Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Elderly Creative Activity school Thesis2017

Elderly Creative Activity school Thesis2017

Published by milky_a, 2017-11-09 13:15:07

Description: Thesis.arch.rmutt.2017

Search

Read the Text Version

โครงการพัฒนาโรงเรยี นกจิ กรรมสรา งสรรคผูสูงวยั นางสาวกฤตญิ า อตุ ยานะวทิ ยานพิ นธน ีเ้ ปนสวนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรสถาปต ยกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยสี ถาปต ยกรรม คณะสถาปต ยกรรมศาสตร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี 2560

Elderly Creative Activity School KITTIYA UTAYANAA THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENT FOR THE BACHELOR DEGREE OF ARCHITECTURE DIVISTION OF ARCHITECTURAL TECHNOLOGY FACULTY OF ARCHITECTURE RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THANYABURI 2017

ค บทที1 บทนําCONTENT INTRODUCE INDEX 1.1 ความสําคญั ของโครงการ 1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษาบทคดั ยอ่ ก 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1-1กคิ ิกรมประกาศ ข 1.4 ขนั้ ตอนและวธิ กี ารศึกษา 1-5สารบัญ ค 1.5 ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ บั 1-6สารบัญภาพ ฉ 1-7สารบญั ตาราง ซ 1-8

ง บทท2ี หลักการออกแบบและทฤษฎี 2-1 บทที3 ศึกษาและวเิ คราะห์โครงการ 3-1 3-11 PRINCIPLE&THEORY SITE ANALYSIS 3-182.1 คาํ จํากดั ความและความหมาย 3.1 ศึกษาและวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบเมือง2.2 ความเป็นมาปัจจุ บนั ของโครงการ 2-3 3.2 การศึกษาและวเิ คราะห์ท่ีตงั้ โครงการ2.3 นโยบายและการพฒั นา 2-4 3.3 กฎหมายท่ีเก่ยี วขอ้ ง 2-112.4 แนวคดิ และทฤษฎที ่ีเก่ียวข้อง2.5 หลกั การออกแบบเพือ่ ผู้สูงอายุ 2-132.6 ทฤษฏกี ารทาํ กจิ กรรมของมนุษย์ 2-162.7 แนวคดิ การออกแบบสภาพแวดลอ้ ม 2-20และท่พี ักผูส้ ูงอายุ2.8 โครงสรา้ งโรงเรียนผูส้ งู อายุ 2.282.9 กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง 2-302.7 กรณีศึกษาเฉพาะอาคาร 2-34

จCONTENTบทท่ี4 การกําหนดรายละเอียดโครงการ บทท่ี 5 แนวความคิดและการออกแบบPROGRAM ARCHITECTURE DESIGN4.1 วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 4-1 5.1 แนวความคดิ และปรัชญาในการออกแบบ 5.2 การสรา้ งทางเลอื กในการออกแบบ4.2 การกาํ หนดโครงสร้างการบรหิ าร 4-3 5.3 สรุปทางเลอื ก 5.3 การพฒั นาแบบรา่ งทางสถาปัตยกรรม4.3 โครงสรา้ งบริหารงาน 4-5 5.4 ผลงานการออกแบบ4.4 รายละเอียดผูใ้ ช้โครงการ 4-64.5 การกาํ หนดรายละเอียดและกิจกกรมของโครงการ 4-64.6 สรุปพนื้ ท่ใี ช้สอยโครงการ 4-84.7 การประมาณการงบประมาณการกอ่ สรา้ ง 4-114.8 ระบบวศิ วกรรมท่เี ก่ียวข้อง 4-12

บทที6 บทสรุปและขอ้ เนอแนะ ฉ ท่มี า : pixabay.com SUMMALY6.1 สรุปผลการศึกษา6.2 ขอ้ เสนอแนะ

ชสารบญั ภาพภาพท่ี 1 แผนภมู ิพีระมคิ ระชากรไทย ปี 2558 1-2 ภาพท่ี 14 แนวคดิ โรงเรยี นผู้สงู อายุ 2-21ภาพท่ี2 ขนาดครัวเรือนของประชากรไทย 1-3 ภาพท่ี 15 แนวคดิ การออกแบบป้ายและสญั ลักษณ์ 2-22ภาพท่ี 3 สถติ ผิ ู้สูงอายุอยูต่ ามลาํ พงั 1-4 ภาพท่ี 16 แนวคดิ การออกแบบทางสัญจร ทางเทา้ 2-22ภาพท่ี4 ขัน้ ตอนและวธิ ีการดําเนนิ งาน 1-7 ภาพท่ี 17 แนวคดิ การออกแบบทางลาดขอบถนน, 2-23ภาพท่ี 5 พรี ะมดิ การขายยายตัวของผูส้ ูงอายุ 2-5 ทางลาดตัดขอบคนั หนิภาพท่ี 6 สถติ ิการเพิม่ ขึน้ ของผู้สูงอายุ(ท่มี า : 2-6 ภาพท่ี 20 แนวคิดการออกแบบท่ีจอดรถ 2-23ภาพท่ี 7 สถติ กิ ารเกดิ ของเดก็ : 2-6 ภาพท่ี 21 แนวคดิ การออกแบบทางลาดภายนอกอาคาร 2-23ภาพท่ี 8 แผนยุทธศาสตรก์ ิจการผู้สงู อายุ 2-10 ภาพท่ี 22 แนวคิดการออกแบบสวนและพนื้ ท่ภี ายนอก 2-24ภาพท่ี 9 แผนภูมอิ งคป์ ระกอบหอ้ งเรยี น 2-16 ภาพท่ี 23 แนวคิดการออกแบบลฟิ ต์ โดยสาร 2-25ภาพท่ี 10 รูปแบบการจดั หอ้ งเรยี น 2-17 ภาพท่ี 24 แนวคิดการออกแบบบนั ได 2-25ภาพท่ี 11 แผนภาพหลกั การออกแบบห้องเรยี น 2-19 ภาพท่ี 25 แนวคิดการออกแบบทางสัญจร 2-26ภาพท่ี 12 แผนภูมิการวางผังโรงเรยี น 2-19 ทางเชื่อมอมระหว่างอาคาร

ซภาพท่ี 26 แนวคิดการออกแบบหอ้ งนงั่ เล่นและพืน้ ท่ปี ระทานอาหาร 2-26 ภาพท่ี 33 ผงั การใช้ประโยชนท์ ่ดี ินกรุงเทพมหานคร 3-17 ภาพท่ี 34 ภาพระยะรน่ ของเขตทด่ี ัง้ 3-18ภาพท่ี 27 แนวคิดการออกแบบห้องนาํ้ 2-26 ภาพท่ี 35 ผงั โครงสรา้ งโรงเรยี นผู้สงู อายุ 4-3 ภาพท่ี 36 ผังบุคลากรโรงเรียนผูส้ งู อายุ 4-4าพท่ี 13 แผนท่ีกรุงเทพมหานคร 3-2 ภาพท่ี 37 ตาํ แหนง่ บุคลกรภายในโรงเรยี น 4-5 ภาพท่ี 38 รายละเอยี ดกจิ กรรมภายในโครงการ 4-7ภาพท่ี 13 แผนท่ีกรุงเทพมหานคร 3-3 ภาพท่ี 39 ผังพฤตกิ รรมผูใ้ ช้โครงการ 4-8 ภาพท่ี 40 สดั สว่ นคา่ ใช้จา่ ยในโครงการ 4-12ภาพท่ี 14 รูปแบบครอบครัวไทย 3-3 ภาพท่ี 41 ภาพโครงสร้างพืน้ ไรค้ าน 4-13 ภาพท่ี 42 ระบบปรับอากาศแบบชุด 4-14ภาพท่ี 15 แผนท่ีประชากรผูส้ ูงอายุกรุงเทพมหานคร 3-5 ภาพท่ี 43 ระบบสุขภิบาล 4-15 ภาพท่ี 44 ภาพถังบาํ บัด 4-15ภาพท่ี 16 แผนภาพวเิ คราะห์ระดับเมอื ง 3-10 ภาพท่ี 45 ระบบปรับอากาศแบบชุด 4-17ภาพท่ี 28 แผนยา่ นหลกั ส่ี 3-11ภาพท่ี 29 ทัศนียภาพพนื้ ท่ีตงั้ โครงการ( 3-12ภาพท่ี 30 แผนท่ที ่ีตงั้ โครงการ(ท่ีมา 3-14ภาพท่ี 20 มุมจากท่ีตัง้ โครงการ 3-15ภาพท่ี 31 สถานท่ีใกล้เคยี งท่ีตัง้ 3-16

จ สารบญั ตารางตารางท่ี 1 ขนาดพืน้ ท่ใี ช้สอยน้องเรียน 2-12ตารางท่ี 2 สรุปขอ้ กฎหมาย 2-26ตารางท่ี 3 ความพรอ้ มดา้ นสาธารณปู ระโภค 3-6และสาธารณูประการณ์ตารางท่ี 4 ความสะดวกของการเขา้ ถงึ 3-7ตารางท่ี 5 ความเหมาะสมทางด้านลกั ษณะประชากร 3-8ตารางท่ี 6 ความเหมาะสมด้านสะภาพแวดล้อม 3-9ตารางท่ี 7 ตารางสรุปประเมินยา่ นท่ีตัง้ โครงการ 3-10ตารางท่ี 8 จาํ นวนประชากรในเขตหลักส่ี 3-14ตารางท่ี 9 สรุปพืน้ ท่ใี ช้สอยภายในโครงการ 4-9



CHAPTERINTRODUCEบทนาํ

ภาพท่ี 1 แผนภูมิพีระมิคระชากรไทย ปี 2558 1-2(ที่มา ผ้สู งู อายแุ หง่ ชาติ ประจําปี พทุ ธศกั ราช 2558 ) 1.1 ความเป็นมาของโครงการ จากคาํ แถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรพี ล เอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรฐั มนตรีแถลงต่อ สภานติ บิ ญั ญัติแหง่ ชาติ เมอ่ื วันศกุ ร์ท่ี 12 กันยายน 2557 ซ่ึงมนี โยบายท่ีเก่ียวขอ้ งดา้ นผูส้ งู อายุ “ ขอ้ 3. การลดความเหลือ่ มลาํ้ ของสงคม และการ สร้างโอกาสการเขา้ ถงึ บริการของรฐั 3.4 เตรียมความพรอ้ มเขา้ สู่สงั คมผูส้ ูงอายุเพือ่ สง่ เสริมคณุ ภาพชีวติ และการมีงานหรอื กิจกรรมท่ี เหมาะสม เพื่อสรา้ งสรรค์และไมก่ อ่ ภาระตอ่ สงั คมใน อนาคต โดยจัดเตรียมระบบการดูแลในบา้ น สถาน พกั ฟื้นและโรงพยาบาล ท่ีเป็นความร่วมมอื ของ ภาครฐั ภาคเอกชน ชุมชน และครอบครัว รวมทัง้ พัฒนาระบบการเงนิ การคลังสาํ หรับการดแู ล ผูส้ งู อายุ ”

1-3 ภาพที่2 ขนาดครัวเรอื นของประชากรไทย โครงสร้างอายุ ของประชากรไทยได้ (ทีม่ า : ผ้สู งู อายแุ หง่ ชาติ ประจําปี พทุ ธศกั ราช 2558) เปล่ียนแปลงไปอยา่ งมาก ประชากรไทย กาํ ลงั ก้าวสงู วัยขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ อัตราเกิด ท่ลี ดลงทาํ ให้ประชากรวัยเดก็ น้อยลงอายุ ของคนไทยท่ียืนยาวขึน้ แนวโน้มการ เพมิ่ ขึน้ ของประชากรผู้สูงอายุในประเทศ ไทย ทาํ ให้ในอีกไมเ่ กิน 20ปีข้างหน้า ไทย จะเข้าสูส่ ังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ (complete aged society) หมายถึง สังคมท่ีมปี ระชากรอายุ 60 ปีขึน้ ไป มาก กว่ารอั ยละ 20 ของประชากรทัง้ หมด (หรอื ประชากรอายุ 65 ปีขนึ้ ไป) มากกว่า รอ้ ยละ 20 ของประชากรทัง้ หมด ซ่ึงมี ผลต่อประชากรวยั รุ่นและวัยทํางาน จะ ลดลงตามอัตราเกิดท่ีนอ้ ยลง ปัจจุ บนั การอาศยั อายุกับครอบครัวเมืองใหญ่ เป็น ครอบครัวขนาดเลก็ ท่ตี ้องดูแลผู้สูงอายุ และด้วยความจาํ เป็นในการหาเลีย้ งชีพหรือ หน้าท่ตี ้องรับผิดชอบบทบาทของแตล่ ะคน

ภาพที่ 3 สถติ ิผู้สูงอายุอยู่ตามลาํ พัง 1-4(ท่มี า : ผูส้ ูงอายุแหง่ ชาติ ประจาํ ปี พุ ทธศกั ราช )2558 จงึ ทําให้ครอบครัวส่วนใหญต่ ้องปล่อยให้ ผู้สูงอายุอยู่บา้ นเพียงลําพัง ทาํ ใหป้ ัจจุ บันมีอัตรา ผู้สงู อายุท่มี ีแนวโน้มเป็นโรคซึมเศร้า เส่ียงตอ่ การเกิด อุ บัตเิ หตุ พฤติกรรมในการใช้ชีวิตท่ีเปล่ียนไป เพราะ เม่ือเริม่ เข้าสู่วยั เกษียนหรือวยั สงู อายุ เป็นรอยต่อ ระหวา่ งช่วงเวลาทาํ งานและช่วงเวลาเกษียณ ผูส้ ูงอายุสว่ นใหญ่ อยูใ่ นวัยท่ีเรยี กว่าผู้สูงอายุตดิ สงั คม 60-70 ปี ตดิ อยูก่ ิจกรรมการทํางานเดมิ และ ยังคงมีศกั ยภาพในการพัฒนาและถ่ายทอดความรู้ โดยผา่ นรูปหลักสตู รการศึกษาตลอดชีวิตสาํ หรับ ผูส้ งู อายุ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร โดยมีอาคารสถานท่ีเฉพาะทางท่ีเหมาะสม กับการเรยี นรู้ สภาพรา่ งกาย จิตใจของผูส้ ูงอายุ แบบกจิ กรรมต่างๆ จึงทาํ ใหเ้ กิดการสวัสด์ิการ รูปแบบใหมเ่ พือ่ รองรับกับจํานวนผูส้ ูงอายุท่มี ากขึน้ พัฒนาและพัฒนาผู้สงู อายุให้มคี ณุ ภาพ และยนื หยดั เป็นผูส้ งู ท่ีมีคุณค่าตอ่ สงั คม

1-5 1.2.3 เพื่อออกแบบอาคารท่ี เหมาะสมกบั การเรียนรูแ้ ละการทาํ 1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องการศึกษา กิจกรรมสร้างสรรค์ของผู้สงู อายุ 1.2.1 เพ่ือศึกษาหลักการและ เหตผุ ล ปัญหาและความต้องการ เร่ืองสังคมผูส้ งู อายุตดิ สังคม 1.2.2 เพ่ือศึกษาทฤษฎกี าร ออกแบบ พนื้ ท่สี าธารณะ ให้สอด คลองกบั กจิ กรรม, พฤตกิ รรมการใช้งานของผูส้ งู อายุ

1-61.3 ขอบเขตการศึกษา 1.3.1 ศึกษาข้อมูลทางด้านเอกสาร 1.3.2 ศึกษาหลกั การออกแบบท่ี นโยบายแผนยุทธศาสตรท์ ่ีพัฒนาและ อํานวยความสะดวกแกก่ ารเรียนรู้ สง่ เสริม ท่เี ก่ียวข้องกับโครงการ ของผู้สงู อายุ 1.3.3 วิเคราะห์ และสงั เคราะห์ 1.3.4 นําเสนอแนวคดิ วธิ ี การศึกษา กระบวนการออกแบบ ข้อมูลใหเ้ กิดเป็นสถาปัตยกรรมท่ี ตอบสนองการใช้งานภายใน และแบบสถาปัตยกรรม

1-7 1.4 ขนั้ ตอนและวธิ กี ารศึกษา ภาพท4ี่ ขนั้ ตอนและวธิ ีการดาํ เนนิ งาน

1-8 1.5 ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้ 1.5.1 ทราบหลักการ เหตผุ ล ปัญหา และความต้องการของเร่อื งสังคมไทยท่กี า้ วเขา้ สู่ สังคมผูส้ ูงวัยอยา่ งสมบูรณ์ 1.5.2 สามารถออกแบบพนื้ ท่ีแก้ไข ปัญหา หรือรองรบั สังคมผู้สงอายุในอนาคต ของสังคมผู ้สูงวัย 1.5.3 สามามารถวิเคราะห์ ความ เหมาะสมของพืน้ ท่ตี งั้ โครงการในดา้ นตา่ งๆ และ ความสมั พนั ธ์รอบข้างท่มี ีผลโครง การได้อย่างเหมาะสม 1.5.3 ทําให้ สังคม ชุมชน และหนว่ ยงานท่ี เก่ยี วข้อง เห็นถึงความสําคัญและคณุ ค่าของ สังคมผูส้ ูงวัย นาํ ไปพฒั นาใหเ้ ป็นประโยชน์ต่อไปที่มา : pixabay.com

CHAPTERPRINCIPLE& THEORYหลกั การออกแบบและทฤษฎีท่เี ก่ยี วขอ้ ง

2-1 2.1 ความหมายและคําจาํ กดั ความ 2.1.1 ความหมาย โรงเรยี นกิจกรรมสร้างสรรคผ์ ู้สงู วยั : Elderly Activity Creative School โรงเรียน หมายถงึ สถานท่ีสถานท่ี ท่ตี ัง้ ขึน้ เพอ่ื ให้การศึกษาและ ฝึ กอบรมซ่ึงสถานศึกษา (ท่ีมา : สํานักเลขาธิการการศึกษาhttp://www.onec.go.th ) กจิ รรมสร้างสรรค์ ผูส้ ูงวัย หมายถงึ สิง่ หน่ึงซ่ึงสามารถท่ีจะช่วยให้ ผูส้ งู อายุมีสุขภาพกายและใจท่ีดี ถ้าบุคคลประสบความสาํ เร็จในการทํากิจกรรม ใดกิจกรรมหน่ึง จะทําให้บุคคลนนั้ รบั รู้ความสามารถของตนเองและสง่ ผล โดยตรงต่อการนบั ถือของตนเอง (ท่ีมา :GotoKnow โดย สุภาวดี พุ ฒิ )ทีม่ า : freeimages.com

2-2 2.1.2 คาํ จาํ กัดความ 2.1.2.1 โรงเรียนกจิ กรรมสร้างสรรคผ์ ูส้ ูงวยั หมายถึง สถานศึกษาท่มี ี ลักษณะกิจกรรมเน้นการปฏิบัติส่งเสริมสุขภาวะสังคมและจิตใจให้เป็นสุขหรือมี แนวโน้มท่ีดีขึน้ ของผู้สูงอายุท่ีเกษียณวัยหรือผู้สูงอายุท่ีมีอายุ60ปี ขึน้ ไป โดยกิจกรรมส่วนใหญ่เน้นกิจกรรมท่ีผู ้สูงอายุ เรียนรู้ทําไปปรับใช้ใน ชีวิตประจําวันงานอดิเรกเสริมสร้างศกั ยภาพทางร่างกายและทัศนคติท่ีดีแก่ ผู้สูงอายุโดยใช้สถาปัตยกรรมทําให้เกิดปฏิสัมพันธ์และเกิดกิจกรรมเหล่านีข้ ึน้ ใน โครงการ 2.1.2.2 ผู้สูงอายุประเทศไทย พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 กาํ หนดให้บุคคลท่ีมีอายุ 60 ปี บริบูรณ์และมีสัญชาติไทยเป็นผู้สูงอายุ หรือท่ีเรียกกันว่า “ผู้สูงวัย” (สํานักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ, 2552) โดย แบ่งกลุ่มผู้สูงอายุได้ 3 กลุ่ม ดังนี้ ก. ผู้สูงอายุวัยต้น (อายุ 60-69 ปี ) เป็นช่วงวัยท่ียังช่วยเหลือตนเอง ได้ ข. ผู้สูงอายุวัยกลาง (อายุ 70-79ปี ) เป็นช่วงวัยท่ีเริ่มมีอาการ เจ็บป่ วย ร่างกายเริ่มอ่อนแอ มีโรคประจําตัวหรือโรคเรือ้ รัง ค. ผู้สูงอายุวัยปลาย (อายุ 80 ปี ขึน้ ไป) เป็นช่วงวัยท่ีเจ็บป่ วยบ่อย ขึน้ อวัยวะเส่ือมสภาพ อาจมีภาวะทุพพลภาพ ท่มี า : pixabay.com

2-3 2.1.2.3 ลักษณะทางสุขภาพและสังคมของผู้สูงอายุทัง้ 3กลุ่มคือกลุ่มท่ีช่วยตนเองได้ดี(wellelder)หรือกลุ่มติดสังคม กลุ่มติดบ้าน (home boundelder) และกลุ่มติดเตียง (bed bound elder) ผู้สูงอายุกลุ่มท่ีช่วยตนเองได้ดีหรือกลุ่มติดสังคม (well elder)  2.1.2.3 ลักษณะทางสุขภาพและสังคมของผู้สูงอายุ - ผู้สูงอายุ กลุ่มติดสังคม เป็นกลุ่มท่ีสามารถช่ วยเหลือตนเองได้ดีดาํ เนินชีวิตในสังคมได้โดยอิสระ และมักเข้าร่วมกิจกรรมในสังคมในด้านสุขภาพ สามารถทาํ กิจวัตรพืน้ ฐานประจาํ วัน -ผู้สูงอายุ กลุ่มติดบ้าน (home bound elder) เป็นผู้สูงอายุ ท่ีช่ วยเหลือตนเองได้หรือต้องการความช่ วยเหลือบางส่วน มีความจํากัดในการดําเนินชีวิตในสังคม และเป็นกลุ่มผู้สูงอายุ ท่ีมีโรคเรือ้ รังท่ีควบคุมไม่ได้หรือมีภาวะแทรกซ้อนมีหลายโรค และมีกลุ่มอาการสําคัญของผู้สูงอายุ ท่ีมีผลต่อการไปมาได้โดย -ผู้สูงอายุ กลุ่มติดเตียง (bed bound elder) ผู้สูงอายุ ในกลุ่มติดเตียงนี้ ข้อมูลจากพืน้ ท่ีศึกษา ยังมีกลุ่มย่อยเป็น กลุ่มติดเตียง (bed bound elder) และกลุ่มระยะสุดท้าย(bed bound elder-end of life)เป็นผู้สูงอายุ ท่ีไม่สามารถช่ วยเหลือตนเองในการทํากิจวัตรประจําวันได้ ต้องการความช่ วยเหลือในการเคล่ือนย้ายและหรือการทาํ กิจวัตรพืน้ ฐานประจาํ วันอ่ืนและเป็นกลุ่มผู้สูงอายุ ท่ีมีโรคเรือ้ รังหลายโรคและมีภาวะแทรกซ้อน ทม่ี า :www.gratisography.com

2-4 2.2.3 แนวทางการแกไ้ ขปัญหาปัจจุ บนั และอนาคต ที่มา :www.gratisography.com .2.2.3.1 สนับสนนุ ใหผ้ ู้สงู อายุอยู่ในท่อี ยู่อาศยั ท่ีช่วยสง่ เสรมิ ให้มี 2.2.3.2สนับสนุนใหผ้ ูส้ ูงอายุดํารงชีวิตอยู่อย่างมนั่ คงและมศี กั ด์ิศรี คุณภาพชีวิตท่ีดี •สร้างภมู คิ ุม้ กันใหผ้ ู้สงู อายุในการปกป้องตนเองจากภัยรอบดา้ นด้วย • สนบั สนุนให้ผูส้ ูงอายุคงอยูใ่ นท่อี ยู่อาศยั เดิม ในครอบครัว ชุมชน การให้ขา่ วสารความรู้ รวมทงั้ พัฒนาเครือ่ งมือ/กลไก/เทคโนโลยที ่เี หมาะสมกับ และสิง่ แวดลอ้ มท่ตี นคนุ้ ชิน โดยปรบั ปรุงสถานท่ี และสิง่ กอ่ สรา้ งทงั้ ภายในบ้าน การดํารงชีวติ อยา่ งปลอดภยั และมีศกั ด์ิศรี และภายนอกบา้ นให้เออื้ ต่อการใช้ชีวิตของผูส้ ูงอายุ •ลด“วยาคติ”หรือแนวความคิดเชิงลบต่อผูส้ ูงอายุในหมู่ประชากรทุก • สนับสนุนคนในครอบครัวท่ที าํ หน้าท่ดี ูแลผูส้ ูงอายุ เช่น ให้ขอ้ มูล เพศทุกวยั ขา่ วสาร และความรูเ้ ก่ียวกับการดแู ลผู้สูงอายุ •สนบั สนุนใหก้ ลมุ่ /ชมรมผูส้ ูงอายุมีบทบาทและความเขม้ แข็ง • ส่งเสรมิ ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ (อปท.) และเครือข่ายใน •ใหท้ กุ หน่วยงาน ครอบครัว และสถาบนั การศึกษา มีส่วนร่วม ชุมชน มีส่วนรว่ มในการสร้างกลไกเฝ้าระวังดแู ลผู้สงู อายุ เช่น มรี ะบบ รณรงค์ใหป้ ระชาชนมคี ่านยิ มเอือ้ อาทร เหน็ คุณคา่ และแสดงความกตัญญู อาสาสมคั รเย่ียมบ้าน ศนู ยด์ ูแลผู้สงู อายุกลางวนั กตเวทีต่อผูส้ งู อาย เสรมิ สรา้ งสุขภาพอนามัยของผูส้ ูงอายุ • สง่ เสริมให้ อปท. และชุมชน ปรับปรุงสงิ่ แวดล้อม และจัดบรกิ าร •ส่งเสริมใหป้ ระชาชนเริม่ สร้างและดูแลสขุ ภาพของตนตงั้ แต่วยั เยาว์ สาธารณะ โดยเฉพาะการขนส่งสาธารณะท่ีเออื้ ต่อการใช้ชีวิตนอกบ้านของ เพอ่ื เป็นผูส้ งู อายุท่ีมีสุขภาพดี ผู้สงู อายุ •จัดระบบบริการสาธารณสุขใหเ้ อือ้ ต่อการให้บริการผู้สูงอายุท่อี ยูใ่ น ชุ มชน • ยกระดับมาตรฐานของท่อี ยู่อาศยั ไม่ว่าจะดาํ เนินการโดยรฐั หรอื เอกชน สําหรับผู้สูงอายุท่ีจาํ เป็นต้องไปอยู่ในท่ีอยูอ่ าศยั ใหม่

4. ส่งเสรมิ ใหผ้ ูส้ งู อายุมหี ลักประกันรายได้ท่มี นั่ คงและยัง่ ยืน 2-5• สง่ เสรมิ ใหม้ ีการจ้างงานผู้สงู อายุ ที่มา :www.gratisography.com• สรา้ งมโนทศั นใ์ หมเ่ ก่ียวกับนิยามผู้สงู อายุเพือ่ ใหส้ ังคมเหน็ วา่ ผู้สงู อายุยังมีพลังและมศี กั ยภาพเป็นผูผ้ ลติ ในตลาดแรงงานได้• ปรับแก้ระเบยี บ/กฎเกณฑ์/กฎหมาย ท่เี ป็นอุ ปสรรคต่อการจา้ งงานผูส้ ูงอายุรวมทัง้ การขยายอายุเกษียณของข้าราชการและรฐั วิสาหกจิ• ส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนมคี วามรู้และวางแผนการออมเงินและใช้จา่ ยอย่างประหยัดเพอ่ื เป็นเงนิ ออมไวใ้ ช้จ่ายยามชราภาพ สนบั สนนุ ใหก้ องทุนการออมแห่งชาติมีความเขม้ แข็งและมกี ารบรหิ ารจดั การ ท่ีดี มุง่ พัฒนาระบบบาํ นาญใหค้ รอบคลมุ ผู้สูงอายุอย่างถ้วนหน้า รวมทัง้ปรบั ปรุงระบบเบยี้ ยงั ชีพให้เหมาะสมกับคา่ ครองชีพ/ภาวะเงินเฟ้ อท่ีสูงขึน้ 5. จัดทําแผนช่วยเหลอื ผูส้ ูงอายุเมื่อเกิดภัยพบิ ัติ • ให้ อปท. ทุกระดบั รวมผู้สงู อายุไว้เป็นกลุม่ เป้าหมายในแผนการป้องกัน/รับมอื ภยั พบิ ัติ • จดั ทาํ “คู่มือรับภยั พิบตั ”ิ ท่ีใหค้ วามสําคัญกับการช่วยเหลือผูส้ ูงอายุเป็นพเิ ศษเมื่อเกิดภัยพบิ ตั ิ • หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งกับการรับมือภัยพบิ ตั จิ ะต้องมฐี านข้อมูลเก่ียวกบัผู้สูงอายุในพนื้ ท่ี ซ่ึงควรมรี ายละเอยี ดเรือ่ งตําแหนง่ ท่อี ยู่ สถานะทางสุขภาพและผู้สามารถตดิ ต่อไดใ้ นกรณฉี ุกเฉิน ขอ้ มูลเหล่านตี้ ้องปรับให้เป็นปัจจุ บันอยู่เสมอ • หน่วยงานท่เี ก่ยี วขอ้ งต้องมกี ารซกั ซ้อมแผนปฏบิ ัตกิ ารช่วยเหลือผูส้ ูงอายุตามกาํ หนดเวลาท่ีเหมาะสม • ให้ขอ้ มูลความรู้แก่ผูส้ ูงอายุในการเตรียมความพรอ้ ม การดแู ลตนเองและการฟื้นฟู หากเกดิ ภยั พิบตั ิ

2-6 2.3 นโยบายและการพฒั นา เยาวชน ผู้สูงอายุ และผูด้ ้อยโอกาส(สท.)มาไว้ท่ีกรมกจิ การผูส้ ูงอายุและ 2.3.1คาํ แถลงนโยบายขอคณะรัฐมนตรี กาํ หนดให้เป็นหนว่ ยงานหลกั ท่ีมหี น้าท่รี ับผดิ ชอบภารกจิ เก่ียวกับผู้สงู อายุ พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา นายกรฐั มนตรีแถลงต่อสภานิติ บัญญตั ิแหง่ ชาติ เมือ่ วันศุกร์ท่ี 12 กันยายน 2557 ซ่ึงมีนโยบายท่ีเก่ยี วข้องดา้ น โดยตรง เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสรมิ ศกั ยภาพ คมุ้ ครอง และพิทักษ์สทิ ธิ ผู ้สูงอายุ ดังต่อไปนี้ ใหส้ ามารถดาํ รงชีวิตได้อย่างมีคณุ ภาพชีวิตท่ีดี และอยูใ่ นสังคมอย่างมี ขอ้ 3. การลดความเหลื่อมลํา้ ของสงคม และการสรา้ งโอกาสการเข้าถงึ บรกิ ารขอรฐั ความสขุ 3.4 เตรยี มความพรอ้ มเขา้ สสู่ งั คมผูส้ งู อายุ เพอื่ สง่ เสรมิ คณุ ภาพชีวติ และ กรมกิจการผูส้ ูงอายุจึงได้ทบทวนวิเคราะหภ์ ารกจิ และสภาพแวดล้อม เพอื่ การมงี านหรอื กจิ กรรมท่ี เหมาะสม เพอ่ื สรา้ งสรรคแ์ ละไมก่ อ่ ภาระตอ่ สงคมใน อนาคต โดยจดั เตรยี มระบบการดแู ลในบา้ น สถานพกั ฟื้นและโรงพยาบาล ทเ่ี ป็น จัดทาํ แผนกลยุทธด์ ้านผูส้ งู อายุ ประจําปี พ.ศ. 2559 โดยพิจารณาภารกิจ ความรว่ มมอื ของภาครฐั ภาคเอกชน ชุมชน และครอบครวั รวมทงั้ พฒั นาระบบ การเงนิ การคลงั สาํ หรบั การดแู ลผูส้ งู อายุ สาํ คัญใหม้ ีความครอบคลมุ ทัง้ ระดับนโยบายและการนาํ สูก่ ารปฏบิ ตั ิ โดยมุ่งเน้น 2.3.2 กรมกจิ การผูส้ งู อายุ (ผส.) ให้การขบั เคล่ือนงานผู้สูงอายุเป็นไปอยา่ งตอ่ เน่ือง เป็นกรอบทศิ ทางการ ไดจ้ ัดตงั้ ขนึ้ ตามพระราชบญั ญัตปิ รบั ปรุง กระทรวงทบวง กรม (ฉบบั ท่ี 14) พ.ศ. 2558 โดยได้โอนบรรดาอาํ นาจหน้าท่ีจากหนว่ ยงานท่ีเก่ยี วขอ้ งในสังกดั ดําเนนิ งานดา้ น การสง่ เสริม คุ้มครอง และพฒั นาคุณภาพชีวิตผูส้ ูงอายุ กระทรวงการพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์ ไดแ้ ก่ สาํ นักบริการ สวัสดกิ ารสงั คมเฉพาะงานเก่ียวกับผู้สงู อายุ สถานสงเคราะห์ผู้สูงอายุ ในสงั กัด ต่อไป กรมพฒั นาสังคมและสวัสดกิ าร (พส.) และ กองส่งเสรมิ และพฒั นาเครือข่าย เฉพาะงานเก่ยี วกบั ผูส้ ูงอายุ สํานักสง่ เสรมิ และพิทักษ์ผูส้ งู อายุ งานตาม กฎหมายว่าด้วยผูส้ งู อายุในสังกัดสาํ นักงานส่งเสริมสวสั ด์ิภาพและพทิ ักษ์เด็ก ทีม่ า :www.gratisography.com

2-7ภาพท่ี 8 แผนยุทธศาสตรก์ ิจการผู้สงู อายุ (ท่ีมา : กรมกจิ การผูส้ ุงอยุ )

2-8 2.4 แนวคิดละทฤษฎีท่ีเก่ยี วข้อง 2.4.1 แนวคดิ กิจกรรมเพอ่ื ผู้สูงวยั (Activity theory) ทฤษฎีกจิ กรรม ( Activity Theory ) พฒั นาขึน้ โดย Robert Havighurst ในปี 1960 ได้อธบิ ายถงึ สถานภาพทางสงั คมของผู้สงู อายุ ซ่ึงเน้นความสัมพันธ์ใน ทางบวก ระหว่างการปฏิบัติกจิ กรรมกับความพึงพอใจในชีวิตของผูส้ งู อายุ กล่าวคือเมือ่ บุคคลมีอายุมากขนึ้ สถานภาพ และบทบาททางสังคมจะลดลง แต่บุคคลยังมคี วามต้องการทางสังคมเหมือนบุคคลในวัยกลางคน ซ่ึงทฤษฎนี ี้ เช่ือว่า ผู้สงู อายุมคี วามต้องการท่ีจะเขา้ ร่วมกิจกรรม เพ่ือความสุขและการมี ชีวติ ท่ีดี เช่นเดียวกบั วยั ผู้ใหญ่ และสามารถเข้าร่วมกิจกรรมท่ีตนเองสนใจได้ สาหรบั คาว่ากิจกรรมตามแนวคิดนีห้ มายถึง กจิ กรรมตา่ ง ๆ นอกเหนือจาก กจิ กรรมท่ีบุคคลปฏิบตั ิต่อตนเอง นัน่ คอื กจิ กรรมท่บี ุคคลปฏบิ ตั ิตอ่ เพื่อนฝูง ต่อสงั คม หรือชุมชน ซ่ึง กจิ กรรมต่าง ๆ ท่ีผูส้ ูงอายุปฏิบตั จิ ะทาใหร้ ู้สกึ วา่ ตนเองยังมคี ุณคา่ และเป็น ประโยชนต์ ่อสังคม และจาเป็น การจัดกจิ กรรมให้เหมาะสมกับ สาระของทฤษฎีนี้ อธิบายได้โดยสรุปวา่ การมีกจิ กรรมตอ่ สังคมของผูส้ ูงอายุจะมีความสัมพนั ธ์ ทางบวกกับความพงึ พอใจในชีวิตของผูส้ ูงอายุ ดังนัน้ การมกี จิ กรรมท่ี พอเหมาะกบั วัยของผูส้ ูงอายุจงึ เป็นสงิ่ ท่ีมคี ุณคา่ สภาพสงั คมปัจจุ บนั ท่ที ันสมยั และเปล่ยี นแปลงไป (Modernization Perspective) เป็นปัจจัยซ่ึงวา่ ดว้ ย บทบาทของคนในสงั คมเปล่ียนแปลงไป อาจทาใหผ้ ูส้ ูงอายุกา้ วตามไปไม่ทนั การ เช่ือมโยงบุคคลแต่ละวัยแตล่ ะยุค (Intergeneration Linkege) เป็นปัจจัยท่สี นใจ เก่ียวกบั การเปล่ียนแปลงและประสบการณช์ ีวิตของคนเมอ่ื อายุมากขนึ้ ซ่ึงอาจ มคี วามแตกตา่ งกนั ระหวา่ งคนในวยั เดียวกนั แตค่ นละยุคสมัยบทบาทหน้าท่ตี าม โครงสร้างของแตล่ ะวยั ของคน(Structural Functional Theory) ปัจจยั นี้ กล่าวถึงการสูงอายุวา่ เมือ่ คนเข้าสวู่ ัยชรามากขนึ้ บทบาทหน้าท่ขี องตนเองก็จะ ลดลง ทีม่ า : pixabay.com

2-92.4.2 แนวคิดทฤษฎที างจิตวทิ ยา - Body transcendence and body preoccupation เป็นความรูส้ กึ ท่ีผู้สูงอายุยอมรับวา่ สภาพรา่ งกายของตนถดถอยลงและชีวติ จะมสี ุขถา้ ทฤษฎที างจิตวิทยา เชื่อว่า การเปล่ยี นแปลงบุคลกิ ภาพ และ สามารถยอมรับและปรบั ความรู้สกึ นีไ้ ด้พฤตกิ รรมของผูส้ งู อายุนัน้ เป็นการปรบั ตัวเก่ียวกบั ความนกึ คิด ความรู้ - Ego transcendence and Ego preoccupation เป็นความรูส้ กึ ท่ีความเข้าใจ แรงจูงใจ การเปล่ียนแปลงไปของอวัยวะรับสัมผัสทัง้ หลาย ยอมรบั กฎเกณฑแ์ ละการเปล่ยี นแปลงทางธรรมชาติ และยอมรับความตายได้ตลอดจนสังคมท่ผี ู้สูงอายุนัน้ ๆ อาศยั อยู่ ได้แก่ โดยไมร่ ู้สกึ หวาดวิตกดา้ นจิตวิทยา สามารถอธบิ ายได้จากลกั ษณะทาง พันธุกรรมและสิง่ แวดล้อมท่ีมีผลตปัจจยั ภายนอกดังนี้ 2.4.2.1 ทฤษฎีบุคลิกภาพ (Personality Theory) กลา่ วว่า ผูส้ ูงอายุ ปัจจยั ภายในตัวบุคคล ได้แก่ แรงจูงใจ สติปัญญา ความจํา การรับรู้จะมีความสุขหรอื ความทกุ ขน์ ัน้ ขึน้ อยู่กับภูมิหลังและการพฒั นาจิตใจของ การเรยี นรู้ และบุคลิกภาพ ทาให้พบวา่ ผู้สูงอายุจะมีการผนั แปรไปตามการบุคคลนัน้ ถา้ พัฒนามาด้วยความมัน่ คงอบอุ น่ ถ้อยทีถ้อยอาศยั เห็นใจผูอ้ น่ื เปล่ยี นแปลงในระดับตา่ ง ๆ ของ ร่างกายทางานร่วมกับผู้อน่ื ได้ดีกม็ กั จะเป็นผู้สงู อายุท่ีมคี วามสขุ อยูร่ วมกบั บุตรหลานได้อย่างมีความสุข แต่ในทางตรงกันข้ามถา้ ชีวิตท่ีผา่ นมาไมส่ ามารถทางาน ตามท่ีกลา่ วไปแลว้ ในทฤษฎีทางชีววทิ ยา มีงานวจิ ัยยืนยันว่า ผู้สูงอายุมีการเรียนรู้ได้เกือบเท่ากับคนอ่อนวยั แต่ตอ้ งอาศยั เวลาท่ีนานกวา่รว่ มมือกับใครได้ จติ ใจคับแคบ ไมร่ ูจ้ กั ช่วยเหลอื เหน็ ใจผู้อ่ืน ๆ ผูส้ ูงอายุผูน้ ัน้กจ็ ะประสบปัญหาในบัน้ ปลายของชีวิต (Erikson, 1963 อ้างใน เกษม และกุลยา ปัจจัยท่ีมีผลต่อการเรียนรู้คือ ความเครียด ผลจากประสาทและตนั ติผลาชีวะ สรรี วทิ ยาท่เี ปล่ียนแปลง ทาให้เสียความจา สว่ นแรงจูงใจพบวา่ ผู้สูงอายุไม่ จาํ เป็นต้องใช้แรงกระตนุ้ ในการทางานมากกว่าบุคคลวยั อนื่ ๆ 2.4..2..2 1ทฤษฎขี องเพค (Peck’s Theory) โรเบิร์ต เพค ได้แบ่ง ปัจจยั ภายนอก คอื การเปล่ียนแปลงทางสรีภาพ ไดแ้ ก่ พันธุกรรมผู้สงู อายุเป็น 2 กลุ่ม คือ ผูส้ ูงอายุวัยตน้ อายุ 56 - 75 ปี และผูส้ งู อายุตอน กบั ปฏิสัมพันธ์ท่ี ร่างกายมีต่อสงั คม ได้แก่ ขนบธรรมเนียมประเพณีปลาย อายุ 75 ปีขนึ้ ไป ซ่ึงทัง้ 2 กลุม่ มคี วามแตกตา่ งกันทัง้ ทางกายภาพ และ วฒั นธรรม โครงสรา้ งสังคมทางจติ สงั คมซ่ึงมผี ลตอ่ การเปล่ียนแปลงทางด้านจิตสงั คมของผูส้ งู อายุ 3ลักษณะคือ (Eliopoulos, 1995: 16) - Ego differentiation and work-role preoccupationเป็นความรูส้ ึกเก่ยี วกบั งานท่ีทาอยู่ โดยจะรูส้ ึกวา่ ตนยังมีคณุ ค่าอยู่ต่อเม่อืบทบาทลดลงหรอื เปล่ยี นไปจึงพอใจท่ีจะหาสิง่ อืน่ ๆ มาทาทดแทน

2-10 2.4.3 ทฤษฎีทางสงั คมวิทยา (Sociological theory) ทฤษฎที างสังคมเป็นทฤษฎีท่กี ล่าวถึงแนวโน้มบทบาท สัมพนั ธภาพ และการปรับตัวในสังคมของผู้สูงอายุ ซ่ึงพยายามวเิ คราะห์สาเหตุท่ที าให้ ผู้สงู อายุตอ้ งมีการเปล่ียนแปลงสถานภาพทางสงั คมไป และพยายามท่ีจะช่วย ใหผ้ ู้สูงอายุมีการดารงชีวติ อยู่ในสงั คมได้อย่างมีความสขุ มแี นวคิดท่ีน่าสนใจ ไดแ้ ก่ 2.4.5.1 ทฤษฎีแยกตนเองหรือทฤษฎีการถอยห่าง (Disengagement Theory) เป็น ทฤษฎีท่ีเกิดขนึ้ ครงั้ แรกราวปี 1950 กลา่ วถงึ ผูส้ ูงอายุเก่ียวกับการถอยหา่ งออกจากสงั คม ของ Elaine Cummings and Willam Henry ท่ีพมิ พ์เผยแพร่เป็นครัง้ แรกในหนังสอื Growing old: The Process of Disengagement เมือ่ ปี 1961 ( Eliopoulos, 1995: 16, Miller, 1995: 32-33 ,Yurick et. al., 1989: 88-89) มีใจความว่าผู้สงู อายุและสังคม จะลดบทบาทซ่ึงกนั และกัน อย่างคอ่ ยเป็นค่อยไปตามความต้องการของ รา่ งกายและไม่อาจหลกี เล่ียงได้ ( Gubrium , 1973 cited in Esberger and Hughes, 1989: เน่อื งจากยอมรับว่าตนเองมีความสามารถลดลง สขุ ภาพเส่ือมลงจงึ ถอยหนจี ากสังคมเพื่อลดความเครียดและรกั ษาพลงั งาน พอใจกบั การไม่ เก่ยี วขอ้ งกบั สังคมต่อไป เพื่อถอนสภาพและบทบาทของตนให้แกช่ นรุ่นหลัง ซ่ึง ระยะแรกอาจมีความวิตกกังวลอยูบ่ ้างในบทบาทท่ีเปล่ยี นแปลงไปและคอ่ ย ๆ ยอมรับการไม่เก่ยี วข้องกบั สังคมต่อไปไดใ้ นท่ีสดุ อย่างไรกต็ ามทฤษฎนี ีอ้ ธิบาย โดยกลา่ วดว้ ยวา่ โดยปกตแิ ลว้ บุคคลจะพยายามผสานอยูก่ บั สงั คมให้นานเท่าท่ี จะทาได้ เพอื่ เป็นการรักษาสมดุลทัง้ ด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ ก่อนท่ี บทบาทของตนเองจะแคบลงเมื่อมอี ายุเพมิ่ มากขนึ้ ทม่ี า :www.gratisography.com

โดยสรุปกระบวนการถอยห่างเป็นกระบวนการท่มี ีลกั ษณะเฉพาะดังนี้ 2-11 ก) เป็นกระบวนการพฒั นาอย่างค่อยเป็นค่อยไป ข) เป็นสิ่งท่มี ิอาจหลีกเล่ียงได้ ที่มา :www.gratisography.com ค) เป็นกระบวนการเปล่ียนแปลงท่ผี ูส้ ูงอายุถึงพอใจ ง) เป็นสากลของทุกสงั คม จ) เป็นสิง่ ท่ีเกิดขึน้ ตามธรรมชาติ เพื่อรกั ษาสมดลุ ของ มนษุ ย์ ปัจจัยท่ีมีผลต่อการถอ่ ยห่างของผูส้ ูงอายุ ได้แก่ กระบวนการชราท่ีมคี วามแตกตา่ งกันของแตล่ ะบุคคล, สภาพสงั คมและความเช่ือมโยงของอายุท่เี พมิ่ ขนึ้ (Eliopoulos, 1995: 16) จะเหน็ ไดว้ ่าทฤษฎกี ารถอยหา่ ง และทฤษฎีกิจกรรมจะมีความขดั แย้งกนั ซ่ึง Bernice Neugarten และคณะ(Neugarten et. al., 1968 cited in Miller, 1995: 33) ได้ศึกษาเพื่อหาข้อขัดแย้งทงั้ สองทฤษฎีแล้วพบว่า การดาเนินชีวิตของผู้สูงอายุท่ปี ระสบความสาเรจ็ มีความสขุ และมกี ิจกรรม ร่วมกนั นนั้ ขนึ้ อยูก่ บั บุคลกิ ภาพและแบบแผนชีวติ ของแต่ละบุคคลท่ผี า่ นมา ผูท้ ่มี บี ทบาทในสังคมชอบเขา้ รว่ มกิจกรรมในสงั คม ก็ตอ้ งการท่จี ะรว่ มกิจกรรมต่อไป ส่วนผู้ท่ีชอบสนั โดษไม่เคยมีบทบาทใดๆ ในสังคม มากอ่ น กย็ อ่ มท่จี ะแยกตัวเองออกจากสงั คมเมอื่ อายุมากขึน้และไดเ้ สนอแนวคดิ ใหม่เก่ยี วกับทฤษฎีความต่อเน่ือง (Continuity Theory)

2-12 .2.4.4 แนวคดิ พฤฒพลงั ส่ผู ูส้ งู อายุ จากการเปลย่ี นแปลงของโครงสรา้ งประชากรโลกท่ีหลาย ประเทศได้เขา้ มาสสู่ งั คมผู้สูงอายุ ทาใหน้ โยบายการดาเนินการในพัฒนาระบบ การดแู ลรวมถึงการจดั สวัสดิการเก่ียวกบั ของผู้สูงอายุต้องเน้นในระบบเชิงรุก มากกว่าการตัง้ รับ เพราะหากประเทศไมม่ ีการวางแผนป้องกันท่ีดี จะสง่ ผลถึง ภาวะวกิ ฤติต่อประเทศได้ ทางองค์การอนามยั โลก ไดม้ ีนโยบายในการพัฒนา ผูส้ งู อายุ คือ การมุง่ สู่การพัฒนาเพือ่ ให้ผู้สูงอายุพ่งึ ตนเองได้ มีศกั ยภาพ และเป็นผูท้ ่ียงั สามารถทาประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัวและสังคมได้ ซ่ึง สอดคล้องกบั แนวคิดพฤฒพลงั (Active Ageing) ท่ีมีเป็นแนวคิดท่แี สดงถงึ ภาวะสุขสมบูรณ์ของผูส้ ูงอายุ และเป็นเป้าหมายของผูส้ ูงอายุทัว่ โลก อาละคาด วา่ แนวคิดพฤฒพลงั เป็นทางออกท่จี ะแกไ้ ข ปัญหาท่ีเกดิ จากการเพมิ่ จานวนของผู้สูงอายุ โดยภาวะพฤฒพิ ลังมี องค์ประกอบท่ีสาํ คญั 3 ประการ คอื 1) การส่งเสรมิ ใหม้ สี ุขภาพท่ีดี (Healthy) 2) การสง่ เสริมให้มคี วามมัน่ คงหรือการมหี ลักประกันในชีวิต (Security) 3) การส่งเสริมการมสี ว่ นร่วม (Participation) (World Health Organization, 2002

ภาพท่ี 9 แผนภมู อิ งคป์ ระกอบหอ้ งเรยี น 2-13(ทม่ี า :วารสารวชิ าการ ม.อบ. ปีท่ี 11 ฉบบั ท่ี 2 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2552 ) 2.5 หลกั การออกแบบในเร่อื งท่เี ก่ยี วขอ้ ง ภาพท่ี 10 รปู แบบการจดั หอ้ งเรยี น (ทม่ี า :วารสารวชิ าการ ม.อบ. ปีท่ี 11 ฉบบั ท่ี 2 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2552 ) 2.5.1 หลักการออกแบบโรงเรียน คุณภาพของการออกแบบทางสถาปัตยกรรม คุณภาพขององค์กร และการบริหารจัดการด้านกายภาพของสภาพแวดล้อมในโรงเรียน อัน ประกอบด้วย ปัจจัยด้านคุณภาพของแสงสว่าง ความเหมาะสมของการใช้สี คุณภาพเสียง คุณภาพของอากาศวัสดุพืน้ ผิว และความเหมาะสมของพืน้ ท่ี ใช้สอยภายในโรงเรียน (Grifford, 1991) ร่วมกับการบริหารจัดการกิจกรรมการ เรียนการสอนท่ีสอดรับกับพัฒนาการของผู ้เรียนมีความสัมพันธ์กับผลการ พัฒนาในด้านบวกของเด็กประกอบกับการศึกษาหลักการส่งเสริมแรงจูงใจมี ผลต่อพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็ก (อารีย์ พันธ์มณี, 2544) การเสริมสร้าง บรรยากาศ สถานการณ์ในชัน้ เรียน และในสถานศึกษา ตลอดจนภาวะ แวดล้อมภายในสถานศึกษาท่ีมีอิทธิพลต่อการเรียนการสอน ส่งผลให้การ ประยุกตแ์ นวความคดิ หลักการทางจิตวิทยา ร่วมกับหลักการออกแบบรวมถึงหลัก การบริหารจัดการพืน้ ท่ี ต้อง คํานึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพของสภาพแวดล้อม ส่งผลให้การประยุ กต์แนวความคิดหลักการทางจิตวิทยา ร่วมกับหลักการ ออกแบบรวมถึงหลักการบริหารจัดการพื้นท่ี ต้องคํานึงถึงความสัมพันธ์ ระหว่างลักษณะทางกายภาพของสภาพแวดล้อม รูปแบบสถาปัตยกรรมและ การบริหารจัดการพิจารณาร่วมกับทัศนคติของผู ้เก่ียวข้องกับสถานศึ กษา เพ่ือนํามาสู่กรอบแนวทางการปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานอย่างเหมาะสม ส่งผล ต่อการสรา้ งสภาพแวดล้อม และบรรยากาศสภาวะน่าเรียน

2-14 ภาพท่ี 14 แผนภมู กิ ารวางผงั โรงเรยี น (ทม่ี า :วารสารวชิ าการ ม.อบ. ปีท่ี 11 ฉบบั ท่ี 2 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2552 ) 1. ตาํ แหนง่ ประตู สามารถกาํ หนดใหต้ าํ แหน่งของทางเข้า - ออกให้ อยู่ท่ีด้านใดดา้ นหน่งึ และควรมที างเขา้ -ออกทางเดียว เพ่ือสะดวกตอ่ การ ภาพท่ี 15 ตวั อยา่ งการจดั หอ้ งเรยี น สังเกตพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสมของนกั เรยี น อีกทงั้ สามารถเป็นแนวกําหนด (ทม่ี า :วารสารวชิ าการ ม.อบ. ปีท่ี 11 ฉบบั ท่ี 2 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2552 ) เส้นทางการเดินเพ่ือให้นักเรียนมสี มาธิในการเรยี นอยา่ งต่อเนือ่ ง 2. ตาํ แหนง่ และลักษณะช่องเปิ ด ทัง้ นตี้ าํ แหน่งของประตู และหน้าตา่ ง ควรมคี วามสมั พนั ธ์กนั กล่าวคอื ตาํ แหน่งของช่องประตู และหน้าตา่ งควร อยูใ่ นระดับเดียวกันและควรกําหนดใหร้ ะดบั ของช่องเปิ ดอยูใ่ นระดบั เดียวกัน สว่ นสูงของการนัง่ ของนกั เรียนระดับประถม คือ 0.90 -1.20 เมตร หรือใน ระดบั สายตา สําหรับนักเรยี นระดบั ประถมศึกษา เพอื่ ในการถ่ายเทอากาศและ สรา้ งสภาวะน่าสบายสาํ หรับผูเ้ รยี น เนือ่ งจากการออกแบบทางเขา้ ออกของ กระแสลมในระดับความสูงดังกลา่ วจะทาํ ให้เกิดการหมุนเวียนของกระแสลมท่ีมี ความเรว็ และแรงเหมาะสม อีกทัง้ ยังช่วยระบายอากาศ กลิ่นมลภาวะ และ ความร้อนภายในห้องได้ (ตรึงใจ บูรณสมภพ, 2539 และมาลินี ศรีสุวรรณ, 2543) และทําใหผ้ ่อนคลายสายตาจากการเรียนและสามารถลดความอึดอัด ภายในหอ้ ง (สุนทร บุญญาธกิ าร, 2539)

2-15 2.5.3 หลกั สตู รโรงเรียนผู ้สูงอายุ 2.5.3.1โครงสร้างหลักสตู ร หลักสตู ร การศึกษาตลอดชีวติ สาํ หรับผู้สูงอายุ จาํ นวน 144 ชวั่ โมง รายวชิ าท่ี1 การดแู ลสขุ ภาพท่จี าํ เป็นของผู้สงู อายุ 27 ชวั่ โมง รายวิชาท่ี2 นันทนาการและการใช้เวลาวา่ งให้เป็น 39 ชวั่ โมง ประโยชนส์ ําหรับผู้สงู อายุ รายวิชาท่3ี การพฒั นาจติ สาํ หรับผู้สงู อายุ 39 ชวั่ โมง รายวิชาท่ี4 การใช้ชีวติ อยา่ งมคี วามสขุ ของผูส้ ูงอายุ 24 ชวั่ โมง รายวชิ าท่5ี เทคโนโลยกี ารส่ือสารสําหรบั ผู้สูงอาย 15 ชวั่ โมง 2.5.3.2 คณุ สมบตั ขิ องผูเ้ รยี น ก) อายุ 55 ปี ขนึ้ ไป ข) เป็นผูท้ สี ามารถช่วยเหลอื ตนเองได้ ค) มจี ติ อาสา ยินดีช่วยเหลือกจิ กรรมในชุมชน ง) วธิ เี รยี นและขอ้ กําหนดการเรยี น ภาพท่ี 16 แนวคดิ โรงเรยี นผสู้ งู อายุ 2.5.3.3 ขอ้ กําหนดการเรยี น(ทม่ี า : หลกั สตู รการศกึ ษาตลอดชวี ติ สาํ หรบั ผสู้ งู อายุ ก)ผู้เรียน เรียนทังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เน้นการจัดการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร) เรยี นการสอนโดยผู้เรียนเป็นสาํ คัญ ใช้กจิ กรรมนําเนือ้ หา ข) ผูเ้ รยี นมีเวลาเรยี นทังภาคทฤษฎีและปฏิบัติร้อยละ 80ของ เวลาเรียนทงั้ หมด ตามหลกั สูตรกาํ หนด ค) ผูเ้ รยี นฝึ กปฏิบัติและมีชินงานตามทกี ําหนด

2-16 2.6 ทฤษฎีการทํากิจกรรมของมนษุ ย์ การท่ีมนษุ ยจ์ ะทาํ กจิ กรรมต่างๆ ได้อยา่ งเต็มศกั ยภาพนัน้ มกั ขนึ้ อยู่ กับปัจจัยสว่ นบุคคลดังต่อไปนี้ คือ อายุ เพศ ความสนใจ ระดับการศึกษา ทฤษฎที ่ีเก่ยี วข้องกับการทํากิจกรรมในมนุษย์ทางกจิ กรรมบําบัดแบง่ บทบาททางสงั คม ทกั ษะในการทาํ กจิ กรรม แหลง่ ท่มี าของรายได้และอน่ื ๆ ซ่ึง ออกเป็น 4 ปัจจัยตอ่ ไปนี้ (สภุ าวดี พุ ฒิหนอ่ ย, 2553) คอื จะมผี ลตอ่ การทาํ กจิ กรรมของมนุษย์ นอกจากนีย้ ังขึน้ อยูป่ ัจจัยทางด้าน สิง่ แวดล้อมรว่ มดว้ ย อาทิเช่นสิง่ แวดล้อมทางกายภาพ สรรี วิทยา บุ คคล จิตวิทยา สงั คม การเมอื ง (Person) การทาํ กิจกรรมท่ีมีเหมาะสมหรอื มีศกั ยภาพย่อมทําให้เกิดผลดตี อ่ . สงิ่ แวดล้อม สขุ ภาพ เกิดทักษะ เกดิ การเรียนรูแ้ ละพฒั นาความสามารถในต่างๆ ทัง้ ยงั ( Environment) ก่อให้เกดิ ความรู้สกึ ภาคภมู ิใจในตนเอง มองเห็นคุณค่าของตนเอง การลง มือในการทาํ กจิ กรรม ( Occupation) มสี ิง่ สาํ คัญอยูท่ ่ตี ัวกจิ กรรมนัน้ ตอ้ ง กิจกรรม อาศยั ทักษะการทํา หรือลักษณะกิจกรรมมีความซบั ซ้อนมากนอ้ ยเพียงใด ( Occupation) กิจกรรมนนั้ ต้องอาศยั ความรู้ หรอื ประสบการณห์ รอื ไม่ การได้ทาํ กจิ กรรม เปิ ดโอกาสใหต้ นเองได้แสดงออกหรือนํามาซ่ึงการไดร้ ับการยอมรบั ในสงั คม สขุ ภาพ ( Health) ภาพท่ี 12 แผนภาพองคป์ ระกอบหลกั ของกจิ กกรม

2-17 มนษุ ย์( Human) เช่ือวา่ มแี รงขับมาตงั้ แต่เกดิ ในการคน้ พบ 1) เจตจํานง Volitiและควบคุมสงิ่ แวดล้อมรอบๆตวั ของเขา มนุษย์ เป็น ระบบเปิ ด สงิ่ แวดล้อมรอบๆตัวมีผลกระทบต่อพวกเขา เม่ือใดก็ตามท่ีมนุษย์ไดก้ ระทําผา่ นกิจกรรม 2) อุ ปนิสยั Habituจะส่งผลให้เกิดขอ้ มูลย้อนกลบั มาปรับและพฒั นาศกั ยภาพของตนเองอย่าง 3) การกระทํา Performanceตอ่ เนื่อง กิจกรรม ( Occupation) ภายใต้รูปแบบกิจกรรมของมนุษย์ คอื สิง่ ใดกต็ ามท่ีมนุษยก์ ระทาํ ออกมาเป็นกจิ กรรม โดยอาจแบ่งประเภทกิจกรรมเป็นการบาํ รุงรกั ษาตนเอง งาน และงานยามว่าง/การเล่น การทํากิจกรรมดงั กล่าวอย่างสมดลุ นาํ มาซ่ึงสุขภาพท่ีดี ( Wellness) โดยตอ้ งทาํ กจิ กรรมท่ีใช้เวลาอยา่ งเหมาะสม สามารถเตมิ เตม็ บทบาทของชีวิต พัฒนาศกั ยภาพของตนเองช่วยให้เกิดการปรบั ตัวเขา้ กบั สงิ่ แวดล้อมไดอ้ ย่างดีองค์ประกอบท่เี ก่ยี วข้องในการทํากจิ กรรมของมนุษย์ ( Subsystem ofhuman occupation) มรี ะบบท่เี ก่ียวขอ้ งภายในตัวของมนุษย์ กิจกรรมของมนุษย์เป็นสิ่งท่ีซบั ซ้อน กล่าวคือบุคคลอาจจะสามารถหรือไม่สามารถลงมือทํากิจกรรมนนั้ ไดอ้ ยา่ งประสบผลสําเร็จ บางคนนัน้ ตอ้ งพยายามแล้วพยายามอีกถ้ายงั ทํากจิ กรรมดังกลา่ วไมป่ ระสบผลสําเร็จ ในขณะท่ีบางคนทาํกจิ กรรมดังกล่าวไดอ้ ย่างงา่ ยดาย ทัง้ นเี้ มอ่ื พิจารณาแล้วปัจจัยท่ีเก่ียวข้องจะประกอบไปด้วย 3 ระบบด้วยกัน

2-18 ภาพท่ี 11 แผนภาพหลกั การออกแบบหอ้ งเรยี น ปัจจุ บนั กับสภาพการณ์จริงของสถานศึกษา ผลการสํารวจพบว่า (ทม่ี า :วารสารวชิ าการ ม.อบ. ปีท่ี 11 ฉบบั ท่ี 2 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2552 ) ลักษณะทางกายภาพสถานศึกษา 3 ลักษณะ ได้แก่ การวางผังอาคาร รูปแบบลักษณะอาคาร และสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกสถานศึกษามี รายละเอียดสรุปได้ดังนีก้ ารวางผงั อาคารเรยี นของสถานศึกษาทัง้ 3 สงั กัด มี การวางผังอาคาร 3 ลักษณะ ไดแ้ ก่ ลกั ษณะแบบกลุ่มอาคาร ลักษณะแบบ ปีก (ตัว H) ลักษณะแบบวงล้อม (ตวั L) และลกั ษณะแบบแถว (ตวั I) โดย ขนาดของสถาน ศึกษาสง่ ผลตอ่ การเลอื กลกั ษณะการจัดวางแนว ตาํ แหน่ง ตา่ ง ๆของอาคาร ขณะเดยี วกันมีความสัมพันธ์กบั นโย บายของแต่ละ สถานศึกษา เม่อื พิจารณาถึงความเหมาะ สมและคุณสมบตั กิ ารวางผงั อาคารแต่ละลักษณะพบว่า การจดั ผังอาคารเรียนแบบวงล้อมหรอื แบบตวั L (ภายใตก้ ารกาํ หนดลักษณะรูปแบบการวางผังอาคารของทางกระทรวง สาธารณสขุ (2535) และหลกั การจดั สภาพแวดล้อมในโรงเรียน (บุญช่วย จนิ ดาประพันธ,์ 2536) มีความเหมาะสมในการระบายอากาศ และความร้อน การใช้แนวอาคารบดบงั และลดปรมิ าณแสงแดด และเสียง ขณะท่ีการมีระยะ สญั จรการเขา้ ถงึ ท่ีสะดวก และเหมาะสม ส่งผลดีตอ่ การใช้งานทัง้ ในด้าน ระยะทางและความรู้สึก

2-19 ตารางท่ี 1 ขนาดพน้ื ทใ่ี ชส้ อยน้องเรยี น(ทม่ี า :วารสารวชิ าการ ม.อบ. ปีท่ี 11 ฉบบั ท่ี 2 พฤษภาคม - สงิ หาคม 2552 )

2-20 2.6 แนวคิดการออกแบบสภาพแวดล้อมและท่ีพกั อาศยั ของผู้สูงอายุ มีหลักการ4 ข้อ ดงั นี้ 2.6.1. มคี วามปลอดภยั ทางกายภาพ ความปลอดภัยทางดา้ นรา่ งกาย และสุขภาพอนามยั เช่น มที ่พี ักเพียงพอแยกเป็น สัดส่วน มีระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการท่ดี ี มีระบบการปกป้ องจากภายนอก 2.6.2. สามารถเข้าถึงได้งา่ ย การมีทางลาดสาํ หรบั รถเข็น ความสูงของ ตูท้ ่ผี ูส้ ูงอายุสามารถหยิบของได้สะดวก หรือการจดั ให้อยู่ใกลแ้ หล่งบรกิ ารตา่ งๆ เช่น วดั โบสถ์ หอ้ งสมุด โรงละคร สถาบนั เพื่อ การศึกษา บริการดา้ นสขุ ภาพ อยู่ภายในระยะท่สี ามารถเดนิ ถึงได้ และการจดั ใหใ้ กล้แหล่ง ระบบขนส่งมวลชน และใกลแ้ หล่งชุมชนเดิมเพอื่ ให้ญาติมติ รสามารถมาเย่ียมเยียนได้สะดวก 2.6.3. สามารถสรา้ งแรงกระตุ้น การตกแต่งสภาพแวดล้ อมและท่ีอยู่ อาศยั ท่มี ีความน่าสนใจ การเลือกใช้ สที ่ีเหมาะสม มีความสว่างและชดั เจนจะทาํ ใหก้ ารใช้ชีวิตดูกระชุ่มกระชวย ไม่ซึมเศร้า และการ เขา้ ร่วมกิจกรรมตา่ งๆกระตุ้น ให้เกดิ การนําความสามารถต่าง ๆ ของผู้สูงอายุมาใช้อย่างเตม็ ท่ีเปิ ดโอกาสให้ ผู้สงู อายุได้ใช้ความสามารถท่ีมกี ่อประโยชน์ให้กบั ชุมชน เช่น จัดที อยูอ่ าศยั ผูส้ ูงอายุไว้ใกล้กับโรงเรียนสอนเดก็ เล็กหรอื ห้องสมุด 2.6.4. ดแู ลรักษางา่ ย บ้านสําหรบั ผู้สงู อายุควรจะออกแบบให้ดแู ลรกั ษา ง่าย ด้วยเหตุนี้ บา้ นทัว่ ๆไปควรจะเลก็ ถา้ เป็นหลงั ใหญ่ควรจะมหี อ้ งซ่ึงง่ายต่อ การปิ ดเอาไว้เพ่ือสะดวกสบายในการดูแล ทม่ี า : freeimages.com 

2-212.6.1 แนวคิดการออกแบบอุ ปกรณไ์ ฟฟ้ าและงานระบบอน่ื ๆแสงไฟ - ควรมแี สงไฟทัง้ ภายในและภายนอกอาคารเพื่อช่วยในการ - สวติ ซใ์ หญ่ และมีแสงตอนปิ ดสวิตซ์ มองเห็นของผู้สงู อายุ - สวติ ซส์ ามารถปิ ดเปิ ดได้ในระยะเอือ้ มถึงจากเตียงนอน - ใช้แสงสะท้อน (IndirectLighting) ท่มี ีความสว่างพอเหมาะ สวิตซ–์ ปลัก๊ ไฟ - ในบรเิ วณท่ีอยูอ่ าศยั ควรมคี วามสวา่ งทัง้ ในเวลากลางวัน และกลางคนื - สูงจากพนื้ อย่างน้อย 45 เซนติเมตร เพื่อหลีกเล่ียงกาก้ม - ทางเดิน ควรมแี สงสวา่ งเพียงพอและมีราวสาํ หรบั จบั ท่ี - มีสวิตซส์ ําหรับปิ ด-เปิ ดปลัก๊ สามารถเหน็ ได้ชดั เจน ระบบไฟฟ้ า ระบบสขุ าภบิ าล - ตดิ ตัง้ ระบบตัดไฟอัตโนมตั ิกรณีไฟฟ้ าลัดวงจร - ทวั่ ทัง้ บา้ นมีการระบายนาํ้ ท่ีดี ไม่มนี าํ้ ท่วม ขัง - มรี ะบบถงั นา้ํ สาํ รอง(ใต้ดนิ หรือหลังคา) - มรี ะบบไฟฟ้ าแสงสวา่ งฉกุ เฉินบริเวณห้องนอน ห้องรบั แขก และทางเขา้ บา้ น สวิตซ์ - สงู ไมเ่ กิน 90 เซนติเมตร เพื่อหลกี เล่ียงการเออื้ ม

2-22 2.6.3 แนวคิดการออกแบบทางสญั จร ทาง 2.6.2 แนวคดิ การออกแบบป้ายและสัญลักษณ์ ภาพท่ี 17 แนวคดิ การออกแบบป้ายและสญั ลกั ษณ์ ภาพท่ี 18 แนวคดิ การออกแบบทางสญั จร ทางเทา้ทม่ี า :คมู่ อื การจดั สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมและปลอดภยั ทม่ี า :คมู่ อื การจดั สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมและปลอดภยั สาํ หรบั ผสู้ งู อาย ุ สาํ หรบั ผสู้ งู อาย ุ

2-232.6.4 แนวคิดการออกแบบทางลาดขอบถนน, ทางลาดตัดขอบคนั หิน 2.6.5 แนวคดิ การออกแบบท่ีจอด ภาพท่ี 20 แนวคดิ การออกแบบทจ่ี อดรถ ทม่ี า :คมู่ อื การจดั สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมและปลอดภยั สาํ หรบั ผสู้ งู อาย ุ แนวคิดการออกแบบทางลาดภายนอกอาคารภาพท่ี 19 แนวคดิ การออกแบบทางลาดขอบถนน, ทางลาดตดั ขอบคนั หนิ ภาพท่ี 21 แนวคดิ การออกแบบทางลาดภายนอกอาคาร ทม่ี า :คมู่ อื การจดั สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมและปลอดภยั ทม่ี า :คมู่ อื การจดั สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมและปลอดภยั สาํ หรบั ผสู้ งู อายุ สาํ หรบั ผสู้ งู อาย ุ

2-24 2.6.8 แนวคิดการออกแบบลิฟต์ 2.6.7 แนวคิดการออกแบบสวนและพืน้ ท่ภี ายนอก ภาพท่ี 23 แนวคดิ การออกแบบลฟิ ต์ โดยสาร ทม่ี า :คมู่ อื การจดั สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมและปลอดภยั สาํ หรบั ผสู้ งู อาย ุ 2.6.9 แนวคิดการออกแบบบนั ได ภาพท่ี 22 แนวคดิ การออกแบบสวนและพน้ื ทภ่ี ายนอก ภาพท่ี 24 แนวคดิ การออกแบบบนั ไดทม่ี า :คมู่ อื การจดั สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมและปลอดภยั ทม่ี า :คมู่ อื การจดั สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมและปลอดภยั สาํ หรบั ผสู้ งู อายุ สาํ หรบั ผสู้ งู อาย ุ

2-252.6.10 แนวคดิ การออกแบบทางสัญจร ทางเช่ือมอมระหว่างอาคาร 2.6.11 แนวคดิ การออกแบบห้องนงั่ เล่นและพืน้ ท่ปี ระทานอาหาร ภาพท่ี 25 แนวคดิ การออกแบบทางสญั จร ทางเชอ่ื มอมระหวา่ งอาคาร ภาพท่ี 26 แนวคดิ การออกแบบหอ้ งนงั่ เลน่ และพน้ื ทป่ี ระทานอาหารทม่ี า :คมู่ อื การจดั สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมและปลอดภยั สาํ หรบั ผสู้ งู อายุ ทม่ี า :คมู่ อื การจดั สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมและปลอดภยั สาํ หรบั ผสู้ งู อายุ

2-26 2.6.12 แนวคิดการออกแบบห้องนํา้ หลักการออกแบบ - พนื้ ไม่ล่ืน และมรี าวจับท่สี ามารถเดินได้ทัง้ ห้องนํา ภาพท่ี 27 แนวคดิ การออกแบบหอ้ งน้ํา - มรี าวจับจากภายนอกหอ้ ง เช่น หอ้ งนอน หรือห้องรับแขก ท่ตี อ่ เนือ่ งมาท่ี ทม่ี า :คมู่ อื การจดั สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมและปลอดภยั หอ้ งนาํ้ ได้ - เฉพาะตรงฝักบัว และท่ีอาบนํา้ ควรมีท่นี ัง้ และสัญญาณฉกุ เฉินในห้องนํา้ สาํ หรบั ผสู้ งู อาย ุ - ฝักบวั ควรเป็นชนิดแรงดนั ตํา่ - ประตูหอ้ งนาํ้ ควรเป็นแบบท่เี ปิ ดใหค้ นอนื่ สามารถเขา้ ไปได้เม่ือเกดิ อุ บตั ิเหตุ - ห้องนํา้ ควรกว้างประมาณ 1.50 -2.00 เมตร (ไม่กวา้ งและไม่แคบเกินไป) - มีพนื้ ท่ีวา่ งภายในห้องส้วมมเี สน้ ผ่าศนู ย์กลางไมน่ ้อยกวา่ 1.50 เมตร

2-272.6.13 แนวคิดการออกแบบอุ ปกรณ์ไฟฟ้ าและงานระบบอื่นๆ -ราวบนั ได ราวทางลาด ราวระเบียง ราวยดึ เกาะในห้องส้วม และ ทางเดิน สแี ละพืน้ ผิว อุ ปกรณ์และส่วนของอาคารควร ให้มีสที ่ตี ัดกันหรือแตกต่างจากสีของส่วน ตอ่ เนื่องของอุ ปกรณ์และส่วนของอาคารนัน้ อยา่ ง -ป้าย แผนผัง ตัวอักษร เครื่องหมาย และสัญลักษณ์เด่นชดั ดงั ต่อไปนี -แผงสวิตซเ์ ต้ารับ และเตา้ เสียบ -พนื้ ทางเดนิ พนื้ ต่างระดับ พืน้ ห้องสว้ ม และพนื้ ผิวต่างสัมผัส -เสา สงิ่ กีดขวาง และส่วนย่นื จากผนังบนทางเดิน -ผนังและบวั เชิงผนัง -สขุ ภัณฑ์และอุ ปกรณส์ ิง่ อํานวยความสะดวกอนื่ ๆ -ประตู ธรณีประตูวงกบหรือขอบประตู ประตูทางเขา้ และประตูลฟิ ต์ -บันได บนั ไดเลื่อน ทางเล่อื น และทางลาด -ลูกนอนกบั ลูกตัง้ ของขัน้ บนั ไดหรือลกู นอนขัน้ ท่หี นิงงกบั พนื้ นหอ้ ง -บรเิ วณจมูกบันได ทม่ี า : freeimages.com 

2-28 2.7 โครงสร้างโรงเรียนผู้สูงอายุ 2.7.1 : ท่ีปรึกษาโรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นฝ่ ายทําให้การดําเนินงาน โรงเรียนผู้สูงอายุ มีความน่าเช่ือถือในการทํางาน และถือว่าเป็นการสร้าง พันธมิตรในการทํางานชัน้ เย่ียม อาจเป็นฝ่ ายสงฆ์ ฝ่ ายฆราวาส เช่ น นายอําเภอ ผูบ้ รหิ ารองค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ เป็นตน้ 2.7.2 : ครูใหญ่ หรอื ประธาน หรือผู้อํานวยการโรงเรยี นผูส้ ูงอายุ เป็นแกนนําท่ีเป็นผู้ริเริ่มงาน ได้รับการยอมรับและศรัทธาจากกลุ่มผู้สูงอายุ ด้วยกัน เป็นผู้มีบทบาทสําคัญในการประสานงานและรังสรรค์กิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน 2.7.3 : คณะกรรมการและแกนนําร่วมขับเคลื่อน เป็นเงื่อนไขหลัก และเป็นกลไกหลักในการเคลื่อนงานโรงเรียนผู้สูงอายุ โดยแบ่งตามหน้าท่ีให้ ประสบความสาํ เรจ็ ทม่ี า : freeimages.com  ท่ีมา :www.gratisography.com

2.7.4 โครงสรา้ งโรงเรียนผูส้ งู อายุ 2-29 2.7.4.1 : ท่ีปรกึ ษาโรงเรียนผูส้ งู อายุ 2.7.5การบรหิ ารจดั การ : หลกั 5 ก (1) กลุ่ม : ต้องสร้างการรวมกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มแกนนําเป็นฝ่ ายทําให้การดําเนินงานโรงเรียนผู้สูงอายุมีความน่าเช่ือถือในการทํางานและถือว่าเป็นการสร้างพันธมิตรในการทํางานชนั้ เย่ียม อาจเป็นฝ่ ายสงฆ์ คณะทํางาน และกลมุ่ นกั เรยี นฝ่ายฆราวาส เช่น นายอําเภอ ผูบ้ รหิ ารองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ เป็นต้น (2) กรรมการ : เป็นตัวแทนทําหน้าท่ีในการบริหารจัดการทํางานให้ 2.7.4.2 : ครูใหญ่ หรือประธาน หรอื ผูอ้ ํานวยการโรงเรยี นผู้สงู อายุ ประสบความสําเร็จ (3) กติกา : มีข้อตกลงร่วมกัน เห็นพ้องต้องกัน มีทิศทางในการเป็นแกนนําท่ีเป็นผู้ริเริ่มงาน ได้รับการยอมรับและศรัทธาจากกลุ่มผู้สูงอายุด้วยกัน เป็นผู้มีบทบาทสาํ คญั ในการประสานงานและรังสรรค์กิจกรรมต่าง ๆ ทาํ งานท่ีชดั เจนของโรงเรียน (4) กิจกรรม : ขัน้ แรกเน้นกิจกรรมในการแก้ปัญหาง่าย ๆ เมื่อมี 2.7.4.3 : คณะกรรมการและแกนนําร่วมขับเคล่ือนเป็นเง่ือนไขหลัก ประสบการณ์มากขึ้น จึงเคล่ือนไปสู่กิจกรรมท่ีตอบสนองปัญหาและความและเป็นกลไกหลักในการเคลื่อนงานโรงเรียนผู้สูงอายุ โดยแบ่งตามหน้าท่ีให้ ต้องการท่มี คี วามซบั ซ้อนมากขึน้ประสบความสาํ เรจ็ (5) กองทุน : การขับเคลื่อนกิจกรรมอย่างมั่นคงต้องเรียนรู้วิธีการ 2.7.4.4 : ทีมวิทยากรจิตอาสา เป็นทีมให้ความรู้ จากหน่วยงาน หางบประมาณเข้ากองทุนโรงเรยี นผูส้ ูงอายุองค์กรต่าง ๆ ในลักษณะเครือข่ายทางสังคม เช่น การศึกษานอกโรงเรียนศูนย์พัฒนาฝี มือแรงงาน โรงพยาบาล สํานักงานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เป็นต้น

2-30 2.8 หลักการกฎหมายท่เี ก่ียวขอ้ ง 2.8.1 กฎหมายเฉพาะเรอ่ื ง กฎหมายท่เี ก่ียวข้อง - พระราชบญั ญัตกิ ารฟื้นฟู สมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔ - กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ระเบียบคณะกรรมการฟื้นฟู สมรรถภาพคนพิการว่าด้วยมาตรฐาน อุ ปกรณห์ รือสงิ่ อํานวยความ สะดวก โดยตรงแกค่ นพิการ พ.ศ.๒๕๔๔ - พระราชบญั ญตั ิ ผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ - พระราชบัญญัติควบคมุ อาคาร พ.ศ. ๒๕๔๓ - กฎกระทรวงกาํ หนดสิง่ อํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผู้พิการ หรอื ทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ. ๒๕๔๘ ใช้มาตรฐานสากล ท่สี งู กว่ากฎหมายไทย International Association for Universal Design. Accessible London: achieving an inclusive environment. Accessibility for the Disabled ,The London Plan Supplemen- tary Planning Guidance A Design Manual for a Barrier Free Environment, United Na- tions Economic and Social Commission ทม่ี า : freeimages.com 


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook