Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการส่งเสริมการอ่านเคลื่อนที่รถโมบาย 2564

โครงการส่งเสริมการอ่านเคลื่อนที่รถโมบาย 2564

Published by s.pannawitt, 2021-11-08 06:38:57

Description: โครงการส่งเสริมการอ่านเคลื่อนที่รถโมบาย 2564

Search

Read the Text Version

ก คำนำ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ. 2545 มีสาระสำคัญที่สร้างเสริมความรู้ การเรียนรู้ ความใฝ่รู้ การศึกษาค้นคว้า วิจัย อันนำไปสู่ สังคมความรู้ (Knowledge Society) และสงั คมการเรียนรู้ (Learning Society) ซ่งึ สะทอ้ นบทบาทของ แหล่งการเรียนรู้ ในมาตรา ๒๕ รัฐต้องส่งเสริม การดำเนินงานและการจัดตัง้ แหลง่ การเรียนรู้ตลอดชีวิต ทุกรูปแบบ ได้แก่ ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศูนย์การศึกษา และนันทนาการ แหล่งข้อมูล และแหล่งการเรียนรู้อื่นอย่าง พอเพยี ง และมปี ระสทิ ธภิ าพ (สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา 2547a:a14) การอ่านมีความสำคัญต่อชีวิตมนุษย์ตั้งแต่เกิดจนโต และจนกระทั่งถึงวัยชรา การอ่านทำ ใหร้ ู้ขา่ วสารขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ทว่ั โลก ซ่ึงปัจจบุ นั เป็นโลกของข้อมลู ขา่ วสารต่าง ๆ ทั่วโลก ทำใหผ้ อู้ า่ นมีความสุข มีความหวัง และมีความอยากรู้อยากเห็น อันเป็นความต้องการของมนุษย์ทุกคน การอ่านมีประโยชน์ใน การพัฒนาตนเอง คือ พัฒนาการศึกษา พัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิต ทำให้เป็นคนทันสมัย ทันต่อ เหตุการณ์ และมีความอยากรู้อยากเห็น การที่จะพัฒนาประเทศให้เจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าได้ต้องอาศัย ประชาชนที่มีความรู้ความสามารถ ซึ่งความรู้ต่าง ๆ ก็ได้มาจากการอ่านนั่นเอง (ฉวีวรรณ คูหาภินนท์ , ๒๕๔๒ ) ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดชลบุรี เปน็ สว่ นหน่งึ ในการขับเคลอ่ื นนโยบายส่งเสรมิ การอ่านให้ เป็นวาระแหง่ ชาติ เพื่อส่งเสริมการอ่านเปน็ นิสัยใหม่ถาวรของคนในชุมชน จึงดำเนินโครงการส่งเสริมการ อา่ น/หน่วยบริการเคลือ่ นท่ี (รถโมบาย) เคลือ่ นที่ เพื่อนำหนังสือ/ส่ือการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน เป็นกิจกรรมเชิงรุกร่วมกับเครือข่ายห้องสมุด เพื่อหากลุ่มเป้าหมายตามสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งใน การสรา้ งนสิ ยั รกั การอา่ นของคนในชมุ ชนตอ่ ไป รายงานฉบับน้ีเป็นการสรุปผลการดำเนินโครงการส่งเสริมการอ่าน/หน่วยบรกิ ารเคล่อื นที่ รถโมบาย ชองห้องสมุดประชาชนจังหวัดชลบุรี กศน.อำเภอเมืองชลบุรี ประจำปีงบประมาณ 2564 ซึ่ง ผู คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างว่า รายงานสรุปฉบับนี้จะเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนนโยบายในการจัดสร้าง แหล่งการเรยี นรู้และส่งเสริมแหล่งการเรียนรู้ตลอดชวี ิตสำหรบั ประชาชน ปณั ณวชิ ญ์ สขุ ทวี กนั ยายน 2564

ข -ข- สารบัญ หน้า คำนำ......................................................................................................................... ..................................ก สารบัญ....................................................................................................................... .................................ข สารบัญตาราง..............................................................................................................................................ค สารบญั ภาพ.................................................................................................................... .............................ง บทที่ 1 บทนำ 1 ความเป็นมาและความสำคญั ......................................................................................................1 วตั ถุประสงค์ ...............................................................................................................................2 เปา้ หมาย....................................................................................................................................2 ระยะเวลาดำเนินงาน ..................................................................................................................2 ผลลัพธ์ .......................................................................................................................................2 ดชั นีวดั ผลสำเร็จของโครงการ.....................................................................................................2 บทท่ี 2 เอกสารการศกึ ษาและบทความท่เี กี่ยวขอ้ ง ...............................................................................3 ยุทธศาสตรแ์ ละจุดเนน้ การดำเนินงาน สำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ........3 แนวทางการดำเนินงานของ กศน.อำเภอเมืองชลบุรี....................................................................15 กรอบการจดั กิจกรรมเพ่ือพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น ..........................................................................23 แนวทางการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ กศน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา่ ( COVID – 19 ).....................................................................................................25 เอกสาร/บทความที่เก่ียวข้อง.......................................................................................................28 บทที่ 3 วธิ ีดำเนินงาน.............................................................................................................................35 ประชุมบคุ ลากรกรรมการสถานศกึ ษา .........................................................................................35 จดั ต้ังคณะทำงาน........................................................................................................................35 ประสานงานกบั ผ้เู รียน/วิทยากรผสู้ อน........................................................................................35 ดำเนินการตามแผนงานโครงการ.................................................................................................36 สรปุ ผลและรายงาน.....................................................................................................................36

ค สารบัญ(ต่อ) หนา้ บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งานและการวเิ คราะหข์ ้อมูล ................................................................................37 ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลส่วนตวั ผ้แู บบสอบถามโครงการสง่ เสรมิ การอ่าน/หนว่ ยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) ประจำปี 2564 .................................................................................................................37 ตอนท่ี 2 ข้อมูลเกยี่ วกบั ความคดิ เห็นท่มี ีตอ่ โครงการส่งเสริมการอ่าน/หน่วยบรกิ ารเคล่ือนท่ี (รถโมบาย) ประจำปี 2564 ……………………...................................................................................….….40 บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ...........................................................................................43 สรปุ ผล.................................................................................................................................43 อภปิ รายผล..........................................................................................................................44 ปัญหาและอุปสรรค ..............................................................................................................44 ข้อเสนอแนะ.........................................................................................................................45 บรรณานุกรม...........................................................................................................................................46 ภาคผนวก.................. ..............................................................................................................................47 คณะผูจ้ ัดทำ

ง -ค- สารบญั ภาพ หน้า ภาพที่ 1. วงจรของเซลลส์ มอง...............................................................................................................31 2. แสดงรอยเชอื่ มต่อระหวา่ งเซลล์สมอง.....................................................................................32 3. การประมวลผลของสมอง (Information Processing Model.............................................. 32 4. การเลา่ นิทาน อ่านหนังสือกับลูก............................................................................................33 5. การอ่านคือการเรียนรู้.............................................................................................................34

จ -ง- สารบญั ตาราง ตารางที่ 1. แสดงค่าร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามเพศ.................................................37 2. แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอายุ.................................................37 3. แสดงค่าร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอาชพี ..............................................38 4. แสดงคา่ รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามการศึกษา........................................ 39 5. ผลการประเมินความพึงพอใจเขา้ รว่ มกจิ กรรมโครงการสง่ เสรมิ การอา่ นเคลื่อนที่/ รถโมบาย ประจำปี 2564 .................................................................................................... 40

บทท่ี 1 บทนำ ความเปน็ มา การอา่ นมคี วามสำคญั ต่อชีวติ มนษุ ยต์ ้งั แต่เกดิ จนโต และจนกระท่ังถงึ วัยชรา การอา่ นทำให้รู้ ข่าวสารขอ้ มูลต่าง ๆ ทว่ั โลก ซงึ่ ปัจจบุ ันเป็นโลกของข้อมูลข่าวสารตา่ ง ๆ ทัว่ โลก ทำให้ผอู้ ่านมีความสุข มี ความหวัง และมีความอยากรอู้ ยากเห็น อนั เป็นความต้องการของมนุษย์ทกุ คน การอ่านมปี ระโยชน์ในการ พฒั นาตนเอง คือ พัฒนาการศกึ ษา พฒั นาอาชพี พฒั นาคุณภาพชีวติ ทำให้เป็นคนทนั สมัย ทันตอ่ เหตุการณ์ และมีความอยากรอู้ ยากเห็น การทจ่ี ะพฒั นาประเทศให้เจริญรุ่งเรอื งก้าวหนา้ ไดต้ ้องอาศัยประชาชนท่มี คี วามรู้ ความสามารถ ซงึ่ ความรตู้ ่าง ๆ ก็ไดม้ าจากการอา่ นนัน่ เอง (ฉวีวรรณ คหู าภนิ นท์, ๒๕๔๒ ) ปจั จุบันประเทศไทยมีการพัฒนาไปอย่างรวดเรว็ ทัง้ ทางดา้ นเทคโนโลยี และดา้ นวิทยาการ ตา่ งๆ เหล่าน้สี ่งผลตอ่ สภาพแวดลอ้ มทางวฒั นธรรม และสงั คมเปน็ อย่างมาก การอ่านกเ็ ช่นกัน การอ่านไดร้ บั ผลกระทบจากสภาพแวดลอ้ มในสังคม ซ่ึงสง่ ผลให้ วยั รนุ่ ไทยในปจั จุบันซมึ ซบั วฒั นธรรมการอา่ นทต่ี า่ งไปจาก อดีตมากขน้ึ การอ่านเปน็ ปจั จัยสำคัญ ที่สามารถชว่ ยให้สังคมไทย พฒั นาไปได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ การอ่านนนั้ เป็นสิ่งจำเป็นทขี่ าดไม่ได้ ในทุกๆปจั จัย ไม่วา่ จะเปน็ การคิด หรือกระทำสง่ิ ใดนัน้ ย่อมต้องอาศยั การอ่านเป็น สำคญั วยั รุ่นไทยนับไดว้ ่าเป็นกล่มุ ทมี่ ีบทบาทเป็นอย่างย่ิงที่จะตอ้ งมคี วามรู้ ความสามารถในการอ่านเปน็ อยา่ ง ดี เพอ่ื ทจ่ี ะเป็นกำลังสำคญั ของชาตใิ นการพฒั นาประเทศให้กา้ วไปสคู่ วามเป็นสากลมากขึ้นกวา่ ท่เี ป็นอยจู่ ะเหน็ ได้วา่ ปจั จุบนั นีม้ สี อ่ื หลากหลายรปู แบบ ท้ังท่มี ีประโยชน์ และเพ่ือความบนั เทิง วัยรุ่นไทยสามารถที่จะเลือกอา่ น ในสิ่งทต่ี นเองชอบ และสนใจไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง สอ่ื ท่ีวัยร่นุ ไทยเลอื กอา่ นนน้ั สว่ นใหญ่มักเป็นส่อื ประเภท บนั เทิง ฉาบฉวย และหวือหวา ซงึ่ สอ่ื เหล่าน้ี นบั ว่าเป็นสือ่ ที่เข้ามามบี ทบาทต่อการอา่ น ของวยั รุ่นไทย เปน็ อย่างมาก การอ่านน้ันมีความจำเปน็ ตอ่ คนทุกระดบั เพราะไมว่ ่าใครก็จำเป็นทจ่ี ะตอ้ งอ่านกันทงั้ นัน้ เช่นการ อ่านแผน่ ปา้ ยโฆษณา การอา่ นขอ้ ความ การอ่านหนังสือพิมพ์ การอ่านคำกล่าวรายงาน หรอื แม้กระทั่งการอ่าน เรื่องใกล้ตวั อย่างชื่อของตนเอง เป็นตน้ หอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวดั ชลบรุ ี เปน็ สว่ นหนึ่งในการขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมการอา่ นให้ เปน็ วาระแหง่ ชาติ เพ่ือส่งเสริมการอ่านเป็นนิสัยใหม่ถาวรของคนในชมุ ชน จงึ ดำเนนิ โครงการส่งเสริมการ อา่ น/หน่วยบรกิ ารเคล่ือนท่ี (รถโมบาย) เคล่ือนที่ เพื่อนำหนังสอื /สือ่ การเรียนรู้ผ่านกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน เปน็ กจิ กรรมเชงิ รุกร่วมกับเครอื ข่ายห้องสมุด เพื่อหากลมุ่ เป้าหมายตามสถานทีต่ า่ ง ๆ ซึ่งเปน็ สว่ นหนงึ่ ในการ สร้างนิสัยรกั การอ่านของคนในชมุ ชนต่อไป วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือให้ส่งเสริมใหป้ ระชาชนตระหนักถงึ ความสำคญั ของการอา่ นและมีนสิ ยั รกั การอ่าน 2. เพ่ือสร้างเครือข่ายสง่ เสรมิ การอา่ นของชุมชน 3. เพือ่ ประชาสัมพนั ธก์ จิ กรรมหอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวดั ชลบุรี

๒ เป้าหมาย เชิงปริมาณ - นกั ศึกษา กศน.อำเภอเมืองชลบรุ ี จำนวน 400 คน เชงิ คุณภาพ - นักศึกษา กศน. อำเภอเมืองชลบุรตี ระหนกั ถงึ ความสำคัญของแหล่งการเรยี นรแู้ ละการศกึ ษา ตลอดชวี ิต ผลลัพธ์ - สามารถสร้างแหล่งการเรียนรู้เพื่อให้ ให้กับกล่มุ เป้าหมายและผู้เข้ารว่ มโครงการ - สามารถสรา้ งครอื ขา่ ยและสรา้ งชุมชนการอ่านเพ่ือการเรยี นรตู้ ลอดชีวิต - สามารถจดั กิจกรรมท่ีหลากหลายสูช่ มุ ชน ดัชนตี ัวช้วี ดั ผลสำเร็จของโครงการ ตัวชว้ี ดั ผลผลติ - ผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ ฯ รอ้ ยละ 100 ของเป้าหมาย - รอ้ ยละ 60 ของผู้เขา้ ร่วมโครงการไดร้ ับโอกาสและการเรยี นรทู้ างดา้ นกจิ กรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ และรปู แบบการศึกษาตามอธั ยาศัยทม่ี ีคุณภาพ ตัวช้ีวดั ผลลัพธ์ - ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ ฯ ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 60 สามารถนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ขอ เป้าหมาย - ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ ฯ สามารถนำไปขยายผลได้ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 5 ของเป้าหมาย

บทที่ 2 เอกสารการศกึ ษาและบทความทีเ่ กีย่ วข้อง ในการจัดทำรายงานโครงการสง่ เสริมการอา่ น/หนว่ ยบริการเคล่อื นท่ี (รถโมบาย) ประจำปี 2564 คร้ังนี้ ผูจ้ ดั ทำได้ศกึ ษาค้นคว้าเน้อื หาเอกสารการศึกษาท่เี ก่ียวขอ้ ง ดงั น้ี 1. ยทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2. แนวทาง/กลยุทธ์การดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของ กศน. อำเภอเมืองชลบุรี 3. บทความท่ีเกย่ี วข้อง 1. ยุทธศาสตร์และจดุ เน้นการดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 วิสัยทศั น์ คนไทยทุกช่วงวยั ไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีทักษะท่ีจําเป็น และสมรรถนะที่สอดรับกับทศิ ทางการพัฒนาประเทศ สามารถดํารงชีวติ ได้อย่างเหมาะสมบนรากฐานของหลัก ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง พันธกจิ ๑. จัดและสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่มี คี ุณภาพ สอดคลอ้ ง กบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และความเปลย่ี นแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพอ่ื ยกระดบั การศึกษา และ พฒั นาสมรรถนะ ทกั ษะการเรียนร้ขู องประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายให้เหมาะสมในแตล่ ะชว่ งวยั ใหพ้ รอ้ มรบั การ เปลีย่ นแปลงและการปรับตวั ในการดํารงชวี ติ ได้อย่างเหมาะสม กา้ วสูก่ ารเป็นสงั คมแหง่ การเรียนรตู้ ลอดชีวิต อย่างย่งั ยืน ๒. พัฒนาหลกั สตู ร รปู แบบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ สื่อและนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา การ วัดและประเมินผลในทุกรูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้และบริบท ในปัจจบุ ัน ๓. ส่งเสริมและพฒั นาเทคโนโลยที างการศึกษา และนําเทคโนโลยีมาพัฒนาเพ่ือเพิ่มช่องทางและโอกาส การเรียนรู้ รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดและให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย ใหก้ ับประชาชนกลุ่มเป้าหมายอย่างทัว่ ถงึ ๔. ส่งเสริมสนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคีเครือข่าย ให้เข้ามามีส่วนร่วม ในการสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิตในรูปแบบ ต่าง ๆ ให้กับประชาชน ๕. ฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กรให้มีเอกภาพ เพื่อการบริหารราชการที่ดี บนหลัก ของ ธรรมาภิบาล มีประสทิ ธิภาพ ประสทิ ธผิ ล และคลอ่ งตัวมากย่ิงขึ้น ๖.ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรม และ จรยิ ธรรมท่ดี ี เพอื่ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพของการให้บรกิ ารทางการศึกษาและการเรยี นรู้ท่ีมีคุณภาพมากย่งิ ข้ึน

๔ เป้าประสงค์ 1. ประชาชนผดู้ อ้ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมทง้ั ประชาชนทั่วไปไดร้ บั โอกาส ทาง การศึกษาในรปู แบบการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศกึ ษา ตาม อธั ยาศัยทม่ี ีคณุ ภาพอย่างเทา่ เทียมและทว่ั ถงึ เป็นไปตามบริบท สภาพปัญหาและความต้องการของแต่ละ กลมุ่ เปา้ หมาย 2. ประชาชนไดร้ บั การยกระดับการศึกษา สร้างเสรมิ และปลกู ฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม หน้าที่ความเป็น พลเมืองทดี่ ีภายใต้การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์เปน็ ประมขุ ท่สี อดคล้องกบั หลัก ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง อันนําไปสู่การยกระดบั คุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเขม้ แข็งใหช้ ุมชน เพื่อ พฒั นา ไปสคู่ วามมัน่ คงและยั่งยนื ทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ประวตั ิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม 3. ประชาชนไดร้ ับการพฒั นาทักษะการเรียนรู้และแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเองผ่านแหลง่ เรยี นรู้ ชอ่ ง ทางการเรยี นรู้ และกจิ กรรมการเรยี นรู้รูปแบบต่าง ๆ รวมท้ังมเี จตคติทางสงั คม การเมือง วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยที ่ีเหมาะสม สามารถคดิ วิเคราะห์ แยกแยะอย่างมเี หตผุ ล และนาํ ไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั รวมถงึ การแกป้ ัญหาและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ได้อย่างสร้างสรรค์ 4. หน่วยงานและสถานศกึ ษา กศน. มีหลักสตู ร สอื่ นวัตกรรม ช่องทางการเรียนรู้ และกระบวนการ เรยี นรใู้ นรปู แบบท่ีหลากหลาย ทนั สมยั และรองรับกับสภาวะการเรยี นรู้ในสถานการณต์ ่าง ๆ เพอื่ แกป้ ัญหา และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ตามความตอ้ งการของประชาชนและชมุ ชน รวมทั้งตอบสนองกับการเปล่ยี นแปลง บริบท ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วฒั นธรรม ประวตั ศิ าสตร์ และสิง่ แวดลอ้ ม 5. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษา กศน. สามารถนาํ เทคโนโลยที างการศกึ ษา และเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล มา พัฒนาเพื่อเพม่ิ ช่องทางการเรียนรู้ และนาํ มาใช้ในการยกระดบั คุณภาพในการจดั การเรยี นร้แู ละโอกาสการ เรียนรู้ ใหก้ บั ประชาชน 6. ชมุ ชนและภาคเี ครือขา่ ยทุกภาคสว่ น มีส่วนร่วมในการจดั สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการศกึ ษา นอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการขบั เคลื่อนกิจกรรมการเรยี นรู้ของชุมชน 7. หน่วยงานและสถานศกึ ษามรี ะบบการบริหารจดั การองค์กรทที่ นั สมัย มีประสทิ ธิภาพ และเปน็ ไป ตามหลกั ธรร-มาภบิ าล 8. บุคลากร กศน. ทุกประเภททกุ ระดบั ไดร้ บั การพฒั นาเพ่ือเพิ่มทักษะและสมรรถนะในการปฏบิ ัตงิ าน และการให้บริการทางการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย รวมถึงการปฏบิ ตั ิงานตามสายงานอย่าง มี ประสทิ ธภิ าพ





๗ จดุ เน้นการดาํ เนินงานประจําปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 1. นอ้ มนําพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาส่กู ารปฏบิ ัติ 1.1 สืบสานศาสตร์พระราชา โดยการสร้างและพัฒนาศูนย์สาธติ และเรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการบริหารทรัพยากรรูปแบบต่าง ๆ ทั้งดิน น้ำ ลม แดด รวมถึงพืชพันธุ์ต่าง ๆ และ สง่ เสริม การใช้พลงั งานทดแทนอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 1.2 จัดใหม้ ี “หนึง่ ชมุ ชน หนึง่ นวตั กรรมการพฒั นาชมุ ชน” เพ่ือความกนิ ดี อยูด่ ี มีงานทํา 1.3 การสร้างกลุ่มจิตอาสาพัฒนาชุมชน รวมทั้งปลูกฝังผู้เรียนให้มีหลักคิดที่ถูกต้องด้านคุณธรรม จริยธรรม มีทัศนคติที่ดีต่อบา้ นเมือง และเป็นผู้มคี วามพอเพียง ระเบียบวินยั สุจริต จิตอาสา ผ่านกิจกรรมการ พฒั นา ผู้เรยี นโดยการใชก้ ระบวนการลูกเสือและยวุ กาชาด 2. สง่ สรมิ การจดั การศึกษาและการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ สําหรับประชาชนท่เี หมาะสมกับทกุ ช่วงวัย 2.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทํา ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสร้าง นวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความต้องการของประชาชน ผู้รับบรกิ าร และสามารถออกใบรับรองความร้คู วามสามารถเพ่ือนาํ ไปใชใ้ นการพฒั นาอาชีพได้ 2.2 ส่งเสริมและยกระดบั ทกั ษะภาษาองั กฤษให้กับประชาชน (English for ALL) 2.3 ส่งเสริมการเรียนการสอนที่เหมาะสมสําหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย อาทิ การฝึกอบรมอาชีพ ท่ี เหมาะสมรองรับสังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมสมรรถนะผู้สูงวัย และหลักสูตร การ ดูแลผูส้ งู วัย โดยเน้นการมีสว่ นรว่ มกบั ภาคีเครอื ขา่ ยทุกภาคส่วนในการเตรยี มความพรอ้ มเข้าสู่สังคมสงู วัย 3. พฒั นาหลกั สตู ร สื่อ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมทางการศึกษา แหล่งเรียนรู้ และรปู แบบ การจัดการศกึ ษา และการเรียนรู้ ในทุกระดบั ทกุ ประเภท เพื่อประโยชน์ตอ่ การจัดการศกึ ษาที่เหมาะสม กับทกุ กลุ่มเปา้ หมาย มีความทนั สมัย สอดคลอ้ งและพรอ้ มรองรบั กบั บรบิ ทสภาวะสังคมปัจจบุ ัน ความตอ้ งการ ของผู้เรยี น และ สภาวะการเรยี นรู้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ทจ่ี ะเกดิ ข้นึ ในอนาคต 3.1 พ ั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ ONIE Digital Leaming Platform ท ี ่ ร อ ง ร ั บ DEEP ข อ ง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และชอ่ งทางเรยี นรูร้ ปู แบบอื่น ๆ ทง้ั Online On-site และ On-air 3.2 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ประเภทต่าง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนย์การเรียนรู้ทุกช่วงวัย และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. (Co-Learning Space) เพื่อให้ สามารถ “เรยี นรไู้ ดอ้ ย่างทั่วถึง ทกุ ท่ี ทุกเวลา” 3.3 พัฒนาระบบรับสมัครนักศึกษาและสมัครฝึกอบรมแบบออนไลน์ มีระบบการเทียบโอนความรู้ ระบบสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank System) และพัฒนา/ขยายการให้บริการระบบทดสอบ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (E-exam) 4. บรู ณาการความรว่ มมอื ในการสง่ เสริม สนบั สนนุ และจัดการศึกษาและการเรียนรูใ้ หก้ บั ประชาชนอยา่ ง มีคุณภาพ 4.1 ร่วมมอื กบั ภาคีเครือข่ายท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมท้ัง ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน อาทิ การส่งเสริมการฝึกอาชีพที่เป็นอัตลักษณ์และบริบทของ ชุมชน ส่งเสรมิ การตลาดและขยายชอ่ งทางการจําหนา่ ยเพ่อื ยกระดับผลิตภัณฑ์/สนิ คา้ กศน. 4.2 บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ทั้งในส่วนกลาง และ ภมู ภิ าค

๘ 5. พฒั นาศักยภาพและประสิทธภิ าพในการทาํ งานของบุคลากร กศน. 5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy & Digital Skills) ให้กับบุคลากรทุกประเภททุกระดับ รองรับความเป็นรัฐบาลดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งพัฒนา ครูให้มีทักษะ ความรู้ และความชํานาญในการใช้ภาษาอังกฤษ การผลิตสื่อการเรียนรู้และการจัดการเรยี นการ สอนเพ่ือฝกึ ทักษะ การคดิ วิเคราะห์อยา่ งเปน็ ระบบและมีเหตุผล เปน็ ขน้ั ตอน 5.2 จัดกิจกรรมเสริมสร้างความสัมพันธ์ ของบุคลากร กศน.และกิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพ ในการ ทํางานร่วมกันในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ การแข่งขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาประสิทธิภาพ ในการ ทาํ งาน 6. ปรับปรงุ และพฒั นาโครงสรา้ งและระบบบรหิ ารจดั การองค์กร ปจั จัยพน้ื ฐานในการจดั การศกึ ษา และ การประชาสัมพันธส์ ร้างการรบั รูต้ ่อสาธารณะชน 6.1 เร่งผลักดันร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมการเรียนรู้ พ.ศ. ... ให้สําเร็จ และปรับโครงสร้าง การ บรหิ ารและอัตรากําลังใหส้ อดคล้องกบั บรบิ ทการเปลย่ี นแปลง เรง่ การสรรหา บรรจุ แตง่ ต้ังท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ 6.2 นํานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการ พัฒนาระบบการทํางานและข้อมูล สารสนเทศด้านการศึกษาที่ทันสมัย รวดเร็ว และสามารถใช้งานทันที โดยจัดตั้งศูนย์ข้อมูลกลาง กศน. เพ่ือ จัดทํา ข้อมลู กศน. ทงั้ ระบบ (ONE ONIE) 6.3 พัฒนา ปรับปรุง ซ่อมแซม ฟื้นฟูอาคารสถานที่ และสภาพแวดล้อมโดยรอบของหน่วยงาน สถานศึกษา และแหลง่ เรยี นร้ทู ุกแหง่ ให้สะอาด ปลอดภัย พร้อมใหบ้ ริการ 6.4 ประชาสมั พันธ/์ สร้างการรบั ร้ใู ห้กบั ประชาชนทัว่ ไปเกี่ยวกับการบริการทางวชิ าการ/กิจกรรม ดา้ น การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสร้างช่องทางการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวิชาการ ของ หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาในสังกัด อาทิ ข่าวประชาสัมพันธ์ ผา่ นส่ือรปู แบบต่าง ๆ การจัดนิทรรศการ/มหกรรม วชิ าการ กศน. การจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ของสาํ นกั งาน กศน. จากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) เมื่อเดอื นธันวาคม 2562 ส่งผลกระทบต่อระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับชั้น ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงศกึ ษาธิการ ได้ ออกประกาศและมีมาตรการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเช้ือไวรสั ดังกล่าว อาทิ กาํ หนดให้มี การ เว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ห้ามการใชอ้ าคารสถานทีข่ องโรงเรียนและสถาบันการศึกษา ทุก ประเภท เพื่อจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการทํากิจกรรมใด ๆ ที่มีผู้เข้าร่วมเป็นจํานวนมาก การปิดสถานศึกษาด้วยเหตุพิเศษ การกําหนดให้ใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ อาทิ การจัดการ เรียนรู้ แบบออนไลน์ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบการออกอากาศทางโทรทัศน์ วิทยุ และโซเซียลมีเดีย ต่าง ๆ รวมถึง การสือ่ สารแบบทางไกลหรือด้วยวิธอี เิ ลก็ ทรอนิกส์ ในสว่ นของสํานักงาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรบั รูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดําเนนิ งานในภารกิจ ต่อเนื่องต่าง ๆ ในสถานการณ์การใช้ชีวิตประจําวัน และการจัดการเรียนรู้เพื่อรองรับการชีวิตแบบปกติวิถีใหม่ (New Normal) ซึ่งกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ ได้ให้ความสําคัญกับการดําเนินงานตามมาตรการการป้องกัน การแพรร่ ะบาดของเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ กุ ประเภท หากมี ความจาํ เป็นต้องมาพบกลุ่ม หรอื อบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาต้องมมี าตรการป้องกันทเ่ี ข้มงวด มีเจล แอลกอ ฮอลล้างมือ ผ้รู ับบรกิ ารต้องใส่หน้ากากอนามยั หรือหน้ากากผ้า ต้องมีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล เน้นการ ใช้ส่อื ดิจิทลั และเทคโนโลยอี อนไลน์ในการจัดการเรยี นการสอน

๙ ภารกจิ ตอ่ เนอ่ื ง ๑. ด้านการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน 1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยดําเนินการ ให้ ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซื้อหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน และค่าจัดการเรียน การ สอนอยา่ งท่ัวถงึ และเพยี งพอเพื่อเพม่ิ โอกาสในการเข้าถงึ บริการทางการศกึ ษาทีม่ ีคณุ ภาพโดยไม่เสียคา่ ใชจ้ า่ ย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาด โอกาสทางการศึกษา ผ่านการเรียนแบบเรียนรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชั้นเรียน และการจัด การศกึ ษาทางไกล 3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้น พื้นฐาน ทั้งด้านหลักสูตรรูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผล การเรยี น และระบบการใหบ้ ริการนกั ศกึ ษาในรปู แบบอื่น ๆ 4) จดั ใหม้ กี ารประเมินเพอื่ เทียบระดับการศกึ ษา และการเทียบโอนความร้แู ละประสบการณ์ ที่มคี วาม โปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กําหนด และสามารถตอบสนองความต้องการ ของ กล่มุ เปา้ หมายไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ 5) จัดให้มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มีคุณภาพที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัติ กิจกรรม เพอ่ื เปน็ ส่วนหน่ึงของการจบหลักสตู ร อาทิ กจิ กรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับการป้องกัน และ แกไ้ ขปัญหายาเสพติดการแขง่ ขันกีฬา การบําเพญ็ สาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการปกครอง ใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรม จติ อาสา และการจดั ตั้งชมรม/ชุมนุม พรอ้ มทั้งเปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนนํากจิ กรรมการบาํ เพ็ญประโยชน์อ่ืน ๆ นอก หลักสตู รมาใช้เพม่ิ ช่วั โมงกจิ กรรมใหผ้ ูเ้ รยี นจบตามหลักสตู รได้ 1.2 การสง่ เสรมิ การรหู้ นงั สือ 1) พฒั นาระบบฐานข้อมูลผู้ไมร่ ู้หนังสอื ใหม้ ีความครบถ้วน ถกู ตอ้ ง ทนั สมัยและเปน็ ระบบเดียวกัน ทั้ง ส่วนกลางและส่วนภมู ภิ าค 2) พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร สื่อ แบบเรียนเครื่องมือวัดผลและเครื่องมือการดําเนินงานการ สง่ เสริมการรู้หนงั สอื ที่สอดคล้องกับสภาพและบรบิ ทของแตล่ ะกล่มุ เป้าหมาย 3) พัฒนาครู กศน. และภาคเี ครอื ข่ายทรี่ ว่ มจัดการศึกษา ให้มคี วามรคู้ วามสามารถ และทกั ษะการ จัด กระบวนการเรียนรูใ้ หก้ ับผู้ไมร่ ู้หนังสืออย่างมีประสิทธิภาพ และอาจจัดให้มีอาสาสมัครส่งเสริมการรู้หนังสือใน พน้ื ทท่ี มี่ คี วามต้องการจาํ เป็นเปน็ พิเศษ 4) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสริมการรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้หนังสือ การ พัฒนาทักษะการรู้หนังสือให้กับประชาชนเพื่อเป็นเครื่องมือในการศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ของประชาชน 1.3 การศึกษาต่อเน่อื ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทําอย่างยั่งยืน โดยให้ความสําคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อ การมีงานทําในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการ บริการ รวมถึงการเน้นอาชีพช่างพื้นฐาน ที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ความต้องการและศักยภาพของ แต่ละพื้นที่ มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนา ประเทศ ตลอดจน สร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีการส่งเสริมการรวมกลุ่มวิสาหกิจ

๑๐ ชุมชน การพัฒนา หนึ่งตําบลหนึ่งอาชีพเด่น การประกวดสินค้าดีพรีเมี่ยม การสร้างแบรนด์ของ กศน. รวมถึง การส่งเสริมและจัดหาช่องทางการจําหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ และให้มีการกํากับ ติดตาม และรายงานผล การจัดการศกึ ษาอาชพี เพ่ือการมงี านทําอย่างเปน็ ระบบและตอ่ เนื่อง 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ท่ี สอดคล้องกับความต้องการจําเป็นของแต่ละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทุกกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการดํารงชีวิต ตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวติ ของตนเองให้ อยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุขสามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสําหรับการปรบั ตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยี สมัยใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรมที่มีเนื้อหาสําคัญต่าง ๆ เช่น การอบรมจิตอาสา การให้ความรู้เพื่อการป้อง การการแพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) การอบรมพัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจติ การอบรมคุณธรรม และจริยธรรม การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา การปลูกฝังและการสร้างค่านิยมที่พึง ประสงค์ ความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการอบรมเรียนรู้ในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะ ชวี ิต การจัดตั้งชมรม/ชมุ นมุ การอบรมส่งเสรมิ ความสามารถพเิ ศษตา่ ง ๆ เป็นต้น 3) จดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลกั สตู รและการจัดกระบวนการเรยี นรู้ แบบบูรณา การในรูปแบบของการฝึกอบรมการประชมุ สมั มนา การจดั เวทีแลกเปล่ียนเรยี นรกู้ ารจัดกจิ กรรม จิตอาสา การ สร้างชมุ ชนนกั ปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับกลุม่ เป้าหมาย และบริบทของชุมชน แต่ละพื้นที่ เคารพ ความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคม พหุ วัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพื่อแลกเปลีย่ นเรียนรู้รว่ มกันสร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้างจิตสํานึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรับผิดชอบต่อหน้าที่ความเป็น พลเมือง ที่ดีภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การเป็นจติ อาสา การบาํ เพ็ญประโยชนใ์ นชุมชนการ บรหิ ารจดั การนํา้ การรับมอื กบั สาธารณภยั การ อนรุ ักษ์พลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การชว่ ยเหลือซ่ึงกนั และกันในการพัฒนาสังคมและชุมชน อย่างย่ังยืน 4) การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต ใน รูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง และมีการบริหาร จดั การ ความเส่ยี งอยา่ งเหมาะสม ตามทศิ ทางการพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและย่งั ยนื 1.4 การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 1) พฒั นาแหลง่ การเรียนรทู้ ี่มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอา่ นและพัฒนาศกั ยภาพ การ เรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและทั่วถึง เช่น การพัฒนา กศน. ตําบล ห้องสมุด ประชาชนทุกแห่งให้มีการบริการที่ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้าง เครือข่าย ส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ ห้องสมุดชาวตลาด พร้อมหนังสือและอุปกรณ์ เพือ่ จัดกจิ กรรม สง่ เสริมการอา่ นและการเรียนรู้ท่ีหลากหลายใหบ้ ริการกบั ประชาชนในพ้ืนที่ต่าง ๆ อย่างท่ัวถึง สม่ำเสมอ รวมท้งั เสรมิ สรา้ งความพร้อมในดา้ นบุคลากร สือ่ อปุ กรณ์เพ่ือสนับสนุนการอ่าน และการจดั กิจกรรม เพ่อื สง่ เสริมการอ่าน อยา่ งหลากหลายรปู แบบ 2) จัดสรา้ งและพฒั นาศนู ย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา ให้เปน็ แหล่งเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ตลอดชีวิต ของ ประชาชน เปน็ แหล่งสร้างนวัตกรรมฐานวิทยาศาสตร์และเปน็ แหลง่ ท่องเทยี่ วเชิงศิลปะวิทยาการประจําท้องถ่ิน โดยจัดทําและพัฒนานิทรรศการสื่อและกิจกรรมการศึกษาที่เน้นการเสริมสร้างความรู้และสร้างแรงบันดาลใจ ด้านวิทยาศาสตร์สอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงสร้างสรรค์ และปลูกฝังเจตคติทางวิทยาศาสตร์

๑๑ ผ่านการกระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และ คณิตศาสตร์ รวมทั้งสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมทั้ง ระดับภูมิภาค และระดับโลกเพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถนําความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้ในการ ดําเนินชีวิต การพัฒนา อาชีพ การรักษาสิ่งแวดล้อม การบรรเทาและป้องกันภัยพิบัติทางธรรมชาติ รวมทั้งมี ความสามารถในการปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นไปอย่างรวดเร็วและรุนแรง (Disruptive Changes) ไดอ้ ยา่ ง มีประสทิ ธภิ าพ 3) ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคส่วนต่าง ๆ ที่มีแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เพื่อส่งเสริม การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบที่หลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เช่น พิพิธภณั ฑ์ ศูนยเ์ รยี นรู้ แหล่งโบราณคดี วัด ศาสนาสถาน ห้องสมุด รวมถงึ ภูมิปญั ญาท้องถนิ่ เป็นตน้ 2. ดา้ นหลกั สตู ร สือรปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลงานบรกิ าร ทางวชิ าการ และ การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมเพื่อส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐาน สมรรถนะ และ หลกั สูตรท้องถนิ่ ทส่ี อดคล้องกบั สภาพบริบทของพ้ืนที่และความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและ ชมุ ชน 2.2 ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออื่น ๆ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน กล่มุ เป้าหมายท่วั ไปและกลมุ่ เป้าหมายพิเศษ เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นสามารถเรยี นรู้ได้ทกุ ที่ ทุกเวลา 2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัย หลากหลายช่องทางการเรียนรู้ ด้วย ระบบห้องเรยี นและการควบคมุ การสอบรูปแบบออนไลน์ 2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ เพื่อให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ มกี ารประชาสัมพนั ธใ์ หส้ าธารณชนได้รบั รแู้ ละสามารถเข้าถงึ ระบบการประเมินได้ 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตร ใน ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานใหไ้ ดม้ าตรฐานโดยการนาํ แบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-Exam) มาใชอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจยั เพื่อพัฒนาหลกั สูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้ การ วัดและประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษา ตามอัธยาศัย รวมทั้งให้มีการนําไปสู่การปฏิบัติอย่างกว้างขวางและมีการพัฒนาให้เหมาะสมกับ บรบิ ทอย่างตอ่ เน่ือง 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพ ภายในที่สอดคล้องกับบริบทและภารกิจของ กศน. มากขึ้น เพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก โดย พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสําคัญของระบบการประกันคุณภาพ และสามารถ ดําเนนิ การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเนอ่ื งโดยใช้การประเมินภายในดว้ ยตนเอง และจัด ให้มี ระบบสถานศึกษาพี่เลี้ยงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สําหรับสถานศึกษาที่ยังไม่ได้เข้ารับการประเมิน คณุ ภาพ ภายนอก ใหพ้ ฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาใหไ้ ดค้ ุณภาพตามมาตรฐานท่กี าํ หนด

๑๒ 3. ดา้ นเทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพื่อให้เชื่อมโยงและตอบสนอง ต่อการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพื่อกระจายโอกาสทาง การศกึ ษา สาํ หรบั กลุ่มเป้าหมายตา่ ง ๆ ให้มที างเลือกในการเรยี นรู้ทห่ี ลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนา ตนเองให้รู้เท่าทัน สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพื่อการมีงานทํา รายการติวเขม้ เติมเต็มความรู้ รายการ รายการทํากินก็ได้ ทําขายก็ดี ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานวี ิทยุศึกษา สถานี วิทยโุ ทรทัศนเ์ พอ่ื การศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ (ETV) และทางอนิ เทอร์เนต็ 3.2 พัฒนาการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยผ่านระบบ เทคโนโลยดี จิ ิทลั และชอ่ งทางออนไลนต์ ่าง ๆ เชน่ Youtube Facebook หรือ Application อื่น ๆ เพื่อสง่ เสริม ให้ครู กศน. นําเทคโนโลยดี ิจทิ ลั มาใช้ในการสรา้ งกระบวนการเรียนรดู้ ้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษาเพื่อเพิม่ ประสทิ ธิภาพการผลติ และการ ออกอากาศให้กลมุ่ เป้าหมายสามารถใชเ้ ปน็ ช่องทางการเรยี นรทู้ ี่มคี ุณภาพได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวติ โดยขยาย เครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังได้ทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศและเพิ่มช่องทาง ให้สามารถ รับชมรายการโทรทัศนไ์ ด้ทั้งระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอินเทอร์เน็ต พร้อมที่จะ รองรับ การพฒั นาเป็นสถานีวทิ ยโุ ทรทศั น์เพ่อื การศึกษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการใหบ้ รกิ ารสอื่ เทคโนโลยีเพือ่ การศกึ ษาเพ่ือให้ได้หลายชอ่ งทางทั้งทาง อินเทอรเ์ น็ต และรูปแบบอืน่ ๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคล่ือนท่ี และ Tablet รวมท้ังสือ่ Offline ในรูปแบบ ต่าง ๆ เพือ่ ให้กลุ่มเป้าหมายสามารถเลือกใชบ้ รกิ ารเพ่ือเขา้ ถงึ โอกาสทางการศึกษาและการเรยี นรไู้ ด้ตามความต้องการ 3.5 สาํ รวจ วจิ ัย ตดิ ตามประเมินผลด้านการใชส้ ือ่ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอย่างต่อเน่ืองเพ่ือนําผล มา ใช้ในการพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของ ประชาชนได้อย่างแท้จริง 4. ด้านโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาํ ริ หรือโครงการอันเกีย่ วเนื่องจากราชวงศ์ 4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริหรือโครงการ อัน เกี่ยวเนอื่ งจากราชวงศ์ 4.2 จัดทาํ ฐานขอ้ มลู โครงการและกิจกรรมของ กศน.ท่ีสนองงานโครงการอนั เนอื่ งมาจาก พระราชดําริ หรือโครงการอันเกีย่ วเนื่องจากราชวงศ์เพื่อนําไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผลและการ พัฒนางาน ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 4.3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดําเนินงานเพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ เพ่ือใหเ้ กดิ ความเข้มแข็งในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 4.4 พัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง”เพื่อให้มีความพร้อมในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยตามบทบาทหนา้ ท่ที ก่ี ําหนดไว้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 4.5 จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพื้นที่สูง ถ่ิน ทุรกันดาร และพื้นทช่ี ายขอบ 5. ดา้ นการศกึ ษาในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ พ้นื ทเี่ ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษและพื้นทบี่ รเิ วณ ชายแดน 5.1 พัฒนาการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 1) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ที่ตอบสนองปัญหา และ ความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายรวมทงั้ อตั ลกั ษณ์และความเปน็ พหวุ ัฒนธรรมของพ้นื ที่

๑๓ 2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างเข้มข้นและต่อเนื่องเพื่อให้ ผเู้ รียนสามารถนาํ ความรทู้ ีไ่ ดร้ บั ไปใช้ประโยชนไ์ ดจ้ รงิ 3) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากรและ นักศึกษา กศน.ตลอดจนผมู้ าใชบ้ ริการอยา่ งทั่วถงึ 5.2 พฒั นาการจัดการศึกษาแบบบรู ณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ 1) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดทําแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์ และ บรบิ ทของแต่ละจงั หวดั ในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ 2) จัดทําหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นที่ โดยเน้นสาขาที่เป็นความต้องการของตลาด ให้เกิด การพัฒนาอาชพี ไดต้ รงตามความตอ้ งการของพ้ืนท่ี 5.3 จดั การศกึ ษาเพ่ือความมั่นคงของศนู ยฝ์ ึกและพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน(ศฝช.) 1) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อให้เป็นศูนย์ฝึกและสาธิต การ ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดําริปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี ง สําหรับประชาชนตามแนวชายแดนด้วยวธิ กี ารเรียนรทู้ ีห่ ลากหลาย 2) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลายใช้รูปแบบเชิงรุกเพื่อการเข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับเครือข่าย การจัดอบรมแกนนําด้าน อาชีพ ท่ีเนน้ เรอ่ื งเกษตรธรรมชาติทส่ี อดคลอ้ งกับบริบทของชุมชนชายแดน ใหแ้ กป่ ระชาชนตามแนวชายแดน 6. ด้านบคุ ลากรระบบการบรหิ ารจดั การ และการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ น 6.1 การพัฒนาบคุ ลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งก่อนและระหว่าง การ ดํารงตําแหน่งเพื่อให้มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงานให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตําแหน่ง ให้ตรงกับสาย งาน ความชํานาญ และความต้องการของบุคลากรสามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดําเนินงานของ หน่วยงานและ สถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมทั้งส่งเสริมใหข้ ้าราชการในสังกัดพัฒนาตนเองเพ่ือเลื่อน ตําแหนง่ หรอื เล่อื นวทิ ยฐานะโดยเน้นการประเมนิ วทิ ยฐานะเชงิ ประจกั ษ์ 2) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะที่จําเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีศักยภาพ เพื่อร่วมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม อธั ยาศยั ในสถานศกึ ษา 3) พัฒนาหัวหน้า กศน.ตําบล/แขวงให้มีสมรรถนะสูงขึ้น เพื่อการบริหารจัดการ กศน.ตําบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้อํานวย ความสะดวกในการเรียนรูเ้ พอื่ ให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ทีม่ ปี ระสิทธิภาพอยา่ งแทจ้ ริง 4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้ ได้ อย่างมีคุณภาพโดยส่งเสริมให้มีความรคู้ วามสามารถในการจัดทําแผนการสอน การจดั กระบวนการเรียนรู้ การ วัด และประเมนิ ผล และการวิจัยเบื้องต้น 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและ การเรียนรู้ ให้มีความรู้ ความสามารถและมีความเปน็ มอื อาชีพในการจดั บรกิ ารส่งเสริมการเรยี นรู้ตลอดชีวติ ของประชาชน 6) สง่ เสรมิ ให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดบั และคณะกรรมการสถานศึกษา มีสว่ นร่วมในการ บริหาร การดําเนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน.อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทาํ หน้าที่สนับสนุนการจดั การศึกษานอกระบบและ การศึกษา ตามอธั ยาศยั ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ

๑๔ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรรวมทั้งภาคีเครือข่ายทั้งใน และ ต่างประเทศในทุกระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน ร่วมกนั ในรูปแบบทีห่ ลากหลายอยา่ งต่อเนื่องอาทิ การแขง่ ขันกีฬา การอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารพฒั นาประสิทธิภาพ ในการทาํ งาน 6.2 การพฒั นาโครงสรา้ งพืน้ ฐานและอัตรากําลงั 1) จัดทําแผนการพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐานและดําเนินการปรับปรุงสถานท่ีและวัสดุอุปกรณ์ ให้มี ความ พรอ้ มในการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ 2) สรรหา บรรจุ แต่งตั้ง และบริหารอัตรากําลังที่มีอยู่ทั้งในส่วนที่เป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ให้เป็นไปตามโครงสร้างการบริหารและกรอบอัตรากําลัง รวมทั้งรองรับกับบทบาทภารกิจตามที่ กําหนดไว้ ให้เกดิ ประสิทธิภาพสงู สุดในการปฏิบัตงิ าน 3) แสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพื่อนํามาใช้ ในการ ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานให้มีความพร้อมสําหรับดําเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม อัธยาศัย และการส่งเสริมการเรียนรูส้ าํ หรบั ประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบริหารจดั การ 1) พัฒนาระบบฐานข้อมลู ใหม้ ีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันทัว่ ประเทศ อย่างเป็น ระบบเพื่อใหห้ นว่ ยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนาํ ไปใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือสําคญั ในการบริหาร การวางแผน การปฏบิ ตั งิ าน การติดตามประเมินผล รวมท้งั จดั บรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อย่าง มปี ระสทิ ธิภาพ 2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกํากับ ควบคุม และเร่งรัด การเบกิ จ่ายงบประมาณให้เปน็ ตามเปา้ หมายท่ีกาํ หนดไว้ 3) พฒั นาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศึกษา กศน. ให้มีความครบถว้ น ถูกต้อง ทันสมัย และ เชื่อมโยง กนั ทั่วประเทศ สามารถสืบคน้ และสอบทานได้ทนั ความต้องการเพ่ือประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้กับ ผู้เรียน และการบริหารจดั การอย่างมปี ระสิทธิภาพ 4) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมทั้งการศึกษาวิจัย เพ่ือ สามารถนํามาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดําเนินงานที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และ ชมุ ชนพรอ้ มทัง้ พฒั นาขีดความสามารถเชิงการแข่งขนั ของหน่วยงานและสถานศึกษา 5) สร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมทั้งในประเทศ และต่างประเทศ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความ รว่ มมอื ในการส่งเสรมิ สนับสนนุ และจดั การศกึ ษาและการเรยี นรใู้ หก้ บั ประชาชนอย่างมีคณุ ภาพ 6) ส่งเสริมการใช้ระบบสํานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (e-office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการ ลา ระบบสารบรรณอิเลก็ ทรอนิกส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการขอใช้หอ้ งประชมุ เปน็ ต้น 7) พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริต และ ประพฤตมิ ิชอบ บรหิ ารจดั การบนข้อมลู และหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ มงุ่ ผลสมั ฤทธิม์ คี วามโปรง่ ใส 6.4 การกํากับ นิเทศติดตามประเมิน และรายงานผล 1) สร้างกลไกการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยให้เช่ือมโยงกบั หนว่ ยงาน สถานศกึ ษา และภาคเี ครือข่ายท้ังระบบ

๑๕ 2) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกํากับ ติดตามและ รายงานผลการนํานโยบายสู่การปฏิบัติ ใหส้ ามารถตอบสนองการดําเนินงานตามนโยบายในแตล่ ะเร่ืองได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ 3) สง่ เสริมการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และสือ่ อน่ื ๆ ทเ่ี หมาะสม เพ่ือการกํากบั นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําปี ของหน่วยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําปี ของ สํานกั งาน กศน.ให้ดาํ เนนิ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ เปน็ ไปตามเกณฑ์ วิธกี าร และระยะเวลาที่กําหนด 5) ให้มีการเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ตั้งแต่ ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อําเภอ/เขต และตําบล/แขวง เพื่อความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล และการพฒั นางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 2. แนวทาง/กลยทุ ธ์การดำเนินงานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของ กศน. อำเภอเมืองชลบุรี ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเมืองชลบรุ ีได้กำหนดทิศทางการดำเนนิ งาน ตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏบิ ตั ิการประจำปี โดยมีรายละเอียด ดงั นี้ ทิศทางการดำเนนิ งานของสถานศึกษา ปรชั ญา “คิดเปน็ ทำเปน็ เน้น ICT” วสิ ยั ทศั น์ “จัดการศึกษาตลอดชีวิต ผูกมิตรกับเครือขา่ ย กระจายความรสู้ ู่ชมุ ชน ทุกท่ที ุกเวลาด้วย ICT มี อาชีพและแข่งขนั ในประชาคมอาเซียนอยา่ งยั่งยนื ” อตั ลักษณ์ “ก้าวไปในยุคดจิ ทิ ัล” เอกลกั ษณ์ “องค์กรออนไลน์” พนั ธกิจ 1. จดั และส่งเสริมใหผ้ ู้เรียน มคี วามร้กู ารศึกษาขัน้ พืน้ ฐานอย่างมีคณุ ภาพ 2. จดั การศกึ ษาอาชีพใหผ้ เู้ รียนมอี าชีพทำได้ ขายเป็น และมีทักษะชวี ติ ทเ่ี หมาะสมทกุ ช่วงวัย 3. จดั และส่งเสริมให้ประชาชนนำเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพื่อพัฒนาตนเองและสร้างช่องทางการจำหนา่ ย สินคา้ 4. จดั และสง่ เสรมิ การศึกษาตามอัธยาศยั ทม่ี งุ่ ใหผ้ ู้รับบริการมีนสิ ยั รักการอ่าน และพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ ในชมุ ชน 5. จดั และสง่ เสรมิ สนับสนุน พัฒนาแหลง่ เรียนรู้ ส่ือ และภูมปิ ัญญาท้องถิ่น 6. จดั และส่งเสริมการศึกษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชนให้มี ความเข้มแข็งอยา่ งย่งั ยนื

๑๖ 7. จดั และส่งเสริมประชาชนใหเ้ ปน็ พลเมอื งดีตามวิถีประชาธิปไตย 8. สง่ เสริม สนบั สนุน ภาคีเครอื ข่าย ใหม้ สี ว่ นรว่ มในการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั เพื่อให้เกิดการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต 9. พัฒนารปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู้ หส้ อดคล้องกับพื้นท่รี ะเบยี งเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวันออก (EEC) และความต้องการของกลมุ่ เป้าหมาย 10. พฒั นาบคุ ลากรใหม้ สี มรรถนะในการปฏบิ ัติงานตามบทบาทหนา้ ท่ีอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและ ต่อเนอื่ งโดยเน้นการนำเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลมาใชใ้ นการบริหารจัดการ 11. สถานศึกษามรี ะบบการบริหารจัดการตามหลกั ธรรมมาภิบาล 12. ปฏบิ ตั งิ านอ่นื ๆ ท่ีได้รบั มอบหมาย  เปา้ ประสงค์ และตัวชี้วัดความสำเร็จ เป้าประสงค์ ตวั ชว้ี ัดความสำเร็จ ประชาชนได้รับโอกาสทางการศกึ ษาในรูปแบบ รอ้ ยละของประชากรกลุ่มตา่ งๆ (กลมุ่ ประชากรวยั ของการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม แรงงานปกติท่ัวไป กลมุ่ ประชากรวยั แรงงานท่เี ปน็ ผู้ อัธยาศัยท่มี ีคณุ ภาพอย่างทว่ั ถึงและเป็นธรรม ยากไร้ ผูด้ อ้ ยโอกาส ผพู้ ิการ และกล่มุ ผู้สูงอายุ) ท่ี ไดร้ ับบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอย่างทว่ั ถึง ครอบคลมุ และเป็นธรรม ผเู้ รียนทเ่ี ข้ารับการฝึกอาชีพมีสมรรถนะในการ ร้อยละของผเู้ รียนทเ่ี ข้ารบั การศึกษาอาชพี เพื่อการมี ประกอบอาชีพ สามารถประกอบอาชีพที่สรา้ ง งานทำท่ีมีสมรรถนะในการประกอบอาชีพที่เพม่ิ ขน้ึ รายได้ใหก้ ับตนเองและครอบครัวได้ องค์กรภาคส่วนต่างๆรว่ มเป็นภาคีเครอื ข่ายใน จำนวนของภาคีเครือขา่ ยในการดำเนินงานการศกึ ษา การดำเนินงานการศึกษานอกระบบและ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เพ่ิมมากข้นึ การศกึ ษาตามอัธยาศยั อย่างกวา้ งขวาง สถานศึกษานำเทคโนโลยดี จิ ิทลั มาใชใ้ นการเพิม่ ร้อยละของของผเู้ รียนทมี่ คี วามพึงพอใจต่อการใช้ ประสิทธภิ าพการจดั การศึกษานอกระบบและ เทคโนโลยดี ิจิทลั ของสถานศกึ ษา การศึกษาตามอธั ยาศยั อย่างท่ัวถึง บุคลากรของสถานศึกษาไดร้ บั การพัฒนาเพอื่ เพิม่ ร้อยละของบุคลากรของสถานศกึ ษาท่ไี ด้รบั การพัฒนา สมรรถนะในการปฏบิ ตั งิ านการศกึ ษานอกระบบ เพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏบิ ัตงิ านการศึกษานอก และการศกึ ษาตามอัธยาศยั อย่างทั่วถงึ ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั โดยเนน้ การนำ เทคโนโลยีดจิ ิทลั มาใชใ้ นการบริหารจดั การ สถานศกึ ษามีการพัฒนาระบบการบริหาร รอ้ ยละของสถานศกึ ษามีการพฒั นาระบบการบรหิ าร จดั การเพ่ือเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพโดยเน้นการนำ จดั การเพ่ือเพมิ่ ประสิทธภิ าพโดยเน้นการนำเทคโนโลยี เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในการดำเนินงานการศึกษา ดจิ ิทัลในการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั การศกึ ษาตามอธั ยาศัย บุคลากรของหน่วยงานปฏบิ ตั ิงานตามท่ีไดร้ ับ รอ้ ยละของบุคลากรของสถานศึกษาปฏิบัติงานไดเ้ ตม็ มอบหมายอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ประสิทธิภาพ

๑๗  กลยุทธ์ กลยทุ ธ์ที่ 1 ส่งเสริม และพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ให้เป็นไป ตามนโยบายและมาตรฐานการศกึ ษาอยา่ งต่อเน่ือง กลยทุ ธท์ ่ี 2 ส่งเสรมิ ใหผ้ รู้ บั บรกิ ารไดร้ ับการพัฒนาคุณภาพชวี ิตโดยใช้กระบวนการคดิ เป็นตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลยทุ ธท์ ่ี 3 สง่ เสริม สนบั สนนุ ใหภ้ าคเี ครือขา่ ยมีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั เพือ่ ให้เกิดการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต กลยุทธ์ที่ 4 พฒั นาหลักสตู รและรปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกบั พน้ื ท่ีเขตพัฒนา พเิ ศษภาคตะวันออก (EEC) และความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยการมีสว่ นร่วมของภมู ิปญั ญาท้องถิ่น และแหลง่ เรยี นรู้ท้ังภาครัฐและเอกชน กลยุทธท์ ี่ 5 ส่งเสริมใหม้ กี ารประชาสัมพันธ์ ในรูปแบบทหี่ ลากหลาย กลยทุ ธ์ที่ 6 พฒั นาระบบการนเิ ทศภายในสถานศึกษาโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน กลยทุ ธ์ท่ี 7 พฒั นาระบบคุณภาพการศึกษาโดยใชว้ งจรการพัฒนาคุณภาพ (PDCA) เปน็ หลกั ในการ จดั การศกึ ษา กลยทุ ธ์ที่ 8 พฒั นาบุคลากรของสถานศึกษาให้มีความสามารถใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเพื่อการจัด กระบวนการเรยี นรู้ การบรหิ ารจัดการ และส่งเสริมการทำงานเปน็ ทีม เขม็ มุ่งสูค่ วามสำเรจ็ 1. มี กศน.ตำบลเป็นหลักแหลง่ 2. มีคอมฯ/อุปกรณ์ครบทุก กศน.ตำบล 3. ให้ทุกคนมีความรู้ ICT 4. มีระบบจัดเก็บ/รายงานผ่านออนไลน์ 5. ภายใน1-2 ปีต้องเป็น 1 ใน กศน.จงั หวดั 6. ภายใน 3 ปีต้องเป็น 1-5 ของสำนักงาน กศน. การบรหิ ารนำ ICT สู่การปฏิบตั ิ 1.การจดั หาคอมฯ/อปุ กรณ์ 2.ขัน้ การพัฒนา 3.การประเมินผล/รายงาน 1. การจัดหาคอมฯ/อุปกรณ์ 1.1 การเปดิ ตวั กศน.ตำบล โดย 1) เชิญสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.),สมาชิกวฒุ สิ ภา (ส.ว.) เปน็ ต้น 2) นำนักศึกษา กศน. หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ปจั จุบันมีทั้งสิ้น 4,621 คน 3) เชญิ ภาคีเครือขา่ ย อาทิเช่น โรงเรียน, อบต., เทศบาล, อบจ. , อำเภอ เป็นต้น 4) เสนอโครงการพัฒนา กศน.ตำบล ให้เปน็ แหล่งเรยี นรูด้ า้ นดจิ ิทลั 1.2 เชิญส.ส./ส.ว. เข้ารว่ มทุกกิจกรรม 1) โครงการเขา้ ค่ายต่าง ๆของนกั ศึกษา กศน. 2) โครงการวันวชิ าการ ของนักศึกษา กศน. 3) โครงการ อน่ื ๆ

๑๘ 2. ขั้นการพัฒนา 2.1 พัฒนาระบบ จะพัฒนาระบบการจัดเก็บ/รายงานต่างๆผา่ นออนไลน์ 2.2 พัฒนาคน 1) ครู กศน./จนท.ทุกคน 2) นักศึกษา กศน.หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ทั้ง 2 กลุ่มเป้าหมาย ต้องมีความรู้ ด้าน ICT และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ สำหรับในสว่ นของนักศึกษา กศน. หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 กศน.อำเภอเมืองชลบรุ ี จะต้องประกาศเปน็ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ พร้อมท้ังใชง้ บอดุ หนุน (กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน) ในการ ขับเคล่ือน โดยจัดโครงการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น ด้าน ICT พรอ้ มทั้งจัดทำสรุปเป็นรปู เล่ม ( 5 บท) 3.การประเมนิ ผล/รายงาน 3.1 รายงานผ่านออนไลน์ โดยผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เนต็ http://118.172.227.194:7003/choncity/ และจดั ทำ Application รายงานผ่านทางสมาร์ทโฟน 3.2 รายงานสรุปผลเปน็ รูปเล่ม (5 บท) จดั ทำสรุปผลโครงการ/กจิ กรรม เปน็ รูปเล่ม (5บท) เพื่อรองรับการประเมนิ คณุ ภาพโดยตน้ สังกัด และภายนอก

๑๙  แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา(เฉพาะปี 2564) เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม เปา้ หมาย ตัวชว้ี ัด เกณฑค์ วามสำเร็จ ความสำเร็จ (ร้อยละ) 1. กลุ่มเปา้ หมาย กลยทุ ธท์ ่ี 1 1. โครงการยกระดับ 8,000 1. กลุ่มเป้าหมาย 1. รอ้ ยละของ ไดร้ บั โอกาสทาง สง่ เสรมิ จัดการศึกษานอก การศึกษาข้ัน และพัฒนา ระบบระดับการศกึ ษา คน ได้รบั โอกาสทาง กลุ่มเป้าหมายไดร้ บั พ้ืนฐาน คุณภาพ ข้นั พ้ืนฐานให้มี การศกึ ษาตอ่ เน่อื ง การศกึ ษา คุณภาพ การศึกษาแตล่ ะ โอกาสทางการศกึ ษา และการศึกษา นอกระบบ 2. โครงการพัฒนา ตามอัธยาศยั ทม่ี ี และ คณุ ภาพผเู้ รยี น กศน. ประเภทของ กศน. แต่ละประเภทของ คุณภาพใหเ้ ป็นไป การศึกษา ตามหลักสูตร ตามความต้องการ ตาม การศึกษานอกระบบ 2. ผจู้ บหลกั สตู ร กศน. และสอดคล้องกบั อัธยาศัย ให้ ระดับการศึกษาขั้น สภาพปัญหาของ เป็นไปตาม พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช การศึกษาขน้ั 2. ร้อยละของผู้จบ กล่มุ เป้าหมาย นโยบาย 2551 และ 3. โครงการส่งเสรมิ 8,000 พ้ืนฐานแตล่ ะระดับ หลกั สตู รการศกึ ษาข้นั มาตรฐาน การรู้หนังสอื สำหรบั การศึกษา ประชาชนอำเภอเมอื ง คน มีผลสัมฤทธ์ิ พื้นฐานแต่ละระดับมี อย่าง ชลบุรี ต่อเนื่อง 4. โครงการจดั ทางการเรียนเฉล่ยี ผลสมั ฤทธิ์ทางการ การศกึ ษาเพอ่ื พัฒนา อาชีพ > 2.00 เรยี นเฉลยี่ > 2.00 (ศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน) 3. กลมุ่ เป้าหมาย 3. รอ้ ยละของ รว่ มกิจกรรมพฒั นา กลมุ่ เป้าหมายร่วม คณุ ภาพผูเ้ รยี น กจิ กรรมพัฒนา 4. กลุ่มเปา้ หมาย คณุ ภาพผ้เู รยี น 27 คน เข้าร่วมกจิ กรรม 4.ร้อยละของ ส่งเสรมิ การรู้ กลมุ่ เปา้ หมายเขา้ ร่วม หนังสือ กจิ กรรมส่งเสริมการรู้ 5. กลมุ่ เปา้ หมาย หนังสือ 1,020 ทกุ ประเภท 5. ร้อยละของ คน สามารถนำความรู้ กลุ่มเป้าหมายทุก ไปใช้ในการพฒั นา ประเภทสามารถนำ อาชพี หรอื คุณภาพ ความรูไ้ ปใช้ในการ ชีวติ ได้ พัฒนาอาชีพหรอื 6. กลุม่ เป้าหมายมี คณุ ภาพชีวติ ได้ คุณลกั ษณะที่พึง 6. ร้อยละของ ประสงคต์ าม กลุ่มเป้าหมายมี จดุ มงุ่ หมายของ คณุ ลักษณะทพ่ี ึง หลักสตู ร ประสงคต์ าม 7. กลมุ่ เปา้ หมายมี จดุ ม่งุ หมายของ ความพึงพอใจตอ่ หลกั สตู ร การร่วมกจิ กรรม 7. ร้อยละของ การเรยี นรูท้ กุ กลมุ่ เปา้ หมายมคี วาม ประเภท พึงพอใจต่อการรว่ ม กิจกรรมการเรยี นรู้ทกุ ประเภท

๒๐ เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กจิ กรรม เปา้ หมาย ตัวชว้ี ดั เกณฑค์ วามสำเรจ็ 285 คน ความสำเรจ็ (รอ้ ยละ) 5.กลมุ่ เปา้ หมาย กลยุทธ์ที่ 2 1. โครงการเรยี นรู้ ได้รับการสง่ เสรมิ สง่ เสรมิ ให้ ปรัชญาของเศรษฐกิจ 1. กลมุ่ เปา้ หมาย 1. ร้อยละ 80 ของ และสนบั สนุนการ ผรู้ บั บริการ พอเพียงและเกษตร ได้รับการสง่ เสรมิ กลุ่มเปา้ หมายไดร้ บั พฒั นาคุณภาพ ไดร้ บั การ ทฤษฎีใหม่ การเรยี นรู้ทางด้าน การส่งเสริมการเรียนรู้ ชวี ิตตามหลกั พัฒนา 2.โครงการเสริมสรา้ ง หลักปรชั ญาของ ทางด้านหลักปรัชญา ปรัชญาของ คณุ ภาพ คุณภาพชวี ติ ทเี่ ปน็ มิตร เศรษฐกิจพอเพยี ง ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เศรษฐกจิ พอเพยี ง ชีวิตโดยใช้ กบั ส่ิงแวดลอ้ ม 2. กลมุ่ เปา้ หมาย 2. รอ้ ยละ 80 ของ เพอ่ื พัฒนาสังคม กระบวนกา 3.โครงการเกษตรยคุ นำความรไู้ ปใชใ้ น กลมุ่ เปา้ หมายนำ และชมุ ชนให้มี รคดิ เปน็ ใหมต่ ามวิถีความ การพัฒนาอาชพี ความรไู้ ปใช้ในการ ความเขม้ แขง็ ตามหลัก พอเพยี ง และพฒั นาคณุ ภาพ พฒั นาอาชพี และ อย่างยง่ั ยืน ปรัชญาของ 4.โครงการอบรมเชิง ชวี ิตได้ พฒั นาคุณภาพชีวติ ได้ เศรษฐกจิ ปฏิบัตกิ ารด้าน 3. กลมุ่ เป้าหมายมี 3. รอ้ ยละ 90 ของ พอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง ความพงึ พอใจใน กลมุ่ เป้าหมายมคี วาม 5.โครงการปรัชญาของ ระดับดีขึ้นไป พงึ พอใจในระดบั ดขี น้ึ เศรษฐกิจพอเพียง นำ ไป วิถีพอเพียงสชู่ ุมชน 6.โครงการอบรมและ เรียนรตู้ ามรอยพระ ยุคลบาทดว้ ยหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 7.โครงการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงและ การพฒั นาท่ีย่ังยนื \"วิถี ไทย วถิ ีพอเพยี ง\"

๒๑ เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจกรรม เปา้ หมาย ตัวชีว้ ัด เกณฑค์ วามสำเรจ็ 3.กลมุ่ เป้าหมาย ความสำเร็จ (ร้อยละ) ได้รบั การสร้าง กลยทุ ธ์ที่ 3 1. โครงการสง่ เสรมิ และสง่ เสรมิ ให้ สง่ เสริม การอ่านเพอ่ื พฒั นา 11,500 1. กลุ่มเปา้ หมาย 1. รอ้ ยละ 80 ของ เป็นผรู้ ักการอา่ น สนับสนนุ ให้ บ้านหนังสือชมุ ชน และใฝร่ ใู้ ฝเ่ รียน ภาคี 2. โครงการหอ้ งสมดุ คน ภาคีเครอื ข่ายมี เปา้ หมายภาคเี ครอื ข่าย อย่างต่อเน่อื ง เครอื ข่ายมี เคลอื่ นทส่ี ำหรับชาว ตลอดชีวิต ส่วนรว่ มใน ตลาด ส่วนร่วมในการจดั มีสว่ นร่วมในการจดั การจดั 3.โครงการเมอื งนัก เป้าประสงค์ การศกึ ษา อา่ น การศึกษานอก การศกึ ษานอกระบบ 9.สถานศึกษา นอกระบบ 4.โครงการอา่ นสร้าง พฒั นาสือ่ แหล่ง และ งานผา่ น ระบบและการจัด และการจดั การศกึ ษา เรียนรแู้ ละภูมิ การศึกษา QRCode ปญั ญาทอ้ งถิ่น ตาม การศึกษาตาม ตามอธั ยาศัย ดว้ ยการจดั อธั ยาศัย กระบวนการ เพือ่ ให้เกดิ อัธยาศัย 2. มบี า้ นหนังสือชุมชน เรียนร้ทู ่ี การเรยี นรู้ ตอบสนองกับการ ตลอดชีวิต 2. มบี า้ นหนงั สอื ท่ีเป็นไปตามเกณฑ์ เปลี่ยนแปลง บรบิ ทด้าน กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม ชมุ ชนท่ีเป็นไปตาม ครบทุกตำบลอยา่ ง เศรษฐกิจ สงั คม การเมอื ง ใน กลยทุ ธ์ท่ี 4 1. โครงการ English เกณฑ์ครบทุก นอ้ ยตำบลละ 1 แห่ง รปู แบบที่ พฒั นา น่ารู้ คู่ Service หลากหลาย หลกั สตู ร โรงแรม ตำบลอยา่ งน้อย 3. มมี มุ หนังสอื เพื่อ และรปู แบบ 2.โครงการ Smart การจัด ONIE เพอื่ สรา้ ง ตำบลละ 1 แหง่ ชุมชนอยา่ งน้อยตำบล กจิ กรรม Smart farmers การเรยี นรู้ 3.โครงการ 3. มมี มุ หนังสอื เพื่อ ละ 1 แหง่ ให้ Digtalteracy (เพอ่ื สอดคล้อง สรา้ งสงั คมออนไลน)์ ชุมชนอยา่ งนอ้ ย 4. รอ้ ยละ 80 ของ กับพ้ืนท่เี ขต 4.โครงการการคา้ พฒั นา ออนไลน์ สสู่ ังคม ตำบลละ 1 แห่ง กลุ่มเปา้ หมายมีความ พิเศษภาค Digital ตะวนั ออก 5.โครงการเพิ่ม 4. กลุ่มเป้าหมายมี พงึ พอใจในระดบั ดีขน้ึ (EEC) ประสิทธภิ าพการ และความ บรหิ ารจดั การขยะมลู ความพึงพอใจใน ไป ตอ้ งการ ฝอย ของ 1. โครงการพัฒนา ระดับดีขึน้ ไป กลมุ่ เปา้ หม ระบบประชาสมั พันธ์ าย โดยการ ของสถานศกึ ษา เป้าหมาย ตวั ชว้ี ัด เกณฑค์ วามสำเร็จ มสี ว่ นรว่ ม ความสำเรจ็ (รอ้ ยละ) ของภูมิ 800 คน 1.กลมุ่ เปา้ หมาย 1. ร้อยละ 75 ของ ได้รับการพฒั นา กลุม่ เป้าหมายไดร้ ับ ชีวติ ใหส้ อดคลอ้ ง การพัฒนาชีวิตให้ กับพน้ื ที่เขตพฒั นา สอดคลอ้ งกับพนื้ ทเี่ ขต พิเศษภาค พัฒนาพเิ ศษภาค ตะวนั ออก (EEC) ตะวนั ออก (EEC) 4. กลุม่ เป้าหมายมี 2. ร้อยละ 80 ของ ความพงึ พอใจใน กลมุ่ เป้าหมายมีความ ระดับดีข้นึ ไป พึงพอใจในระดบั ดขี ้ึน ไป 17 ตำบล 1. กศน.อำเภอ 1. รอ้ ยละ 100 ของ และกศน.ตำบลมี กศน.อำเภอและ กศน. การอพั เดทข้อมลู ตำบลมีการอัพเดท การประชาสมั พนั ธ์ ข้อมูลการ กจิ กรรมทางเว็บ ประชาสมั พันธก์ จิ กรรม

๒๒ ปัญญา ไซด์เป็นประจำทกุ ทางเวบ็ ไซดเ์ ปน็ ประจำ ทอ้ งถ่ินและ เดอื น ทกุ เดือน แหล่งเรยี นรู้ ทงั้ ภาครฐั และเอกชน กลยุทธท์ ่ี 5 ส่งเสริมให้มี การ ประชาสมั พั นธ์ ใน รูปแบบที่ หลากหลาย เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย ตวั ชีว้ ดั เกณฑค์ วามสำเรจ็ 17 ตำบล ความสำเรจ็ (รอ้ ยละ) 7.ชมุ ชนและภาคี กลยทุ ธ์ท่ี 6 1. โครงการพฒั นา เครือขา่ ยร่วมจัด พัฒนา บุคลากรการนเิ ทศ 1. สถานศึกษามี 1. รอ้ ยละ 100 ของ สง่ เสรมิ และ ระบบการ ภายในสถานศึกษา คู่มอื ระบบการ สถานศึกษามีคมู่ ือ สนับสนุนการ นิเทศ กศน.อำเภอเมอื งชลบรุ ี นเิ ทศภายใน ระบบการนเิ ทศภายใน ดำเนนิ งาน ภายใน 2. ผ้นู ิเทศมกี าร 2. รอ้ ยละ 80 ของผู้ การศึกษานอก สถานศึกษา นเิ ทศการจดั นิเทศมีการนิเทศการ ระบบและ โดยใช้ กจิ กรรมและ จัดกิจกรรมและ การศึกษาตาม กระบวนกา รายงานผลเปน็ รายงานผลเป็นประจำ อธั ยาศัย รมสี ่วนร่วม ประจำทกุ เดอื น ทุกเดอื น จากทุกภาค สว่ น 10.สถานศกึ ษามี กลยทุ ธ์ท่ี 7 1. โครงการบริหาร 39 คน 1. สถานศึกษามี 1. สถานศกึ ษามีคู่มือ ระบบการบรหิ าร พฒั นา ความเสยี่ งของ คมู่ อื การบรหิ าร การบรหิ ารความเส่ยี ง จัดการตามหลัก ระบบ สถานศกึ ษา กศน. ความเสยี่ ง 2. รายงานสถานะ ธรรมาภิบาล คุณภาพ อำเภอเมอื งชลบรุ ี 2. รายงานสถานะ ทางการเงนิ เปน็ ประจำ การศึกษา 2. โครงการพฒั นา ทางการเงนิ เปน็ ทุกเดือน โดยใชว้ งจร ระบบประกนั คณุ ภาพ ประจำทุกเดอื น การพัฒนา การศึกษา กศน.อำเภอ คุณภาพ เมืองชลบรุ ี (PDCA) เป็นหลกั ใน การจดั การศึกษา

๒๓ 8. บคุ ลากรของ กลยุทธท์ ี่ 8 1.โครงการพฒั นา 39 คน 1.บคุ ลากรของ 1. รอ้ ยละ 80 ของ สถานศึกษาไดร้ ับ พฒั นา บคุ ลากรดา้ น การพัฒนาเพอื่ บคุ ลากร วิชาการ:Google สถานศึกษาทุกคน บุคลากรของ เพิ่มสมรรถนะใน ของ Form การปฏิบตั ิงาน สถานศึกษา 2.โครงการพัฒนา ได้รบั การพฒั นา สถานศึกษาทกุ คน ตามบทบาท ให้มี บคุ ลากรดา้ นวิชาการ: หน้าท่ีอยา่ งมี ความสามาร การจัดทำสื่อการเรยี น เพื่อเพิ่มสมรรถนะ ไดร้ บั การพัฒนาเพอื่ ประสิทธภิ าพและ ถใช้ การสอน Clip Video ตอ่ เนือ่ ง เทคโนโลยี 3.โครงการบรหิ าร ในการปฏบิ ตั ิงาน เพม่ิ สมรรถนะในการ ดจิ ิทัลเพ่อื จดั การขอ้ มลู ข่าวสาร การจดั กศน.ฝา่ กระแส Social ตามบทบาทหน้าท่ี ปฏิบตั ิงานตามบทบาท กระบวนกา Network รเรียนรู้ 4.โครงการประชุม อย่างมี หนา้ ที่อย่างมี การบรหิ าร บคุ ลากรเพ่อื เพ่ิม จัดการ และ ประสทิ ธภิ าพในการ ประสทิ ธภิ าพและ ประสิทธภิ าพและ ส่งเสรมิ การ ปฏบิ ัติงาน ทำงานเป็น 5.โครงการประชมุ เชงิ ตอ่ เนื่อง ต่อเนอ่ื ง ทมี ปฏิบัตกิ ารการจดั กระบวนการเรยี นการ 2.บคุ ลากรของ 2. รอ้ ยละ 80 ของ สอนและการจดั ทำ สรุปผลโครงการ(5บท) สถานศกึ ษา บุคลากรของ สามารถนำความรู้ สถานศกึ ษาสามารถนำ ไปใช้ในการ ความรูไ้ ปใชใ้ นการ พฒั นาการ พฒั นาการปฏบิ ัติงาน ปฏิบัตงิ านตาม ตามบทบาทหน้าที่ บทบาทหน้าท่อี ยา่ ง อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ มีประสทิ ธิภาพ 3. ร้อยละ 90 ของ 3. บคุ ลากรของ บุคลากรของ สถานศกึ ษามคี วาม สถานศึกษามคี วามพงึ พึงพอใจในระดับดี พอใจในระดับดขี ้ึนไป ขน้ึ ไป 3. กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนตามนโยบายการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พ้นื ฐานสำนักงาน กศน. (เอกสารแนบทา้ ยหนังสือ สำนักงาน กศน. ด่วนทส่ี ุด ที่ 0210.04/475 ลงวันท่ี 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2558) ----------------------------- 1. หลักการ ตามที่รัฐบาลมีนโยบายด้านการศึกษา เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาและกระจายโอกาส ทางการศึกษาในสังคมไทย โดยคำนึงถึงการสร้างความเสมอภาค ความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นแก่ประชากร ทุกกลุ่ม รวมถึงผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้บกพร่องทางกาย/ทางการเรียนรู้ ชนกลุ่มน้อย โดยสนับสนุน การจัดการศึกษาตามวัยและพัฒนาการอย่างมีคุณภาพตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ การจัดการศึกษาชมุ ชนเพอื่ มุ่งให้เกดิ สงั คมแห่งการเรียนรแู้ ละการศึกษาตลอดชวี ติ นั้น สำนกั งาน กศน. ได้กำหนดนโยบายดา้ น การจดั การศึกษานอกระบบ แผนงานสนบั สนุนการ จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสนับสนุน 1) ค่าเล่าเรียน 2) ค่าหนังสือเรียน 3) ค่าจัดกิจกรรมพัฒนา คุณภาพผูเ้ รียนอยา่ งท่ัวถึง เพ่ือเพิ่มโอกาสในการรับการศึกษาท่มี ีคณุ ภาพโดยไมเ่ สยี ค่าใชจ้ ่าย เพื่อให้การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ดำเนินการตามนโยบายดังกล่าวอย่างมี ประสิทธิภาพ สำนักงาน กศน.จึงกำหนดกรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามนโยบายการจัด

๒๔ การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงาน กศน. ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ให้สถานศึกษาจัดเพิ่มเติม จากการเรยี นปกติ ให้กับนกั ศกึ ษา กศน.ตามหลักสตู รการศึกษานอกระบบขนั้ พ้ืนฐาน 2. กรอบการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน เพ่ือให้สถานศึกษาได้จัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น เปน็ ไปในแนวทางเดยี วกนั อย่างมีประสิทธิภาพ ประสทิ ธผิ ล เกดิ ความคุ้มคา่ ประหยดั เกิดประโยชน์ตอ่ ผูเ้ รียนและทางราชการสูงสดุ สำนักงาน กศน. จึงได้กำหนดกรอบการจดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน 2.1 กจิ กรรมพฒั นาวชิ าการ เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีพื้นฐานความรู้เพียงพอกับการศึกษาในแต่ละระดับ และพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถทางด้านวิชาการเพิ่มมากขึ้นในรายวิชาตามหลักสูตรสถานศึกษา ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือวิชาอื่นๆ ตามความต้องการของนักศึกษา กศน. โดยมีรูปแบบการดำเนนิ งาน ดงั นี้ 2.1.1วิทยากรหรือผู้สอน ควรเป็นผู้ที่มีความรู้หรือประสบการณ์ในการสอนวิชานั้นๆ โดยตรง ซึง่ อาจจะเปน็ บคุ คลภายนอก หรอื ครู กศน. ได้ตามความเหมาะสม 2.1.2 จำนวนนกั ศึกษา กศน. ท่ีรว่ มกจิ กรรม ให้อย่ใู นดลุ ยพินจิ ของผบู้ ริหารสถานศึกษา 2.2 กจิ กรรมพัฒนาทักษะชีวิต เป็นการจัดกิจกรรมเสริมเพิ่มเติมจากการเรียนปกติในสาระทักษะการดำเนินชีวิต หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน เนื่องจากสังคมปัจจุบนั มีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วทั้งดา้ น เศรษฐกิจ สังคมข่าวสารข้อมูล และเทคโนโลยี มีการแข่งขันและความขัดแย้งมากขึ้น จึงมีความจำเป็นที่ สถานศึกษาต้องจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตให้กับ นักศึกษา กศน. โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ เพื่อให้มี ความรู้ ความเข้าใจ มีเจตคติ ค่านิยมที่ถูกต้อง และมีทักษะ หรือความสามารถพื้นฐานที่จำเป็นในการเผชิญ ปัญหาที่เกิดขึน้ ในชีวิต เช่น ปัญหายาเสพติด การตั้งครรภไ์ ม่พึงประสงค์ เพศสัมพันธ์ ทะเลาะวิวาท ครอบครัว แตกแยก ความรุนแรง ภัยพิบัติ ความเครียด ฯลฯ รวมทั้งมีคุณสมบัติที่พึงประสงค์ในการอยู่ร่วมกับผูอ้ ื่นใน สังคมได้อย่างมีความสุข และสามารถนำความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่าง เหมาะสม ทักษะชีวิต 10 ประการ (ขององค์การอนามัยโลก) ที่นักศึกษา กศน.ทุกคนจำเป็นต้องมี คือ 1) ทักษะการตัดสินใจ 2) ทักษะการแก้ปัญหา 3) ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 4) ทักษะการคิดอย่างมี วิจารณญาณ 5) ทักษะการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ 6) ทักษะการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น 7) ทักษะ การตระหนักร้แู ละเห็นคุณค่าในตนเอง 8) ทักษะการเข้าใจผู้อื่น 9) ทักษะการจัดการกับอารมณ์ 10) ทักษะ การจดั การกับความเครียด

๒๕ แนวทางการจดั การศึกษาและการจดั การเรียนรู้ กศน. ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรค ตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)

๒๖

๒๗

๒๘ บทความที่เกีย่ วข้อง การอ่าน : การพฒั นาศักยภาพมนุษย์ วัฒนธรรมเล้ียงลกู ด้วยหนังสือ : วฒั นธรรมสร้างชาติ ตอนท่ี ๑. คนไทยไม่ชอบอ่านหนงั สือ เดก็ ไทยชอบเกมคอมพิวเตอรม์ ากกวา่ หนงั สือคนไทยไม่รกั การอ่าน นคี่ อื ๒ ปญั หาสำคญั ของประเทศไทยท่มี ีความเก่ยี วเน่ืองกัน และสง่ ผลกระทบโดยตรงต่อการพฒั นาคุณภาพ ทรพั ยากรมนุษย์ของเรามนั เกิดจากอะไรและจะมวี ธิ กี ารแก้ไขอยา่ งไรนี่คือส่งิ ท่หี ลายๆ องค์กร ทง้ั ของรัฐและ เอกชนตา่ งพยายามชว่ ยกนั แก้ไขมากวา่ ๑๐ ปีแลว้ แต่ทุกอยา่ งกย็ ังไม่ดีข้นึ เท่าใดนัก ยง่ิ เมือ่ ไปเปรยี บเทยี บกับ ประเทศต่างๆ ท่ีเปน็ คแู่ ข่งของเราในการทำมาหากินอยู่ในทกุ วนั น้ี และประเทศทค่ี าดว่าอาจจะเป็นคู่แข่งของ เราในอนาคต ส่งิ ท่ีเรยี กวา่ ความสำเร็จของเราก็ดเู หมือนจะอยหู่ า่ งไกลยิ่งนัก ดังนัน้ สง่ิ ท่เี ราจะต้องทำก่อนท่จี ะ เดนิ หนา้ ทมุ่ เทเพ่ือการแกป้ ัญหาต่อไปกค็ ือการทบทวนปญั หาและสถานการณข์ องปัญหาใหมโ่ ดยละเอยี ด ทบทวนยทุ ธศาสตรแ์ ละวธิ กี ารทเี่ ราใชอ้ ยู่ในปจั จบุ ันวา่ ยังสอดคล้องกับปัญหาทเ่ี รากำลังเผชญิ อยู่ และสามารถท่ี จะช่วยให้เราแกป้ ัญหาได้จริงหรอื ไม่ ทำไมเดก็ ไทย และคนไทยจึงไม่ชอบอ่านหนงั สือ เดิมเรามองวา่ การท่ีคนไทยส่วนใหญไ่ ม่อา่ นหนังสอื เปน็ เพราะเขามองไมเ่ ห็นความสำคญั มองไม่ เหน็ ประโยชนข์ องการอ่าน ซ่ึงไมน่ ่าจะถกู ต้องทั้งหมด จริงๆ แลว้ ทุกคนรู้ถงึ ประโยชน์ของการอ่านหนงั สือ เห็น ไดจ้ ากพอ่ แม่พยายามเคีย่ วเข็ญใหล้ กู ทีย่ ังเปน็ นักเรยี น ทยี่ งั เป็นนกั ศึกษาอยูอ่ า่ นหนังสอื ท่องตำหรับตำรา เพ่ือท่ีจะสามารถสอบไดค้ ะแนนดๆี จบมาจะได้มโี อกาสหางานดๆี ทำได้ ซ่งึ หากวเิ คราะห์ตรงนี้ให้ดี มันนา่ จะ หมายความวา่ การอ่านสำหรับผู้ใหญ่ หรือคนทเ่ี ปน็ พ่อแมแ่ ล้วมนั มีความหมายเพยี งแคเ่ ครื่องมือชนิดหน่งึ ในการ เรียนหนงั สือให้ได้ดีเทา่ นั้น ดงั นัน้ เมื่อเรยี นจบแลว้ ก็ไม่มีความจำเป็นที่จะตอ้ งอ่านหนงั สืออกี ต่อไป เหตุผลท่ีช่วย สนับสนนุ ตรงนกี้ ค็ ือ เมอื่ เรียนจบและได้ทำงานแล้วคนไทยส่วนใหญก่ ม็ ักจะไม่อ่านหนงั สืออกี หรอื อ่านกเ็ พยี ง เรือ่ งทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการทำงานเทา่ น้ัน สภาพการณ์เช่นนีส้ ะทอ้ นให้เหน็ ว่าระบบการศกึ ษาในบา้ นเรายังไมส่ ามารถทำใหผ้ ลผลติ ของ การศกึ ษากลายเป็นผลผลติ ทมี่ องเห็นความจำเปน็ ของการอา่ นและการเรียนรูต้ ลอดชีวิต การอ่านและ การเรียนรเู้ ป็นเพยี งบนั ไดเพ่ือการได้มาซ่งึ วฒุ ิการศกึ ษา เพื่อเป็นใบเบิกทางในการก้าวเข้าไปสูก่ ารมีงานทำ เม่ือผ้ใู หญใ่ นปัจจบุ ันไม่เห็นความจำเปน็ ของการเรียนรู้ตลอดชวี ติ ก็จะไม่มีการเรยี นร้ตู ่อเน่ือง พฤติกรรมท่ปี รากฏชัดแก่สายตาของเด็กร่นุ หลังๆ กค็ ือการไมอ่ า่ น ซ่ึงเด็กกจ็ ะเกิดการซึมซับและลอกเลยี นเอา พฤติกรรมเหล่านไี้ ปเปน็ พฤติกรรมของตวั เอง แมผ้ ู้ใหญ่จะพร่ำบ่นถงึ ความสำคัญของการอ่านมากเพยี งใด มนั ก็ ไม่สามารถทจ่ี ะทำใหเ้ ด็กหนั มาให้ความสำคญั กบั การอ่านและการเรียนรอู้ ย่างต่อเนือ่ งได้ เพราะสิง่ ท่ีผู้ใหญ่ แสดงออกมานนั้ มนั สื่อเปน็ นัยวา่ “ไม่ต้องอา่ นก็ได้ เพราะผู้ใหญ่กย็ ังไมอ่ า่ นเลย” ลูกไมห้ ล่นไมไ่ กลต้น ในทางจิตวทิ ยาเราพบว่า หากส่ิงทผ่ี ้ใู หญ่สอนและสิง่ ทผี่ ูใ้ หญป่ ฏิบตั ิมีความขัดแยง้ กัน เด็กจะทำ ตามในสงิ่ ท่ผี ู้ใหญ่ปฏิบตั ิ ซ่งึ มีความสอดคล้องกบั การค้นพบใหม่ในทางประสาทวิทยาศาสตร์ นัน่ คือการคน้ พบ เซลล์กระจกเงาในสมองของมนษุ ย์ การค้นพบนี้ทำใหเ้ รารู้วา่ วธิ เี รียนร้ทู สี่ ำคญั ทีส่ ุดของมนุษยค์ อื การเรยี นรู้ด้วย การเลยี นแบบ พฤติกรรมทางสงั คม ทกั ษะทางสงั คม ทักษะทางภาษา ทักษะทางอาชีพ หรือแม้แตท่ กั ษะในการ ดำรงชีวติ ประจำวันวนั เราตา่ งเรยี นรูผ้ ่านการเลยี นแบบทัง้ ส้ิน การอา่ นและการเรยี นรู้คือพฤติกรรมหรือทักษะ ทีเ่ ป็นทงั้ พฤตกิ รรมสว่ นบคุ คล และพฤติกรรมของสงั คม ยอ่ ม ตอ้ งเรยี นรู้ผา่ นการมีแบบอยา่ งให้เห็น ในเมอ่ื ผู้ใหญ่ก็ไม่อ่านไม่เรยี นรเู้ สียแล้ว จะพรำ่ บน่ พร่ำสอนอยา่ งไร มันก็ จะไมส่ ามารถก่อให้บังเกดิ ผลใดๆ ขน้ึ มา

๒๙ เร่ืองนีค้ อื ปมที่สำคัญที่สุดของการส่งเสริมการอา่ นในบา้ นเรา เราช่วยกันรณรงคใ์ หพ้ ่อแมเ่ ล่า นิทานอ่านหนังสือให้ลูกฟงั ตัง้ แต่ลกู ยงั แบเบาะมาหลายปีแลว้ แตส่ ถานการณ์กย็ ังไมด่ ขี ้ึน แถมงานวจิ ัยบางชน้ิ ยงั พบว่า แม้เด็กจะชอบการอ่านหนังสอื ตัง้ แต่ตอนยังเปน็ เด็กเลก็ แต่พอโตข้นึ เข้าสูช่ ว่ งวัยรุ่นตอนต้น เดก็ กลับ อา่ นหนงั สอื น้อยลง เราคงปฏเิ สธไมไ่ ด้ว่าสาเหตุส่วนหน่ึงมาจากการทเ่ี ราไม่ได้เปน็ แบบอยา่ งทด่ี ีให้แก่เด็กๆ ของ เราดังน้ันการสง่ เสรมิ วัฒนธรรมการอ่านใหเ้ กดิ ข้นึ ในสังคมไทยด้วยการส่งเสริมให้พ่อแมเ่ ลา่ นิทานอา่ นหนงั สือ ใหล้ กู ฟงั ต้ังแตล่ กู ยังเลก็ ๆ การสง่ เสรมิ ให้วัยรนุ่ รักการอา่ นโดยการสร้างหอ้ งสมุดท่ดี ึงดูดความสนใจหรือท่เี รา พยายามเรียกวา่ “ห้องสมดุ มีชีวิต”จงึ ไมน่ ่าจะพอเพียงสำหรับการขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตร์ส่งเสรมิ การอ่านให้ สมั ฤทธผ์ ลได้ การโนม้ นา้ วผใู้ หญท่ กุ คนให้หนั มาอ่านหนังสือ หนั มาเรยี นรู้เพ่ือสรา้ งความรใู้ หม่ๆ ให้กบั ตนเองอยู่ ตลอด ทำให้การอา่ นหนังสอื กลายเปน็ กจิ วตั รประจำวนั ทข่ี าดไม่ได้ ทำให้การเรียนรู้คือส่งิ จำเป็นสำหรับการ ดำรงชีวิตอยูอ่ ย่างมีความสุขของทุกคนในสงั คม วตั รปฏบิ ตั เิ ช่นนจี้ ะกลายเปน็ ต้นแบบใหเ้ ด็กได้ลอกเลยี น และ เม่อื รวมกบั วิธีการอ่ืนๆ ที่ได้ลงมอื ทำไปแล้วกน็ ่าทจ่ี ะทำให้สถานการณ์ของการแก้ไขปัญหาดขี ึ้น แรงดึงดูดของสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ คนญ่ปี ่นุ ถือไดว้ ่าเป็นนกั อ่านระดบั ต้นๆ ของโลก โดยดไู ดจ้ ากการเติบโตของธรุ กจิ ทเ่ี ก่ียวข้องกับ หนงั สอื บนรถไฟ รถประจำทางในญีป่ นุ่ ภาพคนน่ัง ยืนอ่านหนงั สอื เป็นภาพท่ีเราพบเห็นจนชินตา แตไ่ ม่ก่ีปมี า น้เี องรัฐบาลและเอกชนญปี่ นุ่ ตอ้ งเรง่ รณรงค์สง่ เสริมการอา่ นอยา่ งขนานใหญ่ เพราะเขาพบว่าเด็กญี่ปุน่ ร่นุ ใหม่ อา่ นหนังสอื น้อยลงกว่าแตก่ ่อนมาก สาเหตเุ นอ่ื งมาจากเกมคอมพวิ เตอร์และ อินเตอรเ์ น็ตไดเ้ ขา้ มาดึงดดู ความ สนใจ และเวลาของพวกเขาไปจากหนงั สือ สำหรบั ประเทศไทย อัตราการอา่ นหนังสือของเราต่ำกวา่ ของญป่ี นุ่ อย่มู าก แตอ่ ิทธิพลของเกม คอมพิวเตอร์และอนิ เตอรเ์ น็ตนั้นไม่แตกต่างกัน เผลอๆ อาจจะมากกว่าดว้ ยซ้ำ เพราะเราหลงไปเขา้ ใจผิดว่าเกม คอมพิวเตอร์คอื เครื่องมือพัฒนามนุษยท์ ี่ไม่ก่อให้เกิดผลเสียใดๆ เราจึงส่งเสรมิ ให้เด็กๆ ของเราเลน่ เกมเหลา่ น้ี โดยปราศจากการควบคมุ สุดทา้ ยปญั หาเด็กตดิ เกมเลยกลายเป็นปัญหาทส่ี ำคัญสำหรบั บ้านเรา แนน่ อนสงิ่ นี้ ยอ่ มส่งผลกระทบต่อการปลูกฝังวฒั นธรรมการอา่ นใหก้ ับเด็กของเรา ดงั นน้ั การแก้ไขปญั หาเรือ่ งการอ่าน และ การสรา้ งวัฒนธรรมการอา่ นใหเ้ กิดขน้ึ เราต้องพิจารณาถึงปัจจยั แวดลอ้ มท่ีสง่ ผลกระทบเหล่านดี้ ว้ ย การกระจายหนังสือสผู่ ู้อา่ น ได้กลา่ วไวต้ ้งั แต่แรกแล้วว่า คนไทยสว่ นใหญ่มองว่าการอา่ นหนงั สอื ไม่มีความจำเปน็ ตอ่ ชวี ติ และ ยง่ิ มาเจอกับสภาพท่ีไม่มีหนงั สือใหอ้ า่ น ไมม่ หี ้องสมดุ ไม่มีร้านหนังสือที่สามารถซื้อหาหนงั สือมาอา่ นได้ด้วย ราคาทไ่ี ม่เปน็ ภาระมากนัก ก็ย่ิงทำให้อัตราการอ่านหนงั สือของคนไทยย่ิงนอ้ ยลง มคี นพดู ว่าในบ้านเราถา้ หากจะหาซ้ือเหล้าเบียร์มาดม่ื ซอ้ื บุหรม่ี าสบู นนั้ สามารถทำได้งา่ ยกวา่ การ หาหนังสอื พิมพ์สักฉบับมาอ่าน นีค่ อื ความจริงที่เราต้องยอมรบั ร้านขายหนงั สือในบา้ นเราจะมีกเ็ พียงในระดับ อำเภอ ระดับจงั หวัดเทา่ นัน้ ซ่ึงหากนับรวมกนั ท้งั ประเทศแลว้ ก็ไมน่ า่ จะเกิน ๑,๕๐๐ แห่ง เมอ่ื มาเปรยี บเทยี บ กบั คนจำนวน ๖๕ ลา้ นคนแลว้ ถอื วา่ น้อยมาก ลองคิดดเู ล่นๆ วา่ หากมีใครสักคนที่อาศยั อยใู่ นหมูบ่ ้านแห่งหนงึ่ ห่างจากตัวอำเภอเพียงแค่ ๒๐ กิโลเมตร วนั ดคี นื ดีเขาอยากอ่านหนังสือสกั เลม่ หรือหนังสือพมิ พ์สกั ฉบับขน้ึ มา สิง่ ท่ีเขาจะตอ้ งทำก็คอื การหาทางเดินทางเข้าไปในอำเภอ จะด้วยพาหนะสว่ นตวั หรือรถประจำทางก็ตามที เพ่ือ ไปหอ้ งสมุดหรือร้านขายหนังสือ เขาจำเป็นจะตอ้ งใชเ้ วลาไมน่ อ้ ยกวา่ ๒ ช่ัวโมงเพื่อการนี้ และกจ็ ะเกิดคา่ ใช้จา่ ย ในการเดนิ ทางและค่าใชจ้ ่ายอื่นๆ ตามมา เพียงแค่คิดก็คงพอจะไดค้ ำตอบแล้ววา่ เขายังอยากทจ่ี ะอา่ นหนังสือ อยู่อีกหรอื ไม่ ความไมส่ ะดวกในการเข้าถึงหนังสือและค่าใช้จา่ ยท่ีเกดิ ข้ึน จึงกลายเป็นอุปสรรคอกี อันหนึง่ ท่ี ขวางกน้ั การรักการอ่านของผู้คนในสังคมไทย

๓๐ รฐั บาลพยายามท่จี ะสรา้ งโอกาสในการเข้าถึงหนังสือของคนไทยให้มากขนึ้ ด้วยการสรา้ งห้องสมุด ประชาชนให้กระจายไปตามชุมชนหรือทอ้ งถิ่นตา่ งๆ แตก่ ย็ ังไมส่ ามารถแกป้ ัญหานไี้ ด้ เพราะห้องสมดุ ทมี่ ีอยกู่ ็มี เพยี งแค่ในระดับอำเภอ ซึง่ ปัญหากไ็ มต่ ่างจากการกระจายตวั ของรา้ นหนงั สือ คอื ไกลเสียจนคนไม่อยากเดนิ ทาง มาใชบ้ รกิ าร การสรา้ งทอ่ี ่านหนังสอื ประจำหมบู่ า้ นตามนโยบายส่งเสรมิ การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ ของประชาชนก็ สามารถสนับสนนุ ได้เพยี งหนังสือพิมพร์ ายวนั นติ ยสาร และสิ่งพิมพ์เผยแพรง่ านของทางราชการเพยี งไม่ก่ี รายการ ซง่ึ ไม่เพยี งพอท่จี ะดงึ ดดู ใหป้ ระชาชนเกิดความสนใจใครท่ จี่ ะอา่ นหรือคน้ คว้าหาความรู้ใหก้ ับตนเอง ในสว่ นขององค์กรทอ้ งถ่ินท่ีกำลงั ก้าวเข้ามามีบทบาทแทนทีก่ ระทรวง ทบวง กรม ต่างๆ ก็ยังไม่ สามารถพฒั นาตนเองไปสบู่ ทบาทของการสนบั สนนุ ใหป้ ระชาชนเกดิ ความตระหนักในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เกดิ ความรูสึกรักการอา่ น หรือสนบั สนุนให้เกดิ แหล่งคน้ คว้าหาความรู้ในท้องถ่ินได้ ส่วนใหญย่ ังมองไมเ่ หน็ ความสำคัญในเรื่องน้ีด้วยซ้ำไป เพราะยังใหค้ วามสำคญั อยู่กับการพฒั นาระบบสาธารณูปโภค และโครงสราง พ้ืนฐานกนั อยู่ หนังสือดียงั มีไม่เพยี งพอ ท่านคงเคยไดย้ ินเร่อื งราวของผูเ้ ขียนนวนิยายเร่อื ง แฮรี่ พอรต์ เตอร์ หนังสือทขี่ ายดีที่สุดในโลกกัน มาบ้างแลว้ จากคนฐานะธรรมดาๆ แถมออกจะจนด้วยซ้ำไปคนหน่ึง แต่ดว้ ยหนังสอื เพยี งเล่มเดยี วกส็ ามารถทำ ให้เธอกลายเปน็ เศรษฐีในเวลาไม่ก่ีปี เธอเขียนหนังสือเล่มนี้เป็นภาษาองั กฤษ ดว้ ยความสนุกสนานของหนังสือ เลม่ นีท้ ำให้มนั ถูกนำไปแปลเป็นอีกไมร่ ู้ก่ีภาษาเพื่อเผยแพรไ่ ปทว่ั โลก รายไดก้ ลบั มาสเู่ ธอเป็นกอบเป็นกำ ทำให้ เธอไม่ต้องพะวงกบั เรอ่ื งการทำมาหากิน เธอสามารถทุ่มเทเวลาให้กับการคน้ ควา้ และสร้างผลงานต่อเน่ืองได้ อยา่ งเต็มที่ หนงั สือเลม่ ต่อเน่ืองของ แฮรี่ พอร์ตเตอร์ จงึ ปรากฏสูส่ ายตาผู้อา่ นเลม่ แล้วเล่มเล่า และกข็ ายดีเปน็ อยา่ งยงิ่ ในทีส่ ุดเธอก็กลายเป็นเศรษฐีมอี นั ดับของโลกใบไป การทห่ี นงั สอื สกั เลม่ จะขายได้ดนี ้ันไมใ่ ชเ่ พราะความบังเอิญ หากแต่เปน็ จากคณุ ภาพของ ตวั หนงั สอื เอง น่นั กห็ มายความวา่ ผูเ้ ขยี นจะต้องมีความรู้ทชี่ ัดแจง้ มีจนิ ตนาการ มที ักษะในการถ่ายทอด เรื่องราวหรือความรตู้ ่างๆ ออกมาเปน็ ตัวหนังสอื ได้อย่างมีเสนห่ ์ สิ่งเหลา่ นี้ตอ้ งมกี ารฝึกฝน ค้นควา้ ซึ่งก็ หมายความว่าต้องอาศยั เวลาในการทำงานน่ันเอง และการทีน่ กั เขยี นจะทำแบบนไ้ี ด้น้นั รายได้จากการเขียน หนังสอื ก็จะต้องมากพอเพยี งทีจ่ ะเล้ียงตัวเขาเองในระหว่างการค้นคว้าขอ้ มลู และการเขียนหนงั สอื ผเู้ ขียน หนังสือ แฮรี่ พอรต์ เตอร์ ใชเ้ วลาเป็นปใี นการค้นควา้ เรียบเรียงและเขียนหนังสือแตล่ ะเลม่ โดยไม่ตอ้ งพะวงกับ การหาเล้ยี งปากเลยี้ งทอ้ งตัวเองเลย รายได้จากการเขียนหนังสือเล่มก่อนๆ ทำให้เธออย่ไู ดอ้ ย่างสบาย ดังน้นั หนงั สือของเธอจึงมีคุณภาพ เม่อื มาอยใู่ นตลาดสากลทใี่ หญ่มากเพราะเปน็ ตลาดภาษาองั กฤษทค่ี นท้ังโลกใช้ ก็ ย่ิงทำใหผ้ ลตอบแทนยิง่ มากข้ึน ซ่ึงตรงกันข้านอยา่ งยิ่งกบั นักเขยี นไทย หนงั สอื เร่ืองหนง่ึ หากขายได้เกนิ หน่ึง หม่ืนเลม่ นกั เขียนและสำนกั พิมพ์ก็ดีใจกนั จนแทบแยแ่ ล้ว เพราะตลาดมนั แคบ แถมคนไทยไม่คอ่ ยชอบอ่าน หนังสอื อีกดว้ ย นักเขียนไทยจึงอยู่ในสภาพทตี่ ้องด้นิ รนเพ่ือความอยรู่ อดตลอดเวลา โอกาสท่จี ะได้คน้ คว้าข้อมลู อย่างเตม็ ที่ โอกาสทีจ่ ะได้ทำงานอยา่ งพิถีพถิ ันเพือ่ ใหเ้ กดิ ผลงานดีๆ จงึ เป็นไปได้ยาก คำว่า“นกั เขยี นไส้แหง้ ”จงึ เปน็ จรงิ อย่างย่ิงสำหรบั วงการนักเขียนไทย คนที่กา้ วเข้ามาสอู่ าชพี นักเขียนอย่างเต็มตวั จึงมนี ้อย เพราะต่างก็ กลัวโรคไสแ้ ห้งกัน โอกาสทเ่ี ราจะมหี นังสือดีๆ ในหลากหลายมติ ิ หลากหลายสาระให้เลือกอา่ นจึงเป็นไปได้น้อย คนไมช่ อบอ่านหนังสอื เพราะคิดวา่ มนั ไมจ่ ำเป็นสำหรับชวี ติ ทำใหห้ นงั สอื ขายได้นอ้ ย ทำให้คน เขียนหนังสอื คนพมิ พ์หนังสอื คนขายหนงั สอื ไม่กลา้ ลงทุนทำหนังสอื ไมม่ กี ำลงั ใจทจี่ ะสร้างผลงาน เพราะกลวั ขายหนังสือไมไ่ ด้ ทำให้ปรมิ าณและคุณภาพของหนงั สือลดลง ตน้ ทุนของหนังสือเพิ่มขน้ึ หนังสอื มรี าคาแพง คน ไมก่ ล้าซ้ืออ่าน นค่ี ือวัฏจกั รท่ีหมนุ เวยี นอยู่อย่างไมร่ จู้ บสิน้ ในสงั คมไทย การจะแก้ปัญหานสิ ยั ไมช่ อบอา่ นหนังสือ

๓๑ ของคนไทยใหไ้ ดผ้ ลจงึ จะต้องมองปญั หาเหล่าน้ีใหท้ ะลุ มองอย่างเชื่อมโยงและสอดคล้องกับสภาพความเปน็ จริง เราจงึ จะสามารถแกป้ ัญหาน้ไี ด้ ตอนท่ี ๒.อา่ นหนังสือแลว้ ได้อะไร มีคนถาม อลั เบริ ์ต ไอนส์ ไตน์ ว่า ถ้าอยากให้เด็กโตข้ึนเปน็ คนเก่งควรจะทำอยา่ งไร อลั เบริ ์ต ไอน์สไตน์ แนะนำวา่ ให้อ่านหนังสือใหเ้ ดก็ ฟัง คนถามคนเดิมถามซ้ำอีกวา่ ถา้ อยากให้เก่งแบบ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ล่ะจะต้องทำอย่างไร อัลเบิร์ต ไอนส์ ไตน์ ก็ ตอบอีกวา่ กใ็ ห้อ่านหนังสือให้ฟงั เยอะๆ คำตอบแบบนี้ แน่นอนคงทำให้คนถามรสู้ ึกว่า อลั เบิรต์ ไอน์สไตน์ เล่นลนิ้ เพราะตอนนนั้ ความเข้าใจในเรอ่ื ง การอ่านและความฉลาดของมนษุ ยย์ งั มีไม่มาก แตก่ ็คงไดแ้ ค่ “ฟัง”เพราะคนตอบคือนกั วิทยาศาสตร์ระดบั รางวัลโนเบล จะไปตอ่ ล้อตอ่ เถียงดว้ ยคงลำบาก แตก่ ารค้นพบทางวทิ ยาศาสตร์ในปจั จบุ ันยืนยันวา่ คำตอบของ อลั เบิร์ต ไอนส์ ไตน์ นน้ั เปน็ จริง การเรยี นรู้ทำให้มนุษย์ฉลาด “We are who we are because of what we have learned and remembered.” น่คี อื คำกลา่ วของ นายแพทย์ อีรคิ อาร์ แคนเดล จิตแพทยช์ าวอเมรกิ ัน เจา้ ของรางวัลโนเบล สาขาการแพทย์ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๔๓ จากผลงานการค้นควา้ วจิ ัยการทำงานของเซลลส์ มองในเรื่อง “การ เรียนรู้และความจำ”จนทำใหเ้ รารู้วา่ เซลล์สมองของเราทำงานอยา่ งไรจึงทำให้เราเรียนรู้ และจดจำเรอื่ งราว ตา่ งๆ ไดเ้ ขาพบว่าขอ้ มลู ตา่ งๆ จากภายนอก เมื่อผา่ นประสาทสัมผัสท้งั ห้าเข้าไปในสมองของเรา จะกระตนุ้ เซลล์สมองของเราให้เกิดการแตกก่ิงก้านออกมาต่อเช่ือมกันเปน็ วงจร วงจรที่ว่านจ้ี ะทำให้เกดิ การถ่ายทอด แลกเปลีย่ นข้อมลู ระหว่างเซลล์สมองดว้ ยกัน ทำให้เราเกดิ ความรแู้ ละความเขา้ ใจในข้อมูลท่ีเรารับผา่ นทาง ประสาทสมั ผสั เข้ามา นคี่ ือ “การเรยี นร”ู้ ของเรา ความรู้และความเข้าใจทีเ่ กิดข้นึ อันเป็นผลจากการเรยี นรู้น้ี จะ ถูกเกบ็ ไว้เปน็ “ความจำ” ตรงบริเวณรอยเช่ือมตอ่ ท่ีเกดิ ขึ้นนี้เอง หากมกี ารเรยี นรใู้ นเรื่องเดิมเกดิ ขึ้นซ้ำๆ อีก รอยเชอ่ื มต่ออันนีก้ ็จะมคี วามแขง็ แรง มน่ั คงขน้ึ นนั่ กค็ ือเราจะจำเรื่องน้ันไดด้ ี แต่หากการเรียนรูน้ ้นั ๆ เกดิ ขึ้น เพียงไม่กี่ครงั้ และถกู ปล่อยปละละเลยไม่มกี ารเรยี นรูแ้ บบเดมิ เกิดข้ึนอีกเปน็ เวลานานๆ รอยเชอื่ มต่อของเซลล์ กจ็ ะสลายไป นนั่ ก็แปลวา่ เราก็จะลมื เรื่องนน้ั ไป การเรยี นรู้เรื่องใหม่ๆ ที่มคี วามเก่ียวโยงกับความรหู้ รอื ความจำ เดิมท่ีถูกเก็บไวต้ รงบริเวณรอยเชอื่ มตอ่ ใดๆ กจ็ ะมผี ลทำให้รอยเชอื่ มต่อบรเิ วณนั้นๆ เกิดการเปล่ียนแปลงรูปร่าง ไป ความรู้และความจำท่ีเกิดขึน้ จากการเรยี นรู้ จะส่งผลต่อความคดิ วธิ คี ิด ความฉลาด การใชเ้ หตผุ ล การ ตัดสินใจ และพฤติกรรมของคนเรา ซึ่งเขาไดส้ รุปไว้เป็นประโยคสั้นๆ วา่ “การเรียนรทู้ ำใหเ้ ราเปน็ อย่างทเ่ี ราเปน็ อยู่ทุกวันนี้”หรือ “We are who we are because of what we have learned and remembered.”ดงั ท่ีได้กล่าวถึงไว้ตั้งแตแ่ รก ภาพท่ี 1 วงจรของเซลล์สมอง

๓๒ นอกจากน้เี ขายังคน้ พบว่าการเรยี นร้ทู ีเ่ กดิ ขึน้ นี้ มีอทิ ธิพลเหนอื ยนี หรือพนั ธุกรรม นนั่ ก็แปลวา่ การทีค่ นเราจะ ฉลาดหรอื ไม่นน้ั ปจั จยั ทางพันธกุ รรมไม่ได้เปน็ ตัวชข้ี าด ประสบการณ์ และการเรยี นรู้ท่ีเราไดร้ บั ตา่ งหากคือ ปัจจยั สำคัญ ภาพท่ี 2 แสดงรอยเชื่อมต่อระหว่างเซลล์สมอง การคน้ พบนที้ ำให้เราสามารถนำเอาความรู้ท่ีเคยมีอยแู่ ลว้ หลายอย่างมาใชป้ ระโยชน์ได้อยา่ งมน่ั ใจย่ิงข้ึน โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งความรู้ในเรื่องโมเดลการเรยี นรู้ของมนษุ ย์ หรือ Information Processing Model ภาพท่ี 3 การประมวลผลของสมอง (Information Processing Model)

๓๓ จากแนวคดิ ของInformation Processing Model ดงั ในภาพ เราจะเหน็ วา่ ข้อมลู ทจ่ี ะก่อให้เกิดการเรยี นรู้ เกิด ความร้แู ละความจำของเรานั้นถกู รบั เข้ามาผา่ นทางประสาทรับสมั ผัสทั้งหา้ ของเรา เกิดกระบวนการวเิ คราะห์ ตีความ สงั เคราะห์ และกลายเป็นความรสู้ ำหรับเราในท่สี ุด การอา่ นหนังสือ การได้ลองทำ การได้เหน็ การไดส้ มั ผสั การได้ยนิ ได้กลน่ิ ไดล้ มิ้ รส ลว้ นกอ่ ให้เกดิ การเรียนรู้ ก่อให้เกิดความรู้ ความจำให้กับเราไดท้ ้งั สิ้น เดก็ ไดอ้ ะไรจากการที่เรา “เล่านทิ านอ่านหนงั สอื ใหเ้ ขาฟัง” หากทา่ นพิจารณาภาพต่อไปน้ี แล้วตงั้ คำถามว่าเกดิ อะไรขึ้นกับเดก็ บ้าง ท่านจะได้คำตอบว่าการที่ เราเล่านิทาน อ่านหนงั สือกับเด็ก การที่เดก็ ได้น่งั อยบู่ นตกั และภายในออ้ มแขนอนั อบอุ่นของแม่ ผลทเ่ี กดิ ข้ึนกค็ ือเด็กจะรู้สกึ ถึง ความรักท่ีแม่มีต่อเขา มนั ทำให้เด็กเกดิ ความรู้สกึ อบอุ่น เกิดความมน่ั ใจในตนเอง เกิดความรู้สกึ วา่ ตนเองเป็นท่ี ต้องการของแม่ หรือพ่อซงึ่ เป็นผู้ท่ีมคี วามสำคัญต่อชวี ติ เขา ความรสู้ กึ เชน่ น้ีจะนำไปสคู่ วามรสู้ กึ ไวว้ างใจต่อสง่ิ ตา่ งๆ รอบตวั น่คี ือพ้ืนฐานอนั สำคญั ของการก่อเกดิ บุคลกิ ภาพทีส่ มบูรณ์เมื่อเดก็ เตบิ โตเปน็ ผใู้ หญ่ ภาพท่ี 4 เล่านิทาน อ่านหนงั สือกับลูก ความสขุ ท่เี กิดขึ้นจากการท่ีได้นง่ั อยูบ่ นตักภายในอ้อมกอดของแม่ฟังแม่อ่านหนังสือให้ฟัง จะฝงั ตรึงอยู่ในความทรงจำของเด็กไปตลอด และด้วยความสุขที่วา่ นแี้ หละมันจะกลายเปน็ แรงขับให้เด็กคนน้ีเกดิ ความประทับใจในการอ่านหนังสอื เพราะการอา่ นมันคือความสขุ คือความทรงจำท่ฝี งั ใจ สุดท้ายเขาจะ กลายเป็นคนท่รี ักหนังสอื รักการอา่ น และรกั การแสวงหาความร้ไู ปตลอดชีวิต การที่แมอ่ ่านหนังสือให้ลกู ฟัง ลูกจะได้ยินเสยี งอ่าน ได้มองเห็นภาพประกอบ ไดม้ องเห็นตัวอกั ษร ที่เป็นสัญญลักษณ์เพ่ือแทนภาพนน้ั ๆ สมองของเดก็ จะทำหน้าทเี่ ชื่อมต่อเสยี งของแม่ ภาพที่มองเหน็ รวมท้งั ตัว อักขระที่ปรากฏอยู่เข้าดว้ ยกัน นค่ี ือการเกิดขึ้นของการรหู้ นงั สอื การเกิดภาษา ท้ังภาษาพดู ภาษาอ่าน และ ภาษาเขยี นในคนเรา เรอ่ื งราว และเนอื้ หาท่ปี รากฎในหนงั สอื จะถูกสมองเก็บรายละเอยี ดตา่ งๆ เขา้ ไป ผา่ นการอา่ น เกดิ กระบวนการวิเคราะหแ์ ละตคี วาม สดุ ทา้ ยมันก็กลายเป็นความรู้ของเดก็ ไป ความร้เู กี่ยวกบั ส่ิงรอบตัว คุณธรรม จริยธรรม ประเพณีปฏิบัติ รปู แบบการดำเนนิ ชีวติ ที่ปรากฎอยูใ่ นหนังสือจะถูกแปรเปล่ยี นไปเปน็

๓๔ ความรู้ในตวั เดก็ ทั้งหมดคือกระบวนการการเรียนรู้ทีเ่ กิดข้ึนจากการอ่าน และความรทู้ ี่เกดิ ขน้ึ เหล่านีก้ ็จะมีผล ต่อความคิด การตดั สนิ ใจ และพฤตกิ รรมของเด็กต่อไป ภาพี่ 5 การอา่ นคอื การเรียนรู้ ในขณะเดียวกนั ความงดงามของภาษาที่ใชใ้ นหนังสือ ความงามของภาพ ความงามของเรื่องราว ต่างๆ ในหนังสือก็จะเป็นอีกจดุ หน่งึ ทที่ ำใหเ้ ด็กเกิดความประทบั ใจ และนำไปสู่การพัฒนาจิตใจของเขาใหเ้ ป็นผู้ ทยี่ ึดมน่ั ในความงาม ความจริง และความดีของชีวิต ผู้ใหญ่ได้อะไรจจากการเล่านิทานอา่ นหนงั สือใหเ้ ด็กฟัง หากการสร้างสมาชกิ รุ่นใหม่ให้มคี ณุ ภาพท่ีสมบรู ณค์ ือหน้าที่ของผู้ใหญอ่ ย่างเรา “การเลา่ นิทาน อ่านหนังสือให้ลูกฟัง”ก็คอื เครื่องมือทช่ี ่วยให้ภาระกิจอันนี้ของเรามีความสมบรู ณ์ข้ึน หากลูกหลานของเรารัก การอา่ น รกั ทีจ่ ะแสวงหาความรูด้ ว้ ยตัวเอง เขาก็สามารถท่ีจะเรยี นรแู้ ละพัฒนาตวั เองให้มีความสมบูรณย์ ิ่งขึน้ เมอ่ื ลูกหลานมีคุณภาพนัน่ ก็คือหลักประกนั ในอนาคตของเราเองหากถึงเวลาท่ีเราจะต้องพึง่ พาพวกเขา การเล่านทิ านอา่ นหนงั สือใหล้ กู ฟงั ทำใหเ้ ราได้ใกล้ชิดลกู มากข้นึ ทำให้ครอบครัวของเรามีความ อบอนุ่ การเลา่ นิทานอา่ นหนังสือใหล้ ูกฟงั คือโอกาสท่ีชว่ ยให้เราไดฝ้ ึกฝนและกระตุ้นสมองของเราอยู่ เสมอ สมองก็ไม่แตกต่างจากกล้ามเน้ือท่ีจำเปน็ จะตอ้ งใช้งานอยา่ งสมำ่ เสมอ หากไม่มีการใชง้ าน กล้ามเน้ือของ เราก็จะฝ่อลีบ และสมองก็เช่นกนั การได้อ่านหนงั สือและเลา่ เร่ืองราวต่างๆ ใหล้ กู ฟงั ทุกวนั จงึ เปน็ กิจกรรมที่ กระตนุ้ สมองของเราให้มีสขุ ภาพที่สมบรู ณ์อยู่ตลอดเวลา

บทท่ี 3 วธิ ีการดำเนนิ งาน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองชลบุรี ได้เล็งเห็นความสำคัญ ของการสง่ เสริมการอ่านและเพื่อเป็นการกระตุน้ ให้ประชาชน และนักศึกษา กศน.กศน.อำเภอเมืองชลบุรี มี นิสัยรักการอ่านและมีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย จึงได้จัดโครงการส่งเสริมการอ่าน/หน่วยบริการเคลื่อนท่ี (รถโมบาย) ประจำปี 2564 โดยมขี ้ันตอนดังน้ี 1.ประชุมผ้ทู เี่ ก่ียวขอ้ ง 2.จัดต้ังคณะทำงานเพื่อดำเนินการจัดโครงการ 3.ประสานงาน/ประชาสมั พันธ์ 4.ดำเนนิ งานตามแผน 5.วดั ผล/ประเมินผล/สรุปผลและรายงาน 1.ประชมุ ผู้ที่เก่ยี วขอ้ ง กศน.อำเภอเมืองชลบุรีและห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัดชลบุรี ได้วางแผนประชมุ ผทู้ ีเ่ กีย่ วข้องเพ่ือ หาแนวทางในการดำเนนิ งานและกำหนดวัตถุประสงค์รว่ มกนั 2. จดั ตง้ั คณะทำงานเพอ่ื ดำเนนิ การจดั โครงการ จัดทำคำสง่ั แต่งตง้ั คณะทำงานโครงการฯ เพ่ือมอบหมายหนา้ ท่ีในการทำงานให้ชดั เจน อาทิเชน่ 2.1 คณะกรรมการทปี่ รึกษา/อำนวยการ มหี น้าทอ่ี ำนวยความสะดวก และใหค้ ำปรึกษาแก้ไข ปัญหา ที่เกิดข้นึ 2.2 คณะกรรมการฝ่ายจัดสถานท่ี มหี น้าท่ี จดั โต๊ะ เก้าอี้ สำหรับการส่งเสรมิ การอ่านให้ เรยี บรอ้ ยรวมทง้ั จดั หาเครอื่ งอำนวยความสะดวก ตลอดการจัดกิจกรรม 2.3 คณะกรรมการฝ่ายบันทึกภาพและประชาสัมพันธ์ มหี น้าท่บี นั ทึกภาพกิจกรรมตลอด โครงการฯ และประชาสมั พันธ์กิจกรรมให้สาธารณชนได้ทราบ 2.4 คณะกรรมการฝ่ายรบั ลงทะเบียนและประเมินผลหนา้ ทจ่ี ดั ทำหลกั ฐานการลงทะเบียน ผเู้ ขา้ รว่ ม โครงการและรวบรวมการประเมนิ ผล และรายงานผลการดำเนนิ การ 3.ประสานงาน/ประชาสัมพนั ธ์ ประสานงานกับผ้เู รยี น วทิ ยากร และคณะครู เชน่ ประสานเรือ่ งสถานท่ีใช้ทำกจิ กรรม รูปแบบ การจดั กจิ กรรมโครงการ วนั เวลา สถานที่ รายละเอียดการเข้ารว่ มกจิ กรรม พร้อมท้ังประชาสัมพันธ์การจัด กจิ กรรม

๓๖ 4.ดำเนนิ งานตามแผน โครงการส่งเสริมการอ่าน/หน่วยบริการเคลื่อนท่ี (รถโมบาย) ประจำปี 2564 ณ เขตอำเภอเมือง ชลบรุ ี จังหวดั ชลบรุ ี มเี ปา้ หมายของผู้เข้ารว่ มโครงการฯจำนวน 400 คน แตเ่ นอ่ื งจากสานการณโ์ ควดิ -19 ซึ่งเขตจังหวัดชลบุรี ถูกจัดให้เป็นให้เป็นพื้นที่สีแดงเข้ม จึงไม่สามารถจัดโครงการดังกล่าวได้ตลอด ปีงบประมาณ 2564 จึงทำให้เป้าหมายของการจัดกิจกรรมไม่เป็นไปตามเป้าหมาย ซ่ึงมีผู้เข้าร่วมโครงการ ทง้ั ส้ิน 198 คน โดยจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่าน/หน่วยบรกิ ารเคล่ือนท่ี (รถโมบาย) รว่ มกบั ครูตำบล โดยจัด กิจกรรมหนงั สอื แจกฟรี วาดภาพระบายสแี ละการจดั กจิ กรรมอืน่ ๆ 5.วดั ผล/ประเมนิ ผล/สรุปผลและรายงาน โครงการส่งเสรมิ การอา่ น/หน่วยบรกิ ารเคลื่อนที่ (รถโมบาย) ประจำปี 2564 ณ เขตอำเภอเมอื ง ชลบรุ ี อำเภอเมอื งชลบรุ ี จังหวดั ชลบุรี มเี ป้าหมายของผู้เขา้ ร่วมโครงการฯจำนวน 400 คน ซงึ่ มีผเู้ ข้าร่วม โครงการทั้งสิน้ 198 คน โดยจัดกิจกรรมภายใน อำเภอเมอื งชลบุรี จังหวดั ชลบุรี โดยจัดกจิ กรรมหนงั สือ แจกฟรี วาดภาพระบายสีและการจดั กจิ กรรมอื่นๆ กศน.อำเภอเมืองชลบุรแี ละห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัดชลบุรี ไดด้ ำเนนิ การตามขน้ั ตอนและได้ รวบรวมขอ้ มูลจากแบบสำรวจสถิตทิ ใ่ี ช้ในการวิเคราะห์ คือโดยกำหนดคา่ ลำดบั ความสำคัญของการ ประเมินผลออกเปน็ 5 ระดบั ดังนี้ มากทีส่ ุด ให้คะแนน 5 มาก ใหค้ ะแนน 4 ปานกลาง ให้คะแนน 3 นอ้ ย ใหค้ ะแนน 2 นอ้ ยทส่ี ดุ ใหค้ ะแนน 1 ในการแปลผล ผจู้ ดั ทำได้ใช้เกณฑ์การพจิ ารณาจากคะแนนเฉลย่ี ตามแนวคิดของ บุญชม ศรีสะอาด และบญุ ส่ง นิวแก้ว (2535,หน้า 22-25) 4.51-5.00 หมายความวา่ ดมี าก 3.51-4.50 หมายความว่า ดี 2.51-3.50 หมายความว่า ปานกลาง 1.51-2.50 หมายความว่า นอ้ ย 1.00-1.50 หมายความว่า ต้องปรบั ปรงุ ผู้เขา้ ร่วมโครงการ จะต้องกรอกข้อมลู ตามแบบสอบถาม เพ่ือนำไปใช้ในการประเมนิ ผลของการ จัดกิจกรรมดงั กลา่ ว และจะได้นำไปเปน็ ข้อมูล ปรับปรุง และพัฒนา ตลอดจนใชใ้ นการจัดทำแผนการ ดำเนินการในปีต่อไป

บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ งานและการวิเคราะห์ข้อมลู ในการจัดโครงการสง่ เสรมิ การอา่ น/หนว่ ยบรกิ ารเคล่ือนที่ (รถโมบาย) ประจำปี 2564 เขต อำเภอเมืองชลบุรี จงั หวดั ชลบุรี มเี ปา้ หมายของผู้เขา้ รว่ มโครงการฯจำนวน 400 คน แตเ่ น่อื งจากสานการณ์ โควิด -19 ซง่ึ เขตจงั หวดั ชลบุรี ถูกจัดให้เปน็ ให้เปน็ พ้ืนทสี่ ีแดงเข้ม จึงไมส่ ามารถจัดโครงการดงั กล่าวได้ ตลอดปงี บประมาณ 2564 จงึ ทำใหเ้ ปา้ หมายของการจัดกิจกรรมไมเ่ ปน็ ไปตามเป้าหมาย ซึ่งมีผู้เข้าร่วม โครงการฯทง้ั สน้ิ 198 คน และจากการสุ่มตวั อย่างประชากรในการทำการแบบประเมนิ โครงการฯ จำนวน 136 คน (ตามตารางประชากรที่เหมาะสมของเครจซ่แี ละมอร์แกน (Krejcie & Morgan) ซึ่งไดส้ รุปผลจาก แบบสอบถามและนำเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู จำนวน 136 ชดุ ดังน้ี ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนตวั ผ้ตู อบแบบถามของผเู้ ข้าร่วมโครงการสง่ เสริมการอ่าน/หนว่ ยบริการเคล่อื นท่ี (รถโมบาย) ประจำปี 2564 ได้นำมาจำแนกตามเพศ อายุ และอาชีพ ผู้จัดทำไดน้ ำเสนอจำแนกตามข้อมลู ดงั ปรากฏตามตารางที่ 1 ดงั นี้ ตารางท่ี 1 แสดงคา่ รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามเพศ เพศ ชาย หญงิ ความคิดเหน็ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมโครงการส่งเสรมิ การอา่ น/หน่วย 46 33.8 90 66.2 บรกิ ารเคลื่อนที่ (รถโมบาย) ประจำปี 2564 จากตารางที่ 1 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมโครงการสง่ เสริมการอา่ น/ หนว่ ยบริการเคลือ่ นท่ี (รถโมบาย) ประจำปี 2564 เป็นชาย 46 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 33.8 เป็นหญิง 90 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 58.6 ตารางท่ี 2 แสดงค่าร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอายุ อายุ ตำ่ กวา่ 15 ปี 15-39 ปี 40-59 ปี 60 ปีขึ้นไป ความคิดเห็น จำ ร้อยละ จำ ร้อยละ จำ ร้อยละ จำ รอ้ ยละ นวน นวน นวน นวน 2.9 ผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรม โครงการส่งเสรมิ การ 72 52.9 45 33.1 15 11 4 อ่าน/หนว่ ยบรกิ าร เคล่ือนท่ี (รถโมบาย) ประจำปี 2564

๓๘ จากตารางที่ 2 แสดงวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมโครงการสง่ เสรมิ การอา่ น/หนว่ ย บริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย)ประจำปี 2564 พบว่า ในชว่ งอายุตำ่ กว่า 15 ปี มีจำนวนสงู สดุ 72 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 52.9 ในช่วงอายุ 15-39 ปี มีจำนวน 45 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 33.1 ในช่วงอายุ 40-59 ปี คิดเป็นร้อยละ 11 มจี ำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 2.9 ตามลำดบั ตารางท่ี 3 แสดงคา่ รอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอาชพี อาชีพ รับจา้ ง ค้าขาย นักเรยี น/ เกษตรกรรม อ่ืนๆ นักศกึ ษา ความคดิ เหน็ จำ ร้อยละ จำ ร้อย จำ ร้อย จำ รอ้ ย ผเู้ ขา้ ร่วม นวน นวน ละ จำ ร้อย นวน ละ นวน ละ กจิ กรรม 23 16.9 นวน ละ 10 7.3 โครงการ 28 20.6 -- ส่งเสรมิ การ 75 54.4 อ่าน/หนว่ ย บริการ เคลอ่ื นที่ (รถโมบาย) ประจำปี 2564 จากตารางที่ 3 แสดงวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกจิ กรรมโครงการเสรมิ สร้างแหล่ง เรียนรใู้ หก้ ับนกั ศึกษา กศน. ประจำปี 2564 พบวา่ มีอาชีพ นกั เรยี น/นักศกึ ษา มีจำนวนสูงสุด จำนวน 75 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 54.4 มีอาชพี รบั จา้ ง จำนวน 28 คน คิดเป็นร้อยละ 20.6 อาชพี ค้าขาย จำนวน 23 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 16.9 และอาชีพ อืน่ ๆ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 7.3 ตามลำดับ

๓๙ ตารางท่ี 4 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามระดบั การศกึ ษา การศกึ ษา ประถมฯ ม.ต้น ม.ปลาย ปรญิ ญาตรี สูงกว่า ปริญญาตรี ความคดิ เห็น จำ ร้อย จำ รอ้ ย จำ ร้อยละ จำ รอ้ ย นวน ละ นวน ละ นวน นวน ละ จำ ร้อยละ ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม 63 46.3 42 30.9 4 2.9 นวน โครงการสง่ เสริม 26 19.11 การอา่ น/หนว่ ย 1 0.7 บรกิ ารเคล่ือนที่ (รถโมบาย) ประจำปี 2564 จากตารางท่ี 4 แสดงวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามของผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมโครงการเสริมสร้างแหล่ง เรียนรู้ใหก้ ับนักศกึ ษา กศน. ประจำปี 2564 พบว่า มกี ารศึกษาระดบั ประถมศึกษา จำนวน 63 คน คิด เปน็ ร้อยละ 46.3 ระดับ ม.ตน้ จำนวน 42 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 30.9 ระดับ ม.ปลาย จำนวน 26 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 19.11 ระดับปริญญาตรี จำนวน 4 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.9 และสงู กว่าปริญญาตรี จำนวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.7

๔๐ ตอนที่ 2 ข้อมลู เกยี่ วกบั ความคิดเห็นของผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมโครงการส่งเสริมการอ่าน/หน่วยบรกิ ารเคล่อื นท่ี (รถโมบาย) ประจำปี 2564 ดงั ปรากฏในตารางท่ี 5 ตารางท่ี 5 ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรมโครงการสง่ เสรมิ การอา่ น/หนว่ ย บรกิ ารเคลอื่ นท่ี (รถโมบาย) ประจำปี 2564 N = 136 รายการประเมนิ ความพึงพอใจ x̄ S.D. อนั ดับ ระดบั ที่ ผลการ ประเมนิ 1. เนอ้ื หาตรงตามความตอ้ งการ 4.31 0.58 1 ดี 2. เนอ้ื หาเพยี งพอต่อความต้องการ 4.20 0.47 5 ดี 3. เน้อื หาปัจจบุ นั ทันสมยั 4.40 0.57 2 ดี 4. เนือ้ หามีประโยชนต์ ่อการนำไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพชีวติ 4.26 0.58 4 ดี 5. การเตรยี มความพร้อมกอ่ นจดั กิจกรรม 3.95 0.58 16 ดี 6. การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ 4.08 0.66 12 ดี 7. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 4.04 0.70 14 ดี 8. การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับกลุม่ เปา้ หมาย 4.13 0.68 9 ดี 9. วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ 4.00 0.56 15 ดี 10. วทิ ยากรมคี วามร้คู วามสามารถในเรื่องท่ีถ่ายทอด 4.06 0.62 13 ดี 11. วทิ ยากรมเี ทคนิคการถา่ ยทอดใชส้ ือ่ เหมาะสม 4.17 0.65 6 ดี 12. วทิ ยากรเปดิ โอกาสใหม้ สี ่วนรว่ มและซกั ถาม 4.16 0.60 7 ดี 13. สถานที่ วสั ดุ อปุ กรณ์และสงิ่ อำนวยความสะดวก 4.14 0.56 8 ดี 14. การสอื่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพือ่ ใหเ้ กิดการเรยี นรู้ 4.13 0.66 10 ดี 15. การบรกิ าร การช่วยเหลือและการแกป้ ญั หา 4.38 0.63 3 ดี 16. ความพึงพอใจในภาพรวมของผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม 4.10 0.54 11 ดี รวม 4.16 ดี จากตาราง 5 พบวา่ โดยเฉลี่ยประเมินความพึงพอใจผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมโครงการสง่ เสรมิ การอ่าน/ หน่วยบรกิ ารเคล่อื นท่ี (รถโมบาย) ประจำปี 2564 มคี วามพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ ดี ( x=̄ 4.16 ) เมื่อวเิ คราะหเ์ ป็นรายข้อพบว่า ลำดับท่ี 1 เนื้อหาตรงตามความตอ้ งการ ( x̄= 4.31 ) ลำดับท่ี 2 เน้อื หา ปจั จบุ ันทันสมยั ( x̄= 4.40 ) ลำดับท่ี 3 การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา ( x̄=4.38 ) ลำดบั ที่ 4 เน้อื หามปี ระโยชนต์ อ่ การนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ( x̄= 4.26 ) ลำดับท่ี 5 เนื้อหาเพยี งพอต่อ ความตอ้ งการ ( x̄= 4.20 ) ลำดับที่ 6 วทิ ยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใช้สอ่ื เหมาะสม ( x̄= 4.17 ) ลำดับท่ี 7 วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้มสี ่วนร่วมและซกั ถาม ( x̄= 4.16 ) และลำดบั ท่ี 8 สถานท่ี วัสดุ อปุ กรณ์

๔๑ และสง่ิ อำนวยความสะดวก ( x̄=4.14 ) ลำดบั ที่ 9 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกล่มุ เปา้ หมาย และ ลำดบั ที่ 10 การสือ่ สาร การสร้างบรรยากาศเพือ่ ให้เกิดการเรยี นรู้ มคี ่าเฉลี่ยเท่ากัน คือ ( x=̄ 4.13 ) ลำดับท่ี 11 ความพงึ พอใจในภาพรวมของผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม ( x̄= 4.10 ) ลำดบั ท่ี 12 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสม กบั วัตถปุ ระสงค์ ( x̄= 4.08 ) ลำดบั ที่ 13 วทิ ยากรมคี วามรคู้ วามสามารถในเรอ่ื งที่ถา่ ยทอด ( x=̄ 4.06 ) ลำดบั ท่ี 14 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับเวลา ( x=̄ 4.04 ) ลำดบั ท่ี 15 วธิ กี ารวัดผล/ประเมินผลเหมาะสม กับวัตถุประสงค์ ( x̄=4.00 ) และลำดับที่ 16 การเตรยี มความพร้อมก่อนจัดกิจกรรม ( x̄=3.95 )ตามลำดับ

บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ในการจัดโครงการส่งเสริมการอ่าน/หน่วยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) ประจำปี 2564 ซึ่งมี วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมการอ่านและสร้างการศึกษาตลอดชีวิตอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ และเป็นกลไกใน การขับเคลื่อนการดำเนินงานการศึกษาตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ จัดขึ้นในเขตอำเภอเมืองชลบุรี จังหวัด ชลบุรี ใช้วิธีการสุ่มตวั อย่างจากกลุ่มประชากรที่เหมาะสม (ตามตารางประชากรที่เหมาะสมของเครจซี่และ มอรแ์ กน (Krejcie & Morgan) จำนวน 136 คน ท้ังน้ีขอสรปุ และอภปิ รายผลและข้อเสนอแนะดังน้ี 1. สรปุ ผล 1.1 จากการใช้วธิ ีการสุม่ ตวั อย่างจากกลมุ่ ประชากรทเี่ หมาะสมคน เลอื กผู้ตอบแบบสอบถามของ ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมโครงการส่งเสรมิ การอ่าน/หน่วยบรกิ ารเคลือ่ นที่ (รถโมบาย) ประจำปี 2564 เปน็ ชาย 46 คน คิดเปน็ ร้อยละ 33.8 เป็นหญงิ 90 คน คิดเป็นร้อยละ 58.6 ผ้ตู อบแบบสอบถามของผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมโครงการส่งเสริมการอา่ น/หน่วยบรกิ ารเคล่ือนที่ (รถโมบาย) ประจำปี 2564 พบว่า ในชว่ งอายุตำ่ กว่า 15 ปี มจี ำนวนสูงสดุ 72 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 52.9 ในช่วงอายุ 15-39 ปี มจี ำนวน 45 คน คดิ เป็นร้อยละ 33.1 ในชว่ งอายุ 40-59 ปี คดิ เป็นร้อยละ 11 มีจำนวน 4 คน คิดเปน็ ร้อยละ 2.9 ตามลำดบั ผู้ตอบแบบสอบถามของผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมโครงการเสริมสรา้ งแหล่งเรยี นร้ใู หก้ ับนักศกึ ษา กศน. ประจำปี 2564 พบวา่ มีอาชีพ นกั เรยี น/นกั ศึกษา มีจำนวนสูงสดุ จำนวน 75 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 54.4 มี อาชีพ รับจา้ ง จำนวน 28 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20.6 อาชีพ ค้าขาย จำนวน 23 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 16.9 และอาชีพ อื่นๆ จำนวน 10 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.3 ตามลำดบั ผู้ตอบแบบสอบถามของผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมโครงการเสรมิ สร้างแหลง่ เรียนรู้ให้กับนักศึกษา กศน. ประจำปี 2564 พบว่า มกี ารศึกษาระดับประถมศกึ ษา จำนวน 63 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 46.3 ระดบั ม. ต้น จำนวน 42 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 30.9 ระดับ ม.ปลาย จำนวน 26 คน คิดเปน็ ร้อยละ 19.11 ระดบั ปริญญาตรี จำนวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2.9 และสูงกวา่ ปริญญาตรี จำนวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.7 1.2 จากตาราง 5 พบว่า โดยเฉล่ียประเมนิ ความพึงพอใจผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมโครงการสง่ เสรมิ การ อา่ น/หน่วยบริการเคล่ือนที่ (รถโมบาย) ประจำปี 2564 มีความพึงพอใจในภาพรวมอย่ใู นระดับ ดี ( x̄= 4.16 ) เม่อื วเิ คราะหเ์ ป็นรายขอ้ พบวา่ ลำดบั ท่ี 1 เนื้อหาตรงตามความต้องการ ( x=̄ 4.31 ) ลำดบั ท่ี 2 เนอ้ื หาปจั จบุ นั ทันสมยั ( x̄= 4.40 ) ลำดับท่ี 3 การบรกิ าร การชว่ ยเหลือและการแก้ปญั หา ( x=̄ 4.38 ) ลำดบั ท่ี 4 เนอื้ หามปี ระโยชนต์ ่อการนำไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชีวติ ( x=̄ 4.26 ) ลำดับท่ี 5 เนือ้ หา เพยี งพอต่อความต้องการ ( x̄= 4.20 ) ลำดับที่ 6 วิทยากรมเี ทคนคิ การถ่ายทอดใชส้ อื่ เหมาะสม ( x=̄ 4.17 ) ลำดบั ที่ 7 วิทยากรเปิดโอกาสใหม้ ีสว่ นรว่ มและซักถาม ( x=̄ 4.16 ) และลำดบั ที่ 8 สถานท่ี วัสดุ อปุ กรณ์และส่ิงอำนวยความสะดวก ( x=̄ 4.14 ) ลำดับท่ี 9 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั กล่มุ เป้าหมาย และ ลำดับที่ 10 การสือ่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่ือให้เกิดการเรยี นรู้ มีคา่ เฉลย่ี เทา่ กัน คอื ( x=̄ 4.13 ) ลำดบั ที่ 11 ความพึงพอใจในภาพรวมของผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรม ( x̄= 4.10 ) ลำดับที่ 12 การออกแบบ

๔๓ กจิ กรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ( x=̄ 4.08 ) ลำดบั ที่ 13 วิทยากรมคี วามรูค้ วามสามารถในเร่ืองที่ ถ่ายทอด ( x̄= 4.06 ) ลำดับที่ 14 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับเวลา ( x̄= 4.04 ) ลำดบั ท่ี 15 วิธกี าร วัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ( x̄=4.00 ) และลำดับที่ 16 การเตรยี มความพร้อมก่อนจัด กิจกรรม ( x̄=3.95 )ตามลำดับ 2. อภิปรายผล จากโครงการเสริมสร้างแหลง่ เรยี นรใู้ หก้ บั นกั ศึกษา กศน.ประจำปี 2564 ได้ดำเนินการเสรจ็ สิ้น แลว้ ขออภิปลายผลเป็นหวั ข้อดงั น.ี้ - 1. ประชุมผ้ทู เี่ กย่ี วข้อง พบวา่ .. ความพร้อมด้านเวลาของแตล่ ะฝ่ายในการประชมุ ........................................................... ............................................................................................................................. ............................................ ............................................................................................................................. ............................................. .......................................................................................................................................................................... ซง่ึ หากมีการจัดโครงการฯในลักษณะนี้ ควรดำเนนิ การ...การเตรียมการนัดหมายลว่ งหน้า.............. .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................................. ............................................. 2. จดั ตั้งคณะทำงานเพื่อดำเนนิ การจดั โครงการฯ พบวา่ ...ไมพ่ บสภาพปัญหา................................................................................................ ............................................................................................. ............................................................................ ............................................................................................................................. ............................................. ..................................................................................................................................... ..................................... ซึ่งหากมีการจดั โครงการฯในลักษณะนี้ ควรดำเนนิ การ.................-................................................. ............................................................................................................................. ............................................. .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. 3.ประสานงาน/ประชาสัมพันธ์ พบว่า ...ไม่พบสภาพปญั หา............................................................................................................. ......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................................. ............................................. ซง่ึ หากมีการจัดโครงการฯในลักษณะน้ี ควรดำเนนิ การ..................-................................................ ............................................................................................................................. ............................................. .................................................................................................................................................................. ........ .......................................................................................................................... ................................................

๔๔ 4.ดำเนนิ งานตามแผน พบว่า ...สภาพปญั หาท่ีพบในการดำเนินงานเกิดจากการระบาดของ โควดิ -19............................. ........................................................................................... .............................................................................. ............................................................................................................................. ............................................. ................................................................................................................................... ....................................... ซึ่งหากมีการจดั โครงการฯในลกั ษณะนี้ ควรดำเนินการ..เนื่องการจำกดั การเขา้ รว่ มกจิ กรรมจึงทำ ให้การดำเนนิ การอยู่ในการควบคมุ ................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. 5. วัดผล/ประเมินผล/สรปุ ผลและรายงาน พบวา่ ...ไมพ่ บสภาพปญั หา............................................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................ ...................................................................................... .................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. ซงึ่ หากมีการจัดโครงการฯในลักษณะนี้ ควรดำเนนิ การ................-.................................................. ............................................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................................. ............................................. .......................................................................................................................................................................... 3. ข้อเสนอแนะ (ในภาพรวม) ......................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ... ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .... ........................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook