา่ ยและทันเวลา 3) การทําสําเนาข้อมูล การทําสําเนาเพื่อที่จะนําข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือนําไปแจกจ่ายใน ภายหลัง จงึ ควรจดั เกบ็ ข้อมลู ให้งา่ ยตอ่ การทําสําเนา หรือนําไปใชอ้ กี คร้งั ได้โดยงา่ ย 4) การสือ่ สารข้อมูล ต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานท่ีห่างไกลได้ง่าย การสื่อสารข้อมูล จึงเป็นเรื่องสําคัญ และมีบทบาทท่ีสําคัญยิ่งที่จะทําให้การส่งข่าวสารไปยังผู้ใช้ทําได้รวดเร็ว และทันเวลา ปัจจุบนั ผู้บรหิ ารต้องสามารถปฏบิ ตั ิงานให้รวดเรว็ เพือ่ ตอบสนองต่อการแข่งขนั ตลอดจนการผลักดันของสังคม ที่มีการใช้ระบบสื่อสารข้อมูลที่ทันสมัย การแข่งขันในเชิงธุรกิจจึงมากขึ้นตามลําดับ มีการใช้เทคนิคทาง คอมพิวเตอร์มาวิเคราะห์ แยกแยะ และจัดสรรข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยี ทําให้คอมพิวเตอร์มีความสามารถมากขึ้น มีขนาดเล็กลงและราคาถูกลง การนําคอมพิวเตอร์มาใช้ งานจงึ แพรห่ ลายอย่างรวดเร็ว ตลอดจนระบบส่ือสารก้าวหน้ายิ่งขึ้น ซ่ึงเป็นผลทําให้ระบบข้อมูลขององค์การที่ ใช้เทคโนโลยีเหล่านี้มีประสิทธิภาพมากขึ้น แนวทางการดําเนินการให้ได้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ จะเร่ิมจากการวิเคราะห์ความต้องการ การวิเคราะห์นี้จะได้จากการสอบถาม ซึ่งจะทําให้ทราบว่าควรจะจัด โครงสรา้ งข้อมลู นั้นไว้ในระบบหรือไม่ ถ้าจัดเก็บจะประกอบด้วยข้อมูลอะไร มีรายละเอียดอะไรตอบสนองการ ใชง้ านไดอ้ ยา่ งไร ลกั ษณะของสารสนเทศท่ดี ีต้องประกอบไปด้วยรายละเอียด ดังนี้ 1) ความเท่ียงตรง (Accuracy) หมายถึง ปราศจากความเอนเอียง สารสนเทศท่ีดีต้องบอก ลกั ษณะความเปน็ จริงที่เกิดข้ึน ไมช่ ้นี ําไปทางใดทางหนึ่ง 2) ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ (Relevancy) หมายถึง มีเนื้อหาตรงกับเรื่องท่ีต้องการใช้ ของผูใ้ ชแ้ ตล่ ะคน 3) ทันต่อเวลา (Timeliness) หมายถึง สามารถนําสารสนเทศที่ต้องการไปใช้ได้ทัน ต่อเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึน การจัดเตรียมสารสนเทศให้ทันต่อเวลาที่ต้องการใช้มี 2 ลักษณะ คือ การจัดทํา สารสนเทศล่วงหน้าตามกําหนดเวลาที่เหตุการณ์จะเกิดในอนาคต และการจัดทําสารสนเทศอย่างรวดเร็ว เพื่อนาํ ไปใชใ้ นเหตกุ ารณ์ที่กาํ ลงั เกิดข้ึน  

32 ตอนท่ี 4.2 ทกั ษะการคดิ อยา่ งเปน็ ระบบ ผูเ้ รียนทุกคนต้องมีประสบการณ์ในการคิดเรื่องใดๆ มาบ้างแล้ว แต่มีข้อสังเกตว่าบางคนอาจจะไม่เคย ตอบตนเองว่า ความคิดคืออะไร ซึ่งราชบัณฑิตสถานได้ให้ความหมายของคําว่า ”คิด” หมายความว่า ทําให้ ปรากฏเป็นรูปหรือประกอบให้เป็นรูปหรือเป็นเรื่องข้ึนในใจ ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คาดคะเน คํานวณ มุ่งจูงใจ ตัง้ ใจ” ซึง่ สรุปได้ว่าการคดิ เป็นหน้าที่หนึ่งของจิต ในขณะที่ข้อมูลทางการแพทย์ค้นพบว่ามนุษย์ใช้สมองในการ คิด และสมองซีกซ้ายคิดในเรื่องของการมีเหตุผล และสมองซีกขวาคิดในเรื่องที่เป็นอารมณ์ความรู้สึก การทํา ความเข้าใจเก่ียวกับการคิด มีขอบข่ายของการเรียนรู้เร่ืองความคิดไว้โดยจัดมิติของการคิด (Dimension of Thinking) ไว้เปน็ มติ ิต่างๆ (เสนห่ ์ จยุ้ โต) ได้แก่ 1. มิติเน้ือหาท่ีใช้ในการคิด ซึ่งประกอบด้วยสาระเก่ียวกับข้อมูลเก่ียวกับตนเอง ข้อมูลเก่ียวกับสังคม และสงิ่ แวดล้อม และขอ้ มูลวชิ าการ วชิ าชีพ 2. มิติด้านคุณสมบัติท่ีเอ้ืออํานวยต่อการคิด ซ่ึงประกอบด้วยสาระเกี่ยวกับคุณลักษณะของความเป็น คนใจกว้าง และเป็นธรรมกระตือรือร้นใฝ่เรียนใฝ่รู้ ช่างวิเคราะห์และบูรณาการ มุ่งม่ันสู่ความสําเร็จและ มีมนุษยสัมพนั ธ์ น่ารกั นา่ คบ 3. มิติด้านทักษะการคิด ซ่ึงประกอบด้วยสาระเก่ียวกับทักษะสื่อความหมาย (การฟัง การอ่าน การ จดจํา การบรรยาย การทําให้กระจ่าง การพูด การเขียน) และทักษะท่ีเป็นแกน (การสังเกตการสํารวจ การซัก คาํ ถาม การจาํ แนกแยกแยะ การเปรยี บเทียบการเชอื่ มโยง และการสรปุ รวบยอด) 4. มิตดิ า้ นลักษณะการคิด ซ่ึงประกอบดว้ ยสาระเกย่ี วกบั คิดคล่อง คิดหลากหลาย คิดละเอียด คิดอย่าง มเี หตุผล คดิ ไกล และคิดถกู ทาง 5. มิตดิ ้านกระบวนการคิด ซงึ่ ประกอบดว้ ยสาระเกี่ยวกับ การคดิ “10 ชนดิ ” ไดแ้ ก่ 5.1 การคดิ แบบวจิ ารณญาณ (Critical Thinking) 5.2 การคดิ แบบริเร่มิ (Initiative Thinking) 5.3 การคดิ แบบสร้างสรรค์ (Creative Thinking) 5.4 การคดิ แบบกลยทุ ธ์ (Strategic Thinking) 5.5 การคดิ แบบอยา่ งเปน็ ระบบ (System Thinking) 5.6 การคดิ แบบบูรณาการ (Integrative Thinking) 5.7 การคิดแบบเชงิ เปรยี บเทียบ (Comparative Thinking) 5.8 การคดิ เชิงประยกุ ต์ใช้ (Application Thinking) 5.9 การคิดเชิงสังเคราะห์ (Synthesis Thinking) 5.10 การคดิ แบบแผนที่ (Mind Map Thinking) 6. มิติดา้ นการควบคุมและประเมนิ ความคดิ ของตน ซ่ึงประกอบด้วยสาระเก่ียวกับประสิทธิผลของการ บรหิ ารมีวธิ กี ารท่ดี ขี น้ึ ปรับปรุงระบบงานดขี ึน้ การพฒั นาสร้างนวตั กรรมใหม่ สร้างความไดเ้ ปรียบในการแข่งขนั ศรินธร วิทยะสิรินันท์ ได้กล่าวว่า ทักษะการคิด หมายถึงความสามารถในการคิดในลักษณะต่างๆ ซึ่งเป็น องค์ประกอบของกระบวนการคิดท่สี ลบั ซับซอ้ น ทักษะการคดิ อาจจัดเป็นประเภทใหญๆ่ ได้ 2 ประเภท คือ  

33 1. ทักษะพื้นฐาน (basic skills) หมายถึง ทักษะการคิดท่ีเป็นพื้นฐานเบื้องต้นต่อการคิดในระดับที่ สูงข้ึนหรือซับซ้อน ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นทักษะการส่ือความหมาย ที่บุคคลทุกคนจําเป็นต้องใช้ในการสื่อสาร ความคิดของตน ได้แก่ ทักษะการส่ือความหมาย (communication skills) และทักษะการคิดที่เป็นแกนหรือ ทักษะการคดิ ทวั่ ไป (core or general thinking skills) 1.1 ทักษะการส่ือความหมาย ได้แก่ การฟัง (listening) การอ่าน (reading) การรับรู้ (perceiving) การจดจํา (memorizing) การจํา (remembering) การคงส่ิงท่ีเรียนไปแล้วไว้ได้ภายหลังการเรียน นั้น (retention) การบอกความรู้ได้จากตัวเลือกที่กําหนดให้ (recognizing) การบอกความรู้ออกมาด้วยตนเอง (recalling) การใช้ข้อมูล (using information) การบรรยาย ( describing) การอธิบาย (explaining) การทาํ ใหก้ ระจา่ ง (clarifying) การพดู (speaking) การเขยี น (writing) และการแสดงออกถึงความสามารถของตน 1.2 ทกั ษะการคิดทเ่ี ปน็ แกนหรอื ทักษะการคดิ ท่วั ไป หมายถึง ทักษะการคิดที่จําเป็นต้องใช้อยู่ เสมอในการดาํ รงชวี ติ ประจําวนั และเปน็ พ้ืนฐานของการคิดขัน้ สงู ที่มีความสลับซับซ้อน ซ่ึงคนเราจําเป็นต้องใช้ ในการเรียนรู้เนื้อหาวิชาการต่างๆ ตลอดจนใช้ในการดํารงชีวิตอย่างมีคุณภาพ ได้แก่ การสังเกต (observing) การสํารวจ (exploring) การต้ังคําถาม (questioning) การเก็บรวบรวมข้อมูล (information gathering) การ ระบุ (identifying) การจําแนกแยกแยะ (discriminating) การจัดลําดับ (ordering) การเปรียบเทียบ (comparing) การจัดหมวดหมู่ (classifying) การสรุปอ้างอิง (inferring) การแปล (translating) การตีความ (interpreting) การเชื่อมโยง (connecting) การขยายความ (elaborating) การให้เหตุผล (reasoning) และ การสรุปยอ่ (summarizing) 2. ทักษะการคิดข้ันสูง หรือทักษะการคิดท่ีซับซ้อน (higher order or more complexed thinking skills) หมายถึง ทักษะการคิดที่มขี ้นั ตอนหลายช้ัน และต้องอาศัยทักษะการสื่อความหมาย และทักษะการคิดที่ เป็นแกนหลายๆ ทักษะในแต่ละข้ัน ทักษะการคิดข้ันสูงจึงจะพัฒนาได้เม่ือเด็กได้พัฒนาทักษะการคิดพื้นฐาน จนมีความชํานาญพอสมควรแล้ว ได้แก่ การสรุปความ (drawing conclusion) การให้คําจํากัดความ (defining) การวเิ คราะห์ (analyzing) การผสมผสานข้อมูล (integrating) การจัดระบบความคิด (organizing) การสร้างองค์ความรู้ใหม่ (constructing) การกําหนดโครงสร้างความรู้ (structuring) การแก้ไขปรับปรุงโครง สร้างความรู้เสียใหม่ (restructuring) การค้นหาแบบแผน (finding patterns) การหาความเช่ือพื้นฐาน (finding underlying assumption) การคิดคะเน / การพยากรณ์ (predicting) การต้ังสมมุติฐาน (formulating hypothesis) การทดสอบสมมุติฐาน (testing hypothesis) การต้ังเกณฑ์ (establishing criteria) การพิสูจน์ความจริง (verifying) และการประยุกตใ์ ช้ความรู้ (applying)  

34 การคดิ แบบอยา่ งเปน็ ระบบ (System Thinking) ทักษะการคดิ นบั เป็นศักยภาพที่สําคัญสําหรับผู้เรียนท่ีจะต้องใช้ในการวางแผน ดําเนินงาน และนําผล การจัดทําโครงงานไปใช้ อย่างไรก็ตามขอเสนอแนะว่า ทักษะการคิดทั้งหลายผู้เรียนควรให้ความสนใจพัฒนา ฝกึ ฝนทักษะการคดิ เพราะเป็นเคร่ืองมอื สาํ คญั ทีจ่ ะติดตวั และนาํ ไปใช้ได้ตลอดกาลอย่างไม่มีขีดจํากัด และเป็น พิเศษสําหรับทักษะการคิดแบบอย่างเป็นระบบ (System Thinking) เป็นลักษณะการคิดท่ีต้องมีส่วนประกอบ สองส่วนท้งั การคิดเชงิ วิเคราะห์ (Analytical Thinking) และการคิดเชิงตรรกะ (Logical Thinking) ซึ่งต้องเป็น กระบวนการคดิ ท่มี ปี ฏิสัมพนั ธ์กัน โดยก่อให้เกดิ พลงั อยา่ งใดอย่างหน่ึงหรือหลายอยา่ ง สาํ หรบั การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking) มีเทคนิคในการพัฒนาตนเองด้วยการฝึกแยกแยะ ประเด็น ฝึกเทคนิคการคิดในการนําแนวคิดทฤษฎีท่ีได้เรียนรู้ มาประยุกต์ใช้กับโครงงานท่ีจะทําและใช้เทคนิค STAS Model มาชว่ ยในการคดิ วิเคราะห์ ได้แก่ Situation Theory Analysis Suggestion ส่วนเทคนิคการคิด เชิงตรรกะ (Logical Thinking) เป็นการฝึกทักษะการคิดแบบความสัมพันธ์เชิงเหตุผล ทั้งความสัมพันธ์ ในแนวดงิ่ และความสมั พันธ์ในแนวนอน  

35 ตอนที่ 4.3 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การทําโครงงานผู้เรียนจาํ เปน็ ต้องมีทกั ษะ ซ่งึ อาจแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1. ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้ันพื้นฐาน มี 8 ทักษะ ได้แก่ การสังเกต การลงความเห็นจาก ข้อมูล การจําแนกประเภท การวัด การใช้ตัวเลข การพยากรณ์ การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา การจัดกระทาํ และสื่อความหมายขอ้ มูล 2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้นั สงู มี 5 ทกั ษะ ได้แก่ การกาํ หนดและควบคุมตัวแปร การตั้ง สมมุติฐาน การกาํ หนดนยิ ามเชิงปฏิบัติการ การทดลอง การตีความหมายข้อมูล และการลงข้อสรุปทักษะท้ัง 5 นี้ เปน็ เรอ่ื งใหมแ่ ละมีความสาํ คญั ในการทําวิจัย ผูเ้ รียนจําเปน็ ตอ้ งทาํ ความเข้าใจให้ชดั เจนก่อน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ ั้นพื้นฐาน มี 8 ทกั ษะ ไดแ้ ก่ 1. การสังเกต เป็นการใช้ประสาทสัมผัสท้ัง 5 คือ ตา หู จมูก ผิวกาย และล้ิน หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง ในการสํารวจวัตถุหรือปรากฏการณ์ต่างๆ หรือจากการทดลอง เพื่อค้นหารายละเอียดต่างๆ ของข้อมูล ข้อมูล จากการสงั เกตแบ่งเปน็ 2 ประเภท คือ - ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นข้อมูลจากการสังเกตคุณลักษณะของสิ่งต่างๆ เช่น สี รูปร่าง รส กล่ิน ลกั ษณะ สถานะ เป็นตน้ - ข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต ขนาด ความยาว ความสูง น้ําหนัก ปริมาตร อุณหภมู ขิ องสิ่งตา่ งๆ 2. การลงความเหน็ จากขอ้ มูล เปน็ การอธิบายเพิม่ เตมิ เกยี่ วกบั ผล หรอื ข้อมูลท่ไี ด้จากการสังเกตอย่าง มีเหตุผล โดยใชค้ วามร้หู รอื ประสบการณม์ าอธิบายด้วยความเหน็ สว่ นตวั ต่อขอ้ มูลน้ันๆ ส่ิงที่สังเกตได้ ประเภทของข้อมลู การลงความเห็น คาํ อธิบาย ปรมิ าณ จากข้อมูล อาตอ๋ ย สงู ประมาณ ใชค้ วามรู้เร่ืองคา่ เฉล่ยี ความ 185 ซ.ม. คณุ ภาพ อาตอ๋ ยสูงกวา่ ชายไทย สูงของชายไทยในการลง โดยทว่ั ไป เส้ือสีเหลืองตวั น้ี ความเหน็ จากข้อมลู มีเนอื้ นิม่ เสอื้ เนอื้ นมิ่ ใสแ่ ลว้ สบายตวั ใชป้ ระสบการณ์ในการลง ความเหน็ จากข้อมลู 3. การจําแนกประเภท เป็นการแบ่งพวก จัดจําแนกเรียงลําดับวัตถุ หรือปรากฏการณ์ต่างๆ ที่ต้อง การศึกษาออกเป็นหมวดหมู่ เป็นระบบทําให้สะดวกรวดเร็ว และง่ายต่อการศึกษาค้นคว้า โดยการหาลักษณะ หรอื คณุ สมบตั ริ ่วมบางประการ หรอื หาเกณฑ์ความเหมือนความต่าง ความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหน่ึงเป็นเกณฑ์ ในการแบ่ง  

36 4. การวัด เป็นความสามารถในการเลอื กใชเ้ ครื่องมอื ได้อยา่ งถูกต้องในการวดั สิ่งต่างๆ ท่ีต้องการศึกษา เช่น ความกว้าง ความสูงความหนา น้ําหนัก ปริมาตร เวลา และอุณหภูมิ โดยวัดออกมาเป็นตัวเลขได้ถูกต้อง รวดเร็ว มีหน่วยกาํ กบั และสามารถอ่านคา่ ทีใ่ ชว้ ดั ไดถ้ ูกต้องใกลเ้ คยี งความเปน็ จริงมากที่สุด 5. การใชต้ ัวเลข การใชต้ ัวเลขหรอื การคํานวณ เป็นการนับจํานวนของวัตถุ และนําค่าตัวเลขท่ีได้จาก การวัดและการนับมาจัดกระทําให้เกิดค่าใหม่ โดยการนํามา บวก ลบ คูณ หาร เช่น การหาพื้นที่ การหา ปรมิ าตร เป็นต้น 6. การพยากรณ์ เป็นความสามารถในการทํานาย คาดคะเนคําตอบโดยใช้ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต ประสบการณท์ เี่ กดิ ข้นึ บ่อยๆ หลกั การ ทฤษฎี หรือกฎเกณฑต์ า่ งๆ มาชว่ ยสรปุ หาคําตอบเร่ืองนั้น การพยากรณ์ จะแม่นยํามากน้อยเพียงใดข้ึนอยู่กับผลท่ีได้จากการสังเกตท่ีรอบคอบ การวัดที่แม่นยํา การบันทึกที่เป็นจริง และการจัดกระทําข้อมลู ที่เหมาะสม 7. การหาความสมั พนั ธ์ระหว่างสเปสกบั สเปส และสเปสกับเวลา สเปส (Space) หมายถึง ที่ว่างในรูปทรงของวัตถุ มี 3 มิติ คือความกว้าง ความยาว และความสูง (หนา ลกึ ) ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสของวัตถุ หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุ 2 มิติ กับวัตถุ 3 มิติ และความสัมพันธ์ระหว่างตําแหน่งท่ีอยู่ของวัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหนึ่ง คือการบ่งช้ีรูป 2 มิติ รูป 3 มิติได้ หรอื สามารถวาดภาพ 3 มติ ิ จากวตั ถุหรอื ภาพ 3 มติ ไิ ด้ เป็นตน้ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสเปสกับเวลา หมายถึง ความสัมพันธ์ระหวา่ งสเปสของวัตถุที่เปลี่ยนไปกับเวลา หรือการเปล่ียนตําแหน่งที่อยู่ของวัตถุกับเวลา นั่นคือการบอกทิศทางหรือตําแหน่งของวัตถุเม่ือเทียบกับตัวเอง หรือสง่ิ อืน่ ๆ 8. การจดั กระทาํ และส่ือความหมายข้อมูล การจัดกระทาํ คอื การนาํ ขอ้ มลู ดบิ มาจดั ลาํ ดบั จัดจาํ พวก หาความถ่ี หาความสมั พนั ธ์หรือคาํ นวณใหม่ การส่ือความหมายข้อมูล เป็นการใช้วิธีต่างๆ เพื่อแสดงข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจ เช่น การบรรยาย ใช้แผนภมู ิ แผนภาพ : วงจร กราฟ ตาราง สมการ ไดอะแกรม เป็นตน้ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ ัน้ สงู มี 5 ทักษะ ไดแ้ ก่ 1. การกําหนดและควบคมุ ตัวแปร ตัวแปร หมายถึง ส่ิงท่ีแตกต่างหรือเปล่ียนแปลงไปจากเดิม เม่ืออยู่ในสถานการณ์ต่างๆ กัน ตัวแปรท่ี เกย่ี วข้องกบั การทดลองทางวิทยาศาสตร์มีอยู่ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) ตัวแปรต้น (ตัวแปรอิสระ ตัวแปรเหตุ) เป็นตัวแปรเหตุที่ทําให้เกิดผลต่างๆ หรือตัวแปรท่ี เราต้องการศกึ ษา หรือทดลองดูว่าเปน็ สาเหตทุ ที่ ําให้เกิดผลตามทเ่ี ราสังเกตใช่หรือไม่ 2) ตัวแปรตาม (ตัวแปรไม่อิสระ ตัวแปรผล) เป็นตัวแปรที่เกิดมาจากตัวแปรเหตุ เม่ือตัวแปร เหตุเปลี่ยนแปลงอาจมีผลทําให้ตัวแปรตามเปลี่ยนแปลงไปได้ ตัวแปรตามจําเป็นต้องควบคุมให้เหมือนๆ กัน เสียก่อน  

37 3)ตัวแปรแทรกซ้อน (Extraneous Variables) เป็นตัวแปรอ่ืนๆ ที่อาจมีผลต่อตัวแปรตาม โดยผวู้ ิจัยไมต่ ้องการใหเ้ กิดเหตกุ ารณ์นัน้ ขน้ึ 2. การตั้งสมมติฐาน เปน็ การคาดคะเนคาํ ตอบของปัญหาอยา่ งมเี หตผุ ล หรือการบ่งบอกความสัมพันธ์ ของตัวแปรอย่างน้อย 2 ตัว ก่อนท่ีจะทําการทดลองจริงโดยอาศัยทักษะสังเกต ประสบการณ์ ความรู้เดิมเป็น พืน้ ฐาน สมมตฐิ านมีลกั ษณะดังน้ี 1. อาจถูกหรือผิดก็ได้ 2. สมมติฐานทดี่ จี ะเปน็ คําตอบทค่ี ดิ ไว้ล่วงหนา้ 3. เป็นขอ้ ความบ่งบอกความสมั พนั ธร์ ะหว่างตัวแปรตน้ กบั ตวั แปรตาม 4. อาจมีมากกวา่ ๑ สมมติฐานก็ได้ 5. ใช้เป็นแนวทางการออกแบบการทดลอง 6. การพสิ จู นส์ มมตฐิ านวา่ ถกู หรือผิด (อาจใชค้ าํ ว่ายอมรับหรือไมย่ อมรบั สมมติฐานนน้ั ๆ) ตัวอยา่ งการตัง้ สมมติฐาน เชน่ 1. กล่นิ ใบตะไคร้กาํ จัดแมลงสาบได้ดีกว่ากลนิ่ ใบมะกรดู 2. การลดนํ้าหนักด้วยวิธีควบคุมอาหารร่วมกับการออกกําลังกาย ช่วยลดนํ้าหนักได้ดีกว่าการควบคุม อาหารอยา่ งเดยี ว 3. การกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ นิยามเชิงปฏิบัติการ หมายถึง ความหมายของคําหรือข้อความ ทใ่ี ชใ้ นการทดลองที่สามารถสังเกต ตรวจสอบ หรือทําการวัดได้ ซ่ึงจําเป็นต้องกําหนดเพื่อความเข้าใจท่ีตรงกัน เสียก่อนทําการทดลองนิยาม เชิงปฏิบัติการจะแตกต่างจากคํานิยามทั่วๆ ไป คือ “ต้องสามารถวัดหรือ ตรวจสอบได้” ซง่ึ มักจะเป็นคํานิยามของตัวแปรนน่ั เอง ตัวอย่างนยิ ามเชงิ ปฏิบัตกิ าร นยิ ามเชิงปฏิบตั ิการ คาํ อธิบาย การเจรญิ เตบิ โตของพืช หมายถึง การที่พชื สงู ข้นึ - การเจรญิ เติบโตของพชื คือ ตวั แปรท่เี ราตอ้ ง ลาํ ตน้ ใหญข่ ึ้นและมีจาํ นวนใบมากข้นึ การศกึ ษา - ความสูง ความใหญ่ จาํ นวนใบเป็นส่ิงท่ี เราสามารถวดั ได้ การแปรงฟันหลังอาหารกลางวนั - การแปรงฟนั หลงั อาหารกลางวัน คอื ตัวแปร ท่ี หมายถึง การท่ีผู้เรียนแปรงฟันด้วยวิธีท่ีถูกต้องเป็น เราตอ้ งการศกึ ษา เวลา อยา่ งนอ้ ย 3 นาที หลังจากรับประทานอาหาร - วิธีทีถ่ กู ต้อง เวลา 3 นาที หลงั รบั ประทานอาหาร กลางวัน ทส่ี ถานศกึ ษา กลางวันท่สี ถานศึกษา เปน็ สง่ิ ท่เี ราสามารถสงั เกต ตรวจสอบ วัดได้  

38 4. การทดลอง เป็นกระบวนการปฏิบัติการเพื่อหาคําตอบจากสมมุติฐานที่ตั้งไว้ในการทดลอง ประกอบดว้ ยขน้ั ตอนต่างๆ 3 ขัน้ ตอน ดงั นี้ 1) การออกแบบการทดลอง คือ การวางแผนการทดลองก่อนลงมือปฏิบัติจริง โดยกําหนดว่า จะใช้วัสดุอุปกรณอ์ ะไรบ้าง จะทําอยา่ งไร ทาํ เมื่อไร มีข้นั ตอนอะไร 2) การปฏบิ ตั กิ ารทดลอง คือ การลงมือปฏบิ ตั ติ ามทอ่ี อกแบบไว้ 3) การบันทึกผลการทดลอง คือ การจดบันทึกข้อมูลต่างๆ ท่ีได้จากการทดลอง ซึ่งใช้ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ ัน้ พ้ืนฐาน 8 ทักษะท่ีกลา่ วไปแลว้ 5. การตคี วามหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป การตีความหมายข้อมูล คือ การแปลความหมายหรือการบรรยายผลของการศึกษา เพื่อให้คนอ่ืน เข้าใจวา่ ผลการศกึ ษาเป็นอยา่ งไร เปน็ ไปตามสมมติฐานทตี่ ้งั ไว้หรอื ไม่ การลงข้อสรปุ เป็นการสรุปความสัมพันธ์ ของข้อมูลทั้งหมด เช่น การอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรบนกราฟ การอธิบายความสัมพันธ์ของข้อมูล ทเ่ี ปน็ ผลของการศึกษา การฝึกทักษะท่ีจําเป็นของการทําโครงงานทุกข้ันตอนอย่างเป็นระบบ จะทําให้ผู้เรียนได้โครงงานและ ได้ผลสาํ เร็จของโครงงานทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพและเชอื่ ถือได้  

39 ตอนที่ 4.4 ทักษะการนาํ เสนอ (www. panyathai.or.th) “การนําเสนอ” หมายถึง การส่ือสารเพ่ือเสนอข้อมูลความรู้ความคิดเห็น หรือความต้องการไปสู่ผู้รับ สารโดยใช้เทคนคิ หรือวิธีการตา่ งๆ ความสําคัญของการนําเสนอในปัจจุบนั นี้ การนําเสนอเข้ามามีบทบาทสําคัญ ในองค์กรทางธุรกจิ ทางการเมอื ง ทางการศึกษา หรือแมแ้ ต่หน่วยงานของรัฐทุกแห่งก็ต้องอาศัยวิธีการนําเสนอ เพือ่ สอ่ื สารข้อมูล เสนอความเห็น เสนอขออนุมัติ หรือเสนอข้อสรุปผลการดําเนินงานต่างๆ กล่าวโดยสรุปการ นําเสนอมีความสําคัญต่อการปฏิบัติงานทุกประเภท เพราะช่วยในการตัดสินใจในการดําเนินงาน ตลอดจน เผยแพร่ความกา้ วหนา้ ของงานต่อผู้บังคบั บัญชาและบุคคลผูท้ สี่ นใจ จดุ มุ่งหมายในการนําเสนอ 1. เพ่ือให้ผูร้ บั สารรบั ทราบความคดิ เห็นหรือความต้องการ 2. เพื่อใหผ้ รู้ ับสารพิจารณาเร่ืองใดเรือ่ งหนึง่ 3. เพ่อื ใหผ้ รู้ บั สารไดร้ ับความรู้จากข้อมูลท่นี ําเสนอ 4. เพอ่ื ใหผ้ ้รู บั สารเกิดความเขา้ ใจท่ีถูกต้อง ประเภทของการนําเสนอ การนาํ เสนอแบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบ ดงั นี้ 1. การนําเสนอเฉพาะกลมุ่ 2. การนาํ เสนอท่ัวไปในทส่ี าธารณะ ลักษณะของขอ้ มลู ทนี่ ําเสนอ ข้อมลู ที่จะนําเสนอแบ่งออกตามลักษณะของขอ้ มูล ไดแ้ ก่ 1. ขอ้ เท็จจริง หมายถงึ ข้อความทเ่ี ก่ยี วข้องกับเหตกุ ารณเ์ รอ่ื งราวที่เปน็ มาหรือเป็นอย่ตู ามความจรงิ 2. ขอ้ คิดเหน็ เป็นความเห็นอันเกดิ จากประเด็นหรือเร่ืองราวทีช่ วนใหค้ ิดขอ้ คดิ เห็นมลี กั ษณะตา่ งๆ กนั การนําเสนอ เปน็ การนาํ ขอ้ มลู ทร่ี วบรวมข้อมูลทไี่ ดจ้ ากการศกึ ษามานาํ เสนอ หรือทําการเผยแพร่ให้ผู้ท่ี สนใจไดร้ ับทราบหรอื นําไปวิเคราะหเ์ พื่อไปใชป้ ระโยชน์ แบง่ ออกได้ 2 ลักษณะ คอื 1. การนําเสนออยา่ งไมเ่ ป็นแบบแผน 1. 1 การนําเสนอในรปู ของบทความ 1. 2. การนาํ เสนอขอ้ มูลในรปู ของขอ้ ความกงึ่ ตาราง 2. การนําเสนอขอ้ มูลอย่างเปน็ แบบแผน 2. 1. การนําเสนอข้อมูลโดยใชต้ าราง 2. 2. การนาํ เสนอขอ้ มูลโดยใชแ้ ผนภมู แิ ทง่ 2. 3 การนําเสนอข้อมลู โดยใชแ้ ผนภมู ิวงกลม 2. 4 การนาํ เสนอข้อมลู โดยใชแ้ ผนภูมิรปู ภาพ 2. 5 การนาํ เสนอขอ้ มูลโดยใช้แผนท่สี ถติ ิ 2. 6 การนาํ เสนอขอ้ มูลโดยใช้แผนภูมแิ ท่งเปรียบเทียบ 2. 7 การนาํ เสนอขอ้ มลู โดยใชก้ ราฟเส้น  

40 ในการนําเสนอข้อมูลแบบใดน้ันข้ึนอยู่กับความเหมาะสมของข้อมูล เช่น ต้องการแสดงอุณหภูมิของ ภาคต่างๆ ควรแสดงดว้ ยกราฟเสน้ ตอ้ งการแสดงการเปรียบเทียบจํานวนนักเรยี นแต่ละระดับการศึกษา ควรใช้ แผนภมู ิแทง่ เป็นต้น  

41 ตอนที่ 4.5 ทกั ษะการพัฒนาตอ่ ยอดความรู้ (gotoknow. Org. และ th.wikipedia.org/wiki) การต่อยอดความรู้ มีคนจัดประเภทความรู้ไว้สองลักษณะได้แก่ ความรู้ฝังลึก (tacit knowledge) กบั ความรปู้ ระจกั ษ์หรอื ชดั แจง้ (explicit knowledge) โดยความรแู้ บบฝงั ลึก (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ ที่ไม่สามารถอธิบายโดยใช้คําพูดได้ มีรากฐานมาจากการกระทําและประสบการณ์ มีลักษณะเป็นความเช่ือ ทกั ษะ และเปน็ อตั วิสัย (Subjective) ต้องการการฝกึ ฝนเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความชํานาญ มีลักษณะเป็นเร่ืองส่วนบุคคล มีบริบทเฉพาะ (Contextspecific) ทําให้เป็นทางการและส่ือสารยาก เช่น วิจารณญาณความลับทางการค้า วัฒนธรรมองค์กร ทักษะความเชี่ยวชาญในเร่ืองต่างๆ การเรียนรู้ขององค์กร ความสามารถในการชิมรสไวน์ หรือกระท่งั ทกั ษะในการสังเกตเปลวควันจากปล่องโรงงานว่ามีปัญหาในกระบวนการผลิตหรือไม่ เป็นความรู้ท่ี ใช้กันมากในชีวิตประจําวันและมักเป็นการใช้โดยไม่รู้ตัว และความรู้ประจักษ์หรือชัดแจ้ง (explicit knowledge) เป็นความรู้ท่ีรวบรวมได้ง่าย จัดระบบและถ่ายโอนโดยใช้วิธีการดิจิทัล มีลักษณะเป็นวัตถุดิบ (Objective) เป็นทฤษฏี สามารถแปลงเป็นรหัสในการถ่ายทอดโดยวิธีการท่ีเป็นทางการ ไม่จําเป็นต้องอาศัย การปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นเพ่ือถ่ายทอดความรู้ เช่น นโยบายขององค์กร กระบวนการทํางาน ซอฟต์แวร์เอกสาร และกลยุทธ์เปา้ หมายและความสามารถขององคก์ ร ระดับของความรู้ หากจําแนกระดับของความรู้ สามารถแบง่ ออกได้เป็น 4 ระดับคอื 1.ความรู้เชิงทฤษฏี (Know-What) เป็นความรู้เชิงข้อเท็จจริง รู้อะไร เป็นอะไร จะพบในผู้ที่สําเร็จ การศึกษามาใหม่ๆ ท่ีมีความรู้โดยเฉพาะความรู้ท่ีจํามาได้จากความรู้ชัดแจ้งซึ่งได้จากการได้เรียนมาก แต่เวลา ทํางานก็จะไมม่ น่ั ใจมักจะปรกึ ษารุ่นพ่ีก่อน 2.ความร้เู ชงิ ทฤษฏแี ละเชิงบรบิ ท (Know-How) เป็นความรู้เชื่อมโยงกับโลกของความเป็นจริง ภายใต้ สภาพความเป็นจริงทีซ่ ับซอ้ น สามารถนําเอาความรู้ชัดแจ้งท่ไี ดม้ าประยุกตใ์ ชต้ ามบริบทของตนเองได้ มักพบใน คนที่ทํางานไปหลายๆ ปี จนเกิดความรูฝ้ ังลกึ ทเี่ ป็นทักษะหรอื ประสบการณม์ ากข้นึ 3.ความรู้ในระดบั ท่ีอธิบายเหตุผล (Know-Why) เป็นความรู้เชงิ เหตุผลระหว่างเร่ืองราวหรือเหตุการณ์ ตา่ งๆ ผลของประสบการณ์แก้ปัญหาที่ซับซ้อน และนําประสบการณ์มาแลกเปล่ียนเรียนรู้กับผู้อื่นเป็นผู้ทํางาน มาระยะหน่งึ แล้วเกิดความร้ฝู งั ลึก สามารถอดความรู้ฝังลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผู้อ่ืน หรือถ่ายทอดให้ผู้ อ่ืนไดพ้ ร้อมท้งั รับเอาความรู้จากผอู้ ่ืนไปปรับใชใ้ นบรบิ ทของตนเองได้ 4.ความรู้ในระดับคุณค่าความเชื่อ (Care-Why) เป็นความรู้ในลักษณะของความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ท่ีขบั ดันมาจากภายในตนเองจะเป็นผู้ท่ีสามารถสกัด ประมวล วิเคราะห์ความรู้ที่ตนเองมีอยู่กับความรู้ท่ีตนเอง ได้รับมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ เช่น สร้างตัวแบบหรือทฤษฏีใหม่หรือนวัตกรรมขึ้นมาใช้ในการ ทาํ งานได้ การถ่ายทอดการปฏิบัติให้เป็นทฤษฏี เป็นรูปแบบหน่ึงของการต่อยอดความรู้ และทําให้การสืบสาน พัฒนาความรู้เป็นไปอย่างกว้างขวาง รวดเร็ว วงการวิทยาศาสตร์เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วได้ก็เพราะอาศัย วัฒนธรรมการตอ่ ยอดความรู้ลักษณะน้ี การจัดประเภทความรู้อีกลักษณะ จําแนกความรู้เป็นเชิงคุณภาพกับเชิงปริมาณ ไอน์สไตน์ เคยกล่าว เปรียบเปรยความรู้ท้ังสองลักษณะไว้ ว่า “เราอาจใช้วิชาฟิสิกส์วิเคราะห์หรือพรรณาลักษณะของคลื่นให้  

42 ละเอียดลึกซึ้งได้มากมาย แต่การทาํ เช่นนั้น ย่อมไม่มคี วามหมาย (ทางดนตรี) ใดๆ เมื่อไปใช้กับบทเพลงของบีโธ เว่น” บางคนอาจตคี วามหมายคํากล่าวน้วี า่ วิชาฟสิ ิกสซ์ งึ่ เน้นการสร้างความร้เู ชิงปริมาณเป็นคนละเร่ืองกับวิชา ดนตรีซึง่ เป็นเรอื่ งของความรเู้ ชิงคณุ ภาพ เหมอื นน้ํากับนา้ํ มันยอ่ มเข้ากนั ไมไ่ ด้ อย่างไรก็ตามความสําเร็จของยามาฮ่าในอุตสาหกรรมเครื่องดนตรี ชวนให้ต้องคิดในอีกมุมหนึ่งก่อน ยามาฮ่าจะประสบความสาํ เร็จ เปยี โนนับเป็นเคร่ืองดนตรสี ําหรับคนส่วนน้อยที่เล่นเปียโนเป็น (ซึ่งต้องผ่านการ ฝึกฝนยาวนาน) สําหรับคนสว่ นใหญเ่ ปียโนเป็นไดอ้ ยา่ งเก่งเพยี งเฟอรน์ เิ จอรป์ ระดบั บา้ นชิน้ ใหญ่ ด้วยวิธีคิดนอกกรอบยามาฮา่ มองเห็นความเป็นไปได้ ท่ีจะทําให้เปียโนเป็นเคร่ืองดนตรีสําหรับคนส่วน ใหญ่ จึงลงมือค้นคว้าวิจัยโดยอาศัยความรู้เก่ียวกับเสียงในวิชาฟิสิกส์ จนสามารถพัฒนาอุปกรณ์อิเลคทรอนิค (Disklavier™) ช่วยให้การเล่นเปียโนง่ายขึ้นกว่าเดิมมาก โดยการบันทึกเสียงขณะเล่นแล้วสะท้อนกลับให้ผู้ฝึก ได้ยิน รวมท้ังสามารถบันทึกและเล่นเสียงเปียโนของมืออาชีพ ให้เลียนแบบความรู้ใหม่ซ่ึงอยู่เบ้ืองหลัง Disklavier™ ได้กลายเป็นต้นแบบให้กับการพัฒนาเปียโนในปัจจุบัน และเปิดศักราชใหม่ของการเรียนเล่น เปียโนอย่างแพรห่ ลายกวา่ ยคุ กอ่ นๆ  


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook