Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เทคโนโลยีสารสนเทศในงานสำนักงาน

เทคโนโลยีสารสนเทศในงานสำนักงาน

Published by อุไรวรรณ กาญจนา, 2021-01-28 20:21:45

Description: การพัฒนาหนังสืออิเลกทรอนิกส์ (E-book)

Keywords: นางสาวสุชาวดี นางสาวอรปรียา นางสาวอุไรวรรณ

Search

Read the Text Version

คำนำ หนังสือเลม่ น้มี เี น้อื หาเก่ยี วกับ การพัฒนาหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Book) รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องานสำนักงาน เพื่อเป็นสื่อที่ให้ข้อมูลทั้งข้อความ ภาพน่ิง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และการเชื่อมโยงไปยังเนื้อหาอื่นในเล่มเดียวกัน หรือแม้แต่ไปยัง เว็บไซต์ในอินเทอร์เน็ตได้ในแต่ละหน้าของเนื้อหา หนังสืออิเล็กทรอนิกส์จะบันทึกลง แผ่นซีดีใช้อ่านบนจอมอนิเตอร์หรือดาวน์โหลดออนไลน์อ่านได้ทั้งบนจอมอนิเตอร์และ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์มือถือ เช่น Tablet PC และ Palmด้วยความสำคัญของหนังสือ อิเลก็ ทรอนิกส์เพอ่ื เปน็ ส่ือในการแพรก่ ระจายการเรียนรู้ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้จัดให้ มีโครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อเผยแพร่ความรู้ไปยัง ครู นักเรียน และ สถาบันการศกึ ษาอน่ื ๆ ท้ังในรปู แบบแผ่นซีดแี ละออนไลน์ จดั ทำโดย คณะผูจ้ ดั ทำ

สารบญั หน้า เรือ่ ง 1-3 4 หน่วยที่ 1 ความรูเ้ บ้ืองตน้ เก่ยี วกบั สารสนเทศและอปุ กรณ์โทรคมนาคม 5-10 -คาถามฝึ กความคิด 11 หน่วยท่ี 2 ระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ 12-16 -คาถามฝึ กความคิด 17 หน่วยที่ 3 ขอ้ มลู และการจดั การขอ้ มลู 18-24 -คาถามฝึ กความคดิ 25 หน่วยท่ี 4 เครอ่ื งมือและการสบื คน้ ขอ้ มูล 26-31 -คาถามฝึ กความคดิ 32 หน่วยที่ 5 การสบื คน้ ขอ้ มลู บนอนิ เทอรเ์ น็ต 33-40 -คาถามฝึ กความคิด 41 หน่วยท่ี 6 ระบบสารสนเทศ 42-48 -คาถามฝึ กความคดิ 49 หน่วยที่ 7 การประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ รูปในการพมิ พเ์ อกสาร 50-51 -คาถามฝึ กความคิด 52 หน่วยท่ี 8 การประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรแกรมดา้ นงานคานวณเพอ่ื จดั การสารสนเทศ 53-59 -คาถามฝึ กความคิด 60 หน่วยท่ี 9 การประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมดา้ นงานนาเสนอขอ้ มลู -คาถามฝึ กความคิด เฉลยคาถามฝึกความคดิ หน่วยที1่ - หน่วยท่9ี เอกสารอา้ งองิ



1 หน่วยที่ 1 ความรเู้ บ้ืองตน้ เกี่ยวกบั สารสนเทศ และอปุ กรณโ์ ทรคมนาคม ความหมายของคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอรม์ าจากภาษาละตินว่า Computare ซ่ึงหมายถึงการนับหรือการคานวณพจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ใหค้ วามหมายของคอมพิวเตอรไ์ วว้ ่า “เคร่ืองอิเล็กทรอนิกสแ์ บบ อตั โนมตั ิทาหนา้ ท่เี หมือนสมองกลใชส้ าหรบั แกป้ ญั หาตา่ ง ๆ ที่งา่ ยและซบั ซอ้ นโดยวิธีทางคณิตศาสตร”์ คอมพิวเตอรจ์ งึ เป็ นเคร่ืองจกั รอิเล็กทรอนิกสท์ ี่ถูกสรา้ งข้ึนเพ่ือใชท้ างานแทนมนุษยใ์ นดา้ นการคิด คานวณและสามารถจาขอ้ มูลทง้ั ตวั เลข และตวั อกั ษรไดเ้ พ่ือการเรียกใชง้ านในครง้ั ต่อไปนอกจากน้ียงั สามารถจดั การกบั สญั ลกั ษณ์ไดด้ ว้ ยความเร็วสูง โดยปฏิบตั ิตามขน้ั ตอนของโปรแกรมคอมพิวเตอรย์ งั มี ความสามารถในดา้ นตา่ ง ๆ อกี มากอาทิ เช่น การเปรยี บเทยี บทางตรรกศาสตร์ การรบั สง่ ขอ้ มลู การจดั เกบ็ ขอ้ มลู ในตวั เคร่อื งและสามารถประมวลผลจากขอ้ มูลตา่ ง ๆ ได้ ประเภทของคอมพวิ เตอร์ เน่ืองจากคอมพิวเตอรใ์ นแต่ละยคุ มคี วามสามารถแตกต่างกนั การแบง่ ประเภทของคอมพวิ เตอรจ์ งึ ตอ้ งอาศยั การแบ่งประเภทของเคร่อื งที่อยู่ในยุคเดยี วกนั ซ่ึงมีวธิ ีการแบง่ 3 วธิ ี ดงั น้ี 1. แบง่ ตามวิธีการประมวลผล 2. แบง่ ตามวตั ถปุ ระสงคข์ องการใชง้ าน 3. แบ่งตามขนาดของคอมพวิ เตอร์

2 หลกั การทางานของคอมพวิ เตอร์ การทางานของคอมพิวเตอรจ์ ะเร่ิมจากผูใ้ ชป้ ้ อนขอ้ มูลผ่านทางอุปกรณ์ของหน่วยรบั เขา้ (Input device) เช่น คยี บ์ อรด์ เมาส์ ขอ้ มูลจะถกู เปล่ยี นใหเ้ ป็นสญั ญาณดิจทิ ลั ประกอบดว้ ยเลข 0 และ 1 แลว้ ส่ง ต่อไปยงั หน่วยประมวลผลกลาง เพ่ือประมวลผลตามคาสงั่ ในระหว่างการประมวลผลขอ้ มูลจะถูกเก็บไวท้ ี่ (Random Access Memory: RAM) ทาหน้าที่เก็บข้อมูลจากการประมวลผลเป็ นการชั่วคราว ขณะเดียวกนั อาจมีคาสงั่ ใหน้ าผลลพั ธจ์ ากการประมวลผลดงั กล่าวไปแสดงผลผ่านทางอุปกรณ์ผ่านทาง อปุ กรณข์ องหน่วยส่งออก เช่น จอภาพ หรอื เครอ่ื งพมิ พ์ นอกจากน้ีเราสามารถบนั ทึกขอ้ มลู ท่ีอยู่ในอนาคต โดยการอา่ นขอ้ มลู ทบี่ นั ทกึ ในส่อื ดงั กลา่ วผา่ นทางเครอ่ื งขบั หรอื ไดรฟ์ (drive) การสง่ ผา่ นขอ้ มูลไปยงั หน่วย ต่าง ๆ ภายในระบบคอมพวิ เตอรจ์ ะผา่ นทางระบบบสั (bus) อปุ กรณ์ของหน่วยรบั เขา้ และสง่ ออก จะเช่ือมต่อ กบั ตวั เคร่อื งท่ีเรยี กว่า ซสิ เต็มยูนิต (System unit) มเี คส (case) เป็นโครงยดื ใหอ้ ปุ กรณ์ต่าง ๆ ประกอบ กนั ภายในเคสจะมีเมนบอรด์ (Mainboard) เป็ นแผนวงจรหลกั โดยซีพียู หน่วยความจา การด์ รวมถึง อปุ กรณต์ ่าง ๆ จะถกู ตอ่ กบั เมนบอรด์ น้ีทง้ั ส้นิ

3 หลกั การทางานของอปุ กรณ์โทรคมนาคม การส่งและรบั ขอ้ มูลระหว่างจุดสองจุด ไดแ้ ก่ ผูส้ ่งข่าวสาร (Sender) และ ผูร้ บั ข่าวสาร (Receiver) จะดาเนินการจดั การลาเลยี งขอ้ มูลผ่านเสน้ ทางทมี่ ีประสทิ ธภิ าพท่สี ดุ จดั การตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มูล ที่จะส่งและรบั เขา้ มา สามารถปรบั เปล่ยี นรูปแบบขอ้ มูล ใหท้ ง้ั สองฝ่ ายสามารถเขา้ ใจไดต้ รงกนั ส่วนใหญ่ใช้ คอมพิวเตอรเ์ ป็นตวั จดั การ ในระบบ โทรคมนาคมส่วนใหญ่ใชอ้ ปุ กรณ์ในการรบั ส่งขอ้ มูลข่าวสารต่างชนิด ต่างยี่หอ้ กนั แต่สามารถ แลกเปล่ยี นขอ้ มูลระหว่างกนั ไดเ้ พราะใชช้ ุดคาสงั่ มาตรฐานชุดเดียวกนั กฎเกณฑ์ มาตรฐานในการส่อื สารน้ีเรียกว่า “โปรโตคอล (Protocol)” อปุ กรณ์แต่ละชนิดในเครือข่ายเดียวกนั ตอ้ งใช้ โปรโตคอลอย่างเดียวกนั จึงจะสามารถส่ือสารถึงกนั และกนั ได้ หน้าท่ีพ้ืนฐานของโปรโตคอล คือ การทา ความรูจ้ กั กบั อุปกรณ์ตวั อ่ืนท่ีอยู่ในเสน้ ทางการถ่ายทอดขอ้ มูล การตกลงเง่ือนไขใน การรบั ส่งขอ้ มูล การตรวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มลู การแกไ้ ขปญั หาขอ้ มูลท่ีเกดิ การผิดพลาด ในขณะท่ีส่งออกไปและการ แกป้ ญั หาการส่ือสารขดั ขอ้ งที่อาจเกิดข้ึนโปรโตคอลที่รูจ้ กั กนั มาก ไดแ้ ก่ โปรโตคอลในระบบเครือข่าย อนิ เทอรเ์ น็ต เช่น Internet Protocol ; TCP/IP, IP Address ทใ่ี ชก้ นั อยู่

4



5 หน่วยที่ 2 ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ความหมายของเครอื ข่าย เครือข่ายคอมพวิ เตอร์ คือกล่มุ ของคอมพิวเตอรจ์ านวนตง้ั แต่สองเคร่ืองข้ึนไป และอปุ กรณ์ต่าง ๆ ทถ่ี ูกนามาเช่ือมตอ่ กนั เพอ่ื ใหผ้ ูใ้ ชใ้ นเครอื ข่ายสามารถติดต่อส่อื สาร แลกเปล่ยี นขอ้ มูล และใชอ้ ปุ กรณต์ า่ ง ๆ ในเครือข่ายร่วมกนั ได้ เครือข่ายน้ันมีหลายขนาด ตง้ั แต่ขนาดเลก็ ท่ีเช่ือมต่อกนั ดว้ ยคอมพวิ เตอรเ์ พียงสอง สามเคร่อื งเพ่อื ใชง้ านในบา้ น หรอื ในบรษิ ทั เล็ก ๆ ไปจนถงึ เครอื ข่ายขนาดใหญ่ทเี่ ช่ือมต่อกนั ทวั่ โลก เรยี กว่า เครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) คอื การเช่ือมโยงคอมพิวเตอรต์ ง้ั แต่สองเคร่ืองข้ึนไป เขา้ ดว้ ยกนั ผ่านช่องทางการส่อื สาร (Communication channel) เคร่ืองคอมพิวเตอรค์ อมพิวเตอรท์ ง้ั สอง เคร่ืองสามารถติดต่อส่อื สารและทางาน ร่วมกนั ไดก้ ารที่คอมพวิ เตอรท์ ี่อยู่ในเครอื ข่ายสามารถทางานร่วมกนั ไดจ้ ะตอ้ ง สรา้ งมาตรฐานของสญั ญาณทม่ี ีช่ือเรยี กว่า โปรโตคอล (Protocol)

6 วตั ถปุ ระสงคข์ องระบบเครอื ข่าย •เช่ือมต่อคอมพิวเตอรห์ ลาย ๆ เคร่อื งเขา้ ดว้ ยกนั – สามารถใชโ้ ปรแกรมและขอ้ มูลต่าง ๆ ร่วมกนั ไดล้ ดปญั หาการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ซ้าซอ้ น ช่วยใหข้ อ้ มลู ท่ีไดเ้ ป็นขอ้ มูลทถี่ ูกปรบั ปรงุ ล่าสดุ •การใชง้ านทรพั ยากร คอมพิวเตอรร์ ่วมกนั – อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เช่ือมต่ออยู่บนเครือข่าย เช่น เครอ่ื งพมิ พ์ ฮารด์ ดิสก์ ขอ้ มลู และโปรแกรมตา่ ง ๆ •ผูใ้ ชส้ ามารถเขา้ ถึงคอมพิวเตอรจ์ ากระยะไกล – สามารถทาการเรียกใชข้ อ้ มูลต่าง ๆ และเคร่ือง คอมพวิ เตอรโ์ ดยทีอ่ ยู่อกี ทหี่ น่ึงได้ •อานวยความสะดวกในการรบั ส่งขอ้ มูล – ระบบเครือข่ายช่วยใหก้ ารสอ่ื สารภายในองคก์ รเกดิ ข้นึ ได้ อยา่ งรวดเรว็ เช่นการใชบ้ รกิ าร E-mail ภายในองคก์ ร •ลดตน้ ทุน – ลดตน้ ทุนดา้ นการส่ือสารที่เกิดข้ึน เช่นแทนท่ีจะเก็บขอ้ มูลในรูปของกระดาษก็ เปลย่ี นเป็นไฟลเ์ อกสารแทน การใชท้ รพั ยากรร่วมกนั เช่น เครอ่ื งพมิ พ์ •เพ่ิมความน่าเช่ือถือและความปลอดภยั ของระบบ – สามารถกาหนดสทิ ธ์ิการเขา้ ถึงทรพั ยากรใน รูปแบบตา่ ง ๆ เช่น การเขา้ ถงึ ไฟลส์ าคญั ขององคก์ ร

7 รูปแบบการใชง้ านเครอื ขา่ ย LAN ระบบเครือข่ายแบบ LAN หรือระบบเครือข่ายเฉพาะบริเวณ โดยปกติแลว้ จะเป็ นระบบเครือข่าย ส่วนตวั (Private Network) นัน่ คือองคก์ รที่ตอ้ งการใชง้ านเครือข่าย ทาการสรา้ ง เครือข่ายคอมพวิ เตอรท์ ี่ เช่ือมตอ่ กนั เป็นระบบเครอื ข่ายในระยะใกล้ ๆ ซ่งึ จะช่วยใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กอ่ งคก์ รและธุรกจิ ต่าง ๆ มากมาย เช่น – สามารถแบ่งเบาการประมวลผลไปยงั เคร่ืองต่าง ๆ เฉล่ียกนั ไป – สามารถแบ่งกนั ใชง้ านอุปกรณ์ ต่าง ๆ เช่น เครอ่ื งพมิ พ์ ซีดรี อมไดรฟ์ เคร่อื งคอมพวิ เตอรท์ ีม่ ีประสทิ ธิภาพสูง เป็นตน้ – สามารถแบ่งกนั ใชง้ านซอฟตแ์ วรแ์ ละขอ้ มูลหรือสารสนเทศต่าง ๆ รวมทง้ั ทาใหส้ ามารถจดั เก็บ ขอ้ มูลเหลา่ น้นั ไวเ้ พยี งทเี่ ดยี ว – สามารถวางแผนหรอื ทางานร่วมกนั เป็นกล่มุ ได้ แมจ้ ะไม่ไดอ้ ยู่ใกลก้ นั กต็ าม – สามารถใชใ้ นการ ตดิ ตอ่ กนั เช่น สง่ จดหมายทางอเิ ลคทรอนิคส์ หรอื การสง่ เสยี งหรอื ภาพทางอเิ ลคทรอนิคส์ เป็นตน้ – ช่วยลดค่าใชจ้ า่ ยโดยรวมขององคก์ ร รูปแบบการเช่ือมตอ่ เครอื ข่าย 1. แบบBus การเช่ือมต่อแบบบสั จะมีสายหลกั 1 เสน้ เคร่ืองคอมพวิ เตอรท์ ง้ั เซิรฟ์ เวอร์ และไคลเอน็ ตท์ กุ เคร่ือง จะตอ้ งเช่ือมต่อสายเคเบ้ิลหลกั เสน้ น้ี โดยเคร่ืองคอมพิวเตอรจ์ ะถูกมองเป็ น Node เม่ือเคร่ืองไคลเอ็นต์ เคร่อื งท่ีหน่ึง (Node A) ตอ้ งการส่งขอ้ มูลใหก้ บั เคร่ืองท่ีสอง (Node C) จะตอ้ งสง่ ขอ้ มูล และแอดเดรสของ Node C ลงไปบนบสั สายเคเบ้ลิ น้ี เม่อื เคร่อื งท่ี Node C ไดร้ บั ขอ้ มูลแลว้ จะนาขอ้ มลู ไปทางานต่อทนั ที

8 2. แบบ Ring การเช่ือมต่อแบบวงแหวน เป็ นการเช่ือมต่อจากเคร่ืองหน่ึงไปยงั อกี เคร่ืองหน่ึง จนครบวงจร ในการ สง่ ขอ้ มูลจะสง่ ออกท่สี ายสญั ญาณวงแหวน โดยจะเป็นการสง่ ผ่านจากเครอ่ื งหน่ึง ไปสูเ่ ครอ่ื งหน่ึงจนกว่าจะถงึ เคร่อื งปลายทาง ปญั หาของโครงสรา้ งแบบน้ีคือ ถา้ หากมีสายขาดในส่วนใดจะทา ใหไ้ ม่สามารถส่งขอ้ มูลได้ ระบบ Ring มีการใชง้ านบนเคร่อื งตระกูล IBM กนั มาก เป็ นเคร่ืองข่าย Token Ring ซ่ึงจะใชร้ บั สง่ ขอ้ มูล ระหว่างเคร่อื งมนิ ิหรอื เมนเฟรมของ IBM กบั เคร่อื งลกู ข่ายบนระบบ 3. แบบ Star การเช่ือมต่อแบบสตารน์ ้ีจะใชอ้ ุปกรณ์ Hub เป็ นศูนยก์ ลางในการเช่ือมต่อ โดยท่ีทุกเคร่ืองจะตอ้ ง ผ่านHub สายเคเบ้ิลที่ใชส้ ่วนมากจะเป็ น UTP และ Fiber Optic ในการส่งขอ้ มูล Hub จะเป็ นเสมือนตวั ทวนสญั ญาณ (Repeater) ปจั จุบนั มีการใช้ Switch เป็ นอุปกรณ์ในการเช่ือมต่อซ่ึงมีประสิทธิภาพการ ทางานสูงกวา่ 4. แบบ Hybrid เป็ นการเช่ือมต่อท่ีผสมผสานเครือข่ายย่อย ๆ หลายส่วนมารวมเขา้ ดว้ ยกนั เช่น นาเอาเครือข่าย ระบบBus, ระบบ Ring และ ระบบ Star มาเช่ือมต่อเขา้ ดว้ ยกนั เหมาะสาหรบั บางหน่วยงานท่ีมีเครือข่าย เก่าและใหม่ใหส้ ามารถทางานร่วมกนั ได้ ซ่ึงระบบ Hybrid Network น้ีจะมีโครงสรา้ งแบบ Hierarchical หรอื Tre ท่มี ีลาดบั ชน้ั ในการทางาน

9 สอ่ื และอปุ กรณ์เครอื ข่าย ฮบั (hub) เป็ นอุปกรณ์ท่ีรวมสญั ญาณท่ีมาจากอุปกรณ์รบั ส่งหลายๆ สถานี เขา้ ดว้ ยกนั ฮบั เปรียบเสมือนเป็ นบสั ท่ีรวมอยู่ที่จุดเดียวกนั ฮบั ท่ีใชง้ านอยู่ภายใตม้ าตรฐานการรบั ส่งแบบอีเทอรเ์ น็ต หรือ IEEE802.3 ขอ้ มลู ท่รี บั สง่ ผา่ นฮบั จากเคร่ืองหน่ึงจะกระจายไปยงั ทกุ สถานีที่ต่ออยู่บนฮบั น้ัน ดงั น้นั ทกุ สถานี จะรบั สญั ญาณขอ้ มูลท่ีกระจายมาไดท้ ง้ั หมด แต่จะเลือกคดั ลอกเฉพาะขอ้ มูลท่ีส่งมาถึงตนเท่าน้ัน การ ตรวจสอบขอ้ มูลจงึ ตอ้ งดูทแี่ อดเดรส (address) ที่กากบั มาในกล่มุ ของขอ้ มูลหรอื แพก็ เกต็ อปุ กรณส์ วิตซ์ (switch) เป็นอปุ กรณร์ วมสญั ญาณทม่ี าจากอปุ กรณ์รบั ส่งหลายสถานีเช่นเดียวกบั ฮบั แต่มีขอ้ แตกต่างจากฮบั คือ การรบั ส่งขอ้ มูลจากสถานี(อุปกรณ์) ตวั หน่ึง จะไม่กระจายไปยงั ทุกสถานี (อปุ กรณ์) เหมือนฮบั ทง้ั น้ีเพราะสวิตชจ์ ะรบั กล่มุ ขอ้ มูล(แพก็ เก็ต) มาตรวจสอบก่อน แลว้ ดูว่าแอดเดรสของ สถานีปลายทางไปทใี่ ด สวิตชจ์ ะนาแพก็ เกต็ หรอื กล่มุ ขอ้ มลู น้ันสง่ ต่อไปยงั สถานี (อปุ กรณ)์ เป้ าหมายใหอ้ ย่าง อตั โนมตั ิ สวิตชจ์ ะลดปญั หาการชนกนั ของขอ้ มูลเพราะไม่ตอ้ งกระจายขอ้ มูลไปทุกสถานี และยงั มีขอ้ ดีใน เรอ่ื งการป้ องกนั การดกั จบั ขอ้ มูลท่ีกระจายไปในเครอื ข่าย อปุ กรณ์จดั เสน้ ทาง (router) ในการเช่ือมโยงเครอื ข่ายหลาย ๆ เครอื ข่ายเขา้ ดว้ ยกนั หรอื เช่ือมโยง อปุ กรณ์หลายอย่างเขา้ ดว้ ยกนั จะมีเสน้ ทางการเขา้ ออกของขอ้ มูลไดห้ ลายเสน้ ทาง และแต่ละเสน้ ทางอาจใช้ เทคโนโลยีเครือข่ายที่ต่างกนั อุปกรณ์จดั เสน้ ทางจะหาเสน้ ทางที่เหมาะสมให้ เพ่ือใหก้ ารส่งขอ้ มูลเป็ นไป อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ การทีอ่ ปุ กรณ์จดั หาเสน้ ทางเลอื กเสน้ ทางไดถ้ ูกตอ้ งเพราะแต่ละสถานีภายในเครือข่ายมี แอดเดรสกากบั อุปกรณ์จดั เสน้ ทางตอ้ งรบั รูต้ าแหน่งและสามารถนาขอ้ มูลออกทางเสน้ ทางไดถ้ ูกตอ้ งตาม ตาแหน่งแอดเดรสทกี่ ากบั อยู่ในเสน้ ทางน้ัน

10 เครอื ข่ายแลนไรส้ าย แลนไรส้ าย หรือ ไวเลสแลน (Wireless LAN, WLAN) คือระบบที่เช่ือมโยงคอมพิวเตอรเ์ ขา้ เขา้ ดว้ ยกนั เป็ นเครือข่ายภายในพ้ืนที่แบบไร้ สาย โดยใชค้ ล่ืนความถ่ี วิทยุใน การเช่ือมต่อหรือส่ือสารกนั การเช่ือมต่อแลนไรส้ ายมีทง้ั แบบเช่ือมต่อระหว่างเคร่ืองคอมพิวเตอรด์ ว้ ยกนั และเช่ือมต่อระหว่างเคร่ือง คอมพิวเตอรผ์ ่านอปุ กรณ์กระจายสญั ญาณ (Access Point) คาว่า ไวเลส (Wireless) คือ ไม่มีสาย ลองนึก ภาพถงึ แลนปกติที่เช่ือมต่อกนั ระหว่างคอมพิวเตอรก์ บั สวิตซ์ (Switch) หรือฮบั (Hub) ดว้ ยสายสญั ญาณท่ี เรยี กวา่ สาย UTP แตไ่ วเลส คอื การเช่ือมตอ่ ท่ไี ม่มีมสี ายแลนนัน่ เอง แลน (LAN or Local Area Network) คอื ระบบท่ีเช่ือมโยงคอมพวิ เตอรเ์ ขา้ เขา้ ดว้ ยกนั เป็นเครือข่าย ภายในพ้นื ท่ี เช่นระบบแลนภายในบา้ น ในบรษิ ทั หรอื องคก์ ร ในมหาวิทยาลยั เป็นตน้ มาตราฐานความเร็วของแลนไรส้ าย ความเร็วที่ใชใ้ นการส่ือสารกนั หรือเช่ือมต่อกนั มีมาตราฐาน รองรบั เช่น IEEE 802.11a, b และ g ซ่ึงแต่ละมาตราฐานจะบอกถึงความเร็วและคล่ืนความถ่ีที่ใชใ้ นการ ตดิ ตอ่ ส่อื สาร กนั เช่น สาหรบั มาตรฐาน IEEE 802.11a มคี วามเรว็ สูงสดุ ที่ 54 Mbps ท่คี วามถ่ยี า่ น 5 GHz สาหรบั มาตรฐาน IEEE 802.11b มคี วามเรว็ สูงสุดที่ 11 Mbps ท่ีความถ่ยี า่ น 2.4 GHz สาหรบั มาตรฐาน IEEE 802.11g มีความเรว็ สูงสดุ ที่ 54 Mbps ท่คี วามถ่ยี ่าน 2.4 GHz ในประเทศไทยอนุญาตใหใ้ ชช้ ่องคล่ืนความถ่ีที่ 2.4 GHz เป็ นคล่ืนความถ่ีเสรี ท่ีทุกคนสามารถ ตดิ ตง้ั และใชง้ านได้ จงึ ทาใหใ้ นประเทศไทยจะมีอปุ กรณก์ ระจายสญั ญาณ (Access Point) ที่จาหน่ายเพียง สองมาตราฐานคือ IEEE 802.11b และ g เท่าน้ัน

11



12 หนว่ ยท่ี 3 ขอ้ มลู และการจดั การขอ้ มลู ความหมายของขอ้ มลู ขอ้ มลู (Data) หมายถงึ ขอ้ เท็จจรงิ หรอื เร่อื งราวที่เก่ยี วขอ้ งกบั สง่ิ ต่าง ๆ เช่น คน สตั ว์ สง่ิ ของสถานท่ี ฯลฯ โดยอยู่ในรูปแบบที่ เหมาะสมต่อการส่อื สาร การแปลความหมายและการประมวลผล ซ่ึงขอ้ มูลอาจจะ ไดม้ าจากการสงั เกต การรวบรวม การวดั ขอ้ มลู เป็นไดท้ ง้ั ขอ้ มลู ตวั เลขหรอื สญั ลกั ษณ์ใด ๆ ทีส่ าคญั จะตอ้ งมี ความเป็นจรงิ และตอ่ เน่ืองตวั อย่างของขอ้ มลู เช่น คะแนนสอบ ช่ือนักเรยี น เพศ อายุ เป็นตน้ ประเภทและรูปแบบของขอ้ มลู แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ 1. ขอ้ มลู ปฐมภมู ิ เป็นขอ้ มูลทไี่ ดจ้ ากแหล่งขอ้ มูลโดยตรง เช่น ขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ากการสอบถาม โดยตรง การสมั ภาษณ์ การสารวจ การจดบนั ทกึ ขอ้ มูลทีไ่ ดจ้ ากเคร่ืองจกั รอตั โนมตั ิ ไดแ้ ก่ เคร่อื งอา่ นรหสั แท่ง เคร่ืองอา่ นเคร่อื งหมายบนกระดาษ 2. ขอ้ มูลทตุ ิยภมู ิ เป็นขอ้ มลู ท่ไี ดจ้ ากขอ้ มลู ทม่ี ผี ูอ้ น่ื รวบรวมไวใ้ หแ้ ลว้ ขอ้ มูลทวั่ ๆ ไปที่มนุษยใ์ ชส้ ่อื สารกนั เช่น เสยี ง รูปภาพ เป็ นปริมาณท่ีมีค่าตอ่ เน่ืองเรียกว่า ปริมาณ อนาล็อก (analog) หากตอ้ งการใหค้ อมพิวเตอรเ์ ขา้ ใจปริมาณเหล่าน้ีไดจ้ ะตอ้ งเปล่ียนปริมาณอนาล็อกให้ เป็ นปริมาณ ดิจิตอล (digital) ซ่ึงเป็ นปริมาณที่ไม่ต่อเน่ือง สาหรบั เคร่ืองคอมพิวเตอรเ์ ป็ นอุปกรณ์ทาง อเิ ลก็ ทรอนิกสท์ ่ปี ระมวลผลดว้ ยสญั ญาณดิจติ อล สญั ญาณน้ีจะมีแรงดนั ไฟฟ้ าสองระดบั โดยแทนดว้ ยลอจกิ สูง หรอื \"1\" และแทนดว้ ยลอจกิ ตา่ หรอื \"0\" ขอ้ มลู ลอจกิ แตล่ ะคา่ น้ีเรยี กว่า \"บิต\" (bit) ลกั ษณะของขอ้ มลู ทด่ี ี 1. ความถูกตอ้ ง เพราะขอ้ มูลท่ีไดต้ อ้ งนาไปใชใ้ นการตดั สนิ ใจ หากขอ้ มูลไม่มีความถูกตอ้ งแลว้ ก็จะ กอ่ ใหเ้ กดิ ผลเสยี หายตามมา 2. ความรวดเร็วและเป็ นปจั จุบนั การไดม้ าของขอ้ มูลจาเป็ นตอ้ งใหท้ นั ต่อความตอ้ งการของผูใ้ ช้ ทนั สมยั และทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ปจั จุบนั

13 3. ความสมบูรณ์ ขอ้ มูลท่ีมีความสมบูรณ์ คือ ขอ้ มูลท่ีสามารถตอบสนองความตอ้ งการของผูใ้ ช้ ซ่ึงจะข้ึนกบั วิธีการรวบรวมขอ้ มูลและวิธีการประมวลผล ดงั น้ันในการดาเนินการรวบรวมขอ้ มูลตอ้ งสารวจ และสอบถามความตอ้ งการในการใชข้ อ้ มลู เพ่อื ใหไ้ ดข้ อ้ มูลท่ีมคี วามสมบรู ณ์ 4. ความกระชบั และชดั เจน การจดั เก็บขอ้ มูลจานวนมากจะตอ้ งใชพ้ ้นื ท่ีมาก จงึ จาเป็นตอ้ งออกแบบ โครงสรา้ งขอ้ มูลใหก้ ระชบั และส่อื ความหมายได้ อาจมีการใชร้ หสั แทนขอ้ มูลใหเ้ หมาะสมเพ่อื จดั เกบ็ ไวอ้ ย่าง เป็ นระบบ 5. ความสอดคลอ้ ง ความตอ้ งการเป็ นเร่อื งที่สาคญั ดงั น้ันจงึ ตอ้ งมีการสารวจเพ่ือหาความตอ้ งการ ของหน่วยงานและองคก์ ร ดูสภาพการใชข้ อ้ มูล และขอบเขตของขอ้ มูลทส่ี อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ หนา้ ทขี่ องระบบฐานขอ้ มลู 1. การนิยามขอ้ มูล (Data Definition) ตอ้ งสามารถรบั การนิยามขอ้ มูลได้ เช่น การกาหนดเคา้ ร่าง ภายนอก เคา้ ร่างแนวคิด เคา้ ร่างภายใน และการเช่ือมทกุ ตวั ที่เก่ยี วขอ้ ง จากน้ันแปลงนิยามน้ันใหเ้ ป็นวตั ถุ ดงั น้นั ระบบจดั การฐานขอ้ มูลตอ้ งมี ตวั ประมวลผลภาษานิยามขอ้ มูล 2. การจดั ดาเนินการขอ้ มูล (Data Manipulation) ระบบฯ ตอ้ งสามารถจดั การคารอ้ งในการสบื คน้ ปรบั ปรุง ลบ เพม่ิ ขอ้ มลู ได้ ดงั น้ัน ระบบฯ จงึ ตอ้ งมตี วั ประมวลผลภาษาจดั ดาเนินการขอ้ มลู การรอ้ งขอใหจ้ ดั ดาเนินการขอ้ มูลอาจเป็ น การรอ้ งขอที่แจง้ ล่วงหน้า (Planned Request) ซ่ึงเตรียมไวล้ ่วงหน้าก่อนการ Execute เป็นอยา่ งดี 3. การแปลงคาสงั่ ใหเ้ หมาะสมที่สุดและการเอก็ ซีคิวคาสงั่ ระบบบรหิ ารฐานขอ้ มูล จะมี Optimizer เป็ นซอฟตแ์ วรท์ ี่รบั เอาคารอ้ งขอ โคด้ คาสงั่ วัตถุน้ันมาตรวจดูก่อนรนั เพ่ือดูว่าจะรนั อย่างไรจึงจะดีท่ีสุด กล่าวคือ ใหใ้ ชท้ รพั ยากรนอ้ ยที่สดุ เช่น จะใชว้ ธิ ีใดในการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู X จงึ จะเหมาะสมท่สี ุด 4. ความปลอดภยั และความถูกตอ้ งของขอ้ มูล ระบบฯ จะตอ้ งยอมใหผ้ ูบ้ ริหารฐานขอ้ มูล (DBA) สามารถเขียนคาสงั่ หรอื กาหนดกฎความถกู ตอ้ งได้ 5. การฟ้ื นฟสู ภาพขอ้ มูลและสภาวะพรอ้ มกนั ระบบฯ ตอ้ งสนับสนุนใหผ้ ูบ้ ริหารฐานขอ้ มูลสามารถ สงั่ ให้ ตวั จดั การธรกุ รรม ใหท้ าการฟ้ืนฟสู ภาพ และควบคุมสภาวะการเขา้ ถงึ ฐานขอ้ มลู แบบพรอ้ มกนั ได้ 6. พจนานุกรมขอ้ มูล (Data Dictionary) ระบบฯ ตอ้ งสรา้ งพจนานุกรมขอ้ มูลของมนั เองข้ึนมาได้ เพอ่ื ใหผ้ ูใ้ ชส้ ามารถนาไปใชไ้ ด้

14 ความสาคญั ของระบบฐานขอ้ มูล 1. ความมีประสทิ ธิภาพ ระบบการจดั การฐานขอ้ มูล ช่วยใหก้ ารจดั การเป็ นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ และบรรลุผลมากข้ึน เช่น อธิการบดีตอ้ งการทราบว่าในแต่ละปี มีอาจารยห์ รือบุคลากรเกษียณอายุราชการ เป็ นจานวนเท่าไร และมีอาจารย์สาขาใดบ้างที่เกษียณ ในอนาคตมีสาขาใดขาดแคลนหรือไม่ ระบบฐานขอ้ มูลสามารถใหค้ าตอบแกผ่ ูบ้ รหิ ารได้ 2. การสอบถามขอ้ มูล ระบบบบการจดั การฐานขอ้ มูลมีภาษาท่ีใชใ้ นการสอบถามสาหรบั สอบถาม ขอ้ มูลไดท้ นั ทีแมว้ ่าโปรแกรมเมอรไ์ ม่ไดเ้ ขียนคาสงั่ สอบถามในบางรายการเอาไวผ้ ูใ้ ชท้ ่ีมีความชานาญ สามารถใช้คาสงั่ เพ่ือใหไ้ ดค้ าตอบแบบทนั ทีทนั ใดไดเ้ ช่นกนั เช่นในกรณีระบบฐานขอ้ มูลของผู้ป่ วย ถา้ ผูบ้ ริหารตอ้ งการทราบจานวนสถติ ิของผูป้ ่วยทีเ่ กดิ อบุ ตั ิเหตุจากรถจกั รยานยนต์ ว่ามีจานวนเท่าไรสามารถ ใชค้ าสงั่ สอบถามแบบงา่ ย ๆ ได้ 3. การเขา้ ถึงขอ้ มูล ระบบการจดั การฐานขอ้ มูลใหบ้ ริการการเขา้ ถงึ ขอ้ มูลไดเ้ ป็นอย่างดีมีระบบรกั ษา ความปลอดภยั รวมทง้ั การจดั การขอ้ มูลท่ีดี เพราะระบบการจดั การฐานขอ้ มูลมีฟังกช์ นั การใหส้ ทิ ธ์ิการเขา้ ถึง ขอ้ มูลโดยบคุ คลภายนอกไม่สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ได้ ถา้ หากไมไ่ ดร้ บั สทิ ธ์จิ ากผูบ้ รหิ ารระบบ 4.ลดขอ้ มลู ท่ขี ดั แยง้ ระบบการจดั การฐานขอ้ มลู ช่วยลดความไมส่ อดคลอ้ ง หรอื ขอ้ มลู ที่ขดั แยง้ กนั ให้ นอ้ ยลงทาใหข้ อ้ มลู มีความสมบูรณม์ ากข้นึ รูปแบบของระบบฐานขอ้ มูล รูปแบบของระบบฐานขอ้ มูล มีอยูด่ ว้ ยกนั 3 ประเภท คือ 1. ฐานขอ้ มูลเชิงสมั พนั ธ์ (Relational Database) เป็ นการเก็บขอ้ มูลในรูปแบบที่เป็ นตาราง (Table) หรือเรียกว่า รีเลชัน่ (Relation) มีลกั ษณะเป็ น 2 มิติ คือเป็ นแถว (row) และเป็ นคอลมั น์ (column) การเช่ือมโยงขอ้ มูลระหว่างตาราง จะเช่ือมโยงโดยใชแ้ อททริบิวต์ (attribute) หรือคอลมั น์ท่ี เหมอื นกนั ทง้ั สองตารางเป็นตวั เช่ือมโยงขอ้ มูล ฐานขอ้ มูลเชิงสมั พนั ธน์ ้ีจะเป็นรูปแบบของฐานขอ้ มูลท่ีนิยมใช้ ในปจั จบุ นั 2. ฐานขอ้ มูลแบบเครือข่าย (Network Database) ฐานขอ้ มูลแบบเครือข่ายจะเป็นการรวมระเบียบ ต่าง ๆ และความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งระเบียนแต่จะต่างกบั ฐานขอ้ มูลเชิงสมั พนั ธ์ คือ ในฐานขอ้ มลู เชิงสมั พนั ธจ์ ะ แฝงความสมั พนั ธเ์ อาไว้ โดยระเบยี นที่มีความสมั พนั ธก์ นั จะตอ้ งมคี ่าของขอ้ มลู ในแอททรบิ ิวตใ์ ดแอททรบิ ิวต์ หน่ึงเหมือนกนั แตฐ่ านขอ้ มูลแบบเครอื ข่าย จะแสดงความสมั พนั ธอ์ ยา่ งชดั เจน ตวั อย่างเช่น

15 3. ฐานขอ้ มูลแบบลาดบั ช้นั (Hierarchical Database) ฐานขอ้ มูลแบบลาดบั ชน้ั เป็ นโครงสรา้ งที่ จดั เกบ็ ขอ้ มูลในลกั ษณะความสมั พนั ธแ์ บบพอ่ -ลกู (Parent-Child Relationship Type : PCR Type) หรอื เป็ นโครงสรา้ งรูปแบบตน้ ไม้ (Tree) ขอ้ มูลท่ีจดั เก็บในท่ีน้ี คือ ระเบียน (Record) ซ่ึงประกอบดว้ ยค่าของ เขตขอ้ มูล (Field) ของเอนทิต้ีหน่ึง ๆ ฐานขอ้ มูลแบบลาดบั ชน้ั น้ีคลา้ ยคลึงกบั ฐานขอ้ มูลแบบเครือข่าย แต่ ตา่ งกนั ทีฐ่ านขอ้ มลู แบบลาดบั ชน้ั มีกฎเพ่มิ ข้ึนมาอกี หน่ึงประการ คอื ในแต่ละกรอบจะมลี ูกศรว่งิ เขา้ หาไดไ้ ม่ เกนิ 1 หวั ลูกศร ลกั ษณะการประมวลผลขอ้ มูล 1. การคานวณ (computation) เป็นการนาขอ้ มลู ท่มี ีอยู่แลว้ มาคานวณตามขอ้ กาหนดของ การประมวลผลเพ่ือใหไ้ ดค้ ่าผลลพั ธใ์ หม่ เช่น คานวณอายุปจั จุบนั จากปี เกิด หาค่ามากท่ีสุด ค่าเฉล่ยี 2. การเรียงลาดบั (sort) เป็ นการจดั ขอ้ มูลใหอ้ ยู่ในลาดบั ที่เหมาะสม โดยการจดั เรียง ขอ้ มูลตวั เลขหรอื ตวั อกั ษรตามลาดบั ท่ีตอ้ งการเพอ่ื ใหเ้ รยี กใชง้ านไดง้ า่ ย 3. การวิเคราะห์ (analyse) เช่น การจดั กลมุ่ การแยกประเภท การตีความ 4. การสรปุ (summation) เป็นการสรุปใจความสาคญั ใหเ้ หลอื เฉพาะประเด็นหลกั 5. การรายงาน (reporting) เป็นการนาเสนอ เสนอผลลพั ธท์ ่ีไดใ้ นรูปแบบตา่ งๆ เช่น เล่ม รายงานหรอื ไฟล์ ป้ ายนิเทศ การจดั โครงการแฟ้ มขอ้ มลู (file Organization) 1. การสรา้ งแฟ้ มขอ้ มูล (file creating) คือ การสรา้ งแฟ้ มขอ้ มูลเพ่ือนามาใชใ้ นการประมวลผล สว่ นใหญจ่ ะสรา้ งจากเอกสารเบ้ืองตน้ (source document) การสรา้ งแฟ้ มขอ้ มูลจะตอ้ งเร่ิมจากการพิจารณา กาหนดส่ือขอ้ มูลการออกแบบฟอรม์ ของระเบียน การกาหนดโครงสรา้ งการจดั เก็บแฟ้ มขอ้ มูล (file organization) บนส่อื อปุ กรณ์ 2. การปรบั ปรุงรกั ษาแฟ้ มขอ้ มูลแบง่ ออกได้ 2 ประเภท คอื 1.) การคน้ คืนระเบียนในแฟ้ มขอ้ มูล (retrieving) คือ การคน้ หาขอ้ มูลที่ตอ้ งการหรือ เลือกขอ้ มูลบางระเบียนมาใช้เพ่ืองานใดงานหน่ึง การคน้ หาระเบียนจะทาได้ ดว้ ยการเลือกคียฟ์ ิ ลด์

16 เป็ นตวั กาหนดเพ่ือที่จะนาไปคน้ หาระเบียนท่ีตอ้ งการในแฟ้ มขอ้ มูล ซ่ึงอาจจะมีการกาหนเง่ือนไขของการ คน้ หา เช่น ตอ้ งการหาว่า พนกั งานที่ช่ือสมชายมีอยู่กค่ี น 2.) การปรบั เปล่ียนข้อมูล (updating) เม่ือมีแฟ้ มขอ้ มูลท่ีจะนามาใช้ในการ ประมวลผลกจ็ าเป็นท่จี ะตอ้ งทาหรอื รกั ษาแฟ้ มขอ้ มูลน้ันใหท้ นั สมยั อยูเ่ สมอ อาจจะตอ้ งมีการเพ่มิ บางระเบียน เขา้ ไป (adding) แกไ้ ขเปล่ียนแปลงค่าฟิ ลด์ใดฟิ ลด์หน่ึง (changing) หรือลบบางระเบียนออกไป (deleting)

17



18 หนว่ ยที่ 4 เคร่อื งมือและการสบื คน้ ขอ้ มลู ความหมายของ Search Engines Search Engine หมายถึง เคร่ืองมือท่ีช่วยในการคน้ หาขอ้ มุลต่าง ๆ ผ่านระบบเว็บไซตแ์ ละ เครือข่ายอินเตอรเ์ น็ต เพ่ือเขา้ เว็บไซตข์ อ้ มูลท่ีตอ้ งการคน้ หา เรียกอย่างเป็ นทางการว่า “โปรแกรมช่วยใน การสบื คน้ ขอ้ มลู ” ซ่งึ Search Engine สามารถสบื คน้ ไดท้ ง้ั ขอ้ ความ รูปภาพ ส่ือมลั ติมีเดีย (Multimedia) ภาพเคล่ือนไหว (Animation) วิดีโอ (Video) แผนท่ี (Map) และ ข้อมูลอ่ืน ๆ ได้ตามตอ้ งการ โดยการกรอกคาคน้ หา (Keyword) ลงไปในช่องคาค้นหาและคลิก คน้ หา (Search Engine) ก็จะแสดงเว็บไซตห์ รือรูปภาพท่ีเก่ียวขอ้ งกบั คาคน้ หาน้ัน ๆ ออกมาแสดงผลให้ ผูใ้ ชง้ านไดเ้ หน็ ผูใ้ ชง้ านก็จะเลือกอา่ นหวั ขอ้ เร่ือง (Title) รายละเอยี ด (Description) ที่เก่ยี วขอ้ งกบั คาคน้ หาหรอื ขอ้ มลู ทตี่ อ้ งการและคลกิ เขา้ สูเ่ วบ็ ไซตข์ อ้ มูลเพ่อื คน้ หาขอ้ มลู ต่อไป

19 ประเภทของ Search Engines Search Engine ม3ี ประเภทดว้ ยกนั ซ่งึ แต่ละประเภทมหี ลกั การทางานท่ีต่างกนั และ การจดั อนั ดบั การคน้ หาขอ้ มูลก็ต่างกนั ดว้ ยเพราะมีลกั ษณะการทางานที่ต่างกนั ทาให้ โดยทวั่ ๆ ไปแลว้ จะมีการแบ่ง ออกเป็นหลายๆ ประเภทดว้ ยกนั แต่ที่พอสรปุ ไดก้ ม็ ีเพยี ง 3 ประเภทหลกั ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี ประเภทที่ 1 Crawler Based Search Engines Crawler Based Search Engines คือ เคร่ืองมือการคน้ หาบนอนิ เตอรเ์ น็ตแบบอาศยั การบนั ทกึ ขอ้ มลู และ จดั เกบ็ ขอ้ มลู เป็นหลกั ซ่งึ จะเป็นจาพวก Search Engine ทไี่ ดร้ บั ความนิยมสูงสดุ เน่ืองจากใหผ้ ลการคน้ หา แม่นยาทสี่ ดุ และการประมวลผลการคน้ หาสามารถทาไดอ้ ย่างรวดเรว็ จงึ ทาใหม้ บี ทบาทในการคน้ หาขอ้ มลู มากทส่ี ุดในปจั จบุ นั โดยมีองประกอบหลกั เพียง 2 สว่ นดว้ ยกนั คือ 1. ฐานขอ้ มูล โดยสว่ นใหญแ่ ลว้ Crawler Based Search Engine เหล่าน้ีจะมีฐานขอ้ มูลเป็นของ ตวั เอง ท่ีมีระบบการประมวลผล และ การจดั อนั ดบั ทีเ่ ฉพาะ เป็นเอกลกั ษณข์ องตนเองอย่างมาก 2. ซอฟแวร์ คือเคร่อื งมอื หลกั สาคญั ทส่ี ุดอกี สว่ นหน่ึงสาหรบั Serch Engine ประเภทน้ี เน่ืองจากตอ้ งอาศยั โปรแกรมเลก็ ๆทาหนา้ ทีใ่ นการตรวจหาและ ทาการจดั เกบ็ ขอ้ มูล หนา้ เพจ หรอื เวบ็ ไซต์ ต่าง ๆ ในรูปแบบ ของการทาสาเนาขอ้ มลู เหมือนกบั ตน้ ฉบบั ทกุ อย่าง ซ่งึ เราจะรูจ้ กั กนั ในนาม Spider หรอื Web Crawler หรอื Search Engine Robots

20 ประเภทของ Search Engines ประเภทที่ 2 Web Directory หรอื Blog Directory Web Directory หรือ Blog Directory คือ สารบญั เวบ็ ไซตท์ ่ีใหค้ ุณสามารถคน้ หาข่าวสารขอ้ มูล ดว้ ยหมวดหม่ขู ่าวสารขอ้ มลู ที่เกย่ี วขอ้ งกนั ในปรมิ าณมาก ๆ คลา้ ย ๆ กบั สมดุ หนา้ เหลอื งครบั ซ่งึ จะมีการสรา้ ง ดรรชนี มีการระบหุ มวดหมู่ อย่างชดั เจน ซ่ึงจะช่วยใหก้ ารคน้ หาขอ้ มูลต่าง ๆ ตาม หมวดหมู่น้ัน ๆ ไดร้ บั การเปรียบเทียบอา้ งอิง เพ่ือหาขอ้ เท็จจริงได้ ในขณะที่เราคน้ หาขอ้ มูล เพราะวา่ จะมีเวบ็ ไซตม์ ากมาย หรอื Blog มากมายทีม่ เี น้ือหาคลา้ ย ๆ กนั ในหมวดหม่เู ดยี วกนั ให้ เราเลอื กท่จี ะหาขอ้ มลู ได้ อย่างตรงประเด็นท่ีสุด ประเภทที่ 3 Meta Search Engine Meta Search Engine คือ Search Engine ท่ีใชห้ ลกั การในการคน้ หาโดยอาศยั Meta Tag ใน ภาษา HTML ซ่ึงมีการประกาศชุดคาสงั่ ต่าง ๆ เป็นรูปแบบของ Tex Editor ดว้ ยภาษา HTML นัน่ เองเช่น ช่ือผูพ้ ฒั นา คาคน้ หา เจา้ ของเว็บ หรือ บล็อก คาอธิบายเว็บหรือบล็อกอย่างย่อผลการคน้ หาของ Meta Search Engine น้ีมกั ไม่แม่นยาอย่างที่คิด เน่ืองจากบางครง้ั ผูใ้ หบ้ รกิ ารหรือผูอ้ อกแบบเว็บสามารถใสอ่ ะไร เขา้ ไปกไ็ ดม้ ากมายเพ่อื ใหเ้ กดิ การคน้ หาและพบเวบ็ หรอื บลอ็ กของ ตนเอง และ อีกประการหน่ึงก็คือ มีการอาศัย Search Engine Index Server หลาย ๆ แห่งมาก ประมวลผลรวมกนั จงึ ทาใหผ้ ลการคน้ หาขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ไมเ่ ทีย่ งตรงเทา่ ท่คี วร

21 การใชง้ าน Search Engines และการดาวนโ์ หลด กระบวนการทางานของ Search engines บนเว็บไซตท์ วั่ ไป สามารถแบ่งข้นั ตอนการทางาน ออกเป็น 3 ขน้ั ตอน ดงั น้ี 1. ใชโ้ ปรแกรมรวบรวมเอกสารเว็บ (spider หรอื crawler) ขน้ั แรกที่ Search engines ทาการสารวจและตรวจสอบหน้าเว็บไซตต์ ่างๆ จากโดเมน แลว้ ติดตาม Links ทพี่ บภายในเว็บไซตท์ ง้ั หมด โดยการทางานของโปรแกรมมีรูปแบบลกั ษณะโยงใย จงึ เรยี กโปรแกรมดงั กล่าว ว่า Spider หรอื Crawler ซ่งึ หลงั จากท่ี Spider ทาการตดิ ตาม Links และนาขอ้ มูลของเว็บไซตเ์ หลา่ น้นั ไป เกบ็ ไวใ้ นฐานขอ้ มูลของ Search Engine เรียบรอ้ ยแลว้ Spider จะกลบั ไปทาการสารวจและตรวจสอบการ เปลย่ี นแปลงของขอ้ มลู ในเว็บไซตเ์ หลา่ น้นั ทกุ ๆ เดอื นหรอื สองเดอื น 2. จดั ทารายการดรรชนี เม่ือโปรแกรม Spider ทาการคน้ พบขอ้ มูลต่างๆ แลว้ จะมีการนาข้อมูลเหล่าน้ันไปทาสาเนา และส่งไป จดั เก็บยงั รายการดรรชนี ที่เรียกว่า index หรือ catalog ซ่ึงเม่ือขอ้ มูลในเว็บไซตห์ ลกั มีการเปล่ียนแปลง จะสง่ ผลใหข้ อ้ มูลภายในสมดุ ดรรชนีเปลย่ี นแปลงตามไปดว้ ยตามบญั ชีดชั นีท่ีถูกกาหนด 3. โปรแกรมสบื คน้ โปรแกรมทใ่ี ชส้ าหรบั ทาการคน้ หาขอ้ มลู ตา่ ง ๆ จากฐานขอ้ มูลของ Search Engine โดยมกี ารทางานเร่ิมตน้ จากการรบั คาคน้ หาท่ีถูกป้ อนเขา้ มาในโปรแกรม โดยผูใ้ ชง้ านบนเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต แลว้ นาคาคน้ หาไป จบั คู่กบั ดรรชนีในฐานขอ้ มูล หลงั จากน้ันจึงจะทาการดึงเอกสารจากเว็บไซตน์ ้ัน ๆ หรือดึงขอ้ มูลจากฐาน ออกมาประมวลผลลพั ธใ์ หแ้ กผ่ ูส้ บื คน้ ซ่งึ จะมกี ารจดั ลาดบั ผลการคน้ หาตามระดบั ความเกย่ี วขอ้ งของขอ้ มูล

22 การใชง้ าน Search Engines และการดาวนโ์ หลด การดาวนโ์ หลด Search Engines

23 การคน้ หาแฟ้ มขอ้ มลู โปรแกรม ในการสืบคน้ ขอ้ มูลน้ันจาเป็ นจะตอ้ งมีโปรแกรมที่ช่วยในการคน้ หาแฟ้ มขอ้ มูล ซ่ึงมีอยู่ หลายประเภท ไดแ้ ก่ 1. โปรแกรมอารค์ ี (Archie) เป็ นโปรแกรมท่ีช่วยในการคน้ หาแฟ้ มขอ้ มูลท่ีเราทราบช่ือ แต่ไม่ทราบตาแหน่ง ที่อยู่ของแฟ้ มขอ้ มูล ว่าอยู่ในเคร่ืองบริการใด ๆ ในอนิ เตอรเ์ น็ต โดย โปรแกรมอารค์ ีน้ันจะสรา้ งบตั รรายการแฟ้ มไวใ้ นฐานขอ้ มูล ซ่ึงหากเราตอ้ งการคน้ หาตาแหน่ง ของแฟ้ มขอ้ มูลก็เปิ ดโปรแกรมอารค์ ีน้ีข้ึนมาลว้ ใหพ้ ิมพช์ ่ือแฟ้ มขอ้ มูล ที่ตอ้ งการลงไป โดย โปรแกรมอารค์ ีจะตรวจคน้ ฐานขอ้ มูลใหป้ รากฏช่ือแฟ้ ม และ รายช่ือเคร่อื งบริการที่เกบ็ แฟ้ มน้ัน ข้ึนมา ซ่ึงหลงั จากทราบช่ือเคร่ืองบริการแลว้ เราก็จะสามารถใช้ FTP ถ่ายโอนเก็บไวใ้ น คอมพวิ เตอรข์ องเราได้ 2. โปรแกรมโกเฟอร์ (Gopher) เป็ นโปรแกรมคน้ หาขอ้ มูล ซ่ึงใชบ้ ริการดว้ ยระบบเมนู โปรแกรมโกเฟอร์ เป็นโปรแกรม ท่ีมรี ายการเลอื ก เพ่อื ช่วยเหลอื ผูใ้ ชง้ านในการคน้ หาขอ้ มูลการ ใชง้ าน โปรแกรมน้ีผูใ้ ชไ้ ม่จาเป็ นตอ้ งทราบ รายละเอียดของคอมพิวเตอรท์ ่ี เช่ือมโยงอยู่กบั อนิ เตอรเ์ น็ตใด ๆ เลย เราแค่เพยี งเลอื กรายการท่ีตอ้ งการในรายการเลอื ก และกดป่มุ <Enter> ซ่ึงเม่ือมีขอ้ มูลแสดงข้ึนมาแลว้ เราก็สามารถอ่านข้อมูลน้ัน และบนั ทึกเก็บไวใ้ นเคร่ือง คอมพวิ เตอรไ์ ด้ 3. โปรแกรม Veronica เป็ นโปรแกรมคน้ หาขอ้ มูลท่ีไดร้ บั การพฒั นามาจากโปรแกรมโก เฟอร์ โดยการคน้ หาขอ้ มูล จะทาไดโ้ ดยไม่ตอ้ งผ่านระบบเมนู เพยี งแค่พิมพค์ าสาคญั หรือ ใหร้ ะบบไดท้ าการคน้ หาขอ้ มูล ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั Keyword 4. โปรแกรมเวส (Wide Area Information Server-WAIS) เป็ นโปรแกรมที่เป็ น เคร่ืองมือในการสบื คน้ ขอ้ มูล โดยทาการคน้ หาจากเน้ือหาของขอ้ มูล ซ่ึงการใชง้ านตอ้ งระบุช่ือ เรอ่ื ง หรอื ช่ือของคาหลกั ทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั เน้ือหาของขอ้ มูล ทตี่ อ้ งการ ซ่งึ โปรแกรมเวสจะช่วยคน้ หา ไปยงั แหลง่ ขอ้ มูลทเี่ ช่ือมต่ออยูภ่ ายในอนิ เตอร์

24 5. โปรแกรม Search Engines เป็ นโปรแกรมคน้ หาขอ้ มูลในอนิ เตอรเ์ น็ตที่ไดร้ บั ความ นิยมมากในปจั จุบนั โดยใหพ้ มิ พค์ า หรือขอ้ ความท่ีเป็ น Keyword จากน้ันโปรแกรม Search Engines จะแสดงรายช่ือของแหลง่ ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ที่เก่ยี วขอ้ งข้นึ มาใหเ้ ราไดเ้ ลอื กคลกิ ท่ีรายช่ือของ แหล่งขอ้ มูลน้ัน เพ่ือเลือกขอ้ มูลที่ตอ้ งการได้ ซ่ึงการจดั การแหล่งขอ้ มูลเหล่าน้ันโปรแกรม Search Engines จะจดั ไวเ้ ป็ นเมนู โดยเร่มิ จากขอ้ มูลในหมวดใหญ่ ๆ ไปจนถงึ ขอ้ มูลในหมวด ยอ่ ย ๆ

25



26 หน่วยที่ 5 การสืบคน้ ขอ้ มลู บนอินเทอรเ์ น็ต ความเป็นมาของอนิ เทอรเ์ น็ต ความเป็ นมาของอินเทอรเ์ น็ตใช้กนั มาตง้ั นานหลายปี หลาย ๆ คนอาจยงั คงไม่ทราบที่มาของ อนิ เตอรเ์ น็ต เอาเป็นวา่ บทความน้ีเอาความรูเ้ ล็ก ๆ นอ้ ย ๆ เกย่ี วกบั ประวตั คิ วามเป็นมาของอนิ เตอรเ์ น็ตมา เล่าสู่กนั ฟัง อนิ เทอรเ์ น็ต (Internet) คือเครือข่ายของระบบคอมพวิ เตอรท์ ่ีใหญ่ท่ีสุดในโลก เกิดจากการนา คอมพิวเตอรม์ าเช่ือมเขา้ หากนั เป็ นเครือข่าย และมีภาษาในการส่ือสารหรือท่ีเราเรียกว่า โปรโตคอล (Protocol) ชนิดพเิ ศษ อนิ เทอรเ์ น็ตมีบรกิ ารต่าง ๆ หลายอยา่ งซ่งึ แต่ละอย่างกม็ คี วามสามารถต่าง ๆ กนั ไป

27 การทางานของเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต เครือข่ายอินเทอรเ์ น็ตสามารถทาใหค้ อมพิวเตอรต์ ่างชนิดหรือต่างขนาดกนั ที่เช่ือมต่อภายใน เครือข่ายสามารถส่อื สารกนั ไดน้ ้ัน จะตอ้ งมีมาตรฐานการรบั ส่งขอ้ มูลระหว่างกนั เป็ นแบบเดียวกนั หรอื ใชก้ ฎ และขอ้ ตกลงเดียวกนั ซ่ึงก็คือ โพรโทคอล (Protocol) ในการควบคุมรูปแบบขอ้ มูลและการส่งผ่านขอ้ มูล ระหว่างเคร่ืองคอมพิวเตอร์ โพรโทคอลที่ใชใ้ นอินเทอรเ์ น็ต เรียกว่า ทรานมิสชันคอนโทรโปรโทคอล/ อินเทอรเ์ น็ตโพรโทคอล (Transmission Control Protocol/ Internet Protocol) หรือมีช่ือย่อว่า ทีซีพี/ ไอพี (TCP/IP) รายละเอยี ดของเวบ็ เบราวเ์ ซอร์ เน่ืองจากในปจั จบุ นั มี web browser หลากหลายค่าย ในท่นี ้ี จงึ ยกตวั อยา่ งเฉพาะ web browser ที่ไดร้ บั ความนิยม 5 อนั ดบั แรกเทา่ น้ัน 1) Internet Explorer วินโดวส์ อินเทอรเ์ น็ตเอกซ์พลอเรอร์ (องั กฤษ: Windows Internet Explorer) (ก่อนน้ีเรียกว่า ไมโครซอฟท์ อินเทอรเ์ น็ตเอกซพ์ ลอเรอร)์ โดยมีช่ือย่อว่า ไออี (IE) เป็ นเว็บ เบราวเ์ ซอรจ์ ากไมโครซอฟทแ์ ละเป็นซอฟตแ์ วรท์ แี่ ถมมากบั ระบบปฏบิ ตั กิ ารวนิ โดวส์

28 2) Firefox ความสามารถของไฟรฟ์ อกซไ์ ฟรฟ์ อกซม์ ีความสามารถที่แตกต่างจากเบราวเ์ ซอรต์ วั อ่นื ในขณะเดียวกนั ก็ขาดคุณสมบตั ิบางประการท่ีมีในเบราวเ์ ซอรต์ วั อ่นื ๆ เช่นกนั เพ่ือใหข้ นาดไฟลม์ ีขนาด เลก็ นอกจากความสามารถหลกั ไฟรฟ์ อกซส์ นับสนุนความสามารถเสรมิ อ่นื ๆ ดว้ ยกนั 3 สว่ นท่ีพฒั นาแยก ออกมาจากตวั โปรแกรมไฟรฟ์ อกซ์ ไดแ้ ก่ เอกซเ์ ทนชนั (extension), ธมี (theme), ปลกั๊ อนิ (plugin) โดย ความสามารถเสรมิ น้ี ผูใ้ ชแ้ ตล่ ะคนสามารถดาวน์โหลดมาใชไ้ ด้ หรอื สามารถพฒั นาของตวั เองได้ 3) Google Chrome ความสามารถV8 JavaScript engine - ตวั ประมวลผลจาวาสคริปต์ ซ่ึง สามารถทางานไดเ้ ร็วกว่าจาวาสคริปตเ์ อนจินของเว็บเบราวเ์ ซอรต์ วั อ่ืน พฒั นาโดยกูเกิลเดนมารก์ โดย มี ลารส์ บัก เป็ นวิศวกรหลกั incognito mode (โหมดไม่ระบุตัวตน) - เล่นเว็บโดยไม่แสดงขอ้ มูล สว่ นตวั โดยเม่ือปิดเบราวเ์ ซอร์ โปรแกรมจะลบขอ้ มลู สว่ นตวั ในหนา้ เวบ็ ที่เขา้ ชมออก ไมเ่ กบ็ ไวใ้ นระบบ 4) Safari ความสามารถพเิ ศษของซาฟารคี ุณสมบตั ิพ้นื ฐานของเว็บเบราวเ์ ซอร์ ซาฟารี มีอยู่ดว้ ยกนั หลายอย่าง RSS Ready - ซาฟารีสนับสนุนการเปิดดูขอ้ มูลท่ีเป็น XML โดยแสดงผลออกมาใหส้ ามารถใช้ งานไดง้ า่ ย โดยยงั สามารถปรบั ขนาดของคาอธบิ ายไดจ้ ากแถบ Article Length ไดด้ ว้ ย

29 5) Opera ชดุ โอเปร่าประกอบไปดว้ ย 1. โปรแกรมคน้ ดูเวบ็ (เว็บเบราวเ์ ซอร)์ 2. โปรแกรมอเี มล (E-mail client) 3. โปรแกรมไออารซ์ ี (IRC client) 4. โปรแกรมสมดุ ทีอ่ ยู่ (Address book) 5. โปรแกรมอา่ นข่าวจากแหลง่ ขอ้ มลู อน่ื (News aggregator) 6. โปรแกรมโอเปรา่ วิจทิ (Opera Widget) การสบื คน้ ขอ้ มลู การดาวน์โหลดขอ้ มลู การสบื คน้ ภาษาองั กฤษใชค้ าว่า Retrieval หมายถงึ การสบื เสาะ คน้ หาเรอ่ื งใดเร่อื งหน่ึง ซ่ึงอาจจะ ไดร้ บั คาตอบในรูปของ ตน้ ฉบบั เอกสาร บรรณานุกรม คาตอบท่ีเฉพาะเจาะจง ตวั เลข หรอื ขอ้ ความของ เร่อื งน้นั การสบื คน้ ขอ้ มลู (Information Retrieval) เป็นคาทใี่ ชใ้ นวงการหอ้ งสมดุ และสารสนเทศ หมายถงึ กระบวนการคน้ หาสารนิเทศท่ีตอ้ งการ ซ่ึงกค็ ือ “การคน้ หาขอ้ มูล” แต่มีความหมายเน้นหนักไปทางดา้ นการ คน้ หาขอ้ มูลโดยใชเ้ คร่ืองมือช่วยคน้ ประเภทที่เป็ นส่อื อิเล็กทรอนิกส์ เช่น ระบบฐานขอ้ มูลคอมพิวเตอรข์ อง หอ้ งสมุด ฐานขอ้ มูลออนไลน์ และ search engine ต่าง ๆการคน้ หาขอ้ มูลใหไ้ ดร้ วดเร็ว ถูกตอ้ งแม่นยา และตรงตามความตอ้ งการ จาเป็ นตอ้ งอาศยั ทกั ษะและพ้ืนฐานความรูเ้ ก่ียวกบั การสืบคน้ ขอ้ มูล เช่น วิธีการใชเ้ คร่ืองมือช่วยคน้ แต่ละชนิด การใชค้ าหรือวลี (keyword) ใหส้ อดคลอ้ งกบั เร่ืองที่กาลงั คน้ หา การเลือกรูปแบบการคน้ ใหเ้ หมาะสม การใชค้ าเช่ือม เพ่ือกาหนดขอบเขตการคน้ ใหม้ ีความเฉพาะเจาะจง มากข้นึ ซ่งึ จะทาใหไ้ ดผ้ ลการคน้ หรอื รายการขอ้ มลู ท่ีถกู ตอ้ งตรงตามความตอ้ งการมากทส่ี ุด การสบื คน้ ภาษาองั กฤษใชค้ าว่า Retrieval หมายถงึ การสบื เสาะ คน้ หาเร่อื งใดเรอ่ื งหน่ึง ซ่งึ อาจจะ ไดร้ บั คาตอบในรูปของ ตน้ ฉบบั เอกสาร บรรณานุกรม คาตอบท่ีเฉพาะเจาะจง ตวั เลข หรือขอ้ ความของ เรอ่ื งน้ัน การสืบค้นข้อมูล (Information Retrieval) เป็ นคาที่ใช้ในวงการหอ้ งสมุดและสารสนเทศ หมายถึง กระบวนการคน้ หาสารนิเทศท่ีตอ้ งการ ซ่ึงก็คือ “การคน้ หาขอ้ มูล” แต่มีความหมายเน้นหนักไป ทางดา้ นการคน้ หาขอ้ มูลโดยใชเ้ คร่ืองมือช่วยคน้ ประเภทที่เป็ นส่ืออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ระบบฐานขอ้ มูล คอมพิวเตอรข์ องหอ้ งสมดุ ฐานขอ้ มูลออนไลน์ และ search engine ต่าง ๆการคน้ หาขอ้ มูลใหไ้ ดร้ วดเร็ว

30 ถูกตอ้ งแม่นยา และตรงตามความตอ้ งการ จาเป็ นตอ้ งอาศยั ทกั ษะและพ้ืนฐานความรูเ้ ก่ียวกบั การสืบคน้ ขอ้ มูล เช่น วิธีการใชเ้ คร่ืองมือช่วยคน้ แต่ละชนิด การใชค้ าหรอื วลี (keyword) ใหส้ อดคลอ้ งกบั เร่อื งท่ีกาลงั คน้ หา การเลือกรูปแบบการคน้ ใหเ้ หมาะสม การใช้คาเช่ือม เพ่ือกาหนดขอบเขตการคน้ ใหม้ ีความ เฉพาะเจาะจงมากข้ึน ซ่ึงจะทาใหไ้ ดผ้ ลการคน้ หรอื รายการขอ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ งตรงตามความตอ้ งการมากท่ีสุด การดาวน์โหลด (Download) หมายถงึ การดงึ ขอ้ มูลจากคอมพวิ เตอรอ์ กี เครอ่ื งหน่ึงซ่ึงเป็นตน้ ทาง มาเกบ็ ไวย้ งั เคร่อื งของเรา มีหลายประเภทหากแบ่งตามลกั ษณะของการถา่ ยโอนขอ้ มูล จะแบง่ เป็น 3 ประเภทคอื 1. ฟรีแวร์ (Freeware) หมายถึงโปรแกรมท่ีมีผูส้ รา้ งข้ึนเพ่ือแจกจ่ายใหแ้ ก่สาธารณชนใช้ โดยไม่ ตอ้ งเสยี ค่าใชจ้ ่าย ผูใ้ ชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตสามารถดาวนโ์ หลดโปรแกรมฟรีแวรไ์ ปใชเ้ องและถ่ายโอนใหผ้ ูอ้ ่นื ต่อไป ได้ โดยมีขอ้ แมว้ า่ จะตอ้ งไมน่ าไปขายหรอื หารายไดจ้ ากโปรแกรมน้นั เช่น โปรแกรม Linux เป็นตน้ 2. แชรแ์ วร์ (Shareware) หมายถึง โปรแกรมท่ีมีผูส้ รา้ งข้ึนเพ่ือตง้ั ใจจะจาหน่าย แต่ยอมใหผ้ ูส้ นใจ นาไปทดลองใชก้ ่อนโดยไมต่ อ้ งจา่ ยค่าลขิ สทิ ธ์ิ แตถ่ า้ หากพอใจและตอ้ งการใชง้ านอย่างจรงิ จงั จะตอ้ งจา่ ยเงนิ ซ้ือโปรแกรมดงั กล่าวจงึ จะไดโ้ ปรแกรมฉบบั สมบรู ณ์ 3. คอมเมอรเ์ ชียลแวร์ (Commercial ware) หมายถงึ โปรแกรมท่ีสรา้ งข้นึ มาเพอ่ื จาหน่วย ไม่มีการ แจกฟรี ผูใ้ ชอ้ าจจะไดด้ ูตวั อย่างบา้ งแตไ่ มส่ ามารถนาไปใชง้ านได้ ถา้ หากตอ้ งการจะตอ้ งซ้ือจงึ จะดาวน์โหลด โปรแกรมมาใชง้ านได้

31 จดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ จดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Mail) คือ การส่งขอ้ ความหรือข่าวสารจากบุคคลหน่ึงไปยงั บุคคลอ่นื ๆ ผ่านทางคอมพิวเตอรแ์ ละระบบเครือข่ายเหมือนกบั การสง่ จดหมาย แต่อยู่ในรูปแบบของสญั ญาณขอ้ มูลท่ี เป็นอเิ ลก็ ทรอนิกส์ โดยเปล่ยี นการนาสง่ จดหมายจากบรุ ุษไปรษณีย์มาเป็นโปรแกรม และเปล่ยี นจากการใช้ เสน้ ทางจราจรคมนาคมทวั่ ไปมาเป็นช่องสญั ญาณรูปแบบต่าง ๆ ที่เช่ือมต่อระหวา่ งเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ ซ่งึ จะตรงเขา้ มาสู่ Mail Box ทถี่ กู จดั สรรใน Server ของผูร้ บั ปลายทางทนั ที

32



33 หน่วยที่ 6 ระบบสารสนเทศ ความหมายของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ (Information system) หมายถึง ระบบที่ประกอบดว้ ยส่วนต่าง ๆ ไดแ้ ก่ ระบบ คอมพิวเตอรท์ ง้ั ฮารด์ แวร์ ซอฟทแ์ วร์ ระบบเครือข่าย ฐานขอ้ มูล ผูพ้ ฒั นาระบบ ผูใ้ ชร้ ะบบ พนักงานที่ เก่ียวขอ้ ง และ ผูเ้ ช่ียวชาญในสาขา ทุกองคป์ ระกอบน้ีทางานร่วมกนั เพ่ือกาหนด รวบรวม จดั เก็บ ขอ้ มูล ประมวลผลขอ้ มูลเพ่ือสรา้ งสารสนเทศ และสง่ ผลลพั ธห์ รือสารสนเทศที่ไดใ้ หผ้ ูใ้ ชเ้ พ่ือช่วยสนับสนุน การทางาน การตดั สนิ ใจ การวางแผน การบรหิ าร การควบคมุ การวเิ คราะหแ์ ละติดตามผลการดาเนินงาน ขององคก์ ร ระบบสารสนเทศ หมายถึง ชุดขององค์ประกอบที่ทาหน้าท่ีรวบรวม ประมวลผล จดั เก็บ และแจกจ่ายสารสนเทศ เพ่ือช่วยการตดั สินใจ และการควบคุมในองคก์ ร ในการทางานของระบบ สารสนเทศประกอบไปดว้ ยกิจกรรม 3 อย่าง คือ การนาขอ้ มูลเขา้ สู่ระบบ (Input) การประมวลผล (Processing) และ การนาเสนอผลลัพธ์ (Output) ระบบสารสนเทศอาจจะมีการสะท้อนกลับ (Feedback) เพ่อื การประเมินและปรบั ปรงุ ขอ้ มูลนาเขา้ ระบบสารสนเทศอาจจะเป็นระบบที่ประมวลดว้ ยมือ (Manual) หรือระบบที่ใชค้ อมพิวเตอรก์ ็ได้ (Computer-based information system –CBIS) (Laudon & Laudon, 2001)

34 ลกั ษณะของสารสนเทศทดี่ ี 1. มีความถูกตอ้ งแม่นยา (accuracy) สารสนเทศท่ีดีจะตอ้ งตรงกบั ความเป็ นจริงและเช่ือถือได้ สารสนเทศบางอย่างมีความสาคญั หากไม่ตรงกบั ความเป็ นจริงแลว้ อาจก่อใหเ้ กิดความเสียหายได้ สารสนเทศท่ีถูกตอ้ งแมน่ ยาจะตอ้ งเกดิ จากการป้ อนขอ้ มูลรวมถงึ โปรแกรมท่ปี ระมวลผลจะตอ้ งถกู ตอ้ ง 2. ทนั ตอ่ เวลา (timeliness) สารสนเทศท่ีดตี อ้ งทนั ตอ่ การใชง้ าน หมายถงึ ขอ้ มูลทป่ี ้ อนใหก้ บั เคร่อื ง คอมพิวเตอรต์ อ้ งมีความเป็ นปจั จุบนั ทนั สมยั อยู่ตลอดเวลา เพ่ือการนาไปใชป้ ระโยชน์ไดจ้ ริง ตวั อย่างเช่น ขอ้ มูลหมายเลขโทรศพั ทข์ องผูป้ กครองนักเรียน จะตอ้ งมีการปรบั ปรุงใหท้ นั สมยั หากหมายเลขโทรศพั ท์ ลา้ สมยั กจ็ ะไม่สามารถติดตอ่ กบั ผูป้ กครองไดห้ ากเกดิ กรณีฉุกเฉิน 3. มีความสมบูรณ์ครอบถว้ น (complete) สารสนเทศท่ีดีจะตอ้ งมีความครบถว้ น สารสนเทศที่มี ความครบถว้ นเกิดจากการเก็บขอ้ มูลไดค้ รบถว้ น หากเก็บขอ้ มูลเพียงบางส่วนก็จะไม่สามารถใชป้ ระโยชน์ จากสารสนเทศไดเ้ ต็มประสิทธิภาพ ตวั อย่าง เช่น ขอ้ มูลนักเรียน ก็จะตอ้ งมีการเก็บรายละเอยี ดเก่ียวกบั นักเรยี นใหไ้ ดม้ ากท่ีสุด เช่น ช่ือ อายุ ท่ีอยู่ ช่ือผูป้ กครอง หมายเลขโทรศพั ท์ โรคประจาตวั คะแนนท่ีไดร้ บั ในแต่ละวิชา เป็ นตน้ ทง้ั น้ีเพ่ือใหค้ รูสามารถนาขอ้ มูลไปใชป้ ระโยชน์ไดอ้ ย่างเต็มที่ หากไม่มีขอ้ มูลของ หมายเลขโทรศพั ท์ เม่อื เกดิ เหตฉุ ุกเฉินกจ็ ะไม่สามารถตดิ ตอ่ กบั ผูป้ กครองไดเ้ ช่นเดียวกนั

35 4. มีความสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผูใ้ ช้ (relevancy) สารสนเทศจะตอ้ งสอดคลอ้ งกบั ความ ตอ้ งการของผุใ้ ช้ กล่าวคือ การเกบ็ ขอ้ มูลตอ้ งมีการสอบถามการใชง้ านของผูใ้ ชว้ ่าตอ้ งการในเร่ืองใดบา้ ง จงึ จะสามารถสรปุ สารสนเทศไดต้ รงกบั ความตอ้ งการของผูใ้ ชม้ ากที่สุด ตวั อยา่ งเช่น หากตอ้ งการเกบ็ ขอ้ มูลของ นกั เรยี นกต็ อ้ งถามครูวา่ ตอ้ งการเกบ็ ขอ้ มูลใดบา้ ง เพ่อื ใหค้ รูสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ไดจ้ รงิ 5. สามารถพิสูจน์ได้ (verifiable) สารสนเทศท่ีดีจะตอ้ งตรวจสอบแหล่งที่มาได้ ทง้ั น้ีเพ่ือใหผ้ ูใ้ ช้ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของสารสนเทศได้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ปจั จุบนั น้ี เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทอย่างกวา้ งขวางในทุกวงการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ กลายเป็ นเคร่ืองมือสาคญั ของการทางานทุกดา้ น นับตง้ั แต่ทางดา้ นการศึกษา พาณิชยกรรม เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม สาธารณสุข การวิจยั และพฒั นา ตลอดจนดา้ นการเมืองและราชการ อนั ท่ีจริงแลว้ จะเห็นว่าไม่ มีงานดา้ นใดทไ่ี ม่มีผูค้ ิดประยุกตห์ รอื นาเทคโนโลยีสารสนเทศเขา้ ไปช่วยใหก้ ารทางานน้ัน ๆ มีประสทิ ธิภาพ และประสทิ ธิผลย่ิงข้นึ

36 ความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) หรอื เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร (Information and Communication Technologies: ICTs) ก็คือ เทคโนโลยีสองด้านหลัก ๆ ท่ี ประกอบดว้ ยเทคโนโลยีระบบคอมพวิ เตอร์ และ เทคโนโลยีส่อื สารโทรคมนาคมที่ผนวกเขา้ ดว้ ยกนั เพ่อื ใช้ ในกระบวนการจดั หา จดั เก็บ สรา้ ง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็ นเสียง ภาพ ภาพเคล่ือนไหวขอ้ ความหรือตวั อกั ษร และตวั เลข เพ่อื เพ่ิมประสทิ ธิภาพ ความถูกตอ้ ง ความแม่นยา และ ความรวดเรว็ ใหท้ นั ตอ่ การนาไปใชป้ ระโยชน์ ประเภทของระบบสารสนเทศ 1. ระบบสานักงานอตั โนมตั ิ (Office Automatic System หรอื OAS ) เป็ นงานที่ตอ้ งทาอยู่เป็ นประจา หรืองานทวั่ ไป ที่สามารถพบไดใ้ นองคก์ รทุกประเภท เช่น การส่ง จดหมาย การพิมพฺเ์ อกสารายงาน หรือ การจดั ตารางเวลาซ่ึงงานลกั ษณะน้ี ทาโดยระบบคอมพิวเตอร์ อตั โนมัติ ผู้ใช้สารสนเทศประเภทน้ีสามารถนาโปรแกรมประยุกต์ เข้ามาช่วยงานแบบประจาได้ เช่น โปรแกรมประมวลผลคา (Word Processing ) สมุดบญั ชีอิเล็กทรอนิกส์ (Spreadsheet ) และ โปรแกรมท่ีใชต้ ิดต่อส่ือสารภายในและภายนอกองคก์ ร และเพ่ือรองรบั การขยายระบบใหญ่มากข้ึน ทาให้ ระบบสานักงานอตั โนมตั สิ ามารถสรา้ งไดด้ ว้ ยโปรแกรมประยุกต์ (Application Software ) ที่มีขายตามรา้ น ขายซอฟตแ์ วรร์ ะบบสานกั งานอตั โนมตั นิ ้ีมกั ถูกใชง้ านโดยบคุ คลทกุ ระดบั ในองคก์ ร

37 2. ระบบประมวลผลรายการประจาวนั (Transaction Processing System หรอื TPS) บางครง้ั เรยี กว่าระบบประมวลผลขอ้ มูล ( Data Processing System )เป็นระบบที่มีการนาคอมพวิ เตอรม์ า ใชใ้ นการจดั การขอ้ มุลพ้ืนฐาน โดยเน้นที่การประมวลผลรายการประจาวนั และการเก็บรกั ษาขอ้ มูล การ ทางานมกั เกดิ ข้นึ ในหน่วยงานใด หน่วยงานหน่ึง เทา่ น้ัน เช่น ฝ่ ายการเงนิ ฝ่ ายบญั ชี โดยแตล่ ะฝ่ ายจะมีการ ประมวลผลทแ่ี ยกจากกนั ขอ้ มลู จะถูกป้ อนและจดั เกบ็ อยูใ่ นระบบ และขอ้ มลู เหลา่ น้นั จะถกู แกไ้ ขระหวา่ งการ ประมวลผลรายการประจาวนั จากน้ันผลลพั ธืจะถูกแสดงตามระยะเวลาที่กาหนด เช่น ใบสงั่ ซ้ือ 3. ระบบสารสนเทศเพ่อื การจดั การ (Management Information System หรอื MIS ) เป็ นระบบซ่ึงรวบรวมข้อมูลและสาารสนเทศท้งั หมดในองค์กร และภายนอกองคก์ รอย่างมี หลกั เกณฑ์ จุดประสงคข์ องระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การจะเน้นใหผ้ ูบ้ ริหารมองเห็นแนวโน้มและ ภาพรวมขององคก์ รในปจั จุบนั รวมทง้ั สามารถควบคุมและตรวจสอบผลงานของระดบั ปฏิบตั ิการดว้ ย ขอบเขตของรายการท่ีไดจ้ ากระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การจะข้ึนอยู่กบั ลกั ษณะของสารสนเทศ และ วตั ถปุ ระสงคใ์ นการใชง้ าน โดยอาจมีรายงานตามสภาวการณ์ หรือสภาวการณ์ที่ผิดปกติ ตวั อย่างรายงานท่ี ได้จากระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การ เช่น การวิเคราะห์การขายแยกตามพ้ืนท่ี การวิเคราะห์ ตน้ ทนุ งบประมาณประจาปี

38 4. ระบบสนับสนุนการตดั สนิ ใจ (Decision Support System หรอื DSS) เป็นระบสารสนเทศที่จดั ทาข้ึนเพ่ือใหผ้ ูท้ าการตดั สนิ ใจใชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจ ดงั น้ันจงึ เป็นระบบท่ี ง่ายต่อการเรียกใชง้ านและการโตต้ อบทง้ั น้ีเพราะผูบ้ ริหาร ระดบั กลางข้ึนไปคุน้ เคยและจาเป็ นตอ้ งใชก้ าร ตดั สินใจบนประสบการณืต่อส่งิ ที่เกิดข้ึนทง้ั ท่ีควบคุมได้ และทีไม่สามารถควบคุมได้ ระบบสนับสนุนการ ตดั สินใจจึงเป็ นระบบท่ีมีการผสมผสานสารสนเทศท่ีมีอยู่หรือเรียกใชจ้ ากระบบสารสนเทสอ่ืน ๆ นามา เปรียบเทียบ คานวณ วิเคราะห์ คาดการณ์ โดยนาเสนอในรูปของกราฟิ ก แผนงานหรือแมแ้ ต่ระบบ ปญั ญาประดิษฐ์ เพ่อื ใหเ้ กิดความสะดวกในการใชส้ ารสนเทศ สาหรบั ผูท้ าการตดั สนิ ใจ นอกเหนือไปจากก งานหรือสถานการณ์ภายในที่ควบคุมได้ ระบบสนับสนุนการตดั สินใจ จะไดร้ บั การออกกแบบเพ่ือให้ สนับสนุนการตดั สนิ ใจหลาย ๆ ดา้ น พรอ้ มกนั ดงั น้ันสารสนเทศท่ีเก่ียวขอ้ งภายในองคก์ รจึงไดร้ บั การ จดั ระบบใหมเ่ พอ่ื ใหส้ ามารถแสดงความเกย่ี วขอ้ งอยา่ งชดั เจน สามารถเรยี กใชไ้ ดท้ นั ที ลกั ษณะการใชง้ านระบบสารสนเทศในองคก์ ร สาหรบั การใชง้ านระบบสารสนเทศในองคก์ รน้ัน เจา้ หน้าท่ีระดบั ปฏิบตั ิการจะทาวานกบั ขอ้ มูลดิบ เป็นส่วนใหญ่ เช่น การรวบรวม จดั เกบ็ ประมวลผลขอ้ มูล สว่ นเจา้ หนา้ ที่บริหารระดบั สูงท่ีตอ้ งมีบทบาทใน การบรหิ ารจดั การและตดั สนิ ใจในเร่ืองต่างๆ จะอาศยั สารสนเทศที่เก่ียวขอ้ งมาประกอบการตดั สนิ ใจ การให้ ความสาคญั ทง้ั ทางดา้ นคณุ ภาพต่อขอ้ มูลและสารสนเทศตามระดบั ตาแหน่งทางดา้ นบรหิ ารงาน จงึ มลี กั ษณะ ดงั รูปต่อไปน้ี - ผูบ้ รหิ ารระดบั สูง (senior managers) เป็นผูก้ าหนดนโยบาย กาหนดกลยทุ ธ์ เพอ่ื ใหธ้ ุรกจิ ดาเนิน ไปได้ ระบบสารสนเทศท่ีนามาใชค้ วรจะพยากรณ์ค่าต่างๆ มีการแสดงขอ้ มูลในลกั ษณะของกราฟ รูปภาพ แต่ไม่ตอ้ งลงไปที่รายละเอยี ดมากนัก นอกจากน้ีควรนาเสนอขอ้ มูลของบริษทั คู่แข่งได้ ขอ้ มูลทางการตลาด ต่าง ๆ

39 - ผูบ้ ริหารระดับกลาง (middle managers) จะตอ้ งมีการวางแผนควบคุมงานใหเ้ ป็ นไปตาม นโยบายของผูบ้ ริหารระดบั สูง สารสนเทศที่ใชค้ วรแสดงขอ้ มูลท่ีเป็นเวลางานต่าง ๆ รายงานสรุป ท่ีจะใชใ้ น การนาเสนอผูบ้ รหิ ารระดบั สูง - ผู้บริหารระดับปฏิบตั ิการ (operation managers) จะตอ้ งปฏิบตั ิงานตามแผนงานที่ได้รบั มอบหมาย ตอ้ งสามารถแกไ้ ขปญั หาจากงานปฏบิ ตั ิงานของพนักงานได้ ระบบสารสนเทศท่ีใชจ้ ะตอ้ งแสดง รายละเอยี ดตา่ งๆ ที่มโี ครงสรา้ งทแี่ น่นอน แสดงการทางานประจาวนั - ผูป้ ฏิบตั ิงาน (workers) เป็ นบุคคลที่ดาเนินงานดา้ นการสนับสนุนการทางานท้งั หมดใหก้ บั บคุ ลากรทกุ ฝ่ าย เป็นผูท้ ากจิ กรรมประจาวนั ตา่ ง ๆ

40 ระบบสารสนเทศเพอ่ื การประมวลผลขอ้ มูล ระบบสารสนเทศ (Information System) คือ ขบวนการประมวลผลข่าวสารทม่ี ีอยู่ ใหอ้ ยู่ในรูปของ ข่าวสารที่ เป็นประโยชน์สูง สุด เพ่ือเป็ นขอ้ สรุปที่ใชส้ นบั สนุนการตดั สนิ ใจของบุคคลระดบั บรหิ ารขบวนการ ท่ีทาใหเ้ กิดข่าวสารสารสนเทศน้ี เรียกว่า การประมวลผลผลสารสนเทศ (Information Processing) และ เรยี กวิธกี ารประมวลผลสารสนเทศดว้ ยเคร่ืองมือทางอเี ลก็ ทรอนิกสว์ า่ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) ระบบประมวลผล ความซบั ซอ้ นในการปฏิบตั ิงานและความตอ้ งการสารสนเทศที่หลากหลาย ทาให้ การจดั การและการประมวลผลขอ้ มูลดว้ ยมือ ไม่สะดวก ชา้ และอาจผิดพลาด ปจั จุบนั องคก์ ารจงึ ตอ้ งทาการ จดั เกบ็ และการประมวลผลขอ้ มูลดว้ ยระบบอเี ลก็ ทรอนิกส์ โดยใชค้ อมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณ์สนับสนุนในการ จดั การขอ้ มลู เพอ่ื ใหก้ ารทางานถูกตอ้ งและรวดเรว็ ข้ึน การประมวลผลขอ้ มูล (Data Processing) หมายถึง การเปล่ียนแปลงหรือจดั ระเบียบขอ้ มูลใหอ้ ยู่ ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ต่อผูใ้ ชง้ าน ขอ้ มลู โดยทวั่ ไปเกดิ ข้ึนอย่างไมเ่ ป็นระเบียบจากขบวนการนับหรือการ วดั ไม่สามารถส่ือความหมายใหเ้ ขา้ ใจหรือใชป้ ระโยชน์ได้ การประมวลผลจึงเป็ นวิธีการนาขอ้ มูล (Data) กลายสภาพเป็ นสารสนเทศ (Information) ที่มีประสิทธิภาพและนาไปใชป้ ระโยชน์ต่อไปได้ ซ่ึงวิธีการ ประมวลผลขอ้ มูลเพ่อื ใหไ้ ดม้ าซ่งึ สารสนเทศ

41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook