ก คำนำ การอ่านมีความสำคัญต่อชีวิตมนุษย์ตั้งแต่เกิดจนโต และจนกระทั่งถึงวัยชรา การอ่านทำให้รู้ ข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งปัจจุบันเป็นโลกของข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ทั่วโลก ทำให้ผู้อ่านมีความสุข มีความหวัง และมีความอยากรู้อยากเห็น อันเป็นความต้องการของมนุษย์ทุกคน การอ่านมีประโยชน์ใน การพัฒนาตนเอง คือ พัฒนาการศึกษา พัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิต ทำให้เป็นคนทันสมัย ทันต่อ เหตุการณ์ และมีความอยากรู้อยากเห็น การที่จะพัฒนาประเทศให้เจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าได้ต้องอาศัย ประชาชนที่มคี วามรู้ความสามารถ ซง่ึ ความรตู้ ่าง ๆ ก็ได้มาจากการอา่ นนนั่ เอง จากนโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ที่มี ภารกจิ ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคน ตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตามแผนพัฒนาประเทศ และนโยบายการจัดการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานด้านนโยบาย ข้อ ๓.๓ ด้านองค์กร สถานศกึ ษาและแหลง่ เรยี นรู้คณุ ภาพ ขอ้ ที่ 3 การปรับรปู แบบกจิ กรรมในห้องสมุดประชาชน ท่ีเน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการอ่านและการรู้หนังสือของประชาชน และ ข้อที่ ๕. ส่งเสริมและสนับสนุนการ สร้างพื้นที่การเรียนรู้ ในรูปแบบ Public Learning Space Co-Learning Space เพื่อการสร้างนิเวศการ เรียนรู้ใหเ้ กดิ ข้นึ ในสงั คม ห้องสมุดประชาชนจังหวัดชลบุรี กศน.อำเภอเมืองชลบุรี เป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อน นโยบายส่งเสริมการอ่านให้เป็นวาระแห่งชาติ เพื่อส่งเสริมการอ่านเป็นนิสัยใหม่ถาวรของคนในชุมชน จงึ ได้ดำเนนิ โครงการบ้านหนังสอื ชุมชน ประจำปี 2565 เพ่ือนำหนังสอื /ส่ือการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมส่งเสริม การอ่านเป็นกจิ กรรมเชิงรุกร่วมกับเครือขา่ ยห้องสมดุ เพื่อหากลุ่มเป้าหมายตามสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งเป็นสว่ น หนง่ึ ในการสร้างนิสัยรักการอ่านของคนในชุมชนต่อไป ปณั ณวชิ ญ์ สุขทวี กนั ยายน 2565
ข -ข- สารบัญ หน้า คำนำ......................................................................................................................... ..................................ก สารบัญ....................................................................................................................... .................................ข สารบญั ตาราง..............................................................................................................................................ค สารบัญภาพ.................................................................................................................... .............................ง บทที่ 1 บทนำ หลกั การและเหตผุ ล....................................................................................................................1 วัตถุประสงค์ ...............................................................................................................................1 เป้าหมาย ....................................................................................................................................1 ผลลัพธ์ .......................................................................................................................................2 ดชั นีวดั ผลสำเร็จของโครงการ.....................................................................................................2 บทที่ 2 เอกสารการศึกษาและบทความที่เกี่ยวข้อง ...............................................................................3 ยทุ ธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ........3 แนวทางการดำเนนิ งานของ กศน.อำเภอเมืองชลบรุ ี....................................................................6 กรอบการจัดกิจกรรมเพื่อพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน ..........................................................................14 เอกสาร/บทความท่เี กีย่ วข้อง.......................................................................................................18 บทท่ี 3 วิธดี ำเนินงาน.............................................................................................................................22 ประชุมผู้ท่เี ก่ยี วข้อง.....................................................................................................................22 จัดตั้งคณะทำงาน........................................................................................................................22 การประสานงาน/ประชาสมั พันธ์.................................................................................................23 การดำเนินงานตามแผน...............................................................................................................23 การวดั ผล/ประเมินผล/สรุปผลและรายงาน.................................................................................23 บทท่ี 4 ผลการดำเนินงานและการวเิ คราะหข์ ้อมูล ................................................................................24 ตอนท่ี 1 ข้อมูลส่วนตวั ผู้แบบสอบถามโครงการบ้านหนงั สือชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2565...........24 ตารางที่ 1 ข้อมลู การแสดงค่าร้อยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม……….....……..........................….….24
ค สารบัญ(ต่อ) หนา้ บทท่ี 4 ผลการดำเนินงานและการวเิ คราะห์ข้อมลู (ต่อ).........................................................................24 ตารางที่ 2 แสดงคา่ ร้อยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอายุ....................................23 ตารางที่ 3 แสดงค่ารอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอาชีพ………..................….….25 ตารางที่ 4 แสดงคา่ รอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามระดับการศึกษา…............….25 ตารางท่ี 5 ผลการประเมินความพึงพอใจโครงการบ้านหนังสือชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2565...….26 บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ...........................................................................................28 สรุปผล.................................................................................................................................28 อภิปรายผล..........................................................................................................................29 ปัญหาและอปุ สรรค ..............................................................................................................30 ข้อเสนอแนะ.........................................................................................................................30 บรรณานุกรม...........................................................................................................................................31 ภาคผนวก.................. ..............................................................................................................................32 คณะผจู้ ดั ทำ
ง -ค- สารบัญภาพ หน้า ภาพท่ี รปู ภาพที่ 1 https://www.matichon.co.th/prachachuen/news_3529860................... 19 รูปภาพท่ี 2 http://www.partdefine.com/cbh/bookshow/web/index.php.................... 19 รูปภาพที่ 3 https://www.technologychaoban.com/......................................................... 20 รปู ภาพที่ 4 https://www.bangkokbiznews.com ………………………………………………………… 21
จ -ง- สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1. แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามเพศ .................................................24 2. แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอายุ.................................................24 3. แสดงคา่ ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอาชพี ..............................................25 4. แสดงค่าร้อยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามระดับการศึกษา................................25 5. ผลการประเมนิ ความพึงพอใจผลการประเมินความพึงพอใจโครงการบ้านหนังสอื ชมุ ชน ประจำปี พ.ศ. 2565..............................................................................................................26
บทท่ี 1 บทนำ 1. หลักการและเหตผุ ล ในอดีต สำนักงาน กศน. เคยมีที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน ให้บริการหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร จนถงึ สมัยหนง่ึ ได้มีพระราชบัญญตั ิกำหนดแผนและข้นั ตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์การ ปกครองท้องถิ่น พ.ศ. 2542 สำนักงาน กศน. ได้โอนที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้านให้แก่องค์การปกครอง ท้องถิ่น เป็นผู้ดำเนินการแทน ซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งมีความจำเป็นต้องใช้งบเพ่ือแก้ไขพัฒนา งานด้านอื่นทำให้การดำเนนิ งานที่อ่านหนงั สือประจำหมู่บ้านไม่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง แต่ทว่าบทบาทและความ รับผิดชอบด้านการอ่านออกเขียนได้ของประชาชนซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนาก็ยังคงอยู่ในความรับผิดชอบ ของ สำนักงาน กศน. จึงไม่อาจจะเพิกเฉยได้เพราะสถิติการไม่รู้หนังสือของคนไทยกลับกลายเป็นเพิ่มขึ้น สำนักงาน กศน. จึงได้คิดพลกิ ฟ้ืนท่ีอ่านหนังสอื ประจำหมู่บ้านขึ้น ภายใตก้ รอบแนวคิดว่า ถ้ามีแหล่งการอ่านใน ชุมชนที่อยู่ใกล้บ้านอย่างน้อยก็มีแหล่งการอ่าน และเป็นฐานการพบปะกันระหว่างคนในชุมชนบวกกับการ ส่งเสริมการอ่านป้องกันการลืมหนังสือ ภายใต้โครงการบ้านหนังสืออัจฉริยะ จำนวน 41,800 แห่ง ในปีงบประมาณ 2556 ในปีงบประมาณ 2559 รัฐบาลได้ตัดงบประมาณจัดซื้อหนังสือพิมพ์ และนิตยสาร ของบา้ นหนังสืออัจฉรยิ ะ เนอ่ื งจากเห็นว่าภารกจิ และการใช้งบประมาณซ้ำซ้อนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ถึงแม้การจัดสรรงบประมาณของรัฐบาลได้ถูกยกเลิกไปแต่ชุมชนยังเห็นความสำคัญและประโยชน์ของบ้าน หนังสืออจั ฉริยะอยู่ อย่างนอ้ ยก็เป็นแหล่งพบปะพดู คุย จัดกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน และเป็นแหล่งดึงดูดคนใน ชุมชน ให้หันมาสนใจเรื่องการอ่านได้บางส่วน พ่อแม่ผู้ปกครองต้องการให้มีแหล่งเพื่อปลูกฝังการอ่านให้กับ ลูกหลานของตนในอนาคต สำนักงาน กศน. จึงได้สานต่อโครงการดังกล่าวโดยปรับเปลี่ยนชื่อ “บ้านหนังสือ อัจฉริยะ” เป็น “บ้านหนังสอื ชุมชน” ปัจจุบัน “บ้านหนังสือชุมชน” เป็นแหล่งการอ่าน การจัดกิจกรรมสร้าง เสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในชุมชน เป็นสถานที่พบปะพูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น สามารถเข้า ใช้บริการได้สะดวก มีความเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่และชุมชน โดยมีเจ้าของบ้าน หรืออาสาสมัคร ทำหน้าที่ดูแล ให้บริการ และจัดกิจกรรมสร้างเสริมการอ่านและการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนใน ชุมชน จากนโยบายและจุดเนน้ การดําเนนิ งาน สำนกั งาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ท่ีมภี ารกิจ ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคนตลอด ช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตามแผนพัฒนาประเทศ และนโยบายการจัดการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานด้านนโยบาย ข้อ ๓.๓ ด้านองค์กร สถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้คุณภาพ ข้อที่ 3 การปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการอ่านและการรู้หนังสือของประชาชน และ ข้อที่ ๕. ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้าง พื้นที่การเรียนรู้ ในรูปแบบ Public Learning Space Co-Learning Space เพื่อการสร้างนิเวศการเรียนรู้ให้ เกดิ ขึ้นในสังคม
2 ห้องสมุดประชาชนจังหวัดชลบุรี กศน.อำเภอเมืองชลบุรี เป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนนโยบาย ส่งเสริมการอ่านให้เป็นวาระแห่งชาติ เพื่อส่งเสริมการอ่านเป็นนิสัยใหม่ถาวรของคนในชุมชน จึง ได้ดำเนิน โครงการบ้านหนังสือชุมชน ประจำปี 2565 เพื่อนำหนังสือ/สื่อการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เป็นกิจกรรมเชิงรุกร่วมกับเครือข่ายห้องสมุด เพื่อหากลุ่มเป้าหมายตามสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการ สร้างนสิ ัยรกั การอา่ นของคนในชุมชนตอ่ ไป 2. วตั ถปุ ระสงค์ ๒.1 เพอ่ื เปน็ แหลง่ การอ่านท่ใี กล้ตัวในชมุ ชน 2.๒ เพ่ือสรา้ งเสรมิ นสิ ัยรักการอ่าน ปอ้ งกันการลืมหนงั สอื และเกิดการเรยี นรู้สามารถเชือ่ มโยงความรู้ ทไี่ ด้จากการอา่ นไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวนั 2.3. เพอ่ื เปน็ ศนู ยก์ ลางการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ในชุมชนแบบมสี ว่ นรว่ ม 3. เปา้ หมาย 3.1 เชงิ ปรมิ าณ - เด็กและเยาวชน , สมาชิกห้องสมดุ , ผู้รับบรกิ ารห้องสมดุ , นกั ศึกษา กศน. อำเภอเมืองชลบรุ ี , นักเรียน,นักศกึ ษาในระบบ และประชาชนทั่วไป 3.2 เชิงคุณภาพ - เดก็ และเยาวชน , สมาชกิ ห้องสมดุ , ผู้รับบริการห้องสมุด , นกั ศึกษา กศน. อำเภอเมอื งชลบุรี , นักเรยี นนกั ศกึ ษาในระบบ และประชาชนทวั่ ไป ตระหนกั ถงึ ความสำคัญของการอ่านและมีนสิ ัยรักการอา่ น 4. ผลลัพธ์ 4.1. สามารถสรา้ งและสง่ เสรมิ นสิ ัยรกั การอ่านให้กับกล่มุ เปา้ หมายและผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ 4.2. สามารถสร้างครือขา่ ยและสรา้ งชุมชนการอา่ นเพ่ือการเรียนรู้ตลอดชีวิต 4.3. สามารถจดั กจิ กรรมทีห่ ลากหลายสู่ชุมชน 5. ดชั นีวดั ความสำเรจ็ ของโครงการ 5.1 ตัวช้วี ดั ผลผลิต (Outputs) - ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ ฯ ร้อยละ 100 ของเป้าหมาย - รอ้ ยละ 85 ของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการได้รบั โอกาสและการเรียนรู้ทางดา้ นกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่านและ รปู แบบการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคณุ ภาพ 5.2 ตัวช้วี ดั ผลลพั ธ์ (Outcomes) - ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 60 สามารถนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้ของเป้าหมาย - ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการฯ สมารถนำไปขยายผลได้ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 5 ของเปา้ หมาย
บทท่ี 2 เอกสารการศกึ ษาและบทความทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ในการจัดทำรายงานโครงการบ้านหนงั สือชมุ ชน ประจำปี 2565 ครงั้ นี้ ผูจ้ ัดทำได้ศึกษาค้นคว้า เนอ้ื หาเอกสารการศกึ ษาทีเ่ ก่ียวข้อง ดงั นี้ 1. ยุทธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2. แนวทาง/กลยุทธ์การดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยของ กศน. อำเภอเมืองชลบรุ ี 3. กรอบ/แนวทางการจดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น 4. บทความทเ่ี ก่ียวข้อง 1. ยุทธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 หลกั การ กศน. เพื่อประชาชน “กศน. กา้ วใหม่ : กา้ วแหง่ คุณภาพ” ๒.ภารกจิ สําคญั ตามนโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ๒.1โครงการส่งเสรมิ โอกาสความเสมอภาคและความเทา่ เทียมทางการศึกษา“พาน้องกลบั มา เรียน” ตดิ ตามและรายงานข้อมลู ประชากรวยั เรยี นทหี่ ลดุ จากระบบการศึกษา พรอ้ มทั้งดําเนินการชว่ ยเหลอื และสนับสนนุ ให้กลบั เข้าสสู่ ถานศกึ ษาท่ีเหมาะสมตามบรบิ ทต่อไป ๒.๒ โครงการ “กศน. ปกั หมุด” สํารวจ ตดิ ตาม คน้ หา และรวบรวมขอ้ มลู กลมุ่ เปา้ หมาย คนพิการ พร้อม นาํ กลบั เข้าสู่ระบบการศึกษา โดยวางแผนการจดั การศึกษาให้สอดคล้องกบั บริบทและความตอ้ งการ ของคน พกิ ารอยา่ งแท้จรงิ เพื่อใหค้ นพกิ ารสามารถเข้าถงึ การศึกษาในรูปแบบทเี่ หมาะสม อยา่ งมีคุณภาพ ๒.๓ โครงการสถานศึกษาปลอดภยั นาํ ระบบมาตรฐานความปลอดภยั MOE Safety Center ผา่ นศูนย์ ความปลอดภัย สํานักงาน กศน. มาใช้แกป้ ัญหาความไม่ปลอดภัยของนักศึกษา ครู และบุคลากร กศน. ๒.๔ การแกไ้ ขปัญหาหนี้สนิ ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ๓. จดุ เนน้ การดาํ เนินงาน สาํ นกั งาน กศน. ประจาํ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๓.๑ ดา้ นการจัดการเรียนรคู้ ณุ ภาพ ๑) น้อมนําพระบรมราโชบายสู่การปฏิบตั ิ รวมท้งั สง่ เสริมและสนบั สนนุ การดําเนนิ งานโครงการอัน เนือ่ งมาจากพระราชดาํ ริทุกโครงการ หรอื โครงการอนั เกี่ยวเน่อื งจากราชวงศ์ ๒) ขบั เคลอ่ื นการจัดการเรียนรู้ทีส่ นองตอบยุทธศาสตรช์ าติ และนโยบายของรัฐมนตรวี า่ การ กระทรวงศึกษาธกิ าร และรฐั มนตรชี ่วยวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ ๓) ส่งเสรมิ การจดั การศึกษาเพื่อเสรมิ สรา้ งความม่ันคง การสร้างความเขา้ ใจท่ีถูกตอ้ ง ในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย การเรียนรูท้ ่ปี ลูกฝงั คุณธรรมจริยธรรม สร้างวนิ ยั จิตสาธารณะ และอดุ มการณ์ ความยึด มัน่ ในสถาบันหลกั ของชาติ การสง่ เสรมิ การรู้เทา่ ทนั สื่อและขอ้ มูลข่าวสาร และทักษะการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัล (Social Media) รวมถึงการใช้กระบวนการจติ อาสา กศน. ผา่ นกิจกรรมต่าง ๆ ๔) ปรบั ปรงุ หลกั สตู รทุกระดบั ทุกประเภท ให้สอดรบั กับการพฒั นาคน ทิศทางการพฒั นา ประเทศ สอดคล้องกับบริบททีเ่ ปล่ียนแปลง ความต้องการและความหลากหลายของผเู้ รียน/ผรู้ บั บรกิ าร รวมถงึ ปรับลด ความหลากหลายและความซํ้าซ้อนของหลักสูตร เชน่ หลักสูตรการศึกษาสําหรับกลุ่มเป้าหมายบนพื้นที่สูง
4 พ้นื ท่ีพิเศษและพ้นื ที่ชายแดน รวมทัง้ กลุ่มชาติพันธุ์ ๕) ปรบั ระบบทดสอบ วดั ผล และประเมนิ ผล โดยเน้นการใชเ้ ทคโนโลยเี ปน็ เคร่ืองมือ ใหผ้ ู้เรียน สามารถเข้าถึงการประเมนิ ผลการเรียนร้ไู ด้ตามความต้องการ เพอ่ื การสร้างโอกาสในการเรียนรู้ ให้ความสาํ คัญ กับการเทยี บระดับการศึกษา และการเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์ พัฒนาระบบการประเมนิ สมรรถนะ ผู้เรียนใหต้ อบโจทยก์ ารประเมินในระดบั ประเทศและระดับสากล เช่น การประเมินสมรรถภาพผูใ้ หญ่ ตลอดจน กระจายอาํ นาจไปยังพืน้ ที่ในการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๖) สง่ เสรมิ การใช้เทคโนโลยีในการจัดหลกั สูตรการเรยี นรใู้ นระบบออนไลนด์ ว้ ยตนเองครบวงจร ตง้ั แต่ การลงทะเบยี นจนการประเมินผลเมอ่ื จบหลกั สูตร ทั้งการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ข้ันพืน้ ฐาน การศกึ ษาต่อเนอื่ ง และการศึกษาตามอธั ยาศยั เพื่อเปน็ การสรา้ งและขยายโอกาสในการเรยี นรใู้ ห้กบั กลุ่มเปา้ หมายทีส่ ามารถเรียนรไู้ ดส้ ะดวก และตอบโจทย์ความตอ้ งการของผ้เู รียน ๗) พฒั นา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรูข้ องสํานกั งาน กศน. ตลอดจนพฒั นา สอื่ การเรยี นรู้ท้งั ในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และใหม้ ีคลงั สอื่ การเรยี นรูท้ ี่เป็นสื่อท่ีถกู ต้อง ตามกฎหมาย งา่ ยตอ่ การสืบค้นและนาํ ไปใช้ในการจดั การเรียนรู้ ๘) เรง่ ดําเนินการเรือ่ ง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอน หนว่ ยกติ เพ่ือ การสรา้ งโอกาสในการศึกษา ๙) พัฒนาระบบนเิ ทศการศึกษา การกาํ กับ ตดิ ตาม ท้ังในระบบ On-Site และ Online รวมทัง้ ส่งเสรมิ การวจิ ยั เพ่ือเป็นฐานในการพัฒนาการดําเนนิ งานการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ๓.๒ ด้านการสร้างสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ ๑) ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ทเ่ี นน้ การพฒั นาทักษะทีจ่ าํ เป็นสําหรบั แตล่ ะชว่ งวยั และการ จัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ที่เหมาะสมกับแตล่ ะกลุ่มเป้าหมายและบริบทพน้ื ท่ี ๒) พัฒนาหลกั สตู รอาชพี ระยะสน้ั ทเ่ี นน้ New skill Upskill และ Reskill ทส่ี อดคลอ้ งกบั บรบิ ทพ้นื ท่ี ความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ทร่ี องรับ Disruptive Technology ๓) ยกระดบั ผลติ ภัณฑ์ สินค้า บรกิ ารจากโครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน ทเี่ น้น “ส่งเสรมิ ความรู้ สร้าง อาชีพ เพ่ิมรายได้ และมีคุณภาพชีวิตทดี่ ี” ใหม้ ีคุณภาพมาตรฐาน เปน็ ท่ียอมรบั ของตลาด ต่อยอด ภมู ปิ ญั ญา ท้องถ่ินเพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่ม พัฒนาสวู่ สิ าหกจิ ชมุ ชน ตลอดจนเพม่ิ ช่องทางประชาสมั พันธ์และชอ่ งทาง การ จาํ หนา่ ย ๔) ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาของผสู้ งู อายุ เพือ่ ให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการดำรงชวี ิตท่เี หมาะกับชว่ งวัย ๕) ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาทีพ่ ัฒนาทักษะทจ่ี ำเป็นสำหรับกลมุ่ เปา้ หมายพิเศษ เช่น ผู้พกิ าร ออทสิ ตกิ เดก็ เร่ร่อน และผ้ดู ้อยโอกาสอ่ืน ๆ ๖) ส่งเสรมิ การพัฒนาทกั ษะดจิ ทิ ลั และทักษะดา้ นภาษา ใหก้ ับบุคลากร กศน.และผูเ้ รยี น เพ่อื รองรบั การพฒั นาประเทศ ๗) สง่ เสรมิ การสร้างนวัตกรรมของผู้เรยี น กศน. ๘) สร้างอาสาสมัคร กศน. เพื่อเปน็ เครือข่ายในการส่งเสรมิ สนับสนุนการจัดการศกึ ษาตลอดชวี ติ ในชมุ ชน ๙) ส่งเสรมิ การสร้างและพฒั นานวัตกรรมของบุคลากร กศน. รวมท้งั รวบรวมและเผยแพรเ่ พื่อให้ หนว่ ยงาน / สถานศกึ ษา นำไปใชใ้ นการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
5 ๓.๓ ดา้ นองค์กรสถานศกึ ษาและแหลง่ เรยี นร้คู ณุ ภาพ ๑) ทบทวนบทบาทหนา้ ที่ของหน่วยงาน สถานศึกษา เช่น สถาบัน กศน.ภาค สถาบันการศึกษาและ พฒั นาตอ่ เน่ืองสิรนิ ธร สถานศึกษาขนึ้ ตรงสังกัดส่วนกลาง กลุ่มสำนักงาน กศน.จงั หวดั ศูนยฝ์ ึกและพัฒนา อาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพ่ือเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการขบั เคลื่อนการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในพืน้ ท่ี ๒) ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตำบล และศูนย์การเรียนรู้ชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง” (ศศช.) ให้ เป็นพนื้ ที่การเรยี นรู้ตลอดชวี ิตที่สำคัญของชุมชน ๓) ปรบั รูปแบบกจิ กรรมในหอ้ งสมุดประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพอ่ื เพ่ิมอัตราการอา่ นและ การรหู้ นังสือของประชาชน ๔) ใหบ้ ริการวิทยาศาสตรเ์ ชงิ รกุ Science@home โดยใชเ้ ทคโนโลยีเปน็ เครอ่ื งมอื นำวิทยาศาสตรส์ ู่ ชวี ติ ประจำวันในทุกครอบครัว ๕) สง่ เสริมและสนับสนนุ การสร้างพื้นท่ีการเรียนรู้ ในรปู แบบ Public Learning Space Co- Learning Space เพ่ือการสร้างนิเวศการเรยี นรูใ้ ห้เกดิ ข้ึนในสงั คม ๖) ยกระดับและพฒั นาศนู ยฝ์ กึ อาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน ให้เปน็ สถาบันพัฒนาอาชีพระดบั ภาค ๗) สง่ เสริมและสนบั สนุนการดำเนินงานของกลมุ่ กศน. จงั หวดั ให้มีประสทิ ธภิ าพ ๓.๔ ดา้ นการบริหารจัดการคณุ ภาพ ๑) ขับเคลื่อนกฎหมายวา่ ดว้ ยการส่งเสริมการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิต ตลอดจนทบทวนภารกิจ บทบาท โครงสร้างของหนว่ ยงานเพื่อรองรบั การเปลี่ยนแปลงตามกฎหมาย ๒) ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง และขอ้ บังคบั ตา่ ง ๆ ให้มคี วามทันสมัย เอื้อตอ่ การบริหารจดั การ และการจดั การเรียนรู้ เชน่ การปรบั หลกั เกณฑค์ ่าใชจ้ า่ ยในการจดั หลกั สตู รการศึกษาตอ่ เนอ่ื ง ๓) ปรบั ปรงุ แผนอัตรากำลงั รวมท้ังกำหนดแนวทางที่ชดั เจนในการนำคนเขา้ ส่ตู ำแหน่ง การยา้ ย โอน และการเลื่อนระดับ ๔) ส่งเสรมิ การพฒั นาบคุ ลากรทุกระดับ ให้มคี วามรแู้ ละทกั ษะตามมาตรฐานตำแหน่งใหต้ รงกับสาย งาน และทักษะที่จำเปน็ ในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ๕) ปรบั ปรุงระบบการจัดสรรทรพั ยากรเพอื่ การศึกษา ให้มคี วามครอบคลุม เหมาะสม เช่น การปรับ ค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษาของผู้พกิ าร เด็กปฐมวยั ๖) ปรับปรงุ ระบบฐานข้อมลู สารสนเทศดา้ นการศึกษา เพื่อการบริหารจดั การอย่างเปน็ ระบบ เช่น ข้อมลู การรายงานผลการดำเนนิ งาน ขอ้ มลู เด็กตกหล่นจากการศึกษาในระบบ เด็กเรร่ อ่ น ผพู้ ิการ ๗) สง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเคร่อื งมือในการบริหารจดั การอย่างเต็มรูปแบบ ๘) ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั สูร่ ะบบราชการ ๔.๐ และการประเมินคุณภาพและ ความโปรง่ ใสการดำเนินงานของภาครฐั (ITA) ๙) เสริมสรา้ งขวญั และกำลงั ใจ ให้กบั ขา้ ราชการและบคุ ลากรทุกประเภทในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การ ประกาศเกียรติคุณ การมอบโล่ / วฒุ ิบัตร ๑๐) ส่งเสริมการมสี ว่ นร่วมของภาคีเครอื ขา่ ยทุกภาคสว่ น เพื่อสร้างความพร้อมในการจดั การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการสง่ เสรมิ การเรยี นร้ตู ลอดชวี ิตสำหรับประชาชน
6 2. แนวทาง/กลยทุ ธ์การดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยของ กศน. อำเภอเมอื งชลบุรี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองชลบุรีได้กำหนดทิศทางการดำเนนิ งาน ตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏบิ ัติการประจำปี โดยมีรายละเอียด ดงั น้ี ทศิ ทางการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา ปรชั ญา “คิดเปน็ ทำเปน็ เนน้ ICT” วิสยั ทศั น์ “จดั การศึกษาตลอดชีวติ ผกู มิตรกับเครือข่าย กระจายความรสู้ ู่ชมุ ชน ทุกทีท่ ุกเวลาดว้ ย ICT มี อาชพี และแข่งขันในประชาคมอาเซียนอย่างยั่งยนื ” อตั ลกั ษณ์ “ก้าวไปในยุคดิจิทลั ” เอกลักษณ์ “องคก์ รออนไลน์” พนั ธกิจ 1. จัดและสง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี น มคี วามรูก้ ารศึกษาขนั้ พ้นื ฐานอย่างมีคณุ ภาพ 2. จัดการศึกษาอาชพี ให้ผเู้ รียนมีอาชพี ทำได้ ขายเป็น และมที ักษะชีวติ ท่ีเหมาะสมทุกชว่ งวัย 3. จัดและสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนนำเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพ่ือพฒั นาตนเองและสร้างช่องทางการจำหน่าย สนิ คา้ 4. จดั และสง่ เสรมิ การศึกษาตามอธั ยาศยั ทีม่ ุ่งให้ผรู้ บั บริการมีนสิ ัยรกั การอ่าน และพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ ในชุมชน 5. จดั และสง่ เสรมิ สนับสนุน พฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ สื่อ และภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. จดั และส่งเสริมการศึกษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาสงั คมและชุมชนใหม้ ี ความเขม้ แขง็ อย่างยงั่ ยืน 7. จัดและส่งเสริมประชาชนใหเ้ ปน็ พลเมอื งดีตามวิถปี ระชาธิปไตย 8. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ภาคีเครอื ขา่ ย ใหม้ ีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย เพื่อให้เกิดการเรียนรูต้ ลอดชีวติ 9. พฒั นารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ หส้ อดคล้องกับพ้นื ที่ระเบียงเศรษฐกจิ พิเศษภาค ตะวนั ออก (EEC) และความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย 10. พัฒนาบคุ ลากรให้มสี มรรถนะในการปฏบิ ัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมปี ระสิทธิภาพและ ต่อเนอื่ งโดยเน้นการนำเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาใชใ้ นการบรหิ ารจดั การ 11. สถานศกึ ษามีระบบการบริหารจัดการตามหลกั ธรรมมาภิบาล 12. ปฏบิ ัตงิ านอ่ืน ๆ ท่ีไดร้ บั มอบหมาย
7 เปา้ ประสงค์ และตัวช้ีวัดความสำเร็จ เปา้ ประสงค์ ตวั ชวี้ ดั ความสำเร็จ ประชาชนได้รบั โอกาสทางการศึกษาในรปู แบบ รอ้ ยละของประชากรกลุ่มต่างๆ (กลุ่มประชากรวยั ของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม แรงงานปกติท่วั ไป กลุ่มประชากรวยั แรงงานท่เี ปน็ ผู้ อัธยาศัยทม่ี ีคุณภาพอยา่ งทัว่ ถึงและเปน็ ธรรม ยากไร้ ผดู้ ้อยโอกาส ผพู้ ิการ และกลุ่มผสู้ ูงอายุ) ท่ี ได้รบั บรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศัยอย่างทวั่ ถงึ ครอบคลมุ และเปน็ ธรรม ผู้เรยี นทเี่ ข้ารับการฝึกอาชีพมีสมรรถนะในการ ร้อยละของผ้เู รยี นทเี่ ขา้ รบั การศึกษาอาชีพเพื่อการมี ประกอบอาชีพ สามารถประกอบอาชีพทสี่ ร้าง งานทำทม่ี ีสมรรถนะในการประกอบอาชีพทเ่ี พิม่ ขึ้น รายไดใ้ หก้ บั ตนเองและครอบครวั ได้ องค์กรภาคสว่ นต่างๆรว่ มเปน็ ภาคีเครือขา่ ยใน จำนวนของภาคเี ครือข่ายในการดำเนินงานการศกึ ษา การดำเนินงานการศึกษานอกระบบและ นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยเพิ่มมากขึ้น การศกึ ษาตามอัธยาศยั อย่างกวา้ งขวาง สถานศึกษานำเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใชใ้ นการเพม่ิ ร้อยละของของผ้เู รียนท่มี ีความพงึ พอใจตอ่ การใช้ ประสทิ ธภิ าพการจดั การศกึ ษานอกระบบและ เทคโนโลยดี ิจิทลั ของสถานศกึ ษา การศกึ ษาตามอธั ยาศัยอยา่ งทัว่ ถึง บุคลากรของสถานศึกษาไดร้ บั การพฒั นาเพ่ือเพ่มิ ร้อยละของบุคลากรของสถานศกึ ษาที่ไดร้ บั การพฒั นา สมรรถนะในการปฏบิ ัติงานการศึกษานอกระบบ เพ่ือเพม่ิ สมรรถนะในการปฏบิ ัติงานการศึกษานอก และการศึกษาตามอธั ยาศยั อยา่ งทั่วถงึ ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยโดยเนน้ การนำ เทคโนโลยีดิจทิ ลั มาใช้ในการบรหิ ารจดั การ สถานศกึ ษามีการพฒั นาระบบการบรหิ าร รอ้ ยละของสถานศึกษามีการพฒั นาระบบการบริหาร จัดการเพื่อเพมิ่ ประสทิ ธิภาพโดยเน้นการนำ จัดการเพื่อเพมิ่ ประสิทธภิ าพโดยเน้นการนำเทคโนโลยี เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลในการดำเนินงานการศึกษา ดจิ ิทัลในการดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั การศึกษาตามอธั ยาศัย บคุ ลากรของหนว่ ยงานปฏบิ ัติงานตามที่ไดร้ บั รอ้ ยละของบุคลากรของสถานศึกษาปฏิบัติงานได้เตม็ มอบหมายอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธภิ าพ กลยทุ ธ์ กลยทุ ธท์ ่ี 1 สง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ให้เป็นไป ตามนโยบายและมาตรฐานการศกึ ษาอย่างต่อเนื่อง กลยทุ ธท์ ่ี 2 ส่งเสรมิ ให้ผ้รู บั บรกิ ารไดร้ บั การพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยใช้กระบวนการคิดเป็นตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กลยทุ ธท์ ี่ 3 ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนรว่ มในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั เพื่อใหเ้ กิดการเรยี นรู้ตลอดชีวิต กลยุทธท์ ี่ 4 พัฒนาหลักสตู รและรปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ใหส้ อดคลอ้ งกบั พ้นื ท่ีเขตพฒั นา พเิ ศษภาคตะวันออก (EEC) และความต้องการของกลุม่ เป้าหมาย โดยการมสี ่วนรว่ มของภูมปิ ัญญาท้องถ่ินและ แหลง่ เรยี นร้ทู งั้ ภาครัฐและเอกชน
8 กลยทุ ธท์ ี่ 5 ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารประชาสัมพนั ธ์ ในรูปแบบท่หี ลากหลาย กลยทุ ธ์ท่ี 6 พฒั นาระบบการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษาโดยใชก้ ระบวนการมีส่วนร่วมจากทกุ ภาคส่วน กลยุทธท์ ่ี 7 พฒั นาระบบคณุ ภาพการศึกษาโดยใชว้ งจรการพฒั นาคุณภาพ (PDCA) เปน็ หลกั ในการ จดั การศึกษา กลยทุ ธท์ ี่ 8 พฒั นาบคุ ลากรของสถานศึกษาให้มีความสามารถใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพ่ือการจัด กระบวนการเรยี นรู้ การบริหารจดั การ และสง่ เสรมิ การทำงานเปน็ ทีม เขม็ มุ่งสู่ความสำเร็จ 1. มี กศน.ตำบลเป็นหลกั แหลง่ 2. มีคอมฯ/อปุ กรณ์ครบทุก กศน.ตำบล 3. ใหท้ ุกคนมีความรู้ ICT 4. มีระบบจดั เก็บ/รายงานผา่ นออนไลน์ 5. ภายใน1-2 ปีต้องเป็น 1 ใน กศน.จงั หวดั 6. ภายใน 3 ปีต้องเป็น 1-5 ของสำนักงาน กศน. การบรหิ ารนำ ICT สู่การปฏบิ ัติ 1.การจดั หาคอมฯ/อปุ กรณ์ 2.ขนั้ การพัฒนา 3.การประเมินผล/รายงาน 1. การจัดหาคอมฯ/อุปกรณ์ 1.1 การเปิดตัว กศน.ตำบล โดย 1) เชญิ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.),สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) เปน็ ต้น 2) นำนักศึกษา กศน. หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ปจั จบุ นั มีทัง้ ส้ิน 4,621 คน 3) เชิญภาคีเครือข่าย อาทิเชน่ โรงเรียน, อบต., เทศบาล, อบจ. , อำเภอ เปน็ ต้น 4) เสนอโครงการพัฒนา กศน.ตำบล ให้เปน็ แหล่งเรยี นร้ดู ้านดจิ ิทัล 1.2 เชิญส.ส./ส.ว. เข้าร่วมทุกกจิ กรรม 1) โครงการเข้าค่ายต่าง ๆของนกั ศึกษา กศน. 2) โครงการวนั วิชาการ ของนักศึกษา กศน. 3) โครงการ อ่นื ๆ 2. ขัน้ การพฒั นา 2.1 พัฒนาระบบ จะพัฒนาระบบการจัดเก็บ/รายงานต่างๆผ่านออนไลน์ 2.2 พัฒนาคน 1) ครู กศน./จนท.ทุกคน 2) นักศึกษา กศน.หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ทัง้ 2 กลุ่มเป้าหมาย ต้องมีความรู้ ด้าน ICT และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ สำหรับในสว่ นของนักศึกษา กศน. หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กศน.อำเภอเมืองชลบุรี จะต้องประกาศเป็นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ พร้อมทั้งใชง้ บอุดหนุน (กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน) ในการ ขับเคลื่อน โดยจัดโครงการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น ด้าน ICT พร้อมท้ังจัดทำสรุปเป็นรูปเล่ม ( 5 บท)
9 3.การประเมนิ ผล/รายงาน 3.1 รายงานผา่ นออนไลน์ โดยผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เนต็ http://118.172.227.194:7003/choncity/ และจดั ทำ Application รายงานผ่านทางสมาร์ทโฟน 3.2 รายงานสรุปผลเปน็ รูปเล่ม (5 บท) จดั ทำสรุปผลโครงการ/กิจกรรม เปน็ รูปเล่ม (5บท) เพ่ือรองรับการประเมินคณุ ภาพโดยตน้ สังกัด และภายนอก แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา(เฉพาะปี 2564) เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กจิ กรรม เป้าหมาย ตัวชี้วดั เกณฑค์ วามสำเร็จ ความสำเรจ็ (ร้อยละ) 1. กลุ่มเป้าหมาย กลยทุ ธท์ ่ี 1 1. โครงการยกระดับ 8,000 1. กลมุ่ เปา้ หมาย 1. รอ้ ยละของ ไดร้ บั โอกาสทาง สง่ เสริม จัดการศกึ ษานอก การศกึ ษาขน้ั และพฒั นา ระบบระดับการศึกษา คน ได้รบั โอกาสทาง กลุ่มเปา้ หมายไดร้ ับ พ้นื ฐาน คณุ ภาพ ขั้นพืน้ ฐานให้มี การศึกษาตอ่ เนอื่ ง การศกึ ษา คุณภาพ การศึกษาแตล่ ะ โอกาสทางการศกึ ษา และการศึกษา นอกระบบ 2. โครงการพัฒนา ตามอัธยาศัยทมี่ ี และ คณุ ภาพผเู้ รยี น กศน. ประเภทของ กศน. แตล่ ะประเภทของ คณุ ภาพให้เป็นไป การศึกษา ตามหลกั สตู ร ตามความตอ้ งการ ตาม การศึกษานอกระบบ 2. ผู้จบหลกั สตู ร กศน. และสอดคล้องกับ อัธยาศยั ให้ ระดับการศึกษาขั้น สภาพปัญหาของ เปน็ ไปตาม พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช การศกึ ษาข้นั 2. รอ้ ยละของผจู้ บ กลมุ่ เป้าหมาย นโยบาย 2551 และ 3. โครงการส่งเสรมิ 8,000 พ้ืนฐานแตล่ ะระดบั หลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ มาตรฐาน การรูห้ นังสอื สำหรับ การศึกษา ประชาชนอำเภอเมอื ง คน มผี ลสมั ฤทธ์ิ พ้นื ฐานแต่ละระดบั มี อย่าง ชลบรุ ี ต่อเนอ่ื ง 4. โครงการจดั ทางการเรียนเฉลย่ี ผลสัมฤทธทิ์ างการ การศึกษาเพ่อื พัฒนา อาชีพ > 2.00 เรยี นเฉล่ยี > 2.00 (ศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน) 3. กล่มุ เป้าหมาย 3. รอ้ ยละของ รว่ มกิจกรรมพฒั นา กลุ่มเป้าหมายรว่ ม คุณภาพผ้เู รยี น กิจกรรมพัฒนา 4. กลมุ่ เป้าหมาย คณุ ภาพผูเ้ รยี น 27 คน เข้าร่วมกิจกรรม 4.รอ้ ยละของ สง่ เสริมการรู้ กลุม่ เปา้ หมายเขา้ ร่วม หนังสอื กิจกรรมสง่ เสริมการรู้ 5. กลุ่มเป้าหมาย หนังสือ 1,020 ทุกประเภท 5. รอ้ ยละของ คน สามารถนำความรู้ กลุ่มเป้าหมายทกุ ไปใช้ในการพัฒนา ประเภทสามารถนำ อาชีพหรอื คุณภาพ ความรู้ไปใชใ้ นการ ชีวิตได้ พฒั นาอาชีพหรอื 6. กลุม่ เปา้ หมายมี คณุ ภาพชีวิตได้ คุณลกั ษณะทพี่ งึ 6. ร้อยละของ ประสงคต์ าม กลมุ่ เป้าหมายมี จดุ มุ่งหมายของ คณุ ลักษณะท่พี งึ หลักสตู ร ประสงคต์ าม 7. กล่มุ เป้าหมายมี จุดมุ่งหมายของ ความพึงพอใจต่อ หลกั สตู ร
10 การร่วมกิจกรรม 7. ร้อยละของ การเรยี นรู้ทกุ กลุม่ เปา้ หมายมคี วาม ประเภท พึงพอใจตอ่ การรว่ ม กิจกรรมการเรียนรทู้ ุก ประเภท เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย ตวั ชว้ี ดั เกณฑค์ วามสำเร็จ 285 คน ความสำเรจ็ (รอ้ ยละ) 5.กลมุ่ เปา้ หมาย กลยุทธ์ที่ 2 1. โครงการเรยี นรู้ ไดร้ บั การส่งเสรมิ สง่ เสริมให้ ปรัชญาของเศรษฐกจิ 1. กลมุ่ เป้าหมาย 1. รอ้ ยละ 80 ของ และสนบั สนนุ การ ผู้รับบริการ พอเพียงและเกษตร ได้รับการส่งเสรมิ กลุ่มเป้าหมายไดร้ ับ พฒั นาคุณภาพ ได้รับการ ทฤษฎีใหม่ การเรยี นรทู้ างด้าน การส่งเสริมการเรียนรู้ ชีวติ ตามหลกั พัฒนา 2.โครงการเสรมิ สรา้ ง หลกั ปรัชญาของ ทางด้านหลกั ปรชั ญา ปรัชญาของ คุณภาพ คณุ ภาพชวี ิตที่เปน็ มิตร เศรษฐกิจพอเพยี ง ของเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพยี ง ชวี ติ โดยใช้ กับสิ่งแวดล้อม 2. กลมุ่ เป้าหมาย 2. ร้อยละ 80 ของ เพือ่ พฒั นาสังคม กระบวนกา 3.โครงการเกษตรยุค นำความรไู้ ปใชใ้ น กลุ่มเปา้ หมายนำ และชุมชนใหม้ ี รคดิ เปน็ ใหมต่ ามวถิ คี วาม การพัฒนาอาชีพ ความร้ไู ปใชใ้ นการ ความเขม้ แขง็ ตามหลัก พอเพียง และพัฒนาคณุ ภาพ พฒั นาอาชีพและ อย่างยั่งยืน ปรชั ญาของ 4.โครงการอบรมเชงิ ชวี ิตได้ พฒั นาคุณภาพชวี ิตได้ เศรษฐกิจ ปฏบิ ัติการดา้ น 3. กลุม่ เป้าหมายมี 3. รอ้ ยละ 90 ของ พอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง ความพึงพอใจใน กล่มุ เป้าหมายมคี วาม 5.โครงการปรชั ญาของ ระดับดีขนึ้ ไป พึงพอใจในระดบั ดขี ้นึ เศรษฐกจิ พอเพยี ง นำ ไป วิถีพอเพยี งสชู่ มุ ชน 6.โครงการอบรมและ เรยี นรตู้ ามรอยพระ ยุคลบาทด้วยหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 7.โครงการเรยี นรู้ เศรษฐกจิ พอเพยี งและ การพัฒนาท่ียั่งยืน \"วิถี ไทย วิถพี อเพยี ง\"
11 เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจกรรม เปา้ หมาย ตัวชีว้ ัด เกณฑค์ วามสำเร็จ 3.กลมุ่ เป้าหมาย ความสำเร็จ (ร้อยละ) ได้รบั การสร้าง กลยุทธ์ที่ 3 1. โครงการสง่ เสรมิ และสง่ เสรมิ ให้ สง่ เสรมิ การอ่านเพอ่ื พฒั นา 11,500 1. กลุ่มเปา้ หมาย 1. รอ้ ยละ 80 ของ เป็นผรู้ ักการอา่ น สนับสนนุ ให้ บ้านหนังสือชมุ ชน และใฝร่ ใู้ ฝเ่ รียน ภาคี 2. โครงการหอ้ งสมดุ คน ภาคีเครอื ข่ายมี เปา้ หมายภาคเี ครอื ขา่ ย อย่างต่อเน่อื ง เครอื ข่ายมี เคลือ่ นทส่ี ำหรับชาว ตลอดชีวิต ส่วนร่วมใน ตลาด ส่วนร่วมในการจดั มีสว่ นร่วมในการจัด การจดั 3.โครงการเมอื งนัก เป้าประสงค์ การศึกษา อา่ น การศึกษานอก การศกึ ษานอกระบบ 9.สถานศึกษา นอกระบบ 4.โครงการอา่ นสร้าง พฒั นาสือ่ แหล่ง และ งานผา่ น ระบบและการจัด และการจดั การศึกษา เรียนรแู้ ละภูมิ การศกึ ษา QRCode ปญั ญาทอ้ งถิ่น ตาม การศึกษาตาม ตามอัธยาศยั ดว้ ยการจดั อธั ยาศัย กระบวนการ เพือ่ ให้เกดิ อัธยาศัย 2. มบี า้ นหนังสอื ชุมชน เรียนร้ทู ่ี การเรยี นรู้ ตอบสนองกับการ ตลอดชีวิต 2. มบี า้ นหนงั สอื ท่ีเป็นไปตามเกณฑ์ เปลี่ยนแปลง บรบิ ทด้าน กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม ชมุ ชนท่ีเป็นไปตาม ครบทุกตำบลอยา่ ง เศรษฐกิจ สงั คม การเมอื ง ใน กลยทุ ธ์ท่ี 4 1. โครงการ English เกณฑ์ครบทุก นอ้ ยตำบลละ 1 แห่ง รปู แบบที่ พฒั นา น่ารู้ คู่ Service หลากหลาย หลกั สตู ร โรงแรม ตำบลอยา่ งน้อย 3. มมี มุ หนงั สอื เพือ่ และรปู แบบ 2.โครงการ Smart การจดั ONIE เพอื่ สรา้ ง ตำบลละ 1 แหง่ ชุมชนอยา่ งน้อยตำบล กจิ กรรม Smart farmers การเรยี นรู้ 3.โครงการ 3. มมี มุ หนังสอื เพื่อ ละ 1 แหง่ ให้ Digtalteracy (เพอ่ื สอดคล้อง สรา้ งสงั คมออนไลน)์ ชุมชนอยา่ งนอ้ ย 4. รอ้ ยละ 80 ของ กับพน้ื ท่เี ขต 4.โครงการการคา้ พฒั นา ออนไลน์ สสู่ ังคม ตำบลละ 1 แห่ง กลุ่มเปา้ หมายมีความ พิเศษภาค Digital ตะวนั ออก 5.โครงการเพิ่ม 4. กลุ่มเป้าหมายมี พงึ พอใจในระดับดขี ้นึ (EEC) ประสิทธภิ าพการ และความ บรหิ ารจดั การขยะมลู ความพึงพอใจใน ไป ตอ้ งการ ฝอย ของ 1. โครงการพัฒนา ระดับดีขึน้ ไป กลมุ่ เปา้ หม ระบบประชาสมั พันธ์ าย โดยการ ของสถานศกึ ษา เป้าหมาย ตวั ชว้ี ัด เกณฑค์ วามสำเร็จ มสี ว่ นรว่ ม ความสำเรจ็ (รอ้ ยละ) ของภูมิ 800 คน 1.กลมุ่ เปา้ หมาย 1. รอ้ ยละ 75 ของ ได้รับการพฒั นา กลุม่ เป้าหมายไดร้ บั ชีวติ ใหส้ อดคลอ้ ง การพัฒนาชีวิตให้ กับพน้ื ที่เขตพฒั นา สอดคลอ้ งกับพนื้ ท่เี ขต พิเศษภาค พัฒนาพเิ ศษภาค ตะวนั ออก (EEC) ตะวนั ออก (EEC) 4. กลุม่ เป้าหมายมี 2. ร้อยละ 80 ของ ความพงึ พอใจใน กลมุ่ เป้าหมายมีความ ระดับดีข้นึ ไป พึงพอใจในระดบั ดขี ึ้น ไป 17 ตำบล 1. กศน.อำเภอ 1. รอ้ ยละ 100 ของ และกศน.ตำบลมี กศน.อำเภอและ กศน. การอพั เดทข้อมลู ตำบลมีการอพั เดท การประชาสมั พนั ธ์ ข้อมูลการ กจิ กรรมทางเว็บ ประชาสมั พันธก์ จิ กรรม
12 ปัญญา ไซด์เป็นประจำทกุ ทางเวบ็ ไซดเ์ ปน็ ประจำ ทอ้ งถ่ินและ เดอื น ทกุ เดือน แหล่งเรยี นรู้ ทงั้ ภาครฐั และเอกชน กลยุทธท์ ่ี 5 ส่งเสริมให้มี การ ประชาสมั พั นธ์ ใน รูปแบบที่ หลากหลาย เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย ตวั ช้ีวดั เกณฑค์ วามสำเรจ็ ความสำเรจ็ (รอ้ ยละ) 7.ชมุ ชนและภาคี กลยทุ ธ์ท่ี 6 เครือขา่ ยร่วมจัด พัฒนา 1. โครงการพฒั นา 17 ตำบล 1. สถานศึกษามี 1. รอ้ ยละ 100 ของ สง่ เสรมิ และ ระบบการ สถานศึกษามีคมู่ ือ สนับสนุนการ นิเทศ บุคลากรการนเิ ทศ คู่มอื ระบบการ ระบบการนเิ ทศภายใน ดำเนนิ งาน ภายใน 2. รอ้ ยละ 80 ของผู้ การศึกษานอก สถานศึกษา ภายในสถานศึกษา นเิ ทศภายใน นิเทศมีการนิเทศการ ระบบและ โดยใช้ จัดกิจกรรมและ การศึกษาตาม กระบวนกา กศน.อำเภอเมอื งชลบรุ ี 2. ผ้นู ิเทศมกี าร รายงานผลเป็นประจำ อธั ยาศัย รมสี ่วนร่วม ทุกเดอื น จากทุกภาค นเิ ทศการจดั สว่ น กจิ กรรมและ รายงานผลเปน็ ประจำทุกเดอื น 10.สถานศกึ ษามี กลยทุ ธ์ท่ี 7 1. โครงการบริหาร 39 คน 1. สถานศึกษามี 1. สถานศกึ ษามีคู่มือ ระบบการบรหิ าร พฒั นา ความเสยี่ งของ คมู่ อื การบรหิ าร การบรหิ ารความเส่ยี ง จัดการตามหลัก ระบบ สถานศกึ ษา กศน. ความเสยี่ ง 2. รายงานสถานะ ธรรมาภิบาล คุณภาพ อำเภอเมอื งชลบรุ ี 2. รายงานสถานะ ทางการเงนิ เปน็ ประจำ การศึกษา 2. โครงการพัฒนา ทางการเงินเปน็ ทุกเดือน โดยใชว้ งจร ระบบประกนั คณุ ภาพ ประจำทุกเดอื น การพัฒนา การศึกษา กศน.อำเภอ คุณภาพ เมืองชลบรุ ี (PDCA) เป็นหลกั ใน การจดั การศึกษา
13 8. บุคลากรของ กลยทุ ธท์ ี่ 8 1.โครงการพฒั นา 39 คน 1.บคุ ลากรของ 1. ร้อยละ 80 ของ สถานศกึ ษาได้รบั พัฒนา บุคลากรดา้ น การพฒั นาเพื่อ บคุ ลากร วชิ าการ:Google สถานศกึ ษาทุกคน บคุ ลากรของ เพม่ิ สมรรถนะใน ของ Form การปฏบิ ตั งิ าน สถานศกึ ษา 2.โครงการพฒั นา ได้รบั การพัฒนา สถานศึกษาทกุ คน ตามบทบาท ให้มี บุคลากรดา้ นวชิ าการ: หนา้ ที่อย่างมี ความสามาร การจัดทำสอ่ื การเรยี น เพอื่ เพมิ่ สมรรถนะ ได้รับการพัฒนาเพอ่ื ประสิทธภิ าพและ ถใช้ การสอน Clip Video ต่อเน่ือง เทคโนโลยี 3.โครงการบรหิ าร ในการปฏิบัติงาน เพิ่มสมรรถนะในการ ดิจทิ ลั เพอ่ื จดั การขอ้ มลู ขา่ วสาร การจดั กศน.ฝ่ากระแส Social ตามบทบาทหนา้ ที่ ปฏิบตั ิงานตามบทบาท กระบวนกา Network รเรียนรู้ 4.โครงการประชุม อยา่ งมี หนา้ ที่อยา่ งมี การบริหาร บุคลากรเพอ่ื เพม่ิ จัดการ และ ประสทิ ธภิ าพในการ ประสทิ ธภิ าพและ ประสิทธภิ าพและ ส่งเสรมิ การ ปฏิบตั ิงาน ทำงานเปน็ 5.โครงการประชุมเชงิ ต่อเนอื่ ง ตอ่ เนอ่ื ง ทีม ปฏบิ ตั กิ ารการจดั กระบวนการเรยี นการ 2.บุคลากรของ 2. รอ้ ยละ 80 ของ สอนและการจดั ทำ สรปุ ผลโครงการ(5บท) สถานศึกษา บคุ ลากรของ สามารถนำความรู้ สถานศกึ ษาสามารถนำ ไปใชใ้ นการ ความรไู้ ปใชใ้ นการ พฒั นาการ พัฒนาการปฏิบตั ิงาน ปฏิบตั งิ านตาม ตามบทบาทหนา้ ที่ บทบาทหนา้ ทีอ่ ย่าง อย่างมปี ระสิทธภิ าพ มปี ระสทิ ธภิ าพ 3. ร้อยละ 90 ของ 3. บุคลากรของ บคุ ลากรของ สถานศึกษามคี วาม สถานศกึ ษามคี วามพงึ พงึ พอใจในระดบั ดี พอใจในระดับดขี น้ึ ไป ขึน้ ไป 3. กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนตามนโยบายการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานสำนกั งาน กศน. (เอกสารแนบท้ายหนังสือ สำนักงาน กศน. ดว่ นท่ีสุด ที่ 0210.04/475 ลงวันท่ี 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2558) ----------------------------- 1. หลกั การ ตามที่รัฐบาลมีนโยบายด้านการศึกษา เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาและกระจายโอกาส ทางการศึกษาในสังคมไทย โดยคำนึงถึงการสร้างความเสมอภาค ความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นแก่ประชากร ทุกกลุ่ม รวมถึงผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้บกพร่องทางกาย/ทางการเรียนรู้ ชนกลุ่มน้อย โดยสนับสนุน การจัดการศึกษาตามวัยและพัฒนาการอย่างมีคุณภาพตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ การจดั การศกึ ษาชมุ ชนเพ่ือมงุ่ ใหเ้ กดิ สังคมแห่งการเรียนรูแ้ ละการศกึ ษาตลอดชีวติ น้ัน สำนกั งาน กศน. ไดก้ ำหนดนโยบายด้าน การจดั การศึกษานอกระบบ แผนงานสนบั สนุนการ จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสนับสนุน 1) ค่าเล่าเรียน 2) ค่าหนังสือเรียน 3) ค่าจัดกิจกรรมพัฒนา คุณภาพผูเ้ รยี นอยา่ งทว่ั ถึง เพือ่ เพ่มิ โอกาสในการรบั การศึกษาที่มีคุณภาพโดยไม่เสยี ค่าใช้จา่ ย เพื่อให้การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ดำเนินการตามนโยบายดังกล่าวอย่างมี ประสิทธิภาพ สำนักงาน กศน.จึงกำหนดกรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามนโยบายการจัด การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงาน กศน. ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ให้สถานศึกษาจัดเพิ่มเติม จากการเรียนปกติ ให้กับนักศึกษา กศน.ตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบข้นั พื้นฐาน
14 2. กรอบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน เพื่อใหส้ ถานศึกษาไดจ้ ดั กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียน เป็นไปในแนวทางเดียวกันอย่างมี ประสิทธภิ าพ ประสทิ ธิผล เกดิ ความคุ้มค่า ประหยัด เกิดประโยชน์ตอ่ ผู้เรยี นและทางราชการสูงสดุ สำนกั งาน กศน. จึงไดก้ ำหนดกรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 2.1 กจิ กรรมพัฒนาวชิ าการ เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีพื้นฐานความรู้เพียงพอกับการศึกษาในแต่ละระดับ และพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถทางด้านวิชาการเพิ่มมากขึ้นในรายวิชาตามหลักสูตรสถานศึกษา ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือวิชาอ่ืนๆ ตามความต้องการของนักศึกษา กศน. โดยมีรปู แบบการดำเนนิ งาน ดงั น้ี 2.1.1วิทยากรหรือผู้สอน ควรเป็นผู้ที่มีความรู้หรือประสบการณ์ในการสอนวิชานั้นๆ โดยตรง ซง่ึ อาจจะเป็นบคุ คลภายนอก หรือ ครู กศน. ไดต้ ามความเหมาะสม 2.1.2 จำนวนนักศึกษา กศน. ท่รี ว่ มกจิ กรรม ใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ จิ ของผบู้ ริหารสถานศึกษา 2.2 กจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชวี ติ เป็นการจัดกิจกรรมเสริมเพิ่มเติมจากการเรียนปกติในสาระทักษะการดำเนินชีวิต หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน เนื่องจากสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วทั้งดา้ น เศรษฐกิจ สังคมข่าวสารข้อมูล และเทคโนโลยี มีการแข่งขันและความขัดแย้งมากขึ้น จึงมีความจำเป็นท่ี สถานศึกษาต้องจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตให้กับ นักศึกษา กศน. โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ เพื่อให้มี ความรู้ ความเข้าใจ มีเจตคติ ค่านิยมที่ถูกต้อง และมีทักษะ หรือความสามารถพื้นฐานที่จำเป็นในการเผชิญ ปัญหาที่เกดิ ข้ึนในชีวิต เช่น ปัญหายาเสพติด การตั้งครรภ์ไมพ่ ึงประสงค์ เพศสัมพันธ์ ทะเลาะวิวาท ครอบครวั แตกแยก ความรุนแรง ภัยพิบัติ ความเครียด ฯลฯ รวมทั้งมีคุณสมบัติที่พึงประสงค์ในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน สังคมได้อย่างมีความสุข และสามารถนำความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่าง เหมาะสม ทักษะชีวิต 10 ประการ (ขององค์การอนามัยโลก) ที่นักศึกษา กศน.ทุกคนจำเป็นต้องมี คือ 1) ทักษะการตัดสินใจ 2) ทักษะการแก้ปัญหา 3) ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 4) ทักษะการคิดอย่างมี วิจารณญาณ 5) ทักษะการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ 6) ทักษะการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น 7) ทักษะ การตระหนักรแู้ ละเหน็ คุณค่าในตนเอง 8) ทกั ษะการเขา้ ใจผู้อนื่ 9) ทักษะการจัดการกบั อารมณ์ 10) ทักษะ การจัดการกบั ความเครยี ด
15
16
17
18 บทความทเ่ี กยี่ วข้อง 1. แท็งกค์ วามคิด : บา้ นหนงั สอื ชมุ ชน ผ้เู ขยี น นฤตย์ เสกธรี ะ เรอ่ื งของเรอ่ื งเกิดมาจาก เครอื มตชิ น มีความคดิ จดั ตัง้ โครงการ “ชมุ ชนอดุ มปัญญา” ข้ึนมาโครงการ นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระดมทุนซื้อหนังสือเข้าห้องสมุดชุมชนเป็นวิถีการดำเนินงานของเครือมติชนที่เชื่อว่า คน ไทยยังต้องการอ่านหนังสือเชื่อว่า หนังสือคือขุมทรัพย์ทางปัญญาของชุมชนและเชื่อว่า หากชุมชนเข้มแข็ง ประเทศชาติก็แข็งแรงแม้หลายปีที่ผ่านมา หลายคนอาจเข้าใจว่า คนไทยไม่อ่านหนังสือกันแล้วแต่ด้วยการ สัมผัสงานหนังสือหลายแห่งและหลายครั้ง ยังเชื่อว่าคนไทยต้องการหนังสืออยู่มากการดำเนินการโครงการ “ชุมชนอดุ มปญั ญา” ทำใหไ้ ด้ขอ้ มูลท่นี ่าสนใจมากขึ้นเรื่อยๆ ข้อมูลหน่งึ เก่ียวกับ “บ้านหนงั สือชุมชน” สะท้อน ภาพการอ่านและการส่งเสริมการอ่านของประเทศได้ดี“บ้านหนังสือชุมชน” เป็นโครงการของ กศน. จากเดิม กศน.ตัง้ ที่อ่านหนังสือประจำหมู่บา้ นข้ึนมาเพื่อส่งเสริมการอา่ น และถ่ายทอดความรู้ต่อมากระทรวงศึกษาธิการ ต้องโอนที่อ่านหนังสือให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามกฎหมาย ปรากฏว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หลายแห่งมองว่างบประมาณมีจำกัด น่าจะนำไปพัฒนาเรื่องอื่นๆ ก่อน การจัดซื้อหนังสือให้ผู้คนในชุมชนได้ อ่านจึงถดถอยเมื่อที่อ่านหนังสือไม่มีหนังสือ การส่งเสริมการอ่านเริ่มประสบปัญหา ต่อมา กศน.ผลักดัน โครงการ “บ้านหนงั สืออัจฉรยิ ะ” จำนวน 4.1 หมน่ื แหง่ ขึน้ มา เพ่อื ส่งเสริมการอา่ นและคงสภาพที่อ่านหนังสือ ในชุมชนเอาไว้ แต่พอปี 2559 รัฐบาลตัดงบประมาณซื้อหนังสือออกไป โดยเห็นว่าเป็นงบซ้ำซ้อนกับองค์กร ปกครองสว่ นท้องถนิ่ กรรมเวรกต็ กอยู่กบั คนในชุมชนท่อี ยากอา่ นหนังสอื แตไ่ ม่มี บา้ นหนงั สอื อจั ฉริยะ 4.1 หมื่น แห่ง มีหลายแห่งที่ยังต้องการหนังสือ เพราะพื้นที่ดังกล่าวเป็นที่พบปะพูดคุยของคนในชุมชน เป็นแหล่งดึงดูด คนในชุมชนใหส้ นใจการอ่าน กศน.จึงปรับเปลี่ยนชือ่ “บ้านหนังสืออัจฉริยะ” เป็น “บ้านหนังสือชุมชน”แตท่ ำ ได้แค่รับการสนับสนุนหนังสือจากผู้มีจิตอาสา เพราะมีงบประมาณจำกัด รู้ไหมว่า จำนวนของ “บ้านหนังสือ อจั ฉรยิ ะ” ทเ่ี ดิมมี 4.1 หมืน่ แหง่ นน้ั ปจั จบุ นั เหลืออยู่ 23,401 แหง่ จำแนกเปน็ บา้ นหนงั สอื ชุมชนท่ีเป็นบ้าน ของผู้นำชุมชน 9,940 แห่ง บ้านหนังสือชุมชนที่ใช้บ้านผู้มีจิตศรัทธา 3,209 แห่ง บ้านหนังสือชุมชนที่เป็น รา้ นค้าในหม่บู ้าน 5,909 แหง่ บา้ นหนังสอื ชมุ ชนที่เปน็ ศาลาอเนกประสงค์ 3,035 แหง่ และอื่นๆ อีก 1,308 แห่ง แม้กาลเวลาล่วงเขา้ สู่ปี 2565 แต่บ้านหนังสอื ชุมชนยงั เป็นแหล่งการอ่าน และจดั กจิ กรรมสร้างเสริมการ อา่ นและการเรยี นรู้ในชุมชน เป็นสถานที่พบปะพูดคยุ แลกเปลยี่ นความคดิ เห็น เปดิ โอกาสให้คนในชุมชนเข้าใช้ บริการบ้านหนังสือชุมชนเหล่านี้แหละที่จะเป็นแหล่งความรู้ให้คนในพื้นที่ หากได้หนังสือที่ทันสมัย และได้รับ หนังสืออย่างต่อเนื่องคนในพื้นที่ยอ่ มได้รับข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ และสาระบันเทิงจากหนังสือได้รบั โอกาสตัก ตวงข้อมูลเพ่ือนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตและการงาน แม้ปจั จบุ นั หลายคนมองวา่ การอ่านผ่านทางแท็บเล็ตได้รับ ความนยิ มมากกว่าแตจ่ ากข้อมลู ทป่ี รากฏในพน้ื ที่ต่างๆ ทัว่ ประเทศ ยงั ตอ้ งการอ่านหนังสือ และต้องการหนงั สือ ไม่น่าเชื่อว่า ชะตากรรม “บ้านหนังสือชุมชน” ผูกโยงกับความอารีของผูใ้ จบุญ จากข้อมูลที่ปรากฏ หากปล่อย ใหท้ ุกอยา่ งเปน็ เช่นนี้ เกรงวา่ บ้านหนังสือชมุ ชนจะค่อยๆ หดหาย วันนีถ้ อื เป็นโอกาสแลกเปลย่ี นไอเดียเกี่ยวกับ บ้านหนังสือชุมชนตอกย้ำความสำคัญของผู้สนับสนุนให้เกิดการอ่าน การให้ความสำคัญต่อหนังสือ และการ กระจายหนังสือให้ทั่วถึง ณ บัดนี้ทุกอย่างสะท้อนให้เห็นการส่งเสริมการอ่านต้องพึ่งพาทุกภาคส่วนช่วยกัน ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ต้องร่วมมือสร้างสังคมไทยให้นิยมการเรียนรู้ ผลักดันให้ทุกชุมชน ส่งเสรมิ การอ่านชธู ง “ชมุ ชนเข้มแขง็ ประเทศไทยแขง็ แรง”
19 รปู ภาพท่ี 1 ตัวอย่างบ้านหนังสือชมุ ชน https://www.matichon.co.th/prachachuen/news_3529860 รปู ภาพท่ี ๒ หน้าเวบ็ ไซต์บา้ นหนงั สือชุมชน http://www.partdefine.com/cbh/bookshow/web/index.php 2. ดันรถหอ้ งสมดุ เคลอ่ื นที่ กศน.เข้าชุมชน เพ่มิ ประสิทธิภาพรักการอ่าน ดร.มณฑาทิพย์ เสยยงคะ ผอู้ ำนวยการ กศน. อำเภอโพนพิสยั จังหวดั หนองคาย ได้เก็บข้อมูลเพ่ือการ วิจัย การพัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน สำหรับประชาชนอำเภอโพธิ์ตาก จังหวัดหนองคาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพนิสัยรักการอ่านสำหรับประชาชนอำเภอโพธิ์ตาก จังหวัดหนองคาย เพ่ือ พัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมนิสยั รักการอ่านสำหรับประชาชนอำเภอโพธ์ิตาก จังหวัดหนองคาย เพื่อทดลอง ใช้รปู แบบกจิ กรรมส่งเสริมนสิ ัยรักการอ่านสำหรบั ประชาชนอำเภอโพธต์ิ าก จังหวัดหนองคาย และเพอื่ ประเมิน ประสิทธผิ ลการใช้รูปแบบกจิ กรรมสง่ เสริมนสิ ยั รักการอ่านสำหรบั ประชาชนอำเภอโพธิต์ าก จงั หวดั หนองคาย แบง่ การเก็บขอ้ มูลในการวิจัย 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 เป็นการศึกษาสภาพนสิ ยั รักการอ่านสำหรับประชาชน ระยะท่ี 2 เปน็ การพัฒนารูปแบบกิจกรรมสง่ เสริมนสิ ยั รักการอ่านสำหรับประชาชน ระยะท่ี 3 เปน็ การทดลองใช้รูปแบบกิจกรรมส่งเสรมิ นิสยั รกั การอา่ นสำหรับประชาชน ระยะท่ี 4 เปน็ การประเมนิ ประสทิ ธิภาพรปู แบบกจิ กรรมส่งเสริมนิสัยรักการอา่ นสำหรบั ประชาชน
20 ผลการเปรียบเทียบสภาพนิสัยรักการอ่านของประชาชนอำเภอโพธิ์ตาก จังหวัดหนองคาย ก่อนและ หลังการนำรปู แบบกจิ กรรมส่งเสรมิ นสิ ยั รักการอา่ นสำหรบั ประชาชนอำเภอโพธต์ิ าก จงั หวัดหนองคาย มาใช้ใน การสร้างนิสัยรักการอ่านสำหรับประชาชนอำเภอโพธิ์ตาก จังหวัดหนองคาย ทำให้ประชาชนอำเภอโพธิ์ตาก อา่ นหนงั สือเพ่มิ ขน้ึ รอ้ ยละ 9.11 ระยะเวลาของการอ่านของประชาชนอำเภอโพธ์ิตาก ใน 1 วัน พบวา่ ประชาชนอำเภอโพธ์ติ ากใช้เวลาในการอ่าน 1 ชั่วโมง เพิ่มข้นึ รอ้ ยละ 23.38 รองลงมาคอื อ่าน มากกว่า 1 ชั่วโมง เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.31 และอ่าน 45 นาที เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.38 มีจำนวนไม่อ่านเลย ลดลง รอ้ ยละ 14.55 ในสว่ นของการใช้เวลาอ่านหนงั สอื ตามความสนใจของตนเอง (ไม่เกี่ยวกับการเรยี น) พบว่าประชาชนอำเภอโพธิ์ตากใช้เวลาในการอ่านมากกว่า 1 ชั่วโมง เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.08 สำหรับ ประเภทของส่ือท่ปี ระชาชนอำเภอโพธ์ติ ากชอบอ่านมากท่ีสุด คอื วารสารและนติ ยสารบันเทิง อ่านเพ่ิมข้ึนร้อย ละ 5.20 และอาชีพ อ่านเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.19 และในรอบ 1 ปี ประชาชนอำเภอโพธิ์ตากเข้าร่วมกิจกรรม ส่งเสรมิ การอ่าน มากกว่า 6 คร้ัง เพ่ิมขน้ึ รอ้ ยละ 48.58 รูปภาพท่ี 3 กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านในชุมชน https://www.technologychaoban.com/bullet-news-today/article_183889 3.กศน.สง่ เสริมการอ่านเพ่มิ อาชีพชุมชน ผู้เขียน กรงุเทพธรุ กจิ “เมืองนักอ่าน คนกาญจนบุรี” เป็นการขับเคลื่อนของสำนักงานกศน.จ.กาญจนบุรี ตามโครงการ “เมืองนักอ่าน”ของสำนักงาน กศน.ที่ได้ดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2560 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งขณะนี้ได้ขยายผลการ ดำเนินงานให้ครอบคลุมทุกจังหวัด อรณิช วรรณนุช ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี กล่าวว่า การสร้างเมืองนักอ่าน คนกาญจนบุรี เป็นนโยบายของสำนักงาน กศน.จังหวัดกาญจนบุรี ที่ต้องการให้ ประชาชนทกุ เพศทกุ วัยรกั การอา่ น รกั การเรยี นรู้ โดยเร่ิมจากในชมุ ชน บ้านหนังสือชุมชน เพราะถา้ คนในชมุ ชน รักการอ่านหนังสือ จะกลายเปน็ ตำบลนักอ่าน อำเภอนักอ่านและเมืองนกั อ่านเกิดขึ้นได้จริง ดังน้ัน การทำงาน ของกศน.กาญจนบุรี จะทำงานร่วมกับครูกศน. ครูบรรณารกั ษ์ ผู้นำชุมชน และชาวบ้าน ที่ต้องวางแผนร่วมกัน เปน็ เมอื งนกั อา่ นในชมุ ชนตามบรบิ ทและความต้องการของคนในชุมชน ศรีเฉลียว จักรทอง บรรณารักษ์ห้องสมุดประชาชนอำเภอเมืองกาญจนบุรี เล่าว่าโครงการดังกล่าวได้ เปลี่ยนห้องสมุดเงียบกลายเป็นห้องสมุดมีชีวิต เพราะตั้งแต่มีการปรับเปลี่ยนห้องสมุด ให้มีกิจกรรม มีการ บรกิ ารต่างๆ ไม่วา่ จะเปน็ บรกิ ารยมื คนื หนังสือ สรา้ งครอบครวั นักอ่าน มมี ุมหนงั สือเด็กและเยาวชน มีวารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ์ มีสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ มีนิทรรศการวันสำคัญพร้อมทั้งแนะนำหนังสือใหม่ มีแหล่ง เรยี นร้กู ารศึกษาตามอธั ยาศัย บรกิ าร Internet (Wifi) ฟรี และบรกิ ารสื่อมลั ติมีเดีย และมีห้องสมุดเคลื่อนท่ีไป ชมุ ชนต่างๆ เป็นการกระตนุ้ ให้คนเกิดความสนใจอยากอ่านหนังสือ และเขา้ รว่ มกิจกรรม ซงึ่ จากการดำเนินการ
21 พบว่ามีคนสนใจอ่านหนังสือมากขึ้น โดยดูได้จากการสมัครเป็นสมาชิก การเข้าใจบริการ การยืมคืนหนังสือ “ห้องสมุด กศน.อ.เมืองกาญจนบุรี” จะมีการออกแบบบุฟเฟ่ต์อาหารสมองให้ถูกใจคนในชุมชน รวมถึงมีการ พัฒนาครูบรรณารักษ์ ครูกศน.ในชุมชน ร่วมสร้างแหล่งเรียนรู้ มีการนำเทคโนโลยีเข้ามาร่วม อยู่ที่ไหน กส็ ามารถอา่ นหนงั สือได้ เกดิ วฒั นธรรมการอา่ นในชมุ ชนอยา่ งเขม้ แข็ง รูปภาพท่ี 4 ประชาชนเข้าใช้บรกิ ารบา้ นหนังสือชุมชน https://www.bangkokbiznews.com/social/854327 โสรยา สนจุ้ย อายุ 33 ปี นักเรียนระดับม.ปลาย กศน.อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี เล่าว่าการอ่านช่วย เปลี่ยนชีวิตได้มาก เพราะก่อนหน้าที่จะกลับมาเรียนกศน.ได้เกิดปัญหาชวี ิตมากมาย ทำให้มีมุมมอง มีทัศนคติ ในบางเรื่องที่ไม่ดี แต่เมื่อได้มาเรียนกศน. และได้มาเข้าห้องสมุดของกศน. ได้อ่านหนังสือ ทำให้มีทัศนคติ การ ใช้ชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป หนังสือไม่ใช่มีเพียงตัวอักษรที่ทำให้คิดเป็น แต่ยังมีองค์ความรู้ทั้งด้านการประกอบ อาชีพ มีแนวทางการใช้ชีวิต ช่วยเยียวยาในจังหวะชีวิตที่ไม่ดีดังนั้น การอ่านหนังสือ ไม่ ว่าหนังสือเล่ม หรือ หนังสือดิจิตอล ล้วนมีความสำคัญในการพัฒนาชีวิตทั้งสิ้น อยากเชิญชวนและขอบคุณทางกศน.ที่จัดกิจกรรม เมืองนักอ่าน คนกาญจนบุรี ทำให้ได้มีที่พึ่งทางจิตใจ มีองค์ความรู้ ได้เรียนรู้ในบางสิง่ ที่ตอนนีย้ ังไม่มีโอกาสแต่ การอ่านหนงั สือทำให้เกดิ การเรียนรู้ได้
บทที่ 3 วธิ กี ารดำเนินงาน ห้องสมุดประชาชนจงั หวัดชลบรุ ี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเมือง ชลบุรี เป็นส่วนหนง่ึ ในการขับเคล่ือนนโยบายส่งเสริมการอ่านให้เป็นวาระแหง่ ชาติ เพื่อส่งเสริมการอ่านเป็น นิสยั ใหมถ่ าวรของคนในชมุ ชน จงึ ดำเนนิ โครงการบ้านหนังสือชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2565 เพ่ือนำหนังสือ/ สื่อการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เป็นกิจกรรมเชิงรุกร่วมกับเครือข่ายห้องสมุด เพื่อหา กลุ่มเป้าหมายตามสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างนิสัยรักการอ่านของคนในชุมชนต่อไป ภายใต้ นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยมขี ั้นตอน ดังน้ี 1.ประชุมผู้ท่เี กีย่ วขอ้ ง 2.จัดต้ังคณะทำงานเพือ่ ดำเนินการจดั โครงการ 3.ประสานงาน/ประชาสัมพนั ธ์ 4.ดำเนินงานตามแผน 5.วัดผล/ประเมนิ ผล/สรปุ ผลและรายงาน 1.ประชุมผ้ทู ีเ่ ก่ียวขอ้ ง ห้องสมุดประชาชนจงั หวัดชลบุรี และกศน.อำเภอเมืองชลบุรี ไดว้ างแผนประชุมผูท้ ีเ่ ก่ยี วข้องเพื่อ หาแนวทางในการดำเนนิ งานและกำหนดวัตถปุ ระสงคร์ ่วมกนั 2. จดั ตงั้ คณะทำงานเพื่อดำเนินการจดั โครงการ จดั ทำคำสง่ั แต่งตง้ั คณะทำงานโครงการฯ เพื่อมอบหมายหน้าทใี่ นการทำงานให้ชดั เจน อาทิ เช่น 1. เขยี นโครงการเสนอเพ่อื ขออนุมัตโิ ครงการ 2. กำหนดแผนการดำเนนิ งาน 3. ประสานเครอื ข่าย 4. ดำเนนิ การตามโครงการการจดั กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ น 4.1 รถโมบายส่งเสริมการอา่ น 4.2 กิจกรรมนักอา่ นแบง่ ปนั 4.3 กจิ กรรมจติ กรนอ้ ย 4.4 กิจกรรมบงิ โกราชาศพั ท์ 5. สรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจ 6. รายงานผลโครงการ
๒๓ 3.การประสานงาน/ประชาสัมพนั ธ์ ประสานงานกับผู้เรียน วิทยากร และคณะครู เช่น ประสานเรอ่ื งสถานท่ีใช้ทำกิจกรรม รูปแบบ การจดั กิจกรรมโครงการ วัน เวลา สถานที่ รายละเอยี ดการเข้ารว่ มกจิ กรรม พร้อมทง้ั ประชาสมั พันธก์ ารจดั กจิ กรรม 4.การดำเนนิ งานตามแผน การจัดกิจกรรมโครงการบ้านหนังสือชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2565 ได้ดำเนินการตามแผนงาน การจัดกิจกรรมตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 – 30 กันยายน 2565 ครอบคลุมพื้นที่ดำเนินการ กศน.ตำบล ทั้ง 17 ตำบล เป้าที่กำหนดในแผนงานจำนวน 32,850 คน (17 ตำบล) มีผู้เข้าร่วม 34,764 คน จากการคัดเลือกแบบประเมินความพึงพอใจการจัดกิจกรรมโครงการบ้านหนังสือชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2565 โดยใช้กลุม่ ตัวอย่างประชากรจากตารางการมผี ู้เขา้ รว่ มโครงการฯจำนวน 496 คน 5.การวดั ผล/ประเมินผล/สรุปผลและรายงาน การจดั กจิ กรรมโครงการสง่ เสริมการอ่าน/หนว่ ยบรกิ ารเคล่ือนท่ี (รถโมบาย) เคลือ่ นท่ี ประจำปี พ.ศ. 2565 ไดด้ ำเนินการตามแผนงานการจัดกิจกรรมตงั้ แต่ 1 ตลุ าคม 2564 – 31 กนั ยายน 2565 ครอบคลุมพื้นที่ดำเนนิ การ กศน.ตำบล ทงั้ 17 ตำบล มีผเู้ ขา้ รว่ มโครงการฯจำนวน 34,764 คน โดยมีการ จัดกจิ กรรม 1.รถโมบายส่งเสรมิ การอ่าน 2.กจิ กรรมนกั อ่านแบ่งปนั 3.กจิ กรรมจติ กรน้อย และ 4.กจิ กรรม บงิ โกราชาศัพท์ เพ่ือการสง่ เสรมิ การอ่าน หอ้ งสมุดประชาชนจงั หวดั ชลบุรี กศน.อำเภอเมืองชลบรุ ี ได้ดำเนินการตามข้นั ตอนและได้รวบรวม ข้อมูลจากแบบสำรวจสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือโดยกำหนดค่าลำดับความสำคัญของการประเมินผล ออกเปน็ 5 ระดับ ดังนี้ มากทสี่ ดุ ใหค้ ะแนน 5 มาก ใหค้ ะแนน 4 ปานกลาง ใหค้ ะแนน 3 นอ้ ย ใหค้ ะแนน 2 น้อยท่ีสดุ ให้คะแนน 1 ในการแปลผล ผ้จู ดั ทำได้ใช้เกณฑ์การพิจารณาจากคะแนนเฉลย่ี ตามแนวคิดของ บุญชม ศรีสะอาด และบุญส่ง นิวแก้ว (2535,หนา้ 22-25) 4.51-5.00 หมายความว่า ดีมาก 3.51-4.50 หมายความวา่ ดี 2.51-3.50 หมายความวา่ ปานกลาง 1.51-2.50 หมายความวา่ นอ้ ย 1.00-1.50 หมายความวา่ ตอ้ งปรับปรงุ ผเู้ ข้ารว่ มโครงการ จะตอ้ งกรอกข้อมูลตามแบบสอบถาม เพอื่ นำไปใช้ในการประเมนิ ผลของการ จัดกิจกรรมดงั กล่าว และจะไดน้ ำไปเป็นข้อมลู ปรบั ปรงุ และพัฒนา ตลอดจนใช้ในการจัดทำแผนการ ดำเนนิ การในปีต่อไป
บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งานและการวิเคราะหข์ ้อมลู โครงการบ้านหนังสือชมุ ชน ประจำปี พ.ศ. 2565 ได้ดำเนินการตามแผนงานการจัดกิจกรรม ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 – 31 กันยายน 2565 ครอบคลุมพื้นที่ดำเนินการ กศน.ตำบล ทั้ง 17 ตำบล มีผู้เข้าร่วมโครงการฯจำนวน 34,764 คน และทำการสุ่มตัวอย่างจากแบบประเมินโครงการฯ จำนวน 496 คน ซ่ึงไดส้ รุปผลจากแบบสอบถามและนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล จำนวน 496 ชุด ดังน้ี ตอนที่ 1 โครงการบ้านหนังสอื ชมุ ชน ประจำปี พ.ศ. 2565 ไดน้ ำมาจำแนกตามเพศ อายุ และ อาชพี ผจู้ ัดทำได้นำเสนอจำแนกตามข้อมูล ดงั ปรากฏตามตารางที่ 1 ดังนี้ ตารางท่ี 1 แสดงคา่ ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามเพศ เพศ ชาย หญิง ความคดิ เห็น จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ 230 46.4 266 53.6 ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมโครงการบ้านหนังสือชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2565 จากตารางที่ 1 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมโครงการบ้านหนังสือชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2565 เปน็ ชาย 230 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 46.4 เป็นหญงิ 266 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 53.6 ตารางที่ 2 แสดงค่ารอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอายุ อายุ ตำ่ กว่า 15 ปี 15-30 ปี 31-40 ปี 41-50 ปี 51-59 ปี 60 ปขี ึน้ ไป จำ รอ้ ย จำ ร้อย จำ รอ้ ย จำ ร้อย จำ ร้อย จำ รอ้ ย ความคดิ เห็น นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม 9 1.8 394 79.4 50 10.1 20 4 23 4.6 - - โครงการบ้าน หนงั สือชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2565 จากตารางที่ 2 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการบ้านหนังสือชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2565 พบว่า ในช่วงอายุอายุ 15-30 ปี มีจำนวน 394 คน คิดเป็นร้อยละ 79.4 ในช่วง อายุ 31-40 มีจำนวน 50 คน คิดเปน็ ร้อยละ 10.1 ในช่วงอายุ 51-59 ปี มจี ำนวน 23 คน คิดเปน็ รอ้ ย ละ 4.6 ในชว่ งอายุ 41-50 ปี มจี ำนวน 20 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 4 และในช่วงอายุต่ำกว่า 15 ปี มีจำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 1.8 ตามลำดับ
๒๕ ตารางที่ 3 แสดงคา่ รอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอาชีพ อาชีพ รับจา้ ง ค้าขาย นกั เรยี น/นกั ศกึ ษา เกษตรกรรม อ่นื ๆ ความคิดเหน็ จำ ร้อย จำ รอ้ ย จำ รอ้ ย จำ รอ้ ย จำ รอ้ ย โครงการบา้ น นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ หนังสือชมุ ชน 210 42.6 ประจำปี พ.ศ. 95 19.3 30 6.1 2 0.4 156 31.6 2565 จากตารางที่ 3 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการบ้านหนังสือชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2565 พบว่า มีอาชีพนักเรียน/นักศึกษาสูงสุด จำนวน 210 คน คิดเป็นร้อยละ 42.6 อาชีพอื่นๆ จำนวน 156 คน คิดเป็นร้อยละ 31.6 อาชีพรับจ้าง 95 คน คิดเป็นร้อยละ 19.3 อาชีพ คา้ ขาย 30 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 6.1 และอาชพี เกษตรกรรม จำนวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.4 ตามลำดบั ตารางที่ 4 แสดงค่ารอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามระดับการศกึ ษา การศกึ ษา ประถมฯ ม.ตน้ ม.ปลาย สูงกว่า ม.ปลาย ความคดิ เห็น จำ ร้อยละ จำ ร้อย จำ รอ้ ยละ นวน นวน ละ นวน จำ ร้อย โครงการบ้านหนงั สือชุมชน นวน ละ ประจำปี พ.ศ. 2565 25 5 230 46.4 229 46.2 12 2.4 จากตารางที่ 4 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการบ้านหนังสือชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2565 พบว่า ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สูงสุด จำนวน 230 คน คิดเป็นร้อยละ 46.4 ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 229 คน คิดเปน็ ร้อยละ 46.2 ระดับประถมศึกษา จำนวน 25 คน คิดเปน็ ร้อยละ 5 และระดับสงู กวา่ มธั ยมศึกษาตอนปลาย 12 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.4 คน ตามลำดบั
๒๖ ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการบ้านหนังสือชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2565 ดงั ปรากฏในตารางที่ 5 ตารางที่ 5 ผลการประเมนิ ความพึงพอใจโครงการบา้ นหนังสือชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2565 N = 496 รายการประเมนิ ความพึงพอใจ x̄ S.D. อันดับ ระดับ ที่ ผลการ 1. ความพึงพอใจต่อกระบวนการ/ขนั้ ตอนการใช้บริการ ประเมนิ 1.1 ข้นั ตอนการให้บริการไม่ย่งุ ยากซบั ซ้อน 1.2 ความสะดวกรวดเรว็ ของการให้บรกิ าร 4.28 0.86 14 ดี 1.3 ให้บรกิ ารด้วยความถกู ต้อง ครบถว้ น 4.30 0.82 12 1.4 ความชดั เจนในการอธบิ าย ชแ้ี จงการเขา้ ใช้บรกิ าร 4.33 0.83 10 ดี 1.5 ความเสมอภาคของการให้บรกิ าร 4.35 0.82 6 ดี 2.ความพงึ พอใจต่อผูใ้ ห้บริการบ้านหนังสอื ชุมชน 4.35 0.84 5 2.1 ผ้ใู ห้บรกิ ารมคี วามสภุ าพ ยม้ิ แย้มแจ่มใส ดี 2.2 ผู้ให้บริการเต็มใจและมีความพร้อมในการใหบ้ ริการ 2.3 ผ้ใู หบ้ ริการมีความรูค้ วามสามารถในการใหบ้ ริการ เช่น ดี สามารถตอบคาถาม ช้ีแจงข้อสงสัย ใหค้ าแนะนำช่วย แกป้ ญั หาได้อยา่ งถูกต้อง 4.42 0.77 1 ดี 2.4 ผ้ใู หบ้ ริการใหบ้ ริการอยา่ งเทา่ เทยี มกัน 4.39 0.80 2 ดี 1.5 ความเสมอภาคของการให้บรกิ าร 3. ความพึงพอใจต่อสิง่ อานวยความสะดวก 4.34 0.81 9 ดี 3.1 มีช่องทางเลอื กใช้บริการได้หลายรูปแบบ 3.2 มีความสะดวกในการใช้บริการ 4.36 0.82 4 ดี 3.3 ความสะอาดของสถานท่ี หรอื ความพร้อมของสิง่ อำนวย 4.37 0.83 3 ดี ความสะดวก ระดับความพึงพอใจของผเู้ ข้าใชบ้ ริการบ้านหนังสือชมุ ชน 4.29 0.80 13 ดี ภาพรวม 4.34 0.83 8 ดี 4.35 0.81 7 ดี 4.32 0.72 11 ดี จากตาราง 5 พบวา่ โดยเฉลีย่ แลว้ ผ้เู ข้ารับการอบรมในโครงการบ้านหนงั สือชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2565 มีความพึงพอใจในภาพรวมของผู้เข้าใช้บริการบ้านหนังสือชุมชน อยู่ในระดับ ดี ( x̄= 4.32 ) เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่า ลำดับที่ 1 ผู้ให้บริการมีความสุภาพ ยิ้มแย้มแจ่มใส ( x̄= 4.42 ) ลำดับที่ 2 ผู้ให้บริการเต็มใจและมีความพร้อมในการให้บริการ ( x=̄ 4.39 ) ลำดับที่ 3 ความเสมอภาคของการ ให้บรกิ าร ( x=̄ 4.37 ) ลำดับท่ี 4 ผูใ้ ห้บริการใหบ้ ริการอย่างเทา่ เทียมกัน ( x=̄ 4.36 ) ลำดบั ท่ี 5 ความเสมอ
๒๗ ภาคของการให้บริการ ลำดับที่ 6 ความชัดเจนในการอธิบาย ชี้แจงการเข้าใช้บริการ และ ลำดับที่ 7 ความ สะอาดของสถานที่ หรือความพร้อมของสิ่งอำนวยความสะดวก ( x̄= 4.35 ) ลำดับที่ 8 มีความสะดวกใน การใช้บริการ และ ลำดับที่ 9 ผู้ให้บริการมีความรู้ความสามารถในการให้บริการ เช่น สามารถตอบคาถาม ชี้แจงข้อสงสัย ให้คาแนะนำช่วยแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง ( x=̄ 4.34 ) ลำดับที่ 10 ให้บริการด้วยความ ถูกต้อง ครบถ้วน ( x̄= 4.33 ) ลำดับที่ 11 ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าใช้บริการบ้านหนังสือชุมชน ภาพรวม ( x=̄ 4.32 ) ลำดับที่ 12 ความสะดวกรวดเร็วของการให้บริการ ( x̄= 4.30 ) ลำดับที่ 13 มี ช่องทางเลือกใช้บริการได้หลายรูปแบบ ( x̄= 4.29 ) และ ลำดับที่ 14 ขั้นตอนการให้บริการไม่ยุ่งยาก ซบั ซอ้ น ( x=̄ 4.28 ) ตามลำดับ
บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ โครงการบ้านหนังสือชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2565 ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแหล่งการอ่านท่ีใกล้ ตัวในชุมชน เพื่อสร้างเสริมนิสัยรักการอ่าน ป้องกันการลืมหนังสือ และเกิดการเรียนรู้สามารถเชื่อมโยง ความรทู้ ีไ่ ดจ้ ากการอ่านไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวัน และเพอ่ื เป็นศูนย์กลางการแลกเปล่ียนเรียนรใู้ นชุมชน แบบมีส่วนร่วม ได้ดำเนินการตามแผนงานการจัดกิจกรรมตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 – 30 กันยายน 2565 ครอบคลมุ พ้ืนที่ดำเนินการ กศน.ตำบล ท้ัง 17 ตำบล ผเู้ ข้ารว่ มโครงการฯจำนวน 34,764 คน และทำการ สุม่ ตัวอย่างจากแบบประเมินโครงการฯ จำนวน 496 คน และทำการวิเคราะหห์ าค่าเฉล่ียและค่าเบ่ียงเบน มาตรฐานจากกลุ่มตัวอย่างประชากรที่เหมาะสม จำนวน 496 คน ทั้งนี้ขอสรุปและอภิปรายผลและ ขอ้ เสนอแนะดงั นี้ 1. สรปุ ผล 1.1 ผตู้ อบแบบสอบถามของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการบ้านหนังสือชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2565 เปน็ ชาย 230 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 46.4 เป็นหญงิ 266 คน คดิ เป็นร้อยละ 53.6 ในช่วงอายอุ ายุ 15-30 ปี มีจำนวน 394 คน คิดเปน็ ร้อยละ 79.4 ในช่วงอายุ 31-40 มจี ำนวน 50 คน คดิ เป็นร้อยละ 10.1 ในช่วงอายุ 51-59 ปี มีจำนวน 23 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 4.6 ในช่วงอายุ 41- 50 ปี มจี ำนวน 20 คน คดิ เป็นร้อยละ 4 และในชว่ งอายุต่ำกว่า 15 ปี มจี ำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 1.8 พบว่า มีมีอาชีพนักเรียน/นักศึกษาสูงสุด จำนวน 210 คน คิดเป็นร้อยละ 42.6 อาชีพอื่นๆ จำนวน 156 คน คิดเป็นร้อยละ 31.6 อาชีพรับจ้าง 95 คน คิดเป็นร้อยละ 19.3 อาชีพค้าขาย 30 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 6.1 และอาชพี เกษตรกรรม จำนวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.4 ตามลำดับ และพบว่า ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สูงสุด จำนวน 230 คน คิดเป็นร้อยละ 46.4 ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 229 คน คิดเป็นร้อยละ 46.2 ระดับประถมศึกษา จำนวน 25 คน คิดเป็น ร้อยละ 5 และระดบั สูงกวา่ มธั ยมศึกษาตอนปลาย 12 คน คิดเป็นร้อยละ 2.4 คน ตามลำดับ 1.2 ข้อมูลเก่ียวกับความคิดเห็นของผู้เข้ารับการอบรมในโครงการบ้านหนังสือชุมชน ประจำปี 2565 พบว่า มีความพึงพอใจในภาพรวมของผู้เข้าใช้บริการบ้านหนงั สือชุมชน อยู่ในระดับ ดี ( x̄= 4.32 ) เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่า ลำดับที่ 1 ผู้ให้บริการมีความสุภาพ ยิ้มแย้มแจ่มใส ( x=̄ 4.42 ) ลำดับที่ 2 ผู้ให้บริการเต็มใจและมีความพร้อมในการให้บริการ ( x̄=4.39 ) ลำดับที่ 3 ความเสมอภาคของการ ให้บรกิ าร ( x̄=4.37 ) ลำดบั ท่ี 4 ผใู้ หบ้ รกิ ารใหบ้ รกิ ารอยา่ งเท่าเทยี มกัน ( x̄=4.36 ) ลำดับท่ี 5 ความเสมอ ภาคของการให้บริการ ลำดับที่ 6 ความชัดเจนในการอธิบาย ชี้แจงการเข้าใช้บริการ และ ลำดับที่ 7 ความ สะอาดของสถานที่ หรือความพร้อมของสิ่งอำนวยความสะดวก ( x̄= 4.35 ) ลำดับที่ 8 มีความสะดวกใน การใช้บริการ และ ลำดับที่ 9 ผู้ให้บริการมีความรู้ความสามารถในการให้บริการ เช่น สามารถตอบคาถาม ชี้แจงข้อสงสัย ให้คาแนะนำช่วยแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง ( x=̄ 4.34 ) ลำดับที่ 10 ให้บริการด้วยความ ถูกต้อง ครบถ้วน ( x=̄ 4.33 ) ลำดับที่ 11 ระดับความพึงพอใจของผู้เข้าใช้บริการบ้านหนังสือชุมชน ภาพรวม ( x=̄ 4.32 ) ลำดับที่ 12 ความสะดวกรวดเร็วของการให้บริการ ( x=̄ 4.30 ) ลำดับที่ 13
๒๙ มีช่องทางเลือกใช้บริการได้หลายรูปแบบ ( x=̄ 4.29 ) และ ลำดับที่ 14 ขั้นตอนการให้บริการไม่ยุ่งยาก ซบั ซอ้ น ( x=̄ 4.28 ) ตามลำดบั 2. อภิปรายผล จากโครงการบ้านหนังสือชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2565ไดด้ ำเนนิ การเสรจ็ ส้นิ แลว้ ขออภปิ รายผล เปน็ หัวข้อดงั น้ี 1. ประชมุ ผู้ท่ีเกย่ี วข้อง พบวา่ ไม่พบสภาพปัญหา ซง่ึ หากมีการจัดโครงการฯในลกั ษณะน้ี ควรดำเนนิ การ....................-.............................................. ............................................................................................................................. ............................................ ................................................................................................................................... ....................................... 2. จดั ต้ังคณะทำงานเพือ่ ดำเนนิ การจัดโครงการฯ พบว่า ...(สภาพปัญหาทพ่ี บ)...................ไม่พบสภาพปัญหา........................................................... ............................................................................................................................. ............................................ ......................................................................................................................................... ................................. ซึ่งหากมีการจัดโครงการฯในลกั ษณะน้ี ควรดำเนนิ การ...............-................................................... ............................................................................................................................. .............................................. ............................................................................................................................................................. .............. 3.ประสานงาน/ประชาสัมพันธ์ พบว่า ...(สภาพปัญหาทพ่ี บ)........................ไมพ่ บสภาพปญั หา..................................................... ............................................................................................................................. ............................................ .......................................................................................................................................................................... 4.ดำเนนิ งานตามแผน พบวา่ ...(สภาพปญั หาทพ่ี บ)........................ไมพ่ บสภาพปัญหา..................................................... ............................................................................................................................. ............................................ ...................................................................................... .................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. ซ่งึ หากมีการจัดโครงการฯในลักษณะน้ี ควรดำเนินการ................-............................................... ............................................................................................................................. .............................................. 5. วดั ผล/ประเมินผล/สรปุ ผลและรายงาน พบว่า ...(สภาพปัญหาทีพ่ บ)...........................................ไม่พบสภาพปัญหา................................. ......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................................. ............................................. ซง่ึ หากมีการจัดโครงการฯในลกั ษณะนี้ ควรดำเนินการ...............-..................................................
๓๐ 3. ปญั หาและอุปสรรค พบวา่ ...(สภาพปญั หาทพี่ บปัญหาเนอื่ งจากสถานการณโ์ ควิด -19 การดำเนนิ กจิ กรรมล่าช้า และ ไมส่ ามารถดำเนินการจดั กิจกรรมได้ ซ่งึ หากมีการจัดโครงการฯในลักษณะน้ี ควรดำเนนิ การ...............-.................................................. ............................................................................................................................. ............................................ .................................................................................................................................... ...................................... ............................................................................................ .............................................................................. 4. ข้อเสนอแนะ (ในภาพรวม) ปัญหาเนื่องจากสถานการณ์โควิด -19 การดำเนินกิจกรรมล่าช้า และไม่สามารถดำเนินการจัด กิจกรรมได้ ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมไมเ่ ป็นไปตามแผนทวี่ างไวเ้ นื่องจาก บา้ นหนงั สือชุมชนไมส่ ามารถจัด กิจกรรมได้ตามประกาศ ห้ามการชุมนุม การทำกิจกรรม การมั่วสุม ที่ก่อให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทั้งนี้ได้ใช้มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 อย่างเคร่งครัด อาทิ การสวมหน้ากาก เพื่อป้องกันเชื้อและป้องกันฝน รวมทั้งการรักษาระยะห่างจากผู้อื่นอย่างน้อย 1-2 เมตร ขณะทำกิจกรรม
บรรณานกุ รม เกบ็ มาเล่าเทคโนโลยชี าวบ้าน. (2564) . ดันรถห้องสมดุ เคล่ือนที่ กศน.เข้าชุมชนเพ่ิม ประสทิ ธิภาพรกั การอา่ น .ค้นเม่ือ กนั ยายน 7,2565. https://www.technologychaoban.com/today/article_183889 จำเนยี ร ผะคุงควิ . โครงการสรา้ งนักอ่านการสร้างนักอา่ นในชมุ ชน .ค้นเมอ่ื สิงหาคม 25, 2565 . http://read2kids.taiwisdom.org/?p=616 สำนกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั . (2551). พระราชบญั ญตั ิ การศกึ ษาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั . กรุงเทพมหานคร : สำนักงาน กศน. สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. (2565). นโยบายและ จดุ เนน้ การดำเนินงานการศึกษานอระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ประจำปี งบประมาณ 2565. กรุงเทพมหานคร : สำนักงาน กศน. องค์การยูนิเซฟ. (2553). โครงการห้องสมดุ เคล่ือนที่ องค์การยนู ิเซฟ ประเทศไทย. ค้นเม่อื กันยายน 7,2565. https://www.unicef.org/thailand
ภาคผนวก
แผนการดำเนนิ งานและโครงการฯ ปงี บประมาณ 2565
ภาพโครงการ
ภาพโครงการ
คณะผูจ้ ัดทำ ผอู้ ำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอำเภอเมืองชลบุรี ท่ปี รกึ ษา ครชู ำนาญการพเิ ศษ นายไพรัตน์ เนอื่ งเกตุ บรรณารักษป์ ฏบิ ตั กิ าร ครูอาสาสมัครฯ นางสาวเอมอร แกว้ กล่ำศรี บรรณารักษอ์ ัตราจ้าง ผ้จู ัดทำ นายปัณณวชิ ญ์ สุขทวี นางสาววราภรณ์ ธรี ะทปี นายเสกสรรค์ พรมศกั ด์ิ
เอกสารเพิ่มเตมิ : ผลการประเมนิ บ้านหนังสือชุมชน อำเภอเมืองชลบุรี จาก Google form ภาพผู้ตอบแบบประเมนิ ความพึงพอใจในหัวขอ้ ด้านเพศ ภาพผู้ตอบแบบประเมนิ ความพึงพอใจในหัวข้อด้านอายุ
ภาพผูต้ อบแบบประเมินความพึงพอใจในหัวข้อด้านการศกึ ษา ภาพผตู้ อบแบบประเมินความพึงพอใจในหัวข้อด้านอาชีพ
ภาพผู้ตอบแบบประเมนิ ความพงึ พอใจในหัวขอ้ ตำบลท่เี ข้าตอบแบบสอบถาม ภาพผ้ตู อบแบบประเมนิ ความพึงพอใจในหัวขอ้ ด้าน ความพงึ พอใจตอ่ กระบวนการ/ขน้ั ตอนการใช้บรกิ าร
ภาพผู้ตอบแบบประเมิน ผู้ใช้บริการความพึงพอใจต่อผู้ให้บริการบ้านหนังสือชุมชน ภาพผ้ตู อบแบบประเมนิ ความพึงพอใจต่อสิง่ อานวยความสะดวก
ภาพการประเมนิ ระดบั ความพงึ พอใจของผูเ้ ข้าใชบ้ รกิ ารบ้านหนงั สอื ชุมชนภาพรวม ขอ้ เสนอแนะจาก Google Form
ภาพการประชุมออนไลน์ครู กศน.ตำบล เรื่องบา้ นหนงั สือชมุ ชน
Search
Read the Text Version
- 1 - 48
Pages: