Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนา

โครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนา

Published by s.pannawitt, 2020-06-08 22:24:05

Description: โครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนา

Search

Read the Text Version

3 โครงการอนรุ ักษสิง่ แวดลอมเพือ่ การพัฒนาอยางยั่งยนื วันที่ 14 พฤษภาคม 2562 ณ ศนู ยบ ริการและถายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรประจาํ ตาํ บลนาปา หมูท่ี 5 ตําบลนาปา อาํ เภอเมอื งชลบรุ ี จังหวดั ชลบุรี กศน.ตาํ บลนาปา ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอําเภอเมืองชลบุรี

4 คาํ นาํ จากนโยบายเรง ดว นเพื่อรวมขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตรการพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร 5 ยทุ ธศาสตรดา นสงเสริมและจัดการศึกษาเพอื่ เสริมสรา งคณุ ภาพชีวิตทเี่ ปนมิตรกบั สง่ิ แวดลอม สงเสริม ใหม กี ารใหความรกู บั ประชาชนเกย่ี วกับการปองกนั ผลกระทบและปรบั ตัวตอการเปลย่ี นแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศและภยั พบิ ัตธิ รรมชาติ สรางความตระหนกั ถงึ ความสําคญั ของการสรางสังคมสเี ขยี ว สงเสรมิ ความรูใ หกบั ประชาชน เก่ยี วกับการคัดแยก การแปรรปู และการ กาํ จัดขยะ รวมท้ังการจัดการมลพิษใน ชมุ ชน สงเสริมใหหนว ยงานและสถานศกึ ษาใชพลงั งานท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม รวมท้งั ลดการใช ทรพั ยากรทส่ี ง ผลกระทบตอส่ิงแวดลอม รายงานโโครงการอนรุ ักษสง่ิ แวดลอมในชมุ ชนอยางย่ังยนื เลมนี้ จัดทําขึ้น ประชาชนที่เขารวมโครงการ มคี วามรคู วามเขา ใจ เกิดความตระหนักและเห็นความสําคญั ในการ รูจกั การจดั การขยะมลู ฝอย นาํ ขยะมลู ฝอย มารไี ซเคลิ มาปรบั ใชในชวี ิตประจาํ วนั และนําไปเผยแพร ใหกับชุมชนได เนื่องจากสถานการณทางดา นสงิ่ แวดลอมในปจจบุ ัน จึงไดม ีนโยบายใหท กุ หนวยงาน บรู ณาการดา น การจัดการขยะและอนรุ กั ษส ิ่งแวดลอ ม กศน.อาํ เภอเมอื งชลบรุ ี จึงไดข บั เคล่ือนการ ดําเนินงานกจิ กรรมในโครงการลดการใชพลังงาน การจัดการขยะและอนุรักษส ่ิงแวดลอมในสถานศึกษา เพื่อเปน ศูนยก ารเรียนรลู ดใชพลงั งาน การจดั การขยะและอนรุ กั ษส งิ่ แวดลอ ม เพราะฉะน้นั ไดเล็งเหน็ ถงึ ความสําคัญในปญหาดงั กลา ว จงึ ดาํ เนินการจดั โครงการลดการใชพลังงาน การจดั การขยะและอนรุ ักษ ส่ิงแวดลอม เพ่ือใหป ระชาชนทเ่ี ขารว มโครงการมีความรูความเขา ใจ เพอ่ื เปน แหลงศึกษาและเรยี นรูใหกบั ประชาชนและชุมชน จงึ เปนสวนหน่ึงของฐานการเรียนรลู ดใชพ ลังงาน การจดั การขยะและอนรุ ักษ สิ่งแวดลอม จากปญหาการลดการใชพลังงานและอนุรักษส งิ่ แวดลอ มของชุมชน ศูนยก ารศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอชลบุรีจึงไดจ ดั โครงการอนรุ ักษส่งิ แวดลอมเพอ่ื การ พัฒนาอยา งยัง่ ยืน ข้นึ เพอื่ ตอบสนองนโยบายดงั กลา ว ทายน้ี กศน.ตําบลนาปา ตองขอขอบคุณ กศน.อําเภอเมืองชลบุรีและผูท่ีเก่ียวของที่ ใหคําปรึกษาแนะนําการจัดทําโครงการฯ หากมีขอบกพรองผูจัดตองขออภัยมาไว ณ ท่ีน้ี และจะ ปรบั ปรุงใหด ยี ่ิงข้นึ ในโอกาสตอ ไป กศน.ตําบลนาปา พฤษภาคม 2562

5 สารบญั หนา บทท่ี 1 บทนํา ความเปนมา……………………………………………………………………………………………….1 วัตถุประสงค… …………………………………………………………………………………………….1 เปา หมาย……………………………………………………………………………………………………2 ผลลพั ธ………………………………………………………………………….……………………………2 ดชั นตี วั ช้วี ดั ผลสาํ เรจ็ ของโครงการ…………………………………………………………………2 2 เอกสารการศึกษาและรายงานทเ่ี กย่ี วของ……………………………………………………………….3 ยทุ ธศาสตรแ ละจุดเนนการดาํ เนนิ งาน สํานกั งาน กศน. ประจําปง บประมาณ 2562 ………………………………………………………………………3 แนวทาง/กลยุทธก ารดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของ กศน.อาํ เภอเมือง ชลบุรี………………………………………………………………………9 แนวทางหรอื วิธีการจัดกจิ กรรมการศึกษาตอเน่ือง................................................18 เอกสารงานท่ีเกี่ยวของ...........................................................................................21 3 วธิ ีดาํ เนนิ งาน………………………………………………………………………………………………………31 ประชมุ ปรึกษาหารือการจดั โครงการ กศน.ตาํ บลนาปา ……………………………………31 แตง ตั้งคณะทาํ งาน………………………………………………………………………………………31 ประสานงาน/เครือขา ยทเี่ กย่ี วของ…………………………………………………………………31 ดําเนนิ การตามแผนงานโครงการ…………………………………………………………………..32 สรปุ ผลและรายงาน……………………………………………………………………………………..32 4 ผลการดําเนินงานและการวิเคราะหขอมลู ………………………………………………………………..33 ตอนท่ี 1 ขอมูลสวนตัวผแู บบสอบถามของผเู ขารบั การอบรมใน โครงการอนรุ ักษสิง่ แวดลอ มเพื่อการพฒั นาอยางย่ังยนื ...........................................33 ตอนท่ี 2 ขอมลู เก่ียวกบั ความคิดเห็นท่มี ีตอโครงการอนรุ ักษสิ่งแวดลอม เพือ่ การพัฒนาอยางยั่งยืน……………………………………………………………………………..34

6 สารบัญ (ตอ ) หนา บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ………………………………………………………………...35 สรุปผล……………………………………………………………………………………………….36 อภิปรายผล…………………………………………………………………………………………36 ขอเสนอแนะ……………………………………………………………………………………….36 บรรณานุกรม ภาคผนวก

7 สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา 1 แสดงคา รอยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามเพศ……………………33 2 แสดงคารอยละของผูต อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามอายุ…………………..33 3 แสดงคา รอยละของผูตอบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามอาชพี …………………34 4 แสดงคารอยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามระดบั การศกึ ษา……34 5 ผลการประเมนิ โครงการอนุรักษส ่ิงแวดลอมเพื่อการพัฒนาอยา งยงั่ ยนื ……….35

8 บทท่ี 1 บทนาํ ความเปน มา การเปลย่ี นแปลงของสภาพแวดลอ มในปจจบุ นั ดวยนา้ํ มือของมนุษยกอใหเกิดผลกระทบ ตอ การดํารงชีวิต เกดิ ปญหาตาง ๆ ขนึ้ มากมาย เชน ปญ หาภาวะโลกรอน ที่เราทุกคนกําลังประสบอยู ซง่ึ ปญหาดังกลาวเกิดจากการใชทรัพยากรสง่ิ แวดลอมทข่ี าดความตระหนักและใชป ระโยชนอ ยา ง คุมคา โดยใหค วามรแู กป ระชาชนและผูเกี่ยวของ ใหตระหนักถึงการอนุรักษแ ละพัฒนาส่ิงแวดลอ ม ใน ชมุ ชน ซ่งึ เปน สง่ิ แวดลอ มใกลต วั เม่ือเราสามารถอนุรักษแ ละพฒั นาสิง่ แวดลอ ม ใหอยูในสภาพดไี ด แลว เพ่ือใหม ีผลตอการเรียนรูของผูเขาอบรม เกิดบรรยากาศทดี่ ี มีสภาพแวดลอมเหมาะแกก าร เรียนรู เพ่ิมศักยภาพและผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนรูของผเู ขาอบรมได และผเู ขาอบรมยังสามารถนาํ ความรู ทกั ษะ และประสบการณทไ่ี ดรบั ไปประยุกตใ ชใหเ ปนประโยชนใ นชวี ติ ประจาํ วนั ได ดังนนั้ กศน.ตาํ บลนาปา ไดเ ลง็ เห็นความสาํ คญั จึงไดจ ดั ทาํ โครงการอนรุ ักษสิ่งแวดลอ ม เพื่อการพฒั นาอยา งยั่งยืน ขนึ้ วัตถุประสงค 1. เพอ่ื สงเสรมิ และพัฒนาคุณภาพชวี ติ ของตนเองและคนในชมุ ชนท่ีเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอ มได 2. เพอื่ สามารถนาํ ความรูในกจิ กรรม 3RS นํามาปรับใชในชวี ติ ประจําวันได 3. เพื่อสามารถลดรายจา ย เพม่ิ รายไดได เปา หมาย เชิงปรมิ าณ ประชาชนตําบลนาปา จาํ นวน 18 คน เชงิ คณุ ภาพ ผูเ ขา รวมโครงการฯ มคี วามรู ความเขาใจ เก่ยี วกับคุณภาพชวี ิตของตนเองและ คนในชมุ ชนทเี่ ปน มิตรกบั สิ่งแวดลอ มได สามารถนําความรูในกจิ กรรม 3RS นํามาปรับใชใ น ชวี ติ ประจาํ วัน และสามารถลดรายจาย เพมิ่ รายไดได

9 ผลลัพธ ผเู ขา รว มโครงการฯ ตําบลนาปา รอ ยละ 80 มีความรู ความเขา ใจ เกี่ยวกับคุณภาพชวี ติ ของตนเองและคนในชุมชน ทเ่ี ปน มิตรกับสิง่ แวดลอมได สามารถนาํ ความรูในกจิ กรรม 3RS นํามา ปรับใชใ นชีวิตประจาํ วัน และสามารถลดรายจา ย เพิ่มรายไดไ ด ดชั นตี วั ชีว้ ัดผลสาํ เรจ็ ของโครงการ ตัวช้วี ัดผลผลิต - ผเู ขารวมโครงการฯ ไมนอยกวา รอยละ 80 ของกลุมเปา หมาย จํานวน 20 คน - ผูเขารวมโครงการฯมีความพงึ พอใจในระดับดีขึ้นไปไมนอยกวา รอ ยละ 80 มี ความรูความเขาใจ เกดิ ความตระหนกั และเห็นความสาํ คญั ในการรจู ักการจดั การขยะมูลฝอย นาํ ขยะ มูลฝอย มารีไซเคิล มาปรับใชในชวี ิตประจาํ วนั และนาํ ไปเผยแพรใ หก ับชมุ ชนได ตวั ช้ีวดั ผลลัพธ ผเู ขารว มโครงการฯ ไมนอ ยกวารอ ยละ 50 สามารถนําไปประยุกตใชใน ชวี ติ ประจําวนั ได

10 บทที่ 2 เอกสารการศกึ ษาและรายงานท่เี ก่ียวขอ ง ในการจัดทํารายงานโครงการอนุรักษส งิ่ แวดลอมเพื่อการพัฒนาอยางยง่ั ยนื ครั้งนี้ ผูจัดทาํ โครงการไดทาํ การคน ควาเน้อื หาเอกสารการศึกษาและงานวิจยั ทเี่ กย่ี วขอ ง ดังนี้ 1. ยุทธศาสตรและจดุ เนน การดําเนินงาน สํานกั งาน กศน. ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 2. แนวทาง/กลยุทธก ารดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของ กศน.อําเภอเมืองชลบุรี 3. กรอบการจัดกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผูเรยี น 4. แนวทางในการอนุรกั ษพลงั งานหรือการใชพลงั งานเชิงอนุรกั ษ แนวคิด 3R 1. ยุทธศาสตรแ ละจดุ เนนการดาํ เนนิ งาน สํานกั งาน กศน.ประจําปงบประมาณ 2562 วสิ ัยทัศน คนไทยไดร ับโอกาสการศกึ ษาและการเรียนรูตลอดชวี ติ อยางมีคณุ ภาพ สามารถ ดาํ รงชวี ติ ทเ่ี หมาะสมกบั ชวงวัย สอดคลอ งกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมที ักษะที่จาํ เปน ในโลกศตวรรษที่ 21 บทบาทหนา ท่ี กกกกกก สํานกั งาน กศน. มบี ทบาทหนาท่ีตามบทบัญญตั แิ หง พระราชบญั ญัติสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 1. เปนหนวยงานกลางในการดําเนินการ สงเสรมิ สนบั สนนุ และประสานงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และรบั ผดิ ชอบงานธรุ การของคณะกรรมการ* 2. จดั ทําขอเสนอแนะ นโยบาย ยทุ ธศาสตร แผน และมาตรฐานการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยตอคณะกรรมการสงเสริมสนับสนนุ และประสานความรวมมือการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 3. สงเสริม สนับสนุน และดาํ เนนิ การพฒั นาคุณภาพทางวิชาการ การวจิ ยั การพัฒนา หลักสูตรและนวัตกรรมทางการศกึ ษา บุคลากร และระบบขอมูลสารสนเทศท่เี ก่ยี วขอ งกับการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 4. สง เสริม สนบั สนุน และดําเนินการเทยี บโอนผลการเรียน การเทยี บโอนความรู และประสบการณและการเทียบระดับการศกึ ษา 5. สง เสรมิ สนับสนนุ และประสานงานใหบ ุคคล ครอบครวั ชมุ ชน องคก รชมุ ชน องคกรปกครองสว นทองถิน่ องคกรเอกชน องคก รวชิ าชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และ องคกรอ่นื รวมตวั กนั เปน ภาคเี ครือขา ยเพ่ือเสริมสรางความเขมแข็งในการดําเนนิ งานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 6. จดั ทาํ ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการใชป ระโยชนเ ครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สือ่ สาร สถานวี ิทยุโทรทศั นเพื่อการศึกษา วิทยชุ ุมชน ศูนยวิทยาศาสตรเ พอ่ื การศึกษา หอ งสมดุ ประชาชน พพิ ธิ ภณั ฑศูนยก ารเรียนชุมชนและแหลง การเรียนรูอ่นื เพื่อสง เสริมการเรียนรูและการพฒั นา คณุ ภาพชีวิตอยา งตอเน่ืองของประชาชน

11 7. ดําเนนิ การเกีย่ วกบั การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดําเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 8. ปฏิบตั งิ านอื่นใดตามพระราชบญั ญัตนิ ห้ี รือกฎหมายอนื่ ท่ีบัญญตั ิใหเปน อํานาจ หนา ทข่ี องสํานกั งานหรือตามทีร่ ฐั มนตรมี อบหมาย เปาประสงค กกกกกก 1. ประชาชนผูด อ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา รวมทั้งประชาชนทว่ั ไปไดร บั โอกาสทางการศึกษาในรปู แบบการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน การศกึ ษาตอเนอ่ื งและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยที่มีคุณภาพ อยา งเทา เทยี มและท่วั ถึง เปน ไปตามสภาพ ปญ หา และความ ตองการของแตล ะกลุม เปาหมาย กกกกกก 2. ประชาชนไดรบั การยกระดับการศกึ ษา สรา งเสริมและปลูกฝงคณุ ธรรม จริยธรรม และความเปน พลเมืองอันนําไปสกู ารยกระดับคุณภาพชีวิตและเสรมิ สรางความเขมแขง็ ใหชุมชนเพือ่ พฒั นาไปสูความมน่ั คงและยง่ั ยืนทางดานเศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตร และสงิ่ แวดลอ ม กกกกกก 3. ประชาชนไดรบั โอกาสในการเรยี นรูแ ละมเี จตคตทิ างวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยที ่ี เหมาะสมสามารถคิด วเิ คราะห และประยุกตใชใ นชีวิตประจาํ วัน รวมทั้งแกปญ หาและพัฒนาคณุ ภาพ ชวี ติ ไดอ ยา งสรางสรรค กกกกกก 4. ประชาชนไดร บั การสรางและสง เสรมิ ใหมนี ิสัยรกั การอานเพื่อการแสวงหาความรู ดว ยตนเอง กกกกกก 5. ชุมชนและภาคีเครือขา ยทุกภาคสว น รวมจัด สงเสริม และสนับสนนุ การดําเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั รวมทั้งการขับเคลื่อนกจิ กรรมการเรยี นรขู องชุมชน กกกกกก 6. หนวยงานและสถานศึกษาพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีดิจิทลั มาใชใน การยกระดบั คุณภาพในการจัดการเรยี นรูแ ละเพ่มิ โอกาสการเรียนรใู หก บั ประชาชน กกกกกก 7. หนวยงานและสถานศึกษาพัฒนาส่อื และการจดั กระบวนการเรยี นรูเพ่ือแกปญ หา และพัฒนาคุณภาพชวี ติ ท่ตี อบสนองกบั การเปล่ียนแปลงบริบทดานเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง วัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร และสง่ิ แวดลอม รวมท้ังตามความตอ งการของประชาชน และชมุ ชนใน รูปแบบทหี่ ลากหลาย กกกกกก 8. บุคลากรของหนวยงานและสถานศกึ ษาไดร บั การพฒั นาเพื่อเพ่ิมสมรรถนะในการ ปฏบิ ตั ิงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอยางมีประสิทธภิ าพ กกกกกก 9. หนว ยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล นโยบายและจุดเนนการดําเนินงาน สํานกั งาน กศน 1.ยทุ ธศาสตรด านความมัน่ คง 1.1 สงเสริมการจัดการเรียนรูท่ีปลูกฝงคุณธรรม สรางวินัย การมีจิตอาสา และ อุดมการณค วามยึดม่นั ในสถาบนั หลกั ของชาติ 1) เสรมิ สรา งความรคู วามเขาใจท่ถี กู ตอ งในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหา กษัตริยทรงเปนประมุข มีความเปนพลเมืองดี เคารพความคิดของผูอื่น ยอมรับความแตกตางและ หลากหลายทางความคดิ และอุดมการณ รวมท้งั สังคมพหวุ ัฒนธรรม

12 2) สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ปลูกฝงคุณธรรม สรางวินัย จิตสาธารณะ และ อุดมการณความยึดมั่นในสถาบันหลักของชาติ รวมทั้งการมีจิตอาสา ผานกิจกรรมลูกเสือ กศน. และ กิจกรรมอื่นๆ ตลอดจนสนับสนนุ ใหม ีการจัดกิจกรรมเพ่ือปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรมใหกับบุคลากรใน องคกร 1.2 รวมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน โดยบูรณาการ ขับเคลื่อนการทํางานตามแนวทางประชารัฐ ดําเนินโครงการ/กิจกรรมในพ้ืนท่ีท้ังในระดับตําบล หมูบาน โดยใชทีมขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยั่งยืน ระดับตําบลเปนแกน หลัก และสนบั สนุนกลไกการขับเคล่ือนในพนื้ ท่ีทุกระดับต้งั แตจงั หวัด อําเภอ ตาํ บล และหมูบาน 1.3 พัฒนาการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยในเขตพฒั นาพิเศษ เฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใต และพ้นื ที่ชายแดน 1) พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีความ สอดคลองกบั บรบิ ทของสงั คม วัฒนธรรม และพ้ืนท่ี เพ่อื สนับสนนุ การแกไขปญหาและพฒั นาพืน้ ที่ 2) เรงจัดทําแผนและมาตรการดานความปลอดภัยที่ชัดเจนสําหรับหนวยงานและ สถานศึกษารวมท้งั บุคลากรทีป่ ฏิบตั ิงานในพื้นทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต โดย บูรณาการแผนและปฏบิ ตั งิ านรว มกับหนว ยงานความมั่นคงในพ้นื ที่ 3) สงเสริมและสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรูในสถาบันศึกษาปอเนาะ ในรูปแบบ ตางๆท่ีหลากหลายตรงกับความตองการของผูเรียน อาทิ การเพ่ิมพูนประสบการณ การเปดโลกทัศน การยึดมัน่ ในหลกั คณุ ธรรมและสถาบนั หลกั ของชาติ 4) สนับสนุนใหมีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทใหมีสมรรถนะท่ีสูงขึ้น เพื่อให สามารถปฏิบตั งิ านไดอยา งมีประสิทธิภาพ 1.4 สงเสริมการจัดกระบวนการเรียนรูท่ีตอบสนองกับการเปล่ียนแปลงบริบทดาน สังคมการเมือง รวมท้ังความตองการของประชาชน และชุมชนในรูปแบบที่หลากหลาย ใหประชาชน คิดเปน วเิ คราะหไ ดต ดั สนิ ใจภายใตข อ มลู ทถี่ ูกตอง เชน ความรเู รอื่ งการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั รยิ ท รงเปนประมุข/การเลือกต้ัง 2. ยทุ ธศาสตรด า นการพฒั นากาํ ลงั คน การวิจัย และนวัตกรรมเพ่ือสรางขดี ความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ 2.1 ขบั เคล่อื นการดาํ เนินงานภายใตแ ผนพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค 1) สรางความรูความเขาใจใหกับบุคลากรของสํานักงาน กศน. เก่ียวกับการดําเนินงาน ภายใตแ ผนพฒั นาการศึกษาระดับภาค เพอ่ื รว มขบั เคล่ือนยุทธศาสตรก ารพฒั นาภาค 2) เรงจัดทํายุทธศาสตรและแผนพัฒนาการศึกษาระดับภาค ของสํานักงาน กศน. ให สอดคลองกับแผนพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค 2.2 พัฒนากําลังคนใหมีทักษะความเขาใจและใชเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรูและทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให สามารถ ใชS ocial Media และ Application ตางๆ ในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน

13 2) สงเสริมการจัดการเรียนรดู านเทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือใหประชาชนมีทักษะความเขาใจ และใชเทคโนโลยีดิจิทัล ท่สี ามารถนาํ ไปใชประโยชนในชวี ิตประจาํ วนั รวมท้ังสรา งรายไดใหกบั ตนเอง ได 3) พัฒนาทักษะและสงเสริมใหประชาชนประกอบธุรกิจการคาออนไลน (พาณิชย อิเล็กทรอนิกส)มีการใชความคิดสรางสรรคเชิงนวัตกรรมในการประกอบอาชีพ สรางทักษะอาชีพท่ี สงู ข้ึนใหก บั ประชาชนเพ่ือรวมขับเคลอื่ นเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล 2.3 พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารใหกับประชาชนเพ่ือรองรับการพัฒนา ประเทศ 1) พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบตางๆ อยางเปน รูปธรรมโดยเนน ทกั ษะภาษาเพอ่ื อาชพี ทัง้ ในภาคธรุ กิจ การบริการ และการทองเท่ยี ว 2) พัฒนาความรูและทักษะเทคโนโลยีดิจิทัล การใช Social Media และ Application ตา งๆ เพือ่ พัฒนารปู แบบการจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษ ของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 3) พัฒนาส่ือการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เพ่ือสงเสริมการใชภาษาเพ่ือการสื่อสาร และการพฒั นาอาชพี 3. ยุทธศาสตรดา นการพฒั นาและเสริมสรา งศักยภาพคนใหมีคุณภาพ กกกกกกกก3.1 เรง รดั ดําเนินการจดั การศกึ ษาอาชีพเพื่อยกระดบั ทกั ษะอาชพี ของประชาชนสูฝมือ แรงงาน 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําที่สอดคลองกับศักยภาพของชุมชน และความ ตองการของตลาด ใหประชาชนสามารถนําไปประกอบอาชีพไดจริง โดยใหเนนหลักสูตรการศึกษา อาชพี ชา งพื้นฐาน โดยประยกุ ตใ ชเ ทคโนโลยีในการจดั การเรียนการสอนดา นอาชีพ เชน การเรยี นผาน YouTube การเรียนผานFacebook Live ระบบการเรียนรูในระบบเปดสําหรับมหาชน (Massive Open Online Courses : MOOCs) คอมพิวเตอรชวยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) เปน ตน รวมถงึ สนับสนุนใหเ กดิ ระบบการผลติ ท่ี ครบวงจร และเปด พ้ืนทสี่ วนราชการเปนท่ีแสดง สินคาของชุมชนเพอ่ื เปน การสรา งรายไดใหก ับชมุ ชน 2) บูรณาการความรวมมือในการพัฒนาฝมือแรงงานกับสํานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษาผานศูนยประสานงานการผลิตและพัฒนากําลังคนอาชีวศึกษาภาคทั่วประเทศ เพื่อมุง พัฒนาทักษะของประชาชนโดยใชประโยชนจากศักยภาพและภูมิสังคมเฉพาะของพ้ืนท่ี และ ดําเนินการเชิงรกุ เพื่อเสริมจดุ เดนในระดับภาคในการเปนฐานการผลิตและการบริการท่ีสําคัญ รวมถึง มุงเนนสรางโอกาสในการสรางรายได เพื่อตอบสนองตอความตองการของตลาดแรงงานทั้ง ภาคอุตสาหกรรมและการบรกิ าร 3) พัฒนากลุมอาชีพพื้นฐานท่ีรองรับพื้นท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ท่ีสามารถพฒั นาศักยภาพไปสรู ะดบั ฝมอื แรงงาน โดยศกึ ษาตอ ในสถาบนั การอาชวี ศกึ ษา 3.2 สงเสริมใหประชาชนใชเทคโนโลยีในการสรางมูลคาเพ่ิมใหกับสินคา การทํา ชองทางเผยแพรและจําหนายผลิตภัณฑของวิสาหกิจชุมชนใหเปนระบบครบวงจร และสนับสนุนการ จําหนายสินคาและผลิตภัณฑผานศูนยจําหนายสินคาและผลิตภัณฑออนไลน กศน. (ONIE Online Commerce Center : OOCC) เพื่อจาํ หนา ยสนิ คาออนไลนร ะดบั ตาํ บล

14 3.3 สงเสริมการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทุกวัย โดยการสรางความรูความเขาใจ การสนับสนุนกิจกรรมสุขภาวะ และสรางเครือขายภาคประชาชน ในการเฝาระวัง ปองกัน และ ควบคมุ โรค ใหกับประชาชนทุกชว งวัย โดยเฉพาะในพื้นทีห่ างไกล พื้นทีช่ ายแดน และชายแดนภาคใต โดยประสานงานรวมกับโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล และเจาหนาที่ อสม. ในการใหความรู เก่ียวกับการดูแลสุขภาวะอนามัยใหกับประชาชน รวมท้ังผลิตชุดความรูเกี่ยวกับสุขภาวะ สุขอนามัย เพื่อใชประกอบการเรียนรูใ นหลกั สูตรการศกึ ษาของ กศน. 3.4 เพ่ิมอัตราการอานของประชาชน โดยการจัดกิจกรรมสงเสริมการอานในรูปแบบ ตางๆ เชน อาสาสมัครสงเสริมการอาน หองสมุดประชาชน บานหนังสือชุมชน หองสมุดเคลื่อนท่ี ผลกั ดันใหเกิดหองสมดุ สกู ารเปน หอ งสมุดเสมือนจรงิ ตน แบบ เพือ่ พฒั นาใหป ระชาชนมีความสามารถ ในระดบั อา นคลอง เขา ใจ ความคิด วเิ คราะหพ ื้นฐาน และสามารถรับรูขอมูลขาวสารที่ถูกตองและทัน เหตุการณ รวมท้งั นําความรูทไ่ี ดรับไปใชปฏบิ ตั ิจริงในชวี ติ ประจาํ วัน 3.5 เตรยี มความพรอ มการเขา สูสังคมผสู ูงอายทุ เี่ หมาะสมและมคี ุณภาพ 1) สงเสริมการจัดกิจกรรมใหกับประชาชนเพ่ือสรางความตระหนักถึงการเตรียมพรอม เขาสูสังคมผูสูงอายุ (Aging Society) มีความเขาใจในพัฒนาการของชวงวัย รวมท้ังเรียนรูและมีสวน รวมในการดแู ลรับผดิ ชอบผูสูงอายุในครอบครวั และชมุ ชน 2) พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรูสําหรับประชาชนในการเตรียมความ พรอมเขา สูวัยสงู อายุทเ่ี หมาะสมและมีคุณภาพ 3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตสําหรับผูสูงอายุภายใตแนวคิด “Active Aging” การศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ใหสามารถดูแลตนเองท้ังสุขภาพกายและ สุขภาพจิต และ รูจักใชป ระโยชนจ ากเทคโนโลยี 4) สรางความตระหนักถึงคุณคา และศักดิ์ศรขี องผสู ูงอายุ เปดโอกาสใหมีการเผยแพรภมู ิ ปญญาของผูสูงอายุ และใหมีสวนรวมในกิจกรรมดานตางๆ ในชุมชน เชน ดานอาชีพ กีฬา ศาสนา และวัฒนธรรม 5) จดั การศึกษาอาชพี เพอ่ื รองรับสงั คมผสู ูงอายุ โดยบูรณาการความรวมมอื กบั หนวยงาน ทเี่ ก่ียวขอ ง ในทกุ ระดบั 3.6 พัฒนาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยใชกระบวนการ“สะ เตม็ ศกึ ษา” (STEM Education) 4. ยทุ ธศาสตรด านการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา กกกก 4.1 สงเสริมการรูภาษาไทย เพิ่มอัตราการรูหนังสือ และยกระดับการรูหนังสือของ ประชาชน 1) สงเสริมการรูภาษาไทยใหกับประชาชนในรูปแบบตางๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขต พัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต ใหสามารถฟง พูด อาน และเขียนภาษาไทย เพ่ือ ประโยชนใ นการใชช ีวติ ประจาํ วันได 2) เรงจัดการศึกษาเพ่ือเพิ่มอัตราการรูหนังสือ และคงสภาพการรูหนังสือ ใหประชาชน สามารถอานออก เขียนได และคิดเลขเปน โดยมีการวัดระดับการรูหนังสือ การใชส่ือ กระบวนการ และกิจกรรมพัฒนาทักษะในรูปแบบตางๆ ท่ีเหมาะสม และสอดคลองกับสภาพพื้นที่และ กลุมเปา หมาย

15 3) ยกระดับการรูหนังสือของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการรูหนังสือใน รูปแบบตางๆ รวมทั้งพัฒนาใหประชาชนมีทักษะที่จําเปนในศตวรรษที่ 21 เพ่ือเปนเคร่ืองมือในการ เรยี นรูตลอดชวี ติ ของประชาชน 4.2 เพิ่มโอกาสทางการศึกษาใหกับประชากรวัยเรียนทอ่ี ยนู อกระบบการศกึ ษา 1) เรงดําเนินการหาตัวตนของประชากรวัยเรียนที่อยูนอกระบบการศึกษา ใหกลับเขาสู ระบบการศึกษา โดยใชกลวิธี “เคาะประตูบาน รุกถึงท่ี ลุยถึงถ่ิน” โดยประสานกับสํานักงาน ศึกษาธกิ ารจังหวัด เพอ่ื ดาํ เนนิ การตรวจสอบขอ มลู ทะเบียนราษฎรเทียบกบั ขอมลู การลงทะเบยี นเรียน ของทุกหนวยงาน คนหาผูท่ีไมไดอยูในระบบการศึกษาเปนรายบุคคล และรวบรวมจัดทําเปน ฐานขอมลู และลงพ้ืนท่ตี ิดตามหาตวั ตนของกลุมเปา หมายหาสาเหตุของการไมเขาเรียน และสอบถาม ความตองการในการศึกษาตอ พรอมทั้งจําแนกขอมูลตามประเภทของสาเหตุ และประเภทความ ตองการในการศึกษาตอ และสงตอกลุมเปาหมายเพ่ือใหรับการศึกษาตอตามความตองการของ กลมุ เปาหมายไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ 2) ติดตามผลของกลุมเปาหมายประชากรวัยเรียนที่อยูนอกระบบการศึกษาที่ไดรับการ จัดหาทีเ่ รียน และทงั้ จัดทาํ ฐานขอมูลผูส าํ เรจ็ การศกึ ษาของกลุมเปา หมาย รวมท้งั พัฒนาระบบเพอ่ื การ ติดตามกลุมเปาหมายท่ีไดรับการชวยเหลือใหกลับเขาสูระบบการศึกษาแบบครบวงจร โดยติดตาม ต้ังแตก ารเขา ศกึ ษาตอ จนจบการศึกษา 4.3 สงเสริม และพัฒนาระบบการสะสมและเทียบโอนหนวยการเรียน (Credit Bank System) ของสถานศึกษา ใหมีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของ กลุมเปาหมาย เพ่ือประโยชนในการดําเนินการเทียบโอนความรูและประสบการณไดอยางมี ประสทิ ธภิ าพ 4.4 สงเสริมและสนับสนุนใหเกิดตนแบบเมืองแหงการเรยี นรูเพื่อสง เสรมิ การเรียนรูอยาง ตอเน่ืองใหกับประชาชนในชุมชน โดยกําหนดพื้นที่นํารองท่ีผานมาตรฐานเทียบวัด (Benchmark) ของสํานักงาน กศน. 4.5 พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะสั้น ใหมีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับบรบิ ทของพ้ืนที่ และตอบสนองความตองการของประชาชนผรู บั บรกิ าร 4.6 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกล ใหมีความทันสมัย มีหลักสูตรและสาระการ เรียนรูท่ีหลากหลาย และสถานศึกษา กศน. สามารถนําไปใชในการจัดการเรียนรใู หกับกลมุ เปาหมาย ไดอยา งเหมาะสม 4.7 สรางกระบวนการเรียนรูในรูปแบบ E-learning ท่ีใชระบบเทคโนโลยีเขามาบริหาร จัดการเรียนรู เพื่อเปนการสรางและขยายโอกาสในการเรียนรูใหกับกลุมเปาหมายไดสะดวก รวดเร็ว ตรงตามความตองการของประชาชนผูรับบริการ เชน ระบบการเรียนรูในระบบเปดสําหรับมหาชน ( Massive Open Online Courses :MOOCs) ค อ ม พิ ว เ ต อ ร ช ว ย ส อ น ( Computer Assisted Instruction : CAI) 4.8 ยกระดับการศึกษาใหกับกลุมเปาหมายทหารกองประจําการ รวมทั้งกลุมเปาหมาย พิเศษอื่นๆ เชน ผูตองขัง คนพิการ เด็กออกกลางคัน ใหจบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน สามารถนาํ ความรูทไ่ี ดรบั ไปพัฒนาตนเองไดอยางตอ เน่ือง

16 5. ยุทธศาสตรดานสงเสรมิ และจดั การศกึ ษาเพอื่ เสริมสรางคณุ ภาพชีวติ ทเี่ ปน มติ รกบั ส่งิ แวดลอ ม กกกกกก 5.1. สง เสริมใหม กี ารใหความรูกบั ประชาชนเกี่ยวกับการปองกันผลกระทบและปรับตวั ตอ การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศและภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติ กกกกกก 5.2. สรางความตระหนกั ถึงความสําคัญของการสรางสังคมสีเขียว การกําจดั ขยะและ มลพษิ ในเขตชุมชน กกกกกก 5.3. สง เสริมใหหนวยงานและสถานศกึ ษาใชพลังงานทเ่ี ปนมติ รกบั ส่ิงแวดลอมรวมท้ังลด การใชท รัพยากรท่สี งผลกระทบตอสิง่ แวดลอม 6. ยทุ ธศาสตรดา นการพัฒนาประสทิ ธภิ าพระบบบริหารจดั การ กกกกกก 6.1 พัฒนาระบบฐานขอมูลสารสนเทศดานการศกึ ษาเพื่อการบริหารจดั การอยา งเปน ระบบ และเชื่อมโยงกบั ระบบฐานขอมลู กลางของกระทรวงศึกษาธกิ าร 6.2 สงเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอยางตอเน่ือง ใหมีความรูและทักษะตาม มาตรฐานตาํ แหนง ใหต รงกับสายงาน ความชาํ นาญ และความตอ งการของบุคลากร 6.3 สงเสรมิ ความเขาใจเก่ียวกับหลักเกณฑและวธิ ีการใหขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ตาํ แหนงครู มวี ิทยฐานะและเลอ่ื นวทิ ยฐานะ (ว21/2560) 2. แนวทาง/กลยุทธก ารดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ของ กศน.อําเภอเมืองชลบุรี ศนู ยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอําเภอเมอื งชลบรุ ี ไดกาํ หนดทิศ ทางการดําเนนิ งาน ตามแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา และแผนปฏบิ ตั ิการประจําป โดยมรี ายละเอียด ดงั นี้ ทิศทางการดาํ เนนิ งานของสถานศกึ ษา ✍ ปรัชญา “คิดเปน ทําเปน เนน ICT” ✍ วิสยั ทัศน “จดั การศึกษาตลอดชีวิต ผูกมิตรกับเครอื ขา ย กระจายความรูสชู ุมชน ทกุ ทีท่ ุกเวลาดว ย ICT มีอาชีพและแขงขนั ในประชาคมอาเซียนอยางยงั่ ยืน” ✍ อัตลักษณ “กา วไปในยคุ ดิจิทลั ” ✍ เอกลักษณ “องคกรออนไลน”

17 ✍ พันธกจิ 1. จัดและสง เสริมใหผเู รียน มีความรูก ารศึกษาขน้ั พืน้ ฐานอยา งมคี ณุ ภาพ 2. จัดการศกึ ษาอาชีพใหผ เู รยี นมอี าชพี ทาํ ได ขายเปน และมที กั ษะชีวิตทเี่ หมาะสมทกุ ชว งวยั 3. จดั และสงเสริมใหประชาชนนาํ เทคโนโลยีดจิ ิทลั เพื่อพัฒนาตนเองและสรา งชอ งทางการ จําหนา ยสนิ คา 4. จัดและสงเสริมการศึกษาตามอัธยาศยั ที่มุงใหผรู ับบริการมนี สิ ัยรกั การอา น และ พฒั นาแหลง เรยี นรใู นชุมชน 5. จดั และสงเสริมสนับสนุน พัฒนาแหลง เรียนรู สือ่ และภมู ิปญ ญาทองถิ่น 6. จัดและสง เสริมการศึกษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพื่อพฒั นาสังคม และชุมชนใหมีความเขมแข็งอยา งยั่งยืน 7. จดั และสงเสริมประชาชนใหเปนพลเมืองดตี ามวิถีประชาธปิ ไตย 8. สงเสริม สนบั สนนุ ภาคีเครือขาย ใหมีสวนรวมในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั เพอ่ื ใหเ กดิ การเรยี นรตู ลอดชวี ติ 9. พฒั นารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรยี นรใู หสอดคลองกับพื้นท่ีระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (EEC) และความตองการของกลุมเปา หมาย 10. พฒั นาบคุ ลากรใหมีสมรรถนะในการปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทหนา ที่อยางมี ประสิทธภิ าพและตอเน่ืองโดยเนน การนําเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาใชในการบริหารจดั การ 11. สถานศึกษามรี ะบบการบริหารจดั การตามหลกั ธรรมมาภิบาล 12. ปฏบิ ตั งิ านอน่ื ๆ ท่ีไดร ับมอบหมาย ✍ เปาประสงค และตัวช้ีวัดความสาํ เร็จ เปาประสงค ตัวชีว้ ัดความสําเรจ็ ประชาชนไดรบั โอกาสทางการศกึ ษาในรปู แบบ รอยละของประชากรกลุมตางๆ (กลุมประชากรวัย ของการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม แรงงานปกติทั่วไป กลุม ประชากรวัยแรงงานที่เปน ผู อธั ยาศยั ท่ีมีคุณภาพอยา งทว่ั ถึงและเปนธรรม ยากไร ผูดอยโอกาส ผูพิการ และกลุม ผสู ูงอายุ) ท่ี ไดรบั บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยอยางท่ัวถึง ครอบคลุมและเปน ธรรม ผเู รยี นทเี่ ขารบั การฝกอาชีพมีสมรรถนะในการ รอยละของผเู รียนท่เี ขารบั การศกึ ษาอาชพี เพื่อการมี ประกอบอาชีพ สามารถประกอบอาชีพที่สรา ง งานทาํ ที่มีสมรรถนะในการประกอบอาชีพทเ่ี พม่ิ ข้ึน รายไดใ หกบั ตนเองและครอบครัวได องคกรภาคสว นตา งๆรวมเปน ภาคเี ครอื ขายใน จาํ นวนของภาคีเครอื ขายในการดาํ เนินงานการศกึ ษา การดาํ เนนิ งานการศึกษานอกระบบและ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เพ่ิมมากขนึ้ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั อยางกวา งขวาง สถานศึกษานําเทคโนโลยีดิจิทลั มาใชในการ รอ ยละของของผูเ รียนที่มีความพงึ พอใจตอการใช เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการจดั การศึกษานอกระบบ เทคโนโลยีดจิ ิทัลของสถานศึกษา และการศึกษาตามอธั ยาศยั อยางท่วั ถึง

18 บคุ ลากรของสถานศกึ ษาไดรับการพฒั นาเพื่อ รอยละของบุคลากรของสถานศกึ ษาท่ีไดรบั การพัฒนา เพิม่ สมรรถนะในการปฏบิ ตั ิงานการศึกษานอก เพือ่ เพม่ิ สมรรถนะในการปฏบิ ัตงิ านการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอยา งทั่วถงึ ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยโดยเนน การนาํ สถานศกึ ษามีการพฒั นาระบบการบรหิ าร เทคโนโลยดี ิจิทัลมาใชในการบริหารจัดการ จัดการเพื่อเพ่มิ ประสทิ ธิภาพโดยเนนการนํา รอ ยละของสถานศกึ ษามีการพฒั นาระบบการบรหิ าร เทคโนโลยีดิจทิ ลั ในการดําเนินงานการศึกษา จดั การเพ่ือเพิม่ ประสิทธิภาพโดยเนน การนําเทคโนโลยี นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ดจิ ทิ ัลในการดาํ เนินงานการศึกษานอกระบบและ บคุ ลากรของหนวยงานปฏบิ ัติงานตามที่ไดรับ การศึกษาตามอธั ยาศัย มอบหมายอยางมปี ระสิทธภิ าพ รอยละของบุคลากรของสถานศกึ ษาปฏิบัติงานไดเ ตม็ ประสิทธิภาพ ✍ กลยุทธ กลยทุ ธท ่ี 1 สง เสรมิ และพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ใหเ ปนไปตามนโยบายและมาตรฐานการศึกษาอยา งตอเนอื่ ง กลยทุ ธท่ี 2 สง เสริมใหผรู บั บริการไดรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยใชก ระบวนการคิด เปนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธท ี่ 3 สงเสริม สนบั สนุนใหภ าคเี ครือขายมีสวนรว มในการจัดการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั เพอื่ ใหเกดิ การเรยี นรตู ลอดชีวิต กลยทุ ธที่ 4 พฒั นาหลกั สูตรและรูปแบบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู ใหสอดคลองกับ พ้นื ทเ่ี ขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) และความตองการของกลุมเปาหมาย โดยการมสี วนรว ม ของภูมปิ ญ ญาทองถ่ินและแหลงเรยี นรูท้งั ภาครฐั และเอกชน กลยทุ ธท่ี 5 สง เสริมใหม กี ารประชาสัมพนั ธ ในรูปแบบทห่ี ลากหลาย กลยทุ ธท ี่ 6 พฒั นาระบบการนเิ ทศภายในสถานศึกษาโดยใชก ระบวนการมีสวนรว มจาก ทกุ ภาคสวน กลยุทธท ่ี 7 พัฒนาระบบคุณภาพการศึกษาโดยใชวงจรการพฒั นาคณุ ภาพ (PDCA) เปนหลกั ในการจดั การศึกษา กลยุทธท่ี 8 พฒั นาบุคลากรของสถานศกึ ษาใหม ีความสามารถใชเทคโนโลยีดจิ ิทัลเพ่ือ การจัดกระบวนการเรยี นรู การบรหิ ารจดั การ และสง เสริมการทํางานเปนทีม ✍เขม็ มงุ สูค วามสาํ เร็จ 1. มี กศน.ตาํ บลเปนหลักแหลง 2. มคี อมฯ/อปุ กรณค รบทุก กศน.ตําบล 3. ใหท ุกคนมีความรู ICT 4. มรี ะบบจดั เก็บ/รายงานผา นออนไลน 5. ภายใน1-2 ปต องเปน 1 ใน กศน.จงั หวัด 6. ภายใน 3 ปต องเปน 1-5 ของสํานักงาน กศน.

19 ✍การบริหารนํา ICT สกู ารปฏิบตั ิ 1.การจดั หาคอมฯ/อปุ กรณ 2.ขน้ั การพัฒนา 3.การประเมินผล/รายงาน 1. การจัดหาคอมฯ/อุปกรณ 1.1 การเปด ตัว กศน.ตําบล โดย 1) เชญิ สมาชกิ สภาผูแทนราษฎร (ส.ส.),สมาชกิ วฒุ สิ ภา (ส.ว.) เปนตน 2) นาํ นกั ศึกษา กศน. หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ปจ จุบันมีทง้ั สิน้ 4,621 คน 3) เชิญภาคเี ครือขาย อาทิเชน โรงเรียน, อบต., เทศบาล, อบจ. , อําเภอ เปน ตน 4) เสนอโครงการพฒั นา กศน.ตําบล ใหเ ปน แหลงเรยี นรดู านดิจิทลั 1.2 เชญิ ส.ส./ส.ว. เขา รวมทุกกิจกรรม 1) โครงการเขา คายตาง ๆของนักศึกษา กศน. 2) โครงการวนั วชิ าการ ของนกั ศึกษา กศน. 3) โครงการ อื่น ๆ 2. ขั้นการพัฒนา 2.1 พฒั นาระบบ จะพฒั นาระบบการจดั เก็บ/รายงานตา งๆผา นออนไลน 2.2 พฒั นาคน 1) ครู กศน./จนท.ทุกคน 2) นักศึกษา กศน.หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551ท้ัง 2 กลุม เปาหมาย ตองมีความรู ดา น ICT และสามารถนําไปประยุกตใ ชไ ด สําหรบั ในสวนของนกั ศกึ ษา กศน. หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กศน.อาํ เภอเมืองชลบุรี จะตอ งประกาศเปน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค พรอ มทงั้ ใช งบอุดหนุน (กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู รียน) ในการขับเคลื่อน โดยจดั โครงการพฒั นาคุณภาพผูเ รยี น ดาน ICT พรอมทง้ั จดั ทําสรปุ เปนรูปเลม (5 บท) 3.การประเมนิ ผล/รายงาน 3.1 รายงานผา นออนไลน โดยผานทางเครือขา ยอนิ เทอรเน็ต http://118.172.227.194:7003/choncity/ และ จัดทํา Application รายงานผา นทางสมารทโฟน 3.2 รายงานสรปุ ผลเปนรปู เลม (5 บท) จัดทําสรปุ ผลโครงการ/กิจกรรม เปนรูปเลม (5บท) เพ่ือรองรบั การประเมินคุณภาพโดย ตน สงั กัด และภายนอก

20 ✍ แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา (เฉพาะป 2562) เปาประสงค กลยทุ ธ โครงการ/กจิ กรรม เปาหมาย ตวั ชีว้ ัด เกณฑความสําเร็จ ความสาํ เรจ็ (รอยละ) 1. กลุม เปา หมาย กลยุทธท ่ี 1 1. โครงการ 8,000 คน 1. กลมุ เปาหมาย 1. รอ ยละของ ไดรับโอกาสทาง สง เสรมิ และ ยกระดับจัด ไดรับโอกาสทาง กลุมเปาหมาย การศกึ ษาข้ัน พัฒนา การศึกษานอก การศึกษาแตล ะ ไดร ับโอกาสทาง พ้ืนฐาน คณุ ภาพ ระบบระดบั ประเภทของ กศน. การศึกษาแตล ะ การศกึ ษาตอเนอ่ื ง การศึกษานอก การศึกษาขั้น 2. ผูจ บหลักสตู ร ประเภทของ กศน. และการศกึ ษา ระบบและ พน้ื ฐานใหม ี การศึกษาขัน้ 2. รอยละของผูจบ ตามอัธยาศัยที่มี การศึกษาตาม คณุ ภาพ พน้ื ฐานแตล ะระดับ หลกั สตู รการศกึ ษา คณุ ภาพใหเ ปน ไป อธั ยาศัย ให 2. โครงการพัฒนา 8,000 คน มผี ลสัมฤทธ์ิ ขั้นพื้นฐานแตละ ตามความตองการ เปน ไปตาม คุณภาพผเู รียน ทางการเรยี นเฉลยี่ ระดับมีผลสัมฤทธิ์ และสอดคลอ งกับ นโยบายและ กศน.ตามหลกั สูตร > 2.00 ทางการเรยี นเฉล่ีย สภาพปญหาของ มาตรฐาน การศึกษานอก 3. กลมุ เปา หมาย > 2.00 กลุม เปา หมาย 5. การศึกษา ระบบระดบั รว มกจิ กรรม 3. รอ ยละของ กลมุ เปา หมาย อยา งตอ เนือ่ ง การศกึ ษาข้นั พัฒนาคุณภาพ กลมุ เปา หมายรว ม ไดรบั การสง เสรมิ พ้ืนฐาน ผเู รียน กิจกรรมพฒั นา และสนบั สนุนการ พทุ ธศกั ราช 2551 4. กลุม เปาหมาย คณุ ภาพผเู รยี น พัฒนาคุณภาพ 3. โครงการสงเสรมิ 27 คน เขา รว มกจิ กรรม 4.รอ ยละของ ชวี ิตตามหลกั การรูห นงั สือ สงเสริมการรู กลมุ เปาหมายเขา ปรัชญาของ สาํ หรบั ประชาชน หนังสอื รวมกจิ กรรม เศรษฐกิจพอเพียง อําเภอเมืองชลบรุ ี 5. กลุมเปา หมาย สง เสรมิ การรู เพ่ือพฒั นาสงั คม 4. โครงการจัด 1,020 คน ทกุ ประเภท หนงั สือ และชมุ ชนใหม ี การศึกษาเพ่ือ สามารถนาํ ความรู 5. รอยละของ ความเขมแขง็ พัฒนาอาชีพ (ศนู ย ไปใชในการพัฒนา กลุม เปาหมายทกุ อยา งยั่งยนื ฝกอาชพี ชุมชน) อาชีพหรือคณุ ภาพ ประเภทสามารถ 3.กลมุ เปาหมาย ชวี ติ ได นําความรไู ปใชใ น ไดรับการสราง 6. กลมุ เปา หมายมี การพฒั นาอาชพี และสงเสริมให คณุ ลกั ษณะท่พี ึง หรอื คุณภาพชวี ิต เปน ผูร ักการอา น ประสงคต าม ได และใฝร ใู ฝเรยี น จุดมุงหมายของ อยา งตอเนอื่ ง หลักสูตร ตลอดชวี ิต

21 เปาประสงค กลยทุ ธ โครงการ/กิจกรรม เปาหมาย ตัวช้ีวดั เกณฑความสําเร็จ ความสาํ เร็จ (รอยละ) กลยทุ ธท ี่ 3 1. โครงการเรียนรู 285 คน 7. กลุมเปา หมายมี 6. รอ ยละของ สงเสรมิ ปรชั ญาของ สว นรว มในการจัด กลุมเปา หมายมี สนับสนนุ ให เศรษฐกจิ พอเพียง การศึกษานอก คุณลกั ษณะท่ีพึง ภาคีเครือขาย และเกษตรทฤษฎี ระบบและการจดั ประสงคตาม มสี ว นรว มใน ใหม การศึกษาตาม จุดมงุ หมายของ การจัด 2.โครงการ อธั ยาศยั หลักสตู ร การศกึ ษานอก เสรมิ สรางคณุ ภาพ 2. มีบา นหนงั สอื 7. รอยละของ ระบบและ ชีวิตทเี่ ปน มติ รกับ ชมุ ชนที่เปนไปตาม กลุมเปาหมายมี การศกึ ษาตาม ส่งิ แวดลอม เกณฑค รบทุก ความพงึ พอใจตอ อธั ยาศยั 3.โครงการเกษตร ตําบลอยา งนอ ย การรวมกิจกรรม เพ่ือใหเกิดการ ยคุ ใหมตามวิถี ตําบลละ 1 แหง การเรียนรทู ุก เรยี นรูตลอด ความพอเพยี ง 3. มีมุมหนังสอื เพอื่ ประเภท ชวี ิต 4.โครงการอบรม ชุมชนอยา งนอ ย 1. รอ ยละ 80 เชิงปฏิบัติการ ตําบลละ 1 ของกลุมเปาหมาย ดานเศรษฐกจิ ความพึงพอใจตอ ไดร ับการสง เสริม พอเพยี ง การรว มกิจกรรม การเรยี นรูทางดาน 5.โครงการปรชั ญา 11,500 คน การเรียนรูท ุก หลักปรัชญาของ ของเศรษฐกิจ ประเภท เศรษฐกิจพอเพียง พอเพยี ง 1. กลุม เปา หมาย 2. รอยละ 80 นาํ วิถพี อเพียงสู ไดร บั การสง เสรมิ ของกลุมเปา หมาย ชมุ ชน การเรียนรทู างดาน นาํ ความรไู ปใชใ น 6.โครงการอบรม หลกั ปรชั ญาของ การพัฒนาอาชีพ และเรียนรตู ามรอย เศรษฐกิจพอเพียง และพัฒนา พระยคุ ลบาทดว ย 2. กลุมเปา หมาย คณุ ภาพชวี ิตได หลักปรชั ญาของ นาํ ความรไู ปใชใน 3. รอ ยละ 90 ของ เศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาอาชพี กลุมเปา หมายมี 7.โครงการเรียนรู และพัฒนา ความพึงพอใจใน เศรษฐกิจพอเพียง คณุ ภาพชวี ิตได ระดบั ดขี น้ึ ไป และการพัฒนาท่ี 3. กลุม เปาหมายมี ยั่งยนื \"วิถีไทย วิถี ความพึงพอใจใน พอเพียง\" ระดับดขี ึ้นไป

22 เปา ประสงค กลยุทธ โครงการ/กิจกรรม เปา หมาย ตัวชีว้ ดั เกณฑความสําเรจ็ 9.สถานศึกษา ความสาํ เร็จ (รอ ยละ) พัฒนาสอื่ แหลง กลยทุ ธท ี่ 4 1. โครงการสง เสริม 800 คน 1. กลมุ เปาหมาย เรียนรูและภูมิ พฒั นา การอานเพอื่ พัฒนา ภาคเี ครอื ขายมี 1. รอยละ 80 ของ ปญญาทองถนิ่ หลกั สตู รและ บา นหนงั สอื ชุมชน แหง 4 เปาหมายภาคี ดวยการจดั รูปแบบการจัด 2. โครงการ 17 ตําบล กลมุ เปาหมายมี เครือขา ยมสี วน กระบวนการ กจิ กรรมการ หองสมุดเคลือ่ นท่ี ความพงึ พอใจใน รวมในการจดั เรียนรูท ี่ เรยี นรู ให สาํ หรับชาวตลาด ระดับดีข้นึ ไป การศึกษานอก ตอบสนองกับการ สอดคลอ งกับ 3.โครงการเมืองนกั 1.กลุมเปา หมาย ระบบและการจัด เปล่ยี นแปลง พื้นทเี่ ขต อา น ไดรับการพฒั นา การศกึ ษาตาม บรบิ ทดา น พฒั นาพเิ ศษ 4.โครงการอา น ชวี ิตใหส อดคลอ ง อธั ยาศัย เศรษฐกิจ สังคม ภาคตะวันออก สรา งงานผา น กบั พืน้ ท่เี ขตพัฒนา 2. มบี า นหนังสือ การเมอื ง ใน (EEC) และ QRCode พิเศษภาค ชุมชนท่ีเปนไปตาม รูปแบบที่ ความตอ งการ ตะวนั ออก (EEC) เกณฑครบทุก หลากหลาย ของ 4. กลุม เปาหมายมี ตาํ บลอยา งนอ ย กลมุ เปาหมาย ความพึงพอใจใน ตําบลละ 1 แหง โดยการมสี วน ระดบั ดขี ้ึนไป 3. มมี ุมหนงั สอื รวมของ 1. กศน.อาํ เภอ เพื่อชุมชนอยา ง และกศน.ตําบลมี นอยตําบลละ 1 การอัพเดทขอมลู แหง การประชาสมั พนั ธ 4. รอ ยละ 80 ของ กจิ กรรมทางเวบ็ กลุมเปาหมายมี ไซดเปนประจําทุก ความพงึ พอใจใน เดือน ระดบั ดขี นึ้ ไป

เปา ประสงค กลยุทธ โครงการ/กิจกรรม เปาหมาย ตัวช้ีวดั 23 7.ชมุ ชนและภาคี ความสําเรจ็ เกณฑความสําเรจ็ เครือขา ยรวมจัด ภูมปิ ญญา 1. โครงการ 17 ตาํ บล 1. สถานศกึ ษามี สง เสริมและ ทอ งถ่ินและ English นา รู คู คมู อื ระบบการ (รอยละ) สนบั สนนุ การ แหลงเรียนรู Service โรงแรม นเิ ทศภายใน 1. รอยละ 75 ดาํ เนนิ งาน ทัง้ ภาครัฐและ 2.โครงการ Smart 2. ผนู ิเทศมีการ ของกลมุ เปาหมาย การศกึ ษานอก เอกชน ONIE เพอื่ สราง นิเทศการจดั ไดรบั การพฒั นา ระบบและ กลยุทธท ี่ 5 Smart farmers กิจกรรมและ ชีวติ ใหสอดคลอ ง การศึกษาตาม สงเสริมใหมี 3.โครงการ Digtal รายงานผลเปน กบั พื้นทเี่ ขตพฒั นา อัธยาศยั การ teracy (เพ่ือสราง ประจําทกุ เดอื น พเิ ศษภาค ประชาสมั พนั ธ สังคมออนไลน) ตะวนั ออก (EEC) ในรูปแบบท่ี 4.โครงการการคา 2. รอยละ 80 ของ หลากหลาย ออนไลน สสู งั คม กลมุ เปาหมายมี Digital ความพึงพอใจใน 5.โครงการเพิม่ ระดบั ดีข้นึ ไป ประสิทธิภาพการ 1. รอ ยละ 100 บริหารจดั การขยะ ของ กศน.อําเภอ มูลฝอย และ กศน.ตาํ บลมี 1. โครงการพัฒนา การอพั เดทขอ มลู กลยทุ ธท ่ี 6 ระบบ การประชาสมั พนั ธ พฒั นาระบบ ประชาสัมพนั ธของ กจิ กรรมทางเว็บ การนเิ ทศ สถานศึกษา ไซด ภายใน 1. โครงการพฒั นา เปนประจาํ ทุก สถานศึกษา บคุ ลากรการนิเทศ เดือน โดยใช ภายในสถานศกึ ษา 1. รอยละ 100 กระบวนการมี กศน.อําเภอเมือง ของสถานศกึ ษามี สวนรว มจาก ชลบรุ ี คมู ือระบบการ ทกุ ภาคสวน นเิ ทศภายใน 2. รอยละ 80 ของ ผูน เิ ทศมกี ารนิเทศ การจดั กจิ กรรม และรายงานผล เปนประจาํ ทกุ เดือน

24 เปาประสงค กลยุทธ โครงการ/กิจกรรม เปา หมาย ตวั ชี้วดั เกณฑความสาํ เรจ็ 1. โครงการบรหิ าร 39 คน ความสําเร็จ (รอยละ) 10.สถานศกึ ษามี กลยทุ ธท ี่ 7 ความเสี่ยงของ 1. สถานศึกษามี ระบบการบรหิ าร พัฒนาระบบ สถานศกึ ษา กศน. คมู ือการบรหิ าร 1. สถานศกึ ษามี จดั การตามหลัก คณุ ภาพ อาํ เภอเมืองชลบุรี ความเสีย่ ง คมู อื การบริหาร ธรรมาภบิ าล การศกึ ษาโดย 2. โครงการพัฒนา 2. รายงานสถานะ ความเส่ียง ใชว งจรการ ระบบประกนั ทางการเงนิ เปน 2. รายงานสถานะ พฒั นา คณุ ภาพการศกึ ษา ประจาํ ทกุ เดือน ทางการเงนิ เปน คณุ ภาพ กศน.อําเภอเมือง ประจาํ ทุกเดือน ชลบรุ ี (PDCA) เปน หลกั ในการจดั การศกึ ษา 8. บุคลากรของ กลยุทธท ่ี 8 1.โครงการพฒั นา 39 คน 1.บุคลากรของ 1. รอยละ 80 ของ สถานศกึ ษาไดร บั พฒั นา บคุ ลากรดา น สถานศกึ ษาทกุ คน บคุ ลากรของ การพัฒนาเพ่อื บคุ ลากรของ วิชาการ:Google ไดรบั การพัฒนา สถานศกึ ษาทุกคน เพิม่ สมรรถนะใน สถานศึกษาให Form เพ่อื เพิ่มสมรรถนะ ไดร ับการพัฒนา การปฏบิ ัติงาน มี 2.โครงการพฒั นา ในการปฏบิ ัตงิ าน เพ่ือเพม่ิ สมรรถนะ ตามบทบาท ความสามารถ บุคลากรดา น ตามบทบาทหนาท่ี ในการปฏบิ ัตงิ าน หนา ที่อยา งมี ใชเ ทคโนโลยี วิชาการ:การจัดทาํ อยางมี ตามบทบาทหนาท่ี ประสิทธภิ าพและ ดิจทิ ลั เพอื่ การ สือ่ การเรยี นการ ประสิทธิภาพและ อยางมี ตอเนอ่ื ง จดั สอน Clip Video ตอเนอื่ ง ประสทิ ธิภาพและ กระบวนการ 3.โครงการบรหิ าร 2.บคุ ลากรของ ตอ เนื่อง เรยี นรู การ จดั การขอมูล สถานศกึ ษา 2. รอยละ 80 บริหารจัดการ ขา วสาร กศน.ฝา สามารถนาํ ความรู ของบคุ ลากรของ และสง เสรมิ กระแส Social ไปใชในการ สถานศึกษา การทํางาน Network พัฒนาการ สามารถนาํ ความรู เปน ทมี 4.โครงการประชุม ปฏิบัติงานตาม ไปใชใ นการ บคุ ลากรเพื่อเพม่ิ บทบาทหนา ที่ พฒั นาการ ประสทิ ธภิ าพใน อยางมี ปฏบิ ัติงานตาม การปฏบิ ตั ิงาน ประสทิ ธภิ าพ บทบาทหนา ที่ 5.โครงการประชุม 3. บุคลากรของ อยางมี เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการ สถานศึกษามคี วาม ประสิทธิภาพ จัดกระบวนการ พึงพอใจในระดับดี 3. รอยละ 90 เรียนการสอน ขน้ึ ไป ความพงึ พอใจใน ระดบั ดีขึน้ ไป

25 3. แนวทางหรือวิธีการจัดกจิ กรรมการศึกษาตอ เนอื่ ง เพ่ือใหสถานศกึ ษาไดจ ดั กิจกรรมพัฒนาสงั คมและชุมชน เปนไปในแนวทางเดียวกนั อยา ง มีประสทิ ธภิ าพ ประสิทธิผล เกิดความคมุ คา ประหยดั เกิดประโยชนต อผเู รียนและทางราชการสูงสุด สํานกั งาน กศน. จึงไดก ําหนดกรอบการจัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู รียน จํานวน 9 กจิ กรรม ดงั นี้ 1. กิจกรรมพฒั นาวชิ าการ เปนการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาใหผูเรียนมีพ้ืนฐานความรูเพียงพอกับการศึกษาในแตละ ระดับและพัฒนาผูเรียนใหมีความรู ความสามารถทางดานวิชาการเพ่ิมมากข้ึนในรายวิชาตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดแก ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร หรือวิชาอ่ืน ๆ ตามความตองการของนักศึกษา กศน. ซ่ึงวิทยากรหรือผูสอน ควรเปนผูท่ีมีความรูหรือประสบการณในการสอนวิชานั้น ๆ โดยตรง อาจจะเปนบุคคลภายนอกหรือครู กศน. ไดตามความเหมาะสม สวนจํานวนนักศึกษา กศน. ที่รวมกิจกรรมใหอยูในดุลยพินิจของผูบริหาร สถานศกึ ษากกก 2. กิจกรรมพฒั นาทกั ษะชีวติ เปนการจัดกิจกรรมเสริมเพิ่มเติมจากการเรียนปกติในสาระทักษะการดําเนินชีวิต หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เน่ืองจากสังคมปจจุบันมีการเปล่ียนแปลง อยา งรวดเรว็ ท้ังดา นเศรษฐกจิ สงั คมขาวสารขอ มูล และเทคโนโลยี มกี ารแขงขนั และความขัดแยงมาก ข้ึน จึงมีความจําเปนท่ีสถานศึกษาตองจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตใหกับ นักศึกษา กศน. โดยมี วัตถุประสงคหลัก คือ เพ่ือใหมีความรู ความเขาใจ มีเจตคติ คานิยมท่ีถูกตอง และมีทักษะ หรือ ความสามารถพื้นฐานที่จําเปนในการเผชิญปญหาท่ีเกิดขึ้นในชีวิต เชน ปญหายาเสพติด การตั้งครรภ ไมพึงประสงค เพศสัมพันธ ทะเลาะวิวาท ครอบครัวแตกแยก ความรุนแรง ภัยพิบัติ ความเครียด ฯลฯ รวมทั้งมีคุณสมบัติท่ีพึงประสงคในการอยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางมีความสุข และสามารถ นาํ ความรจู ากการเขารว มกจิ กรรมไปปรบั ใชในชวี ติ ประจาํ วนั ไดอ ยางเหมาะสม กก 3. กิจกรรมทแี่ สดงออกถึงความจงรกั ภกั ดตี อ สถาบนั ชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย เปนการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาและสงเสริมสนับสนุนใหผูเรียน มีความรูความเขาใจ มี ทัศนคติท่ีดีมีความรักและภาคภูมิใจในชาติไทย และแสดงออกถึงความจงรักภักดีตอสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริยตลอดจนทะนุบํารุงและปฏิบัติตามหลักธรรมทางศาสนาท่ีนับถือ การ สง เสริมโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชด ารกิ ารเทิดทูนและปกปองสถาบนั พระมหากษัตรยิ และพระ บรมวงศานุวงศ 4. กจิ กรรมการเรยี นรูตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหมีความรู ความเขาใจตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงโดยสามารถนําไปประยุกตใหเกิดผลในทางปฏิบัติในการดํารงชีวิตประจําวันท้ังตอ ตนเอง ครอบครัวชมุ ชน สงั คมและประเทศชาติ 5. กิจกรรมลกู เสือ และกจิ กรรมอาสายุวกาชาด เปนกิจกรรมเพ่ือพัฒนาและสงเสริมสนับสนุนใหผเู รียนเปน ผทู ่ีมีระเบียบวนิ ัย มีคุณธรรม จริยธรรมมีจิตอาสา มีความเสียสละในการชวยเหลือผูอ่ืน บําเพ็ญประโยชนตอสังคมและชุมชน โดย ดําเนินการจัดกิจกรรมลูกเสือ กศน. และกิจกรรมอาสายุวกาชาด หรืออาจดําเนินการรวมกับ

26 สํานักงานลูกเสือแหงชาติ สํานักการลูกเสือยุวกาชาดและกิจกรรมนักเรียน กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานยุวกาชาด สภากาชาดไทย เปนตน 6 . กิจกรรมกีฬาและสงเสริมสขุ ภาพ เปนการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผูเรยี นไดมีโอกาสออกก าลังกายและเลนกีฬาเพื่อสุขภาพ พลานามัยที่ดีสรางนิสัยความมีน้ําใจเปนนักกีฬาและใชเวลาวางใหเปนประโยชน เปนการสรางความ รัก ความสามัคคีในหมู คณะ ให รูจัก รูแพ รูชนะ รูอภัย และเปนการสรางสัมพันธภาพอันดี ระหวาง นกั ศกึ ษา กศน . 7. กจิ กรรมเพื่อพัฒนาความรูค วามสามารถดานเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) เปน กจิ กรรมเพือ่ พฒั นาผูเรยี นใหมีความรูและทักษะใน ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เชน การจดั อบรมความรูในดา นตา งๆ ท่ีเกยี่ วกบั ICT เปน ตน 8. กจิ กรรมเพ่ือพัฒนาความรสู ูประชาคมโลก เปนการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาความรูใหกับผูเรียน ในดานการศึกษา เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมความม่ันคง และการเมือง เพ่ือเขาสูประชาคมโลก เชน การเปลี่ยนแปลงโครงสราง ประชากรไปสูสังคมสูงวัยทักษะของประชากรในศตวรรษที่ 21 ที่ท่ัวโลกตางตองเผชิญกับความ ทา ทายและมงุ พฒั นาประเทศไปสูการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมยคุ 4.0 เปนตน 9. กิจกรรมจิตอาสา กศน. “เราทําความดดี วยหัวใจ” เปนกิจกรรมที่หนวยงาน/สถานศึกษาในสังกัดสํานักงาน กศน. จัดขึ้น หรือรวมกับ หนวยงานอ่นื ๆและรวมกับประชาชนทุกหมูเหลาท่ีมีจิตอาสาบําเพ็ญสาธารณประโยชนในพืน้ ทต่ี าง ๆ เพื่อบรรเทาความเดือดรอน และแกไขปญหาใหแกประชาชน ไมวาจะเปนปญหาน้ําทวมในเขตชุมชน ปญหาการจราจรและอื่น ๆ เพ่ือสืบสานพระราชปณิธานพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช บรมนาถบพิตร ที่ทรงหวงใยปญหานํ้าทวมและปญหาการจราจรในเขตพื้นท่ี กรุงเทพมหานครและจังหวัดตาง ๆ และสอดคลองกับพระบรมราโชบายของสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 10 เปน การพัฒนาสภาพแวดลอ มและความเปน อยูในชมุ ชนใหมีสภาพทีด่ ขี ้นึ 10. กิจกรรมสงเสริมการอา น และพฒั นาทักษะการเรียนรู เปนกิจกรรมที่สงเสริมใหผูเรียนมีทักษะการอาน การเรียนรู เสริมสรางนิสัยรักการอาน และการเรียนรูเพื่อนําไปใชในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชนและสังคม อันจะนําไปสูสังคมแหง การเรยี นรูตลอดชีวติ 11. กิจกรรมสงเสริมการเรยี นรเู พ่อื พัฒนาทักษะอาชพี เปนกิจกรรมท่ีสงเสริมใหผูเรียนไดศึกษา เรียนรูฝกทักษะและฝกปฏิบัติดานอาชีพที่ ตนเองสนใจ เพ่อื เปนทางเลือก และวางแผนการประกอบอาชพี และการศึกษาตอ ในอนาคต 12. กิจกรรมสง เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เปนกจิ กรรมท่ีสง เสริมใหผูเรียนไดเรียนรู ดวยการปลูกฝง คุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และเอกลักษณของชาติ ใหเกิดความรักและความภาคภูมิใจ สืบสาน วฒั นธรรมและประเพณที อ งถิ่นอยรู ว มกนั ในสงั คมไดอยา งมีความสขุ 13. กิจกรรมการเรียนรูการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง เปนประมุข และกฎหมายที่เกีย่ วขอ งในชวี ิตประจาํ วนั

27 เปนกิจกรรมเพื่อพัฒนาผูเรียน ใหมีความรูความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขและกฎหมายท่ีเกี่ยวของในชีวิตประจําวัน เชน กฎหมายรัฐธรรมนูญกฎหมายการเลือกตั้ง สิทธิหนาท่ีพลเมือง กฎหมายที่เกี่ยวของกับการ คุมครองผบู รโิ ภค เปนตน 14. กจิ กรรมเสริมสรางความสามารถพเิ ศษ เปนกจิ กรรมเพ่อื พัฒนาผูเรยี นท่ีมีความสามารถพิเศษ หรือมีพรสวรรคใ นดา นตา ง ๆ ใหม ี โอกาสและกลาแสดงออกถึงทักษะ ความรู ความสามารถ ความคิดสรางสรรค และจินตนาการ ใน แนวทางท่ีถูกตองเหมาะสม และพัฒนาความสามารถพิเศษหรือพรสวรรคไปใชประโยชนตอการ ดํารงชีวิตของตนเอง เปนการสงเสริมสนับสนุนการศึกษาตลอดชีวิต โดยการจัดตั้งชมรมตาง ๆ เชน ชมรม TO BE NUMBER ONE การจดั ตง้ั ศนู ยเ พือ่ นใจวยั รนุ เปน ตน 3. รปู แบบของกิจกรรม 3.1 แบบการจดั คา ยวิชาการ คายกจิ กรรม ท้ังคายไป – กลบั และคา ยคางคนื 3.2 แบบชั้นเรยี น โดยครู กศน. หรอื วิทยากรที่มีความรหู รือประสบการณในการสอน วชิ านัน้ ๆ เปนผูจัดกจิ กรรมหรือรวมกับเครือขาย 3.3 แบบศึกษาดงู าน ในพ้ืนทใ่ี กลเคียงหรือภายในจังหวัด/ภาคเดียวกัน กรณีออกนอกพ้ืนที่ ใหข อความเหน็ ชอบจากผูอํานวยการสํานักงาน กศน.จงั หวัด/กทม. 3.4 อื่นๆ ตามความเหมาะสม (โดยใหพิจารณารูปแบบของกิจกรรมขอท่ี 3.1 – 3.3 กอน แลว จงึ ดําเนนิ การในขอ 3.4) 4. งบประมาณ การเบิกจายใหเปนไปตามระเบยี บของทางราชการท่ีเก่ียวของ โดยยึดหลักความถูกตอง โปรง ใสตรวจสอบได 5. เงือ่ นไขของการดําเนนิ งาน 5.1 ผูร บั บรกิ ารตอ งเปน นักศึกษา กศน. ทล่ี งทะเบยี นเรยี นในหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในภาคเรียนนนั้ ๆ 5.2 สถานศึกษาจดั ทาํ แผนการจัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผูเรียน ตามกรอบการจดั กิจกรรมเพอ่ื พัฒนาคุณภาพผูเ รยี น 5.3 สถานศกึ ษาจัดสง แผนการจดั กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน เพื่อขอความเห็นชอบ จากสาํ นกั งาน กศน. จังหวดั /กทม. 5.4 สถานศกึ ษาดาํ เนินการตามแผนการจดั กจิ กรรมเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพผูเรยี น ตรวจสอบ ประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรม พรอ มเบิกจายเงนิ ตามระเบียบทีก่ าํ หนดใหแลวเสร็จภายในแตล ะภาค เรียน และรายงานผลใหส าํ นักงาน กศน. จังหวัด/กทม. ทราบ 5.5 สาํ นกั งาน กศน. จงั หวัด/กทม. นิเทศติดตาม การจดั กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเ รียน ของสถานศึกษา 5.6 ใหใช“ กรอบการจดั กจิ กรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรยี น ตามหลกั สูตรการศกึ ษานอก ระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 สํานกั งาน กศน.” ตงั้ แตภ าคเรียนที่ 2/2561 เปน ตน ไป

28 หมายเหตุ : กจิ กรรมเพื่อพฒั นาคณุ ภาพผเู รยี นทใี่ ชเ งนิ งบประมาณในการจดั กจิ กรรมไม นับเปนช่ัวโมงกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต (กพช.) ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา ขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 4. เอกสารงานที่เกย่ี วขอ ง แนวทางในการอนุรกั ษพ ลังงานหรอื การใชพ ลงั งานเชงิ อนุรักษ • การใชพ ลงั งานอยา งประหยัดและคุม คา โดยการสรา งคานยิ มและจติ ใตส ํานึกการใชพลงั งาน • การใชพลงั งานอยา งรูคณุ คา จะตอ งมกี ารวางแผนและควบคุมการใชอยางเต็มประสทิ ธภิ าพ และเกิดประโยชนส งู สดุ มกี ารลดการสญู เสยี พลงั งานทุกขนั้ ตอน มกี ารตรวจสอบและดูแลการ ใชเครือ่ งใชไฟฟา ตลอดเวลา เพ่อื ลดการร่วั ไหลของพลงั งาน เปน ตน • การใชพ ลังงานทดแทนโดยเฉพาะพลังงานทไี่ ดจากธรรมชาติ เชน พลังงานแสงอาทติ ย พลงั งานลม พลังงานนํ้า และอ่ืน ๆ • การเลือกใชเ คร่ืองมือและอปุ กรณท ีม่ ีประสทิ ธิภาพสงู เชน เคร่ืองใชไฟฟา เบอร 5 หลอดผอม ประหยัดไฟ เปน ตน • การเพ่ิมประสิทธิภาพเช้ือเพลิง เชน การเปลย่ี นแปลงโครงสรางทําใหเชอ้ื เพลิงใหพลังงาน ไดม ากขนึ้ • การหมนุ เวยี นกลบั มาใชใ หม โดยการนําวสั ดุท่ชี ํารุดนํามาซอมใชใ หม การลดการท้งิ ขยะท่ไี ม จําเปน หรอื การหมุนเวยี นกลบั มาผลติ ใหม (Recycle) รปู ภาพที่ 1

29 นโยบายพลงั งาน พัฒนาพลังงานใหป ระเทศไทยสามารถพึ่งตนเองไดมากข้ึนโดยจดั หาพลังงานใหเ พียงพอ มี เสถียรภาพดวยการเรงสาํ รวจและพฒั นาแหลง พลงั งานประเภทตาง ๆ ท้ังภายในประเทศและ ตางประเทศ และเรงใหมีการเจรจากับประเทศเพื่อนบา นในระดับรัฐบาลเพ่ือรว มพัฒนาแหลง พลังงาน วางแผนพฒั นาไฟฟาใหมีการกระจายชนดิ ของเช้ือเพลงิ ท่ใี ช เพื่อลดความเสย่ี งดา นการ จัดหา ความผนั ผวนทางดานราคา และลดตน ทนุ การผลิต สงเสรมิ การผลิตไฟฟาจากพลังงาน หมนุ เวียนท่มี ีศักยภาพ โดยเฉพาะโครงการผลติ ไฟฟาขนาดเลก็ และโครงการผลติ ไฟฟาขนาดเล็ก มาก รวมทงั้ ศึกษาความเหมาะสมในการพฒั นาพลังงานทางเลือกอนื่ ๆ มาใชประโยชนใ นการผลิต ไฟฟา ดาํ เนินการใหน โยบายดานพลังงานทดแทนเปนวาระแหงชาติ โดยสนับสนุนการผลิตและการ ใชพ ลงั งานทดแทน โดยเฉพาะการพฒั นาเชื้อเพลิงชีวภาพและชวี มวล เชน แกส โซฮอล (อี 10 อี 20 และอี 85) ไบโอดีเซล ขยะ และมลู สัตว เปนตน เพ่ือเสริมสรางความม่ันคงดานพลงั งาน ลดภาวะ มลพิษ และเพื่อประโยชนข องเกษตรกร โดยสนบั สนุนใหมีการผลิตและใชพลงั งานหมนุ เวยี นในระดบั ชมุ ชน หมบู า น ภายใตมาตรการสรา งแรงจูงใจทเ่ี หมาะสม รวมทงั้ สนับสนนุ การใชก า ซธรรมชาติใน ภาคขนสงใหมากขึน้ โดยขยายระบบขนสง กา ซธรรมชาตใิ หครอบคลุมพ้นื ที่ทั่วประเทศ ตลอดจน สงเสริมและวิจัยพัฒนาพลงั งานทดแทนทุกรูปแบบอยางจริงจงั และตอเนื่อง กาํ กบั ดแู ลราคาพลังงานใหอ ยูในระดับที่เหมาะสม มเี สถยี รภาพ และเปน ธรรมตอประชาชน โดยกาํ หนดโครงสรา งราคาเชื้อเพลงิ ท่ีเหมาะสม และเอือ้ ตอ การพัฒนาพืชพลงั งาน รวมทั้งสะทอน ตน ทนุ ที่แทจ รงิ มากที่สุด และบรหิ ารจัดการผานกลไกตลาดและกองทนุ น้ํามัน เพอ่ื ใหม กี ารใชพลังงาน อยางประหยดั และสงเสรมิ การแขงขัน และการลงทุนในธรุ กจิ พลงั งาน รวมทง้ั พัฒนาคุณภาพการ ใหบ รกิ ารและความปลอดภัย สง เสริมการอนรุ ักษและประหยัดพลงั งาน ทง้ั ในภาคครัวเรือน อุตสาหกรรม บรกิ าร และ ขนสง โดยรณรงคใ หเกิดวินัยและสรา งจิตสํานกึ ในการประหยัดพลงั งาน และสนับสนนุ การใชพ ลงั งาน อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ มีมาตรการจงู ใจใหม กี ารลงทนุ จากภาคเอกชนในการปรับเปล่ยี นอปุ กรณ ประหยัดพลังงาน และมาตรการ สนบั สนุนใหค รัวเรือนลดการใชไฟฟา ในชวงการใชไ ฟฟาสูงสดุ รวมท้ังการวจิ ัยพัฒนาและกําหนดมาตรฐานอปุ กรณไฟฟา และมาตรฐานอาคารประหยัดพลังงาน ตลอดจนสนับสนนุ การพฒั นาระบบขนสง มวลชน และการขนสงระบบราง เพอื่ ใหมีการใชพ ลังงาน อยา งมปี ระสทิ ธิภาพและสามารถชะลอการลงทุนดา นการจัดหาพลงั งานของประเทศ สงเสรมิ การจัดหาและการใชพลงั งานที่ใหความสาํ คัญตอสิ่งแวดลอ ม ภายใตกระบวนการมี สวนรวมของประชาชน โดยกําหนดมาตรฐานดานตางๆ รวมทงั้ สง เสรมิ ใหเ กิดโครงการกลไกการ พัฒนาพลังงานทส่ี ะอาด เพ่อื ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและชมุ ชน และลดปรมิ าณกา ซเรอื นกระจก

30 รูปภาพที่ 2 พลงั งาน คือ ความสามารถทจ่ี ะทํางานไดโดยอาศยั แรงงานที่มีอยูแลวตามธรรมชาตโิ ดยตรง และที่มนุษยใชความรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีดดั แปลงมาจากพลังงานตามธรรมชาติ พลงั งานเปน สิง่ จําเปนของมนษุ ยในโลกปจ จบุ นั และทวคี วามสําคญั ขึ้นเม่อื โลกย่งิ พัฒนามากยิง่ ข้ึน การผลติ พลงั งานคอย ๆ เปล่ยี นไปเปน การผลติ พลงั งานทตี่ อ งอาศัยเทคโนโลยีในการผลิตมากย่ิงขน้ึ แหลง พลังงานมหี ลากหลายทั้งพลังงานทีไ่ ดจากการผลิตโดยมนุษย และพลังทไ่ี ดจากธรรมชาติ สามารถแบง แหลงพลงั งานที่มนษุ ยนํามาใชป ระโยชนได เปน พลังงานจากซากฟอสซิล มวลชวี ภาพ พลงั งานนาํ้ พลังงานลม พลังงานความรอนใตพ ภิ พ พลังงานแสงอาทิตย พลังงานไฟฟาและพลงั งานนิวเคลยี ร การ ใชเ ทคโนโลยีใหป ระหยัดพลังงานตองคํานงึ ถึงการประโยชนทีไ่ ดร บั และผูใ ชตองเห็นความสาํ คัญของ พลงั งานซ่งึ ในปจ จบุ นั เรากาํ ลังเผชญิ กับปญ หาราคาพลังงานที่เพม่ิ สงู ขึน้ การอนรุ ักษพลงั งาน คอื การผลิตและการใชพ ลงั งานอยางมปี ระสิทธภิ าพและประหยัดการ อนุรักษพลงั งานนอกจากจะชว ยลดปริมาณการใชพลังงาน ซง่ึ เปนการประหยัด คาใชจา ยในกจิ การ แลว ยังจะชว ยลดปญ หาสิง่ แวดลอ มทเี่ กิดจากแหลงทใ่ี ชและผลติ พลงั งานดว ย การสรางนโยบายดาน พลงั งานของรฐั บาลเปน อีกแนวทางหนึ่งในการใชพ ลงั งานอยา งคุม คา

31 แนวคิด 3R R : Reduce คอื การลดการใช การบรโิ ภคทรัพยากรที่ไมจําเปนลง ลองมาสาํ รวจกันวา เราจะลดการบริโภคทไี่ ม จาํ เปน ตรงไหนไดบ าง โดยเฉพาะการลดการบรโิ ภคทรัพยากรทีใ่ ชแ ลวหมดไป เชน นํา้ มัน กา ซ ธรรมชาติ ถา นหนิ และแรธ าตุ ตา ง ๆ การลดการใชน้ี ทําไดงาย ๆ โดยการเลือกใชเ ทาที่จาํ เปน เชน ปด ไฟทุกคร้ังท่ีไมใ ชงานหรือเปดเฉพาะจุดที่ใชง าน ปด คอมพิวเตอรและเครื่องปรับอากาศ เมอ่ื ไมใช เปน เวลานาน ๆ ถอดปลกั๊ ของเคร่อื งใชไฟฟา เชน กระติกนํ้ารอ นออกเมอ่ื ไมไดใ ช เม่ือตองการเดนิ ทาง ใกล ๆ กค็ วรใชวธิ เี ดิน ขจ่ี กั รยาน หรอื น่งั รถโดยสารแทนการขับรถไปเอง เปนตน เพียงเทานเ้ี ราก็ สามารถเก็บทรัพยากรดา นพลงั งานไวใชไดนานข้นึ ประหยัดพลังงานและอนุรักษสง่ิ แวดลอมอีกดว ย R : Reuse คอื การใชท รพั ยากรใหค ุมคาทีส่ ุด โดยการนาํ สงิ่ ของเครื่องใชม าใชซ ํ้า ซ่ึงบางอยา งอาจใชซาํ้ ไดหลาย ๆ ครั้ง เชน การนาํ ชุดทํางานเกาทย่ี ังอยูในสภาพดีมาใสเ ลน หรอื ใสนอนอยบู า นหรือนําไป บริจาค แทนท่จี ะทง้ิ ไปโดยเปลา ประโยชน การนาํ กระดาษรายงานท่เี ขยี นแลว 1 หนา มาใชใ นหนา ท่ีเหลือ หรอื อาจนาํ มาทาํ เปนกระดาษโนต ชวยลดปริมาณการตัดตนไมไ ดเปน จํานวนมาก การนําขวดแกวมา ใสนํ้ารบั ประทานหรือนํามาประดิษฐเ ปน เคร่ืองใชต างๆ เชน แจกนั ดอกไมห รอื ทใ่ี สด นิ สอ เปน ตน นอกจากจะชวยลดคา ใชจาย ลดการใชพลังงานพลังงานแลว ยงั ชวยรักษาส่งิ แวดลอ มและยังไดข อง นา รักๆ จากการประดิษฐไวใชงานอกี ดว ย R : Recycle คอื การนําหรือเลือกใชทรัพยากรทสี่ ามารถนํากลับมารไี ซเคิล หรอื นํากลบั มาใชใหม เปนการลดการ ใชทรพั ยากรในธรรมชาติจําพวกตน ไม แรธาตุตา ง ๆ เชน ทราย เหลก็ อลมู ิเนียม ซงึ่ ทรัพยากรเหลา น้ี สามารถนํามารีไซเคลิ ไดยกตัวอยางเชน เศษกระดาษสามารถนาํ ไปรีไซเคลิ กลับมาใชเ ปนกลองหรือถุง กระดาษ การนาํ แกวหรอื พลาสตกิ มาหลอมใชใ หมเ ปน ขวด ภาชนะใสของ หรือเครื่องใชอื่นๆ ฝา กระปองนํ้าอดั ลมกส็ ามารถนํามาหลอมใชใ หมหรอื นาํ มาบริจาคเพื่อทาํ ขาเทียมให กับคนพกิ ารได ผลกระทบของขยะมลู ฝอย ปญ หากลิ่นเหมน็ จากขยะมลู ฝอยสรา งความราํ คาญใหแกชุมชนพักอาศยั แหลง น้ํา เนาเสยี จากการที่ขยะมูลฝอยมีอินทรียสารเนา เปอยปะปนอยู เปนอันตรายตอการดาํ รงชวี ิตของมนุษย และสัตวนํา้ รวมทงั้ ผลเสยี ในดา นการใชแ หลงน้าํ เพอ่ื การนันทนาการ เปน แหลงเพาะพนั ธเุ ช้ือโรคและ สตั วน ําโรคตางๆ เชน หนู แมลงวนั เปนตน การกําจดั มลู ฝอยท่ีไมถ ูกหลกั วชิ าการจะสรางความเดือดรอนรําคาญแกผ ูท ่อี าศัย ขา งเคียง รวมท้ังสง ผลกระทบตอ สง่ิ แวดลอ มและสขุ ภาพของประชาชน ทาํ ใหชุมชนขาดความสะอาด สวยงามและเปนระเบยี บ และไมน าอยูการสูญเสียทางเศรษฐกจิ เชน ชมุ ชนจะตอ งเสียคา ใชจ า ยใน การเก็บขนและกาํ จัดขยะ มูลฝอย คา ชดเชยความเสยี หายในกรณที ่เี กิดเพลงิ ไหม และคา รักษาพยาบาลหากประชาชนไดรับโรคภยั ไขเจบ็ จากพิษของขยะมลู ฝอย

32 แนวทางจัดการขยะมลู ฝอย กําจัดขยะมลู ฝอยอยางถกู หลักวชิ าการ เชน การเผาในเตาเผาขยะ การฝงกลบอยา งถูก สขุ ลักษณะ และการหมักทาํ ปุย เปนตน ซ่ึงแตล ะวิธมี คี วามแตกตางกนั ในดา นตน ทนุ การดําเนินงาน ความพรอมขององคกร ปรมิ าณและประเภทของขยะ เปน ตน (ดูวธิ กี ําจดั ขยะ) จดั การขยะ โดยอาศัยหลัก 5 R คอื - Reduce การลดปรมิ าณขยะ โดยลดการใชผลติ ภณั ฑท่ีมีบรรจุภณั ฑสน้ิ เปลือง - Reuse การนํามาใชซ าํ้ เชน ขวดแกว กลอ งกระดาษ กระดาษพมิ พห นา หลงั เปน ตน - Repair การซอมแซมแกไขสงิ่ ของตา ง ๆ ใหสามารถใชง านตอ ได - Reject การหลีกเลยี่ งใชสิง่ ทก่ี อ ใหเ กดิ มลพษิ - Recycle การแปรสภาพและหมุนเวยี นนํากลบั มาใชไดใหม โดยนาํ ไปผา นกระบวนการผลิตใหม อกี คร้ัง การแยกขยะ เพ่ือลดขยะทต่ี องนําไปกําจัดจรงิ ๆ ใหเ หลอื นอยทส่ี ุด เชน - ขยะแหง บางชนิดท่สี ามารถแปรสภาพนํามากลับมาใชไดอกี ไดแ ก ขวดแกว โลหะ พลาสตกิ - ขยะเปยกสามารถนํามาหมักทําปุยนา้ํ ชีวภาพ - ขยะอันตราย เชน หลอดไฟ ถานไฟฉาย กระปอ งฉดี สเปรย ตอ งมวี ิธกี าํ จัดที่ปลอดภยั สง เสริมการผลติ ท่สี ะอาดในภาคการผลติ โดยลดการใชว สั ดุ ลดพลังงาน และลดมลพิษ เพิม่ ศักยภาพ การใชทรพั ยากรหมุนเวยี น การนําของเสียกลับมาใชประโยชน และการออกแบบผลติ ภณั ฑใหม ีอายุ การใชงานไดนานขน้ึ สงเสรมิ ใหภาคธรุ กิจเอกชนมีสว นรวมลงทุนและดําเนินการจัดการขยะ ให ความรแู กป ระชาชนในเรือ่ งการจดั การขยะอยางถูกหลกั วชิ าการรณรงคและประชาสัมพันธ เพอ่ื สราง จติ สํานึกใหป ระชาชนเขา ใจและยอมรบั วา เปนภาระหนาที่ของตนเอง ในการรว มมือกนั จัดการขยะมลู ฝอย ที่เกดิ ขึ้นในชุมชน การคัดแยก เกบ็ รวบรวมและขนสง ขยะมลู ฝอย ในการจดั การขยะมูลฝอยแบบครบวงจร จําเปนตองจดั ใหมรี ะบบการคัดแยกขยะมลู ฝอย ประเภทตางๆ ตามแตลักษณะองคประกอบโดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ พื่อนํากลบั ไปใชประโยชนใหม สามารถดาํ เนนิ การไดต ้ังแตแ หลงกําเนดิ โดยจัดวางภาชนะใหเหมาะสม ตลอดจนวางระบบการเกบ็ รวบรวมมลู ฝอยอยางมีประสิทธิภาพ และสอดคลอ งกบั ระบบการคัดแยกขยะมลู ฝอย พรอ มท้ัง พจิ ารณาควรจาํ เปน ของสถานีขนถา ยขยะมูลฝอยและระบบขนสง ขยะมลู ฝอยไปกําจดั ตอไป

33 หลกั เกณฑ มาตรฐาน ภาชนะรองรบั ขยะมลู ฝอย ภาชนะรองรับขยะมูลฝอย 1) ถังขยะ เพือ่ ใหก ารจัดเกบ็ รวบรวมขยะมูลฝอยเปน ไปอยางมีประสิทธิภาพและลดการปนเปอ นของ ขยะมลู ฝอยทม่ี ีศกั ยภาพในการนํากลบั มาใชประโยชนใหมจ ะตอ งมกี ารต้ังจุดรวบรวมขยะมลู ฝอย (Station) และใหมีการแบง แยกประเภทของถงั รองรบั ขยะมลู ฝอยตามสตี าง ๆ โดยมีถงุ บรรจุภายใน ถงั เพ่ือสะดวกและไมตกหลน หรือแพรกระจาย ดังนี้ รปู ภาพท่ี 3 ถังขยะสีเขยี ว สีเขียว รองรับขยะทเี่ นาเสยี และยอยสลายไดเร็ว สามารถนํามาหมักทาํ ปุยได เชน ผกั ผลไม เศษ อาหาร ใบไม รูปภาพท่ี 4 ถงั ขยะสเี หลือง สีเหลอื ง รองรับขยะทีส่ ามารถนาํ มารไี ซเคลิ หรอื ขายได เชน แกว กระดาษ พลาสตกิ โลหะ รูปภาพที่ 5 ถงั ขยะสีเทาฝาสม หรือ ถังขยะสีแดง สเี ทาฝาสสี ม หรือ ถังขยะสีแดง รองรับขยะทม่ี ีอันตรายตอสิ่งมีชวี ิต และสงิ่ แวดลอม เชน หลอด ฟลอู อเรสเซนต ขวดยา ถานไฟฉาย กระปองสีสเปรย กระปอ งยาฆาแมลง ภาชนะบรรจุสารอนั ตราย ตาง ๆ

34 รูปภาพท่ี 6 ถังขยะสีฟา สีฟา รองรับขยะยอยสลายไมได ไมเปน พษิ และไมคุมคา การรีไซเคิล เชน พลาสตกิ หอลกู อม ซอง บะหมส่ี ําเร็จรูป ถงุ พลาสติก โฟมและฟอลย ทเี่ ปอนอาหาร นอกจากนยี้ งั มีถุงพลาสติกสําหรบั รองรับ ขยะมูลฝอยในแตละถงั โดยมัดปากถงุ สีเดียวกับถังที่รองรับมูลฝอยตามประเภทดังกลาวขางตน ในกรณีทส่ี ถานท่มี ีพื้นที่จาํ กัดในการจดั วางภาชนะรองรบั ขยะมลู ฝอยและมีจาํ นวนคนทค่ี อนขา งมาก ในบรเิ วณพน้ื ที่น้ัน เชน ศูนยการประชุมสนามบนิ ควรมีถงั ที่สามารถรองรับขยะมลู ฝอยไดทั้ง 4 ประเภทในถังเดยี วกนั โดยแบงพื้นท่ีของถังขยะมลู ฝอยออกเปน 4 ชอง และตวั ถังรองรบั ขยะมูลฝอย ทําดวยสแตนเลส มีฝาผดิ แยกเปน 4 สี ในแตละชอ งตามประเภทของขยะมูลฝอยทีร่ องรับ ดงั นี้ ฝาสีเขยี ว รองรับขยะมูลฝอยทีเ่ นาเสยี และยอยสลายไดเรว็ ฝาสีเหลอื ง รองรับขยะมลู ฝอยทส่ี ามารถนาํ รีไซเคิล หรอื ขายได ฝาสีแดงรองรับขยะมูลฝอยท่ีมีอนั ตรายตอส่ิงมีชวี ติ และส่ิงแวดลอ ม ฝาสีฟารองรับขยะมูลฝอย ท่ียอยสลายไมได ไมเปนพิษและไมค ุมคาการรีไซเคลิ และมสี ญั ลักษณ ขา งถัง 2) ถุงขยะ สาํ หรับคัดแยกขยะมลู ฝอยฝนครวั เรอื นและจะตองมีการคัดแยกรวบรวมใสถ ุงขยะมลู ฝอยตามสตี า ง ๆ ดังตอ ไปนี้ ถุงสีเขยี ว รวบรวมขยะมลู ฝอยทเี่ นา เสยี และยอยสลายไดเรว็ สามารถนาํ มาหมักทาํ ปยุ ได เชน ผกั ผลไม เศษอาหาร ใบไม ถุงสเี หลือง รวบรวมขยะมลู ฝอยทสี่ ามารถนาํ มารีไซเคิลหรือขายได เชน แกว กระดาษ พลาสตกิ โลหะ อลูมิเนยี ม ถงุ สีแดง รวบรวมขยะมลู ฝอยท่ีมอี นั ตรายตอ สิ่งมชี ีวติ และสิ่งแวดลอม เชน ถา นไฟฉาย หลอดฟลอู อเรสเซนต ขวดยา กระปองสสี เปรย กระปองสารฆาแมลง ภาชนะบรรจสุ ารอันตราย ตา ง ๆ ถงุ สีฟา รวบรวมขยะมูลฝอยท่ียอ ยสลายไมไดไ มเปนพษิ และไมค ุมคา การรีไซเคิล เชน พลาสติกหอ ลูกอม ซองบะหม่ีสําเรจ็ รปู ถงุ พลาสติก โฟมและฟอลยทีเ่ ปอนอาหาร เกณฑม าตรฐานภาชนะรองรับขยะมลู ฝอย ควรมีสดั สวนของถังขยะมลู ฝอยจากพลาสตกิ ที่ใชแ ลวไมต ่ํากวา รอยละ 50 โดยน้ําหนัก

35 ไมม ีสวนประกอบสารพิษ (toxic substances) หากจาํ เปนควรใชส ารเตมิ แตงในปริมาณทน่ี อยและ ไมอ ยูในเกณฑท ่ีเปนอนั ตรายตอผบู รโิ ภค มคี วามทนทาน แข็งแรงตามมาตรฐานสากล มีขนาด พอเหมาะมีความจเุ พียงพอตอปริมาณขยะมูลฝอย สะดวกตอการถา ยเทขยะมลู ฝอยและการทาํ ความ สะอาดสามารถปองกัน แมลงวนั หนู แมว สุนัข และสตั วอน่ื ๆ มใิ หสัมผสั หรอื คุยเขย่ี ขยะมูลฝอยได การลดและการใชประโยชนขยะมลู ฝอย การลดปรมิ าณขยะมูลฝอย การลดปริมาณขยะมลู ฝอยใหไดผลดตี อ งเริ่มตน ท่ีการคัดแยกขยะมลู ฝอยกอนทิ้ง เพ่ือ ไมใหเ กดิ การปนเปอน ทาํ ใหไดว ัสดเุ หลือใชท มี่ ีคุณภาพสูง สามารถนาํ ไป Reused-Recycle ไดง าย รวมท้ังปรมิ าณขยะมลู ฝอยท่ีจะตอ งนาํ ไปกําจดั มีปริมาณนอยลงดวย ซง่ึ การคดั แยกขยะมูลฝอย ณ แหลงกาํ เนิดนั้นตองคํานงึ ถึงความเหมาะสมของแตละชมุ ชน เชน ครัวเรอื น รานคา หา งสรรพสนิ คา สาํ นักงาน บริษทั สถานทรี่ าชการตา ง ๆ เปน ตน รวมท้งั ปริมาณ และลักษณะสมบัติขยะมลู ฝอยที่ แตกตางกันดว ย ทัง้ น้กี ารคดั แยกขยะมลู ฝอยสามารถดําเนนิ การได 4 ทางเลือก คือ ทางเลือกท่ี 1 การคัดแยกขยะมลู ฝอยทุกประเภทและทกุ ชนิด ทางเลอื กที่ 2 การคัดแยกขยะมลู ฝอย 4 ประเภท (Four cans) ทางเลอื กท่ี 3 การคดั แยกขยะสด ขยะแหง และขยะอันตราย (Three cans) ทางเลือกท่ี 4 การคดั แยกขยะสดและขยะแหง (Two cans) การนําขยะมูลฝอยกลับมาใชประโยชนใ หม การนําขยะมลู ฝอยกลบั มาใชประโยชนใ หมม อี ยหู ลายวธิ ีข้ึนอยูก บั สภาพและลักษณะ สมบัติของขยะมลู ฝอยซ่ึงสามารถสรุปไดเ ปน 5 แนวทางหลกั ๆ คือ 1. การนาํ ขยะมูลฝอยกลับมาใชป ระโยชนใ หม (Material Recovery) เปน การนํามูลฝอย ทส่ี ามารถคัดแยกไดกลบั มาใชใหม โดยจาํ เปน ตองผานกระบวนการแปรรปู ใหม (Recycle) หรอื แปร รูป (Reuse) ก็ได 2. การแปรรูปเพื่อเปลย่ี นเปน พลังงาน (Energy Recovery) เปนการนาํ ขยะมูลฝอยที่ สามารถเปลยี่ นเปนพลังงานความรอนหรอื เปลี่ยนเปนรูปกา ซชวี ภาพมาเพ่ือใชป ระโยชน 3. การนาํ ขยะมูลฝอยจาํ พวกเศษอาหารท่ีเหลอื จากการรับประทานหรือการประกอบ อาหารไปเลย้ี งสัตว 4. การนําขยะมลู ฝอยไปปรับสภาพใหมปี ระโยชนตอ การบํารุงรกั ษาดนิ เชน การนาํ ขยะ มูลฝอยสดหรอื เศษอาหารมาหมักทาํ ปุย 5. การนําขยะมลู ฝอยปรับปรุงพน้ื ที่โดยนาํ ขยะมูลฝอยมากําจดั โดยวธิ ีฝง กลบอยางถูก หลกั วชิ าการ (Sanitary landfill) จะไดพื้นท่ีสาํ หรบั ใชปลกู พชื สรางสวนสาธารณะ สนามกฬี า เปน ตน

36 บทที่ 3 วิธีการดําเนนิ งาน ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อําเภอเมืองชลบุรี ไดเล็งเหน็ ความสาํ คญั ของเร่ืองการอนรุ ักษส ่งิ แวดลอม จงึ เขามามีสวนรวมในการนําเสนอแนวคิดผาน กระบวนการอบรม อนั เปน การสนองเพื่อความรูความเขา ใจ เกดิ ความตระหนกั และเหน็ ความสําคัญ ในการรูจกั การจดั การขยะมูลฝอย นาํ ขยะมลู ฝอย มารีไซเคิล มาปรับใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั และนําไป เผยแพรใ หก บั ชุมชนได ใหก ับประชาชนในโครงการอนุรกั ษส่งิ แวดลอ มเพื่อการพฒั นาอยางยั่งยนื โดยมีขน้ั ตอนดังนี้ 1. ประชุมบคุ ลากรกรรมการ กศน.อาํ เภอเมอื งชลบรุ ี 2. จัดต้ังคณะทาํ งาน 3. ประสานงาน/ประชาสัมพันธ 4. ดาํ เนนิ งานตามแผน 5. วัดผล/ประเมนิ ผล/สรุปผลและรายงาน 1. ประชุมปรึกษาหารือการจดั โครงการฯ กศน.ตําบลนาปา กศน.ตําบลนาปา ไดวางแผนประชุมปรกึ ษาหารือเพ่ือหาแนวทางในการดําเนินงานและ กําหนดวัตถปุ ระสงคร ว มกัน 2. แตง ตง้ั คณะทาํ งาน จดั ทําคําส่ังแตงตั้งคณะทํางานโครงการเพื่อมอบหมอบหมายหนาทใี่ นการทาํ งานให ชัดเจน เชน 2.1 คณะกรรมการทีป่ รึกษา/อาํ นวยการ มหี นา ท่ีอํานวยความสะดวก และใหค ําปรึกษา แกไขปญหาที่เกิดข้ึน 2.2 คณะกรรมการ กศน.ตาํ บลนาปา ในการจัดหาอุปกรณ เตรยี มใชจัดโครงการฯ 2.3 คณะกรรมการฝายบันทกึ ภาพและประชาสัมพันธ มหี นา ทบี่ ันทึกภาพกิจกรรมตลอด โครงการ และประชาสัมพันธก จิ กรรมใหส าธารณชนไดทราบ 2.4 คณะกรรมการฝา ยรบั ลงทะเบียนและประเมนิ ผลหนาทจี่ ัดทาํ หลักฐานการ ลงทะเบยี นผูเขา รว มโครงการ และรวบรวมการประเมินผล และรายงานผลการดําเนนิ การ 3. ประสานงาน/เครอื ขายทเ่ี กยี่ วของ ประสานงานกบั ผเู ขารวมโครงการ วิทยากร และคณะครู เชน ประสานเรอื่ งสถานทีใ่ ชทํา กจิ กรรม รปู แบบการจัดกิจกรรมโครงการ วัน เวลา สถานที่ รายละเอยี ดการเขารวมกิจกรรม พรอมทัง้ ประชาสัมพันธก ารจัดกิจกรรม

37 4. ดาํ เนนิ การตามแผนงานโครงการ โครงการอนรุ ักษส ง่ิ แวดลอ มเพ่อื การพฒั นาอยา งยั่งยืน วันท่ี 14 พฤษภาคม ณ ศูนยบริการและ ถา ยทอดเทคโนโลยที างการเกษตรประจําตาํ บลนาปา หมูที่ 5 ตาํ บลนาปา อาํ เภอเมอื งชลบุรี จังหวดั ชลบุรี มีผเู ขารว มโครงการเปนประชาชนจํานวน 18 คน โดยจัดกจิ กรรมโดยใชก ระบวนการอบรม 5. สรุปผลและรายงาน โครงการอนุรักษส ง่ิ แวดลอมเพ่อื การพฒั นาอยา งยั่งยนื วันที่ 14 พฤษภาคม ณ ศนู ยบริการและ ถายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรประจําตาํ บลนาปา หมทู ่ี 5 ตําบลนาปา อาํ เภอเมืองชลบรุ ี จังหวัดชลบุรี มีผเู ขารว มโครงการเปนประชาชนจาํ นวน 18 คน โดยมีวทิ ยากร คือ นางนนั ตพร ศักด์ินทีธร โดยจดั กิจกรรมโดยใชกระบวนการกลมุ จะนําแนวทางไปใชข อมลู พิจารณารปู แบบการจดั กิจกรรมตาง ๆ เพื่อให ตอบสนองความตองการของผเู ขารวมกจิ กรรมความรูความเขา ใจ เกดิ ความตระหนักและเหน็ ความสาํ คญั ในการรจู กั การจัดการขยะมลู ฝอย นาํ ขยะมลู ฝอย มารีไซเคิล มาปรบั ใชใ นชีวติ ประจําวนั และนาํ ไปเผยแพร ใหกบั ชมุ ชนได กศน.ตาํ บลนาปา ไดดาํ เนนิ การตามขัน้ ตอนและไดรวบรวมขอมลู จากแบบสํารวจสถติ ิท่ีใชใ นการ วิเคราะห คือโดยกาํ หนดคาลาํ ดับความสําคัญของการประเมนิ ผลออกเปน 5 ระดบั ดังนี้ มากทส่ี ดุ ใหคะแนน 5 มาก ใหค ะแนน 4 ปานกลาง ใหค ะแนน 3 นอย ใหคะแนน 2 นอ ยทีส่ ุด ใหคะแนน 1 ในการแปลผล ผจู ัดทาํ ไดใชเ กณฑก ารพจิ ารณาจากคะแนนเฉลย่ี ตามแนวคดิ ของ บุญชม ศรีสะอาด และบญุ สง นวิ แกว (2535, หนา 22-25) 4.51-5.00 หมายความวา ดมี าก 3.51-4.50 หมายความวา ดี 2.51-3.50 หมายความวา ปานกลาง 1.51-2.50 หมายความวา นอ ย 1.00-1.50 หมายความวา ตอ งปรับปรงุ ประชาชน จะตองกรอกขอมูลตามแบบสอบถาม เพ่ือนําไปใชในการประเมินผลของการจดั กิจกรรมดังกลา ว และจะไดนําไปเปนขอมลู ปรบั ปรงุ และพฒั นา ตลอดจนใชในการจดั ทําแผนการ ดําเนินการในปตอไป

38 บทที่ 4 ผลการดาํ เนินงานและการวเิ คราะหขอมลู ในการจัดโครงการอนรุ ักษส งิ่ แวดลอ มเพื่อการพฒั นาอยา งยั่งยืน วนั ท่ี 14 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ.2562 ณ ศนู ยบริการและถายทอดเทคโนโลยที างการเกษตรประจาํ ตําบลนาปา หมู ที่ 5 ตาํ บลนาปา อําเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี มีผเู ขา รวมโครงการเปนประชาชน จาํ นวน 18 คน ซงึ่ ไดส รุปผลจากแบบสอบถามและนาํ เสนอผลการวเิ คราะหข อมลู จากผูเขารับการอบรม จาํ นวน 18 ชดุ ตอนที่ 1 ขอมูลสว นตัวผูต อบแบบถามของผเู ขารวมโครงการอนุรกั ษส ิ่งแวดลอมเพ่ือการ พฒั นาอยา งยั่งยืน วันที่ 14 เดอื นพฤษภาคม พ.ศ.2562 ณ ศูนยบ รกิ ารและถา ยทอดเทคโนโลยี ทางการเกษตรประจําตําบลนาปา หมูท่ี 5 ตําบลนาปา อําเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ผูเขารวม กิจกรรมท่ีตอบแบบสอบถามไดนํามาจําแนกตามเพศ อายุ และอาชีพ ผูจัดทําไดนําเสนอจําแนกตาม ขอ มลู ดังกลา ว ดังปรากฏตามตารางท่ี 1 ดงั ตอ ไปน้ี ตารางท่ี 1 แสดงคารอยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามเพศ เพศ ชาย หญงิ ความคดิ เห็น จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ ผเู ขา รว มกิจกรรมโครงการอนุรกั ษส ิง่ แวดลอมเพ่ือการพฒั นา 3 8.00 15 92.00 อยางยั่งยนื จากตารางท่ี 1 แสดงวา ผตู อบแบบสอบถามของผเู ขารว มโครงการอนรุ ักษส่ิงแวดลอม เพ่ือการพัฒนาอยางย่ังยืน เปน ชาย 3 รอ ยละ 16.67 เปนหญิง 15 รอ ยละ 83.33 ตารางที่ 2 แสดงคารอ ยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามอายุ 15 - 29 ป 30 - 39 ป 40 - 49 ป 50 - 59 ป 60 ป ขนึ้ ไป จาํ นวน รอยละ จาํ นวน รอยละ จํานวน รอ ยละ จํานวน รอ ยละ จาํ นวน รอยละ ความคิดเห็น ผเู ขา รวมกิจกรรม 3 16.67 1 5.55 1 5.55 2 11.11 11 61.12 โครงการอนรุ ักษ สงิ่ แวดลอมเพื่อการ พฒั นาอยางยง่ั ยืน จากตารางท่ี 2 แสดงวา ผูต อบแบบสอบถามของผเู ขา รวมผเู ขา รว มกิจกรรมโครงการ อนุรกั ษส่งิ แวดลอ มเพื่อการพัฒนาอยางยง่ั ยนื ในชวงอายุ 15 - 29 ป มจี ํานวน 3 คน คดิ เปนรอ ยละ 16.67 ชวงอายุ 30 - 39 ป มีจาํ นวน 1 คน คดิ เปนรอยละ 5.55 ชว งอายุ 40 - 49 ป มจี ํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 5.55 ชว งอายุ 50 - 59 ป มีจาํ นวน 2 คน คิดเปน รอยละ 11.11 ในชวงอายุ 60 ป ข้นึ ไป มจี ํานวนสงู สุด 11 คน คิดเปนรอยละ 61.12

39 ตารางท่ี 3 แสดงคา รอยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามอาชีพ ประเภท รบั จา ง คา ขาย รบั ราชการ เกษตรกร อน่ื ๆ(วา งงาน) ความคดิ เหน็ จํานวน รอ ยละ จํานวน รอ ยละ จาํ นวน รอยละ จาํ นวน รอยละ จาํ นวน รอยละ ผเู ขารว มกจิ กรรม โครงการอนรุ ักษ 7 38.89 2 11.11 - - 1 5.55 8 44.45 สิง่ แวดลอมเพ่ือการ พฒั นาอยางยั่งยนื จากตารางท่ี 3 แสดงวา ผูตอบแบบสอบถามของผูเ ขารวมผูเ ขารวมกิจกรรมโครงการ อนรุ กั ษส ง่ิ แวดลอมเพื่อการพัฒนาอยา งยั่งยนื ประกอบอาชพี รบั จาง มจี ํานวน 7 คน คดิ เปนรอยละ 38.89 อาชพี คาขาย มจี าํ นวน 2 คน คิดเปนรอยละ 11.11 อาชีพเกษตรกร มีจํานวน 1 คน คดิ เปน รอ ยละ 5.55 และประกอบอาชพี อ่ืน ๆ มีจาํ นวนสูงสดุ 8 คน คดิ เปน รอ ยละ 44.45 ตารางที่ 4 แสดงคารอยละของผตู อบแบบสอบถาม โดยจําแนกตามระดบั การศึกษา การศกึ ษา ประถมศึกษา ม.ตน ม.ปลาย สงู กวา ความคดิ เหน็ ม.ปลาย จาํ จํา จาํ จํา รอย นวน รอ ยละ นวน รอ ยละ นวน รอ ยละ นวน ละ ผเู ขารว มกิจกรรมโครงการ 15 83.34 2 11.11 1 5.55 - - อนุรักษสง่ิ แวดลอ มเพื่อการ พัฒนาอยา งย่งั ยนื จากตารางท่ี 4 แสดงวา ผูตอบแบบสอบถามของผูเขารวมกิจกรรมโครงการอนุรกั ษ สิ่งแวดลอมเพ่ือการพัฒนาอยางยั่งยืน มีการศึกษาระดับประถมศึกษา จํานวน 15 คน คิดเปนรอย ละ 83.34 ระดับ ม.ตน จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 11.11 ระดับ ม.ปลาย จํานวน 1 คน คดิ เปน รอ ยละ 5.55 ตอนที่ 2 ขอ มลู เกี่ยวกบั ความคิดเหน็ ของผูเขารวมโครงการอนุรักษส่งิ แวดลอ มเพอ่ื การพฒั นาอยางยงั่ ยืน ความคิดเห็นของผูเ ขารวมกิจกรรม จาํ นวน 18 คน จากแบบสอบถามทัง้ หมดท่มี ีตอ โครงการอนุรักษส งิ่ แวดลอมเพือ่ การพฒั นาอยา งย่ังยนื ณ ศูนยบ ริการและถา ยทอดเทคโนโลยี ทางการเกษตรประจําตําบลนาปา หมทู ่ี 5 ตาํ บลนาปา อาํ เภอเมอื งชลบรุ ี จังหวัดชลบรุ ี ดังปรากฏ ในตารางที่ 5

40 ตารางท่ี 5 ผลการประเมนิ โครงการอนุรกั ษส งิ่ แวดลอมเพื่อการพฒั นาอยา งยัง่ ยืน เนื้อหาโครงการอนรุ กั ษส่งิ แวดลอมเพือ่ การพฒั นาอยางย่ังยนื X̄ N = 18 S.D. อันดับที่ ระดบั ผลการประเมนิ ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจดา นเนือ้ หา 4.67 1.เนอ้ื หาตรงตามความตอ งการ 4.83 0.49 5 ดมี าก 2.เน้อื หาเพียงพอตอ ความตองการ 4.67 0.38 2 ดีมาก 3.เนื้อหาเปนปจจบุ นั และทันสมยั 4.78 0.49 5 ดมี าก 4.เนอื้ หามปี ระโยชนต อการนาํ ไปใชในการพฒั นาคุณภาพชีวิต 0.43 3 ดีมาก ตอนที่ 2 ความพึงพอใจดา นกระบวนการจดั กิจกรรม 4.83 5. การเตรยี มความพรอมกอ นจัดกจิ กรรม 4.89 0.38 2 ดมี าก 6. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค 4.83 0.2 1 ดมี าก 7. การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 4.78 0.38 2 ดมี าก 8. การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั กลมุ เปา หมาย 4.72 0.43 3 ดีมาก 9. วธิ ีการวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค 0.46 4 ดีมาก ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจตอ วทิ ยากร 4.78 10. วทิ ยากรมีความรคู วามสามารถในเร่อื งทีถ่ ายทอด 4.78 0.43 3 ดีมาก 11. วทิ ยากรมีเทคนคิ การถายทอดใชส่อื เหมาะสม 4.72 0.43 3 ดมี าก 12. วิทยากรเปด โอกาสใหม ีสวนรว มและซักถาม 0.46 4 ดีมาก ตอนที่ 4 ความพงึ พอใจดานการอาํ นวยความสะดวก 4.78 13. สถานท่ี วัสดุ อปุ กรณแ ละสิ่งอาํ นวยความสะดวก 4.83 0.43 3 ดมี าก 14. การส่ือสาร การสรางบรรยากาศเพ่ือใหเกิดการเรียนรู 4.72 0.38 2 ดีมาก 15. การบริการ การชว ยเหลอื และการแกป ญ หา 0.46 4 ดมี าก 4.77 คา เฉลี่ย 0.04

41 จากตารางที่ 5 พบวา โดยเฉล่ียแลวผเู ขารับการอบรมในโครงการอนรุ ักษส ิ่งแวดลอมเพ่ือ การพัฒนาอยางยง่ั ยืน อยใู นระดบั ดมี าก เม่ือวเิ คราะหเปนรายขอความพึงพอใจในภาพรวมของผูร ับ การอบรม (x=̄ 4.89) ลาํ ดบั ที่ 1 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค (x̄=4.83) เปน ลาํ ดบั ท่ี 2 .เนอื้ หาเพยี งพอตอความตองการ, การเตรียมความพรอมกอ นจัดกิจกรรม, การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา, การสอื่ สาร การสรางบรรยากาศเพ่ือใหเ กิดการเรยี นรู (x̄ =4.78) เปน ลาํ ดบั ที่ 3 เน้อื หามปี ระโยชนตอการนาํ ไปใชในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต, การจดั กิจกรรมเหมาะสม กับกลมุ เปาหมาย, วทิ ยากรมีความรคู วามสามารถในเร่ืองท่ีถา ยทอด, วิทยากรมีเทคนคิ การถา ยทอด ใชส อ่ื เหมาะสม, สถานท่ี วสั ดุ อุปกรณและสง่ิ อาํ นวยความสะดวก (x̄=4.72) เปนลาํ ดบั ท่ี 4 วิธีการ วัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค, วทิ ยากรเปดโอกาสใหมีสว นรว มและซักถาม, การบริการ การชว ยเหลอื และการแกปญหา (x=̄ 4.67) เปน ลาํ ดับท่ี 5 เนื้อหาตรงตามความตองการ, เน้ือหาเปน ปจจุบันและทนั สมัย ตามลาํ ดับ ตารางท่ี 6 ผานการฝก อบรมไดน ําความรไู ปใชจริง ประเภท เพ่ิมรายได ลดรายจาย นําไปประกอบ พัฒนาคุณภาพชวี ิต ใชเวลาวางใหเ ปน อาชีพ ประโยชน จาํ นวน รอ ยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอ ยละ จํานวน รอยละ จาํ นวน รอ ยละ ความคดิ เหน็ ผเู ขารวมโครงการ - - - - - - 25 100.00 - - อนรุ ักษสิ่งแวดลอ ม เพอ่ื การพฒั นา อยา งย่ังยนื จากตารางที่ 6 แสดงวา ผตู อบแบบสอบถามของผูเขารว มผูเ ขารว มกจิ กรรมโครงการ อนรุ กั ษส ง่ิ แวดลอ มเพื่อการพัฒนาอยา งยั่งยืน ไดน ําความรูไปใชจรงิ ดานพัฒนาคุณภาพชวี ิต จาํ นวน 25 คน คิดเปนรอยละ 100.00

42 บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และขอเสนอแนะ จากโครงการอนุรักษส่ิงแวดลอมเพือ่ การพัฒนาอยา งย่ังยนื โดยมีวัตถปุ ระสงคเพ่อื ใหป ระชาชนไดค วามรู ความเขาใจ เก่ียวกับคุณภาพชวี ิตของตนเองและคนในชุมชนทีเ่ ปน มติ รกบั สิ่งแวดลอ มได สามารถนําความรูในกจิ กรรม 3RS นาํ มาปรับใชในชีวิตประจาํ วนั และสามารถ ลดรายจาย เพมิ่ รายไดไ ด ในวนั ท่ี 14 พฤษภาคม 2562 ณ ศนู ยบริการและถายทอดเทคโนโลยี ทางการเกษตรประจาํ ตําบลนาปา หมูท ่ี 5 ตําบลนาปา อาํ เภอเมืองชลบรุ ี จังหวัดชลบรุ ี ทง้ั น้ขี อ สรปุ และอภิปรายผลและขอเสนอแนะดังน้ี 1. สรุปผล 1.1 ผตู อบแบบสอบถามของโครงการอนรุ ักษส ่ิงแวดลอมเพื่อการพฒั นาอยางยง่ั ยนื จํานวนทงั้ หมด 18 คน เปน ชาย 3 รอ ยละ 16.67 เปน หญงิ 15 รอยละ 83.33 ในชว งอายุ 15 - 29 ป มจี าํ นวน 3 คน คิดเปน รอยละ 16.67 ชวงอายุ 30 - 39 ป มีจาํ นวน 1 คน คดิ เปนรอ ยละ 5.55 ชว งอายุ 40 - 49 ป มจี ํานวน 1 คน คดิ เปน รอ ยละ 5.55 ชวงอายุ 50 - 59 ป มจี ํานวน 2 คน คดิ เปน รอ ยละ 11.11 ในชวงอายุ 60 ป ขนึ้ ไป มจี ํานวนสงู สดุ 11 คน คดิ เปนรอยละ 61.12 มีการ ประกอบอาชีพรบั จาง มีจาํ นวน 7 คน คดิ เปนรอ ยละ 38.89 อาชีพคา ขาย มจี ํานวน 2 คน คดิ เปน รอยละ 11.11 อาชพี เกษตรกร มีจาํ นวน 1 คน คดิ เปน รอยละ 5.55 และประกอบอาชีพอนื่ ๆ มี จํานวนสูงสดุ 8 คน คดิ เปน รอยละ 44.45 มกี ารศึกษาระดับประถมศึกษา จํานวน 15 คน คดิ เปน รอย ละ 83.34 ระดับ ม.ตน จํานวน 2 คน คดิ เปนรอ ยละ 11.11 ระดบั ม.ปลาย จาํ นวน 1 คน คิดเปน รอ ยละ 5.55 1.2 ขอ มลู เกยี่ วกบั ความคดิ เห็นของผเู ขา รับการอบรมในโครงการอนรุ ักษส ่งิ แวดลอ มเพื่อ การพฒั นาอยางย่ังยนื อยูใ นระดบั ดีมาก เมือ่ วิเคราะหเปน รายขอความพงึ พอใจในภาพรวมของผูรับ การอบรม (x̄= 4.89) ลําดับท่ี 1 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค (x=̄ 4.83) เปนลําดับท่ี 2 .เนื้อหาเพียงพอตอความตองการ, การเตรียมความพรอมกอนจัดกิจกรรม, การจัด กิจกรรมเหมาะสมกับเวลา, การส่ือสาร การสรางบรรยากาศเพื่อใหเกิดการเรียนรู (x̄ =4.78) เปน ลาํ ดบั ที่ 3 เน้ือหามปี ระโยชนตอการนําไปใชในการพฒั นาคุณภาพชวี ิต, การจดั กิจกรรมเหมาะสม กับกลุมเปาหมาย, วิทยากรมีความรูความสามารถในเร่อื งท่ีถายทอด, วิทยากรมีเทคนิคการถายทอด ใชสื่อเหมาะสม, สถานท่ี วัสดุ อุปกรณและส่ิงอํานวยความสะดวก (x=̄ 4.72) เปนลําดับท่ี 4 วิธีการ วดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวตั ถุประสงค, วทิ ยากรเปด โอกาสใหมสี ว นรว มและซักถาม, การบริการ การชวยเหลือและการแกปญ หา (x̄=4.67) เปน ลําดบั ที่ 5 เนือ้ หาตรงตามความตองการ, เนอ้ื หาเปน ปจ จบุ นั และทันสมยั ตามลาํ ดับ

43 2. อภิปรายผล ผูเ ขา รว มโครงการอนุรักษส ิง่ แวดลอมเพื่อการพัฒนาอยา งยั่งยืน มคี วามพึงพอใจอยู ในระดับดมี าก คิดเปนคาเฉลี่ย 4.77 3. ขอเสนอแนะ -

44 บรรณานกุ รม กรมการศกึ ษานอกโรงเรียน. (ม.ป.ป. : 9), (2546:76). บญุ ชม ศรสี ะอาด และ บุญสง นิวแกว. (2535 หนา 22 – 25). พชิ ิต สกุลพราหมณ(2535:334) รณรงค ณ เชียงใหม (2525:55) วนิ ยั วรี ะวฒั นานนท (2535:31-36) สํานกั งานบรหิ ารการศกึ ษานอกโรงเรียน. (2549:2), (2549:5). http://samutsongkhram.mol.go.th/node/790

45 ภาคผนวก

PD4C6A ผูรบั ผดิ ชอบ รายงานผลการดาํ เนนิ งาน โครงการอนรุ ักษส ่งิ แวดลอมเพื่อการพฒั นาอยา งย่ังยนื ประจําปง บประมาณ 2562 นางสาวศศิวณั ย ออนศรีทอง ครู กศนตาํ บลนาปา 1.หลักการและเหตผุ ล การเปลย่ี นแปลงของสภาพแวดลอ มในปจจุบนั ดว ยน้าํ มือของมนุษยก อใหเ กิดผลกระทบ ตอ การดํารงชีวติ เกดิ ปญหาตาง ๆ ขึ้นมากมาย เชน ปญหาภาวะโลกรอ น ทีเ่ ราทุกคนกําลังประสบอยู ซง่ึ ปญหาดงั กลาว เกิดจากการใชท รัพยากรส่ิงแวดลอมที่ขาดความตระหนักและใชป ระโยชนอยาง คมุ คา โดยใหความรแู กประชาชนและผเู กยี่ วของ ใหตระหนกั ถึงการอนุรักษและพฒั นาสิ่งแวดลอม ใน ชุมชน ซึง่ เปน ส่งิ แวดลอ มใกลต วั เม่อื เราสามารถอนุรักษแ ละพัฒนาส่งิ แวดลอม ใหอยูในสภาพดไี ด แลว เพื่อใหม ีผลตอการเรยี นรูของผเู ขาอบรม เกิดบรรยากาศท่ดี ี มสี ภาพแวดลอมเหมาะแกการ เรยี นรู เพิม่ ศักยภาพและผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนรูของผูเ ขาอบรมได และผเู ขาอบรมยังสามารถนาํ ความรู ทักษะ และประสบการณทไ่ี ดรบั ไปประยกุ ตใ ชใหเ ปนประโยชนในชีวติ ประจาํ วนั ได ดังนั้น กศน.ตําบลนาปา ไดเ ลง็ เหน็ ความสาํ คัญ จงึ ไดจัดทาํ โครงการอนรุ ักษส่ิงแวดลอม เพือ่ การพฒั นาอยา งย่ังยืน ขน้ึ 2.วตั ถุประสงค 2.1. เพอ่ื สง เสรมิ และพฒั นาคุณภาพชวี ิตของตนเองและคนในชมุ ชนทเ่ี ปนมติ รกับ สงิ่ แวดลอมได 2.2. เพ่อื สามารถนาํ ความรใู นกิจกรรม 3RS นํามาปรับใชในชวี ิตประจําวนั ได 2.3. เพื่อสามารถลดรายจา ย เพิม่ รายไดได 3.เปาหมาย 3.1 เชงิ ปรมิ าณ ประชาชนตําบลนาปา จํานวน 18 คน 3.2 เชิงคุณภาพ ผเู ขารวมโครงการฯ มีความรู ความเขา ใจ เพอ่ื ใหผสู ูงอายสุ ามารถดูแลสุขภาพและ แกป ญหาดา นสุขภาพดวยตนเอง มกี ารพบปะแลกเปลีย่ นประสบการณ รสู ึกมคี ุณคา ในตนเอง และมี สขุ ภาพทางกาย ทางจติ ที่ดีสามารถอยูในสงั คมไดอยา งเปนสุข 4.ตัวช้ีวดั ความสาํ เรจ็ ผเู ขา รว มโครงการฯ มีความรู ความเขา ใจ เกยี่ วกับคุณภาพชวี ติ ของตนเองและคนใน ชมุ ชนทเ่ี ปนมติ รกบั สงิ่ แวดลอมได สามารถนาํ ความรูในกิจกรรม 3RS นาํ มาปรบั ใชในชีวิตประจาํ วัน และสามารถลดรายจาย เพม่ิ รายไดไ ด

47 5.ข้ันตอนการดาํ เนนิ การโครงการ 5.1.ประชุมวางแผนการปฏบิ ัตงิ าน 5.2.เขียนโครงการเพ่อื ขออนุมัตโิ ครงการฯ 5.3.ประสานงานหนวยงานทเ่ี ก่ยี วขอ ง 5.4. ดําเนินงานตามโครงการ 5.5. สรุปและรายงานผล 6.ระยะเวลาดาํ เนนิ งาน วันที่ 14 พฤษภาคม 2562 7.สถานท่ีในการจดั กจิ กรรมโครงการ ศนู ยบรกิ ารและถายทอดเทคโนโลยที างการเกษตรประจําตําบลนาปา หมูท ี่ 5 ตาํ บลนาปา อําเภอเมืองชลบรุ ี จงั หวัดชลบรุ ี 8.ผลการดําเนนิ โครงการ 8.1 ผลการประเมินขอมูลพื้นฐานของผเู ขา รวมโครงการ 1. จาํ นวนผเู ขา รว มโครงการ 18 คน เปน ชาย 3 คน เปนหญิง 15 คน 2. อายุเฉลยี่ อยูในชวง 24 - 72 ป 3. อาชีพ รับจาง, คาขาย, แมบา น, ธรุ กจิ สว นตัว, เกษตรกร 4. กลุมเปา หมาย ประชาชนทั่วไป 8.2 ความพงึ พอใจของผูเ ขารวมโครงการ - ผเู ขารว มโครงการฯมีความพึงพอใจในระดับดีขึ้นไปไมนอยกวารอยละ 80 8.3 บรรลตุ ามวตั ถุประสงคค ือ - ผเู ขา รว มโครงการฯไมน อยกวารอยละ 20 สามารถนาํ ไปประยุกตใชใน ชวี ติ ประจําวนั ได - ผูเขา รว มโครงการฯสามารถไปขยายผลไดไมนอยกวา รอยละ 5 ของ เปาหมาย 8.4 สรุปงบประมาณในการดาํ เนินงาน - ผูเขา รว มโครงการฯ ตาํ บลนาปา รอยละ 80 มีความรู ความเขา ใจ เกีย่ วกับคุณภาพชีวติ ของตนเองและคนในชุมชน ทเ่ี ปน มิตรกบั สงิ่ แวดลอมได สามารถนําความรูใ น กจิ กรรม 3RS นํามาปรับใชใ นชวี ิตประจาํ วนั และสามารถลดรายจาย เพม่ิ รายไดได

48 9. จาํ นวนผูเ รยี นและผูผานการเรียน/อบรม จาํ แนกตามอายุและเพศ 60 ปขนึ้ ไป รวม เพศ ต่ํากวา 15 ป 15-39 ป 40-59 ป ชญ ชญ อายุ ช ญ ช ญ ช ญ รวมทง้ั ส้นิ จํานวนผเู รยี น - -2212 - 11 3 15 จํานวนผูผานการฝกอบรม - - 2 2 1 2 - 11 3 15 18 18 10. จํานวนผเู รียนและผผู านการฝก อบรม จาํ แนกตามกลมุ อาชพี และเพศ กลุมอาชพี รับ พนักงาน คาขาย เกษตรกรรม รับจาง อ่นื ๆ รวม รวมทั้งสนิ้ ราชการ รฐั วิสาหกิจ อายุ ชญ ชญ ชญ ชญ ชญ ชญ ชญ 18 จํานวนผเู รียน -- -- -2 -1 34 -8 3 15 18 จาํ นวนผูผา นการฝกอบรม - - - - - 2 - 1 3 4 - 8 3 15 11. จาํ นวนผูเรยี นและผูผ า นการฝก อบรม จําแนกตามกลุมเปา หมายและเพศ กลมุ เปา หมาย ผูนํา ทหารกอง แรงงา แรงงาน กลุม รวม รวม ทอ งถิ่ อบต. ผตู อ งขัง ประจําการ นไทย ตา ง เกษตรกร อสม. สตรี อนื่ ๆ ทั้งส้นิ อายุ ชญ น ดา ว ชญช ญ 3 15 18 จํานวนผูเรียน ชญชญช ญชญชญชญช ญช ญ --- - 3 15 18 จํานวนผผู าน - - - - - - - - 3 2 - - - 1 - 12 --- - การฝกอบรม - - - - - - - - 3 2 - - - 1 - 12 12.ปญหาและอุปสรรคทเ่ี กิดข้นึ ระหวางดาํ เนินงาน - 13.ขอเสนอแนะในการจดั กิจกรรมโครงการครง้ั ตอไป -

49 14.ภาพกิจกรรม (จาํ นวน 2-4 ภาพ) พิธีเปด โครงการฯ วทิ ยากรใหความรผู ูเขาอบรม วทิ ยากรใหความรผู เู ขาอบรม ภาพหมพู รอ มปา ยโครงการฯ .....ศศวิ ณั ย ออ นศรที อง.... ผูรายงาน (นางสาวศศิวัณย ออ นศรีทอง)

50 ทป่ี รกึ ษา คณะผจู ัดทํา 1. นายไพรตั น เนื่องเกตุ ผูอํานวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษา 2. นางสาวเอมอร แกว กลํา่ ศรี ตามอัธยาศัยอาํ เภอเมืองชลบรุ ี ครชู าํ นาญการพิเศษ คณะทํางาน ครูอาสาสมัคร กศน. นางสาวกมลลกั ษณ ยิ่งสุขผล ครู กศน.ตําบล นางสาวศศิวัณย ออนศรที อง ผูรวบรวม เรยี บเรียง และจัดพมิ พ นางสาวศศวิ ัณย ออนศรที อง ครู กศน.ตําบล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook