Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การนำเสนอ 5 นาที นาสโรน เจ๊ะเล๊าะ

การนำเสนอ 5 นาที นาสโรน เจ๊ะเล๊าะ

Published by นาสโรน เจ๊ะเล๊าะ, 2021-08-12 08:57:44

Description: การนำเสนอ 5 นาที นาสโรน เจ๊ะเล๊าะ

Search

Read the Text Version

รายวชิ า การพัฒนาทักษะการนาํ เสนอรายบุคคล ความสาํ เร็จ ความภาคภูมใิ จ จากการทํางานของทา น คํานาํ ยอนกลับไป 11 ปกอนหนาน้ี คือกอนป พ.ศ.2553 ผมทํางานอยู ณ รพศ.ยะลา การทํางานประจํา (Routine) ก็ทําใหผมมีความสุข และครอบครัวก็มีความสุขระดับหน่ึง และในปนั้นเอง สํานักงานปองกัน ควบคุมโรคท่ี 12 จังหวัดสงขลา (สคร.12 สงขลา) ก็ไดประกาศรับสมคั รนักเทคนิคการแพทย 1 ตาํ แหนง แต ใหป ฏบิ ตั ิงานประจําท่ี หอ งปฏบิ ัตกิ ารวัณโรค ศนู ยว ัณโรคที่ 12 จังหวัดยะลา ซึ่งใกลกับที่ทํางานเดิม ตอนน้ัน ไดสืบหาขอมูลเกี่ยวกับท่ีทํางานใหมว าเปนอยา งไร ปรากฏวาสภาพคอ นขางลาหลังมากเมื่อเทียบกับที่ทํางาน เดิม ไมวาจะเปนอาคารเครอ่ื งมือตาง ๆ ผมจึงมีความคิดวาเปนโอกาสท่ีผมเอง จะไดทําหลายอยางทที่ าทาย คอนขางมาก ท่ีจะพัฒนางานใหมใหมีการพัฒนาข้ึนเปนท่ียอมรับแกหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ผมจึงทําเรื่องขอ โอนยายมาประจาํ ในทีด่ งั กลา ว โดยเรม่ิ ปฏิบตั งิ านในเดอื น พฤษภาคม ป 2553 เปน ตน มา จนถึงปจจุบัน เน้ือเรอ่ื ง ตอนนั้นสภาพหองปฏิบัติการวัณโรคเปนหองไมกวางนักมีหองทํางานคอนขางแคบ ๆ 2 หอง และ หองรับสิ่งสงตรวจ (เสมหะ) เล็ก ๆ เปนหองกระจก และขณะนั้นขีดความสามารถหองปฏบิ ัติการวณั โรคทําได เพียงตรวจเสมหะเพื่อหาเชื้อดวยกลอ งจุลทรรศน ดวยการยอมสีทนกรด (Acid Fast Bacilli ; AFB) การ ประเมินคุณภาพการตรวจ AFB หนวยงานในพื้นท่ี (EQA) และการเพาะเลีย้ งเช้ือวณั โรคดวยอาหารแข็ง (Solid media) ไมสามารถทําไดมากกวานี้ และการตอบผลกลับสหู นวยงานที่สงตรวจในพ้ีนท่ีลาชามากๆ ไดรบั การ ตอวา จากหนวยงานทีเกี่ยวของอยตู อเนอื่ ง ผมเองไดร บั หนาที่หัวหนาหองปฏิบัติการวณั โรค ไดรับทราบปญหา ทกุ อยางและเขาใจในบรบิ ทท่ผี านมา อาจเปน เพราะขาดแรงจูงใจ ขาดการสนับสนนุ จากหนวยเหนือเทาที่ควร และอัตรากําลังทีค่ อนขางนอ ย ผมจึงต้ังเปาหมายท่ชี ัดเจนวา หองปฏิบัติการวัณโรค ศูนยวัณโรคจังหวัดยะลา จะตองไดรับการพัฒนาใหมีศักยภาพอยางนอยตองเทาเทียมกับหนวยงานระดับเดียวกันใน สคร.อ่ืน ๆ หรือ ดีกวา จากนัน้ ผมกเ็ ร่ิมทาํ การพัฒนาระบบงานทีท่ าํ อยู ใหสามารถเปนท่ียอมรับจากหนวยงานท่ีรบั บริการ (รพ. ทกุ ระดบั ในพ้นื ทีร่ ับผดิ ชอบ สคร.12 สงขลา 7 จังหวดั จํานวน 78 รพ. รพ.เอกชน 7 รพ.) ดังน้ี 1. หองปฏบิ ตั กิ ารวัณโรค จะตองมีการควบคุมคุณภาพภายใน และรบั การประเมนิ คณุ ภาพจากหนว ยงาน ภายนอก ไมวา จะเปน Laboratory Accreditation ; LA จากสภาเทคนคิ การแพทย และการควบคุมคุณภาพ การเพาะเล้ียงเชื้อวัณโรค การพิสูจนเช้ือ/การทดสอบความไวตอยาของเช้ือวัณโรค ดวยวิธีชีวโมเลกุล (Biomolecular method) ตามโครงการ Interlaboratory Comparison ซึ่งดําเนินการโดยกลุม หองปฏิบตั กิ ารทางการแพทยดา นควบคมุ โรค ของ สคร. 5 แหง ในประเทศไทย 2. ทําการพัฒนาวิธีการตรวจใหมีมากข้ึนเทาเทียมกับมาตรฐานของหองปฏิบัติการวัณโรคระดับเขต (เชนเดียวกับหองปฏิบัติการของ สคร.อื่น ๆ) และตามมาตรฐานของกองวัณโรค ซึ่งใชตามมาตรฐานสากล (WHO) ผมไดน าํ เทคนคิ การตรวจหลายอยา งเพิ่มเติมจากเดิม อาทิเชน ๑. การเพาะเล้ียงเชื้อดวยอาหารเหลวดว ยเครื่องเพาะเลี้ยงเชอ้ื อัตโนมัติ (MGIT 960) ทาํ ให สามารถยน ระยะเวลาในการเพาะเล้ยี งเชอื้ จาก 8-10 สัปดาห ดวยอาหารแข็ง (L-J media) ลดลงเหลือ 3-6 สัปดาห ๒. การพิสจู นเอกลักษณข องเชอ้ื วัณโรคดวยเทคนิค ICA แทนวิธีเกา Niacin test ที่ตองใชสาร กอมะเร็ง และยงุ ยาก ใชเวลานานกวา มาก ๓. การทดสอบความไวตอ ยาของเช้ือวัณโรค ดว ยเครือ่ ง MGIT 960 (SIRE) ใชเวลาทดสอบ เพียง 7-10 วนั แทนวิธใี ชอ าหารแข็ง ซง่ึ ตอ งใชเวลา 4-6 สปั ดาห

๔. การทดสอบความไวตอยาของเช้ือวัณโรค ดวยวธิ ีชีวโมเลกุล (Biomolecular method) คือ Real-time PCR หรือ Line Probe Assay ; LPA หรือ Gene Xpert ซึ่งสามารถทราบผลในเวลา 5 วัน ทําใหตอบผลการตรวจกลับสูพ้ืนทีไ่ ดอยางรวดเร็ว ทําใหหนวยงานท่ีเกี่ยวของสามารถนําผลการตรวจไปใชได อยา งทันเวลามากข้นึ ๕. พัฒนางานศึกษาวิจัยหลายหัวขอจากงานประจํา (Routine to Research ; R2R) และได นาํ ผลการศกึ ษาวจิ ยั เหลานัน้ มาพฒั นางานหลายอยาง ในชวงเวลา 11 ป ทีผ่ า นมา 3. พัฒนาหองปฏิบัติการวัณโรคใหไดมาตรฐานสากล คือไดปรับปรุงหองปฏิบัติการเดิมซ่ึงไมได มาตรฐานสากล ใหเปนหองปฏบิ ัติการวัณโรคที่เปนหองความดันลบ (Negative Pressure Room ; NPR) ซง่ึ ใหความปลอดภยั ระดับ BSLII Plus จากเดิมเปน เพยี งหอ งธรรมดา 4. พัฒนาระบบการตรวจชันสตู รวณั โรคเพอ่ื ใหเ กิดประโยชนส งู สดุ และทันเวลา มีประสิทธิภาพ ตอบ คําถามของคณะกรรมการผูเชีย่ วชาญวณั โรคระดับ เขต 12 ได น่ีเปน เพยี งสว นหนึง่ ในสงิ่ ท่ผี มและทมี งานหองปฏิบัติการวณั โรค ทําดวยความตั้งใจ และสําเร็จแลว ดวยความภาคภมู ิใจ สรุป ผมอยากสง กําลังใจใหเพื่อน ๆ พี่ๆ นอง ๆ ในการทํางานท่ีทุกทานทําอยูน้ัน อยาเพิ่งหมดหวังท่ี จะพัฒนาใหเปนไปตามท่ีเราอยากใหเปน สิ่งที่สําคัญคือ ตองตั้งเปาหมายท่ีชัดเจน บางคนเรียกวาตองมี วิสัยทัศน (Vision) กอน แลวจากนน้ั คอย ๆ ทาํ ในส่ิงที่เราทําไดงาย ๆ กอน แลวจึงคอย ๆ ทําส่ิงที่ยากข้ึน ๆ และในวันหนึ่งเราก็จะถึงซ่ึงความสําเร็จอยา งแนนอน อาจตองใจเย็น ๆ รอคอยผลที่เกิดขึ้นอยางมคี วามหวัง หลังจากเราไดท ําอยางเต็มที่ ดที สี่ ุดเทาที่เราจะทําได ช่อื – นามสกุล นายนาสโรน เจะ เลาะ ลําดบั ที่ 15


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook