Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Resaerch

Resaerch

Published by kanthikasaeng2561, 2018-11-20 09:21:37

Description: Resaerch

Search

Read the Text Version

ความพึงพอใจของนักศกึ ษาทมี่ ตี ่อคณุ ภาพการจดั การเรยี นการสอนของวิชาหลกั การจดั การ วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษานครศรีธรรมราช โดย คณุ ครูสนุ ีย์ แสงสวุ รรณ

วิจยั ฉบับน้ีเป็นสว่ นหนึ่งของการวิจัยในชน้ั เรียน ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2556 วทิ ยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราชความพึงพอใจของนักศกึ ษาที่มีต่อคุณภาพการจดั การเรยี นการสอนของวิชาหลกั การจดั การ วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษานครศรธี รรมราช โดย คณุ ครูสนุ ีย์ แสงสวุ รรณ วจิ ยั ฉบับนเ้ี ปน็ ส่วนหนง่ึ ของการวจิ ัยในชน้ั เรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2556 วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษานครศรีธรรมราช

ชื่อเรื่อง การศึกษาความพงึ พอใจของนกั ศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของ วชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราชผวู้ จิ ยั ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556ปี ที่วจิ ยั นางสาวสุนีย์ แสงสุวรรณ 2556 บทคดั ยอ่ การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวิชาหลกั การจดั การ (3200-1003) วิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556มีวตั ถุประสงค์เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนกั ศึกษาที่มีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) วิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556และเพื่อนาขอ้ มูลท่ีไดไ้ ปพฒั นาคุณภาพการสอนของครูผสู้ อนในภาคเรียนถดั ไป กลุ่มตวั อยา่ งท่ีใช้ในการวิจยั ในคร้ังน้ี เป็ นการสุ่มกลุ่มตวั อย่างแบบอยา่ งง่าย จากนกั ศึกษาที่กาลงั ศึกษาอยูใ่ นระดบัประกาศนียบตั รวิชาชีพช้ันสูง ที่กาลงั ศึกษาอยใู่ นวทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2ปี การศึกษา 2556 จานวน 112 คน สรุปผลการวจิ ยั กลุ่มตวั อย่างที่ตอบแบบสอบถามการศึกษาการศึกษาความพึงพอใจของนกั ศึกษาที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลักการจัดการ (3200-1003) วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2556 เป็ นนักศึกษาระดบั ปวส.1 โดยครูผูส้ อนคือคุณครูสุนีย์ แสงสุวรรณ สังกดั แผนกวชิ าการบญั ชี กลุ่ม 1 มากที่สุด ร้อยละ 35.7 การบญั ชี กลุ่ม 2ร้อยละ 33.0 การตลาด ร้อยละ 18.8 และน้อยที่สุดคือ สาขางานเทคโนโลยีสานักงาน กลุ่ม 1ร้อยละ 12.5 การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวิชาหลกั การจดั การ (3200-1003) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556โดยภาพรวม อยใู่ นระดบั มากท่ีสุด ค่าเฉล่ีย ( X ) = 3.62 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.33 โดยมีความพึงพอใจต่อ ดา้ นความสามารถในการจดั การเรียนการสอน รายการผูส้ อนใชส้ ่ือการสอนได้อยา่ งน่าสนใจ สูงท่ีสุด อยู่ในระดบั มากที่สุด ค่าเฉล่ีย ( X ) = 4.77 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) =0.46 ส่วนรายการที่มีความพึงพอใจต่าท่ีสุดคือ ด้านความสามารถในการจัดการเรียนการสอน

-ข-รายการผูส้ อนเขา้ สอนและเลิกสอนตรงตามเวลา อยูใ่ นระดบั มาก ค่าเฉลี่ย ( X ) = 4.49 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.56 และดา้ นการวดั และประเมินผล รายการผสู้ อนมีวธิ ีการวดั ผลหลายวธิ ี อยใู่ นระดบั มาก ค่าเฉลี่ย ( X ) = 4.49 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.58

-ค- กติ ตกิ รรมประกาศ รายงานการวจิ ยั เร่ืองการศึกษาความพึงพอใจของนกั ศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) วิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2ปี การศึกษา 2556 ฉบบั น้ี สาเร็จสมบูรณ์ได้ดว้ ยความช่วยเหลือจากบุคคลหลายท่าน ซ่ึงได้ให้แนวคิดในการจดั ทา พฒั นา และทดลองใช้จนสมบูรณ์ ผูจ้ ดั ทาขอขอบพระคุณเป็ นอย่างสูงไว้ ณโอกาสน้ี ขอขอบพระคุณ ผูอ้ านวยการวิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช รองผูอ้ านวยการฝ่ ายวชิ าการ ผูบ้ ริหาร และเพื่อนครูวิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ทุกท่านท่ีมีส่วนร่วมให้การช่วยเหลือ ใหค้ าแนะนา และเป็ นกาลงั ใจใหจ้ ดั ทาผลงานจนเสร็จลุล่วง รวมท้งั ผเู้ รียนท่ีร่วมทดลองใช้และประเมินผลความพึงพอใจ จนเป็ นผลสาเร็จสมบูรณ์ ขอขอบพระคุณทุกท่านที่ให้ความร่วมมือในการดาเนินการคร้ังน้ีเป็ นอยา่ งดี และหวงั เป็ นอย่างย่ิงวา่ รายงานการประเมินผลฉบบั น้ี จะได้นาไปใชใ้ นการปรับปรุงพฒั นาการจดั การเรียนการ เพ่ือให้เกิดประโยชน์แก่ผูเ้ กี่ยวขอ้ งและผูส้ นใจตอ่ ไป การใดท่ีเป็ นประโยชน์จากการจดั ทารายงานฉบบั น้ี ผูร้ ายงานขอมอบเป็ นกุศลแด่บิดามารดา ผูม้ ีพระคุณ ผูใ้ ห้การสนับสนุน รวมท้งั เจา้ ของเอกสาร ตารา และแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆที่ใชศ้ ึกษาขอ้ มูล ใชอ้ า้ งอิงในการจดั ทารายงานฉบบั น้ี นางสาวสุนีย์ แสงสุวรรณ มีนาคม 2557

-ง- หน้า สารบัญ ก คเรื่อง ง ฉบทคดั ยอ่ ชกิตติกรรมประกาศสารบญั 1สารบญั ตาราง 1สารบญั ภาพ 4 4บทท่ี 1 บทนา 4 ท่ีมาและความสาคญั ของปัญหา 4 วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั ขอบเขตของการวจิ ยั 6 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับบทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วข้อง

-จ- หน้า สารบญั (ต่อ) 27 27เร่ือง 27 28บทที่ 3 วธิ ีการดาเนินการวจิ ัย 29 ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 29 เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 30 การสร้างเคร่ืองมือ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 32 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 32 สถิติท่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 32 33บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล สัญลกั ษณ์ที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 43 ลาดบั ข้นั ในการเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 43 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 43 44บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 44 วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั 45 ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง สรุปผลการวจิ ยั อภิปรายผล ขอ้ เสนอแนะบรรณานุกรมภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสอบถาม ภาคผนวก ข การวิเคราะห์ขอ้ มูลดว้ ยโปรแกรม SPSS FOR WINDOW ภาคผนวก ค ประวตั ิผจู้ ดั ทา

-ฉ- สารบัญตารางตารางที่ หน้า4-1 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามแผนกวชิ าที่สังกดั 334-2 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามระดบั ช้นั 344-3 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามวชิ าท่ีประเมิน 354-4 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามครูผสู้ อนท่ีรับการประเมิน 364-5 แสดงคา่ เฉล่ียและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเกี่ยวกบั ความพงึ พอใจของนกั ศึกษาที่มีต่อ 37 คุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 ดา้ นความสามารถในการจดั การเรียนการสอน4-6 แสดงคา่ เฉล่ียและค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานเกี่ยวกบั ความพึงพอใจของนกั ศึกษาท่ีมีต่อ 38 คุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2556 ดา้ นความรู้ความสามารถในวชิ าท่ีสอน4-7 แสดงคา่ เฉลี่ยและคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐานเกี่ยวกบั ความพึงพอใจของนกั ศึกษาท่ีมีต่อ 39 คุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2556 ดา้ นการวดั และประเมินผล4-8 แสดงคา่ เฉลี่ยและค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานเกี่ยวกบั ความพงึ พอใจของนกั ศึกษาท่ีมีต่อ 41 คุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556

-ช- หน้า สารบญั ภาพ 33 34ภาพท่ี 35 4-1 ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามแผนกวชิ าที่สังกดั 36 4-2 ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามระดบั ช้นั 4-3 ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามวชิ าท่ีประเมิน 4-4 ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามครูผสู้ อนท่ีรับการประเมิน

บทท่ี 1 บทนำควำมเป็ นมำและควำมสำคญั ของปัญหำ จากพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว ในพิธีพระราชทานปริญญาบตั รของมหาวทิ ยาลยั มหิดล เม่ือวนั ที่ 2 กรกฎาคม 2538 มีขอ้ ความเก่ียวกบั การจดั การศึกษาความตอนหน่ึงว่า \".....ความรู้ท่ีจะศึกษามีอยู่สามส่วน คือ ความรู้วิชาการ ความรู้ปฏิบตั ิการ และความคิดอ่านตามเหตุผลความเป็ นจริงซ่ึงแต่ละคนควรเรียนรู้ให้ครบ เพื่อสามารถนาไปใช้ประกอบกิจการงาน และแกป้ ัญหาท้งั ปวงไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ.....\" เป็ นกระแสพระราชดารัสซ่ึงเป็ นแนวทางสาหรับการจดัการศึกษาอันทรงคุณค่ายิ่ง เนื่องจากการศึกษาเป็ นกระบวนการสาคัญในการพัฒนาความรู้ความสามารถ ค่านิยม เจตคติและคุณภาพของบุคคล เพื่อให้เป็ นพลงั สาคญั ในการพฒั นาประเทศในโลกที่เปล่ียนแปลงรวดเร็วท้งั ด้านวิทยาการความก้าวหน้าโดยเฉพาะเทคโนโลยีส่ือสาร หรือการแข่งขันอย่างรุ นแรงด้านเศรษฐกิจ ดังน้ันสาระสาคัญของแนวคิดในการปฏิรู ปการศึกษาในพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 จึงระบุไวช้ ดั เจนให้มีการจดั การเรียนการสอนโดยยึดผูเ้ รียนเป็ นสาคญั เพราะการศึกษาถือเป็ นกลไกสาคญั ท่ีสามารถพฒั นาคุณภาพของบุคคล เป็ นวธิ ีการจดั การเรียนการสอนที่จะทาให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้ท่ีแทจ้ ริงและยงั่ ยนื เพ่ือให้บุคคลเหล่าน้นักลบั มาพฒั นาสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ วิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช เป็ นสถาบนั การศึกษาหน่ึง ท่ีมีวตั ถุประสงคใ์ นการศึกษาวิชาชีพ ทาการวิจยั ผลิตครู ผลิตผูเ้ รียน และส่งเสริมวิทยฐานะครู ซ่ึงจากปณิธานดงั กล่าวน้ีวิทยาลยั ฯ สามารถผลิตผูเ้ รียนท่ีมีคุณภาพ ไปประกอบอาชีพสุจริตได้เป็ นจานวนมาก ปัจจุบันวทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ไดด้ าเนินการจดั การเรียนการสอนในดา้ นสายอาชีพ เป็ นระยะเวลานานหลายปี แลว้ จึงเล็งเห็นว่านักศึกษาท่ีจบไปแลว้ และนาความรู้ที่ไดไ้ ปพฒั นาเป็ นอาชีพไดน้ ้ันตอ้ งไดร้ ับการพฒั นาจากครูผูส้ อนเป็ นสาคญั และสิ่งท่ีขาดเสียมิไดเ้ ลยก็คือ กระบวนการจดั การเรียนการสอน ผูร้ ายงานในฐานะที่เป็ นผูส้ อนหลกั การจดั การ (3200-1003) เห็นวา่ ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนดงั ท่ีกล่าวมาแลว้ ขา้ งตน้ มีความสาคญั ต่อการพฒั นานกั ศึกษาอยา่ งย่ิง จึงทาการศึกษาแนวทางและการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผูเ้ รียนเป็ นศูนยก์ ลาง โดยจดั กิจกรรมที่สอดคลอ้ งกบั การดารงชีวติ ใหผ้ เู้ รียนมีส่วนร่วมและลงมือปฏิบตั ิจริงทุกข้นั ตอนจะบงั เกิดการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ทาให้ผูเ้ รียนเกิดทกั ษะการปฏิบตั ิไดเ้ ป็ นอยา่ งดี และเนื่องจากสภาพการจดั การเรียนการสอนในวิชาหลกั การจัดการ (3200-1003) เพื่อให้ผู้เรี ยนได้เตรียมตัวออกไปประกอบอาชีพได้จริง จะต้องจัดเน้ือหาประสบการณ์ ให้เหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั ความเป็ นอยูใ่ นชีวิตประจาวนั และความสนใจของ

-2-ผเู้ รียน มีการฝึ กทกั ษะการปฏิบตั ิงาน ให้ผเู้ รียนสามารถทางานร่วมกบั ผูอ้ ่ืนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและทาให้ผูเ้ รียนทุกคนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและช่วยกนั ทาความเข้าใจสิ่งท่ีเรียน มีกิจกรรมหลากหลายสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล มีการบูรณาการท้งั ด้านความรู้ ทกั ษะคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ เพ่ือให้นกั ศึกษามีความสนใจในการเรียนเพิม่ ข้ึนรวมท้งั มีทกั ษะชีวติ ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ดังน้ัน จึงได้มีการจัดทาแบบสอบถามข้ึนในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 เพื่อประเมินผลความพึงพอใจของนกั ศึกษา ต่อคุณภาพการสอนของครูผูส้ อน ในรายวิชา หลกั การจดั การ(3200-1003) เพื่อเป็ นขอ้ มูลในการปรับปรุง พฒั นาการสอนของครูผสู้ อน ให้ผเู้ รียนมีความพึงพอใจและมีประสิทธิภาพเพม่ิ ข้ึนวตั ถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนกั ศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2556 2. เพื่อนาขอ้ มูลท่ีไดไ้ ปพฒั นาคุณภาพการสอนของครูผสู้ อนในภาคเรียนถดั ไปขอบเขตของกำรวจิ ัย การวจิ ยั น้ีเป็ นการศึกษาวจิ ยั เก่ียวกบั ความพึงพอใจของนกั ศึกษาท่ีมีตอ่ คุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช คือความพึงพอใจของ นกั ศึกษา ที่มีต่อคุณภาพ การจดั การเรียนการสอนของครูผสู้ อนนิยำมศัพท์ ความพงึ พอใจ หมายถึง ความรู้สึก ความคิดเห็น ความพอใจ ความชอบ รวมท้งั ความตอ้ งการของนกั ศึกษาต่อกระบวนการจดั การเรียนการสอน วชิ า หลกั การจดั การ (3200-1003) กระบวนการเรียนการสอน หมายถึง ลกั ษณะการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ในดา้ นเน้ือหาวชิ าในหลกั สูตร อาจารยผ์ สู้ อน กิจกรรมการเรียนการสอน สิ่งแวดลอ้ มที่เอ้ือต่อการเรียน การประเมินผล นกั ศึกษา หมายถึง นกั ศึกษา ระดบั ปวส. ที่กาลงั ศึกษาอยใู่ นวทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2556

-3- สภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือต่อการเรียน หมายถึง สิ่งตา่ ง ๆ ที่ส่งผลใหก้ ิจกรรมการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยง่ิ ข้ึน เช่น หอ้ งสมุด ห้องเรียน โสตทศั นูปกรณ์ สมั พนั ธภาพระหวา่ งเพอ่ื นนกั ศึกษา และสมั พนั ธภาพระหวา่ งนกั ศึกษากบั อาจารย์ กิจกรรมการเรียนการสอน หมายถึง รูปแบบและวธิ ีการต่าง ๆ ท่ีใชใ้ นการเรียนการสอน คุณภาพการสอน หมายถึง เทคนิค ทกั ษะในการจดั การเรียนการสอน การใชส้ ่ือประกอบการสอน ความรู้ความสามารถในรายวชิ าท่ีสอน เทคนิควธิ ีการประเมินผล และแนวทางในการปฏิบตั ิ อนั จะส่งผลใหผ้ ูเ้ รียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามจุดมุง่ หมายของหลกั สูตร ครูผสู้ อน หมายถึง ครูที่ทาการสอนวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) ภาคเรียนที่ 2ปี การศึกษา 2556 ซ่ึงไดแ้ ก่ นางสาวสุนีย์ แสงสุวรรณประโยชน์ทคี่ ำดว่ำจะได้รับ 1. ทราบถึงระดบั ความพึงพอใจของนกั ศึกษา ท่ีมีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา2556 2. ผลการเรียนของผเู้ รียนหลกั การจดั การ (3200-1003) ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) เป็ นไปอยา่ งเหมาะสม มีผลการเรียนที่ดีข้ึน 3. ใชเ้ ป็ นขอ้ มูลในการพฒั นาคุณภาพการสอนของครูผสู้ อนในภาคเรียนถดั ไป 4. เป็ นแนวทางใหแ้ ก่ครูผสู้ อนในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนใหแ้ ก่ผูเ้ รียน

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วข้อง การศึกษาคร้ังน้ีไดศ้ ึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ้ งเพือ่ เป็ นพ้ืนฐานการการศึกษา ดงั น้ี 1. หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง พุทธศกั ราช 2546 2. ปัจจยั ที่ส่งผลตอ่ การจดั การเรียนรู้ 3. การจดั การเรียนการสอนอาชีวศึกษา 4. ทฤษฎีการจดั การเรียนรู้ 5. รูปแบบวธิ ีการสอนในแบบตา่ ง ๆ 6. การเรียนรู้อยา่ งมีความสุข 8. ทฤษฎีความพึงพอใจ 7. งานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ งหลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้ันสูง พทุ ธศักราช 2546 หลกั การ 1. เป็นหลกั สูตรท่ีมุ่งผลิตและพฒั นาแรงงานระดบั ผชู้ านาญการเฉพาะสาขาอาชีพสอดคลอ้ งกบั ตลาดแรงงาน สภาพเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม เทคโนโลยแี ละส่ิงแวดลอ้ ม สามารถเป็นหวั หนา้ งานหรือเป็นผปู้ ระกอบการได้ 2. เป็นหลกั สูตรที่มุ่งเนน้ ใหผ้ เู้ รียนมีสมรรถนะในการประกอบอาชีพ มีความรู้เตม็ ภูมิปฏิบตั ิไดจ้ ริงและ เขา้ ใจชีวติ 3. เป็นหลกั สูตรที่เปิ ดโอกาสใหผ้ ปู้ ระกอบการวชิ าชีพมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนวชิ าชีพสามารถถ่ายโอนประสบการณ์การเรียนรู้จากสถานประกอบการ และสามารถสะสมการเรียนรู้และประสบการณ์ได้ จุดหมาย 1. เพือ่ ใหม้ ีความรู้และทกั ษะพ้นื ฐานในการดารงชีวติ สามารถศึกษาคน้ ควา้ เพิ่มเติมหรือศึกษาตอ่ ในระดบั ท่ีสูงข้ึน 2. เพื่อใหม้ ีทกั ษะและสมรรถนะในงานอาชีพตามมาตรฐานวชิ าชีพ 3. เพื่อใหส้ ามารถบูรณาการความรู้ ทกั ษะจากศาสตร์ต่าง ๆ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานอาชีพ สอดคลอ้ งกบั การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี

-7- 4. เพ่ือใหม้ ีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ มีความมนั่ ใจและภาคภูมิใจในงานอาชีพ รักงาน รักองคก์ รสามารถทางานเป็นหมู่คณะไดด้ ี และมีความภาคภูมิใจในตนเองต่อการเรียนวชิ าชีพ 5. เพ่ือใหม้ ีปัญญา ใฝ่ รู้ ใฝ่ เรียน มีความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการจดั การ การตดั สินใจและการแกป้ ัญหา รู้จกั แสวงหาแนวทางใหม่ ๆ มาพฒั นาตนเอง ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ในการสร้างงานใหส้ อดคลอ้ งกบั วชิ าชีพ และการพฒั นางานอาชีพอยา่ งตอ่ เนื่อง 6. เพื่อใหม้ ีบุคลิกภาพที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ซื่อสตั ย์ มีวนิ ยั มีสุขภาพสมบูรณ์แขง็ แรงท้งั ร่างกายและจิตใจ เหมาะสมกบั การปฏิบตั ิในอาชีพน้นั ๆ 7. เพ่อื ใหเ้ ป็ นผมู้ ีพฤติกรรมทางสงั คมที่ดีงาม ท้งั ในการทางาน การอยรู่ ่วมกนั มีความรับผดิ ชอบต่อครอบครัว องคก์ ร ทอ้ งถิ่นและประเทศชาติ อุทิศตนเพื่อสังคม เขา้ ใจและเห็นคุณค่าของศิลปวฒั นธรรม ไทย ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ตระหนกั ในปัญหาและความสาคญั ของสิ่งแวดลอ้ ม 8. เพื่อใหต้ ระหนกั และมีส่วนร่วมในการพฒั นาและแกไ้ ขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเป็นกาลงั สาคญั ในดา้ นการผลิตและใหบ้ ริการ 9. เพื่อใหเ้ ห็นคุณค่าและดารงไวซ้ ่ึงสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ ปฏิบตั ิตนในฐานะพลเมืองดีตามระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุขปัจจัยทส่ี ่งผลต่อการจัดการเรียนรู้ กิดานนั ท์ มลิทอง (2548 : 28) ไดก้ ล่าวถึงปัจจยั ท่ีส่งผลต่อการเรียนรู้ไวว้ า่ เม่ือมีการเรียนการสอนจะมีกระบวนการส่ือสารเกิดข้ึน โดยผสู้ อนส่งการสอนไปยงั ผเู้ รียน และผเู้ รียนจะเรียนรู้ เถึงแนวคิดและทกั ษะที่ครูผสู้ อนส่งผา่ นไป แตก่ ารเรียนรู้ที่เกิดข้ึนอาจไม่เป็นไปตามเป้าประสงคอ์ ยา่ งสมบูรณ์ ท้งั น้ีเนื่องจากมีปัจจยั มากมายหลายประการที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผเู้ รียน เช่น สภาพแวดลอ้ มในการเรียนการสอน ปัจจยั ดา้ นจิตวทิ ยา ปัจจยั ดา้ นผูเ้ รียน และปัจจยัดา้ นผสู้ อน ดงั น้ี 1. สภาพแวดล้อมในการเรียน สภาพแวดลอ้ มในการเรียนที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ท่ีเห็นได้ชดั เจนท่ีสุดคือ สภาพหอ้ งเรียนและส่ิงต่าง ๆ ดงั น้ี 1.1 การจัดโต๊ะเรียน ในห้องเรียนปกติและห้องปฏิบัติการส่วนมากแล้วการจัดโต๊ะเรียน จะเป็ นการต้งั โต๊ะแบบคู่ หันเขา้ ดา้ นหนา้ ห้อง ที่ติดกระดานหรือจอภาพเพื่อความสะดวกในการดูเน้ือหา แต่บางคร้ังหอ้ งปฏิบตั ิการบางแห่งอาจมีขนาดเล็ก หรือมีผเู้ รียนจานวนมาก จึงจาเป็ นตอ้ งจดั โตะ๊ ชิดกาแพงและเรียงแถวคู่ตามความยาวของห้อง ทาให้ผเู้ รียนตอ้ งหนั ขา้ งดูเน้ือหาบนกระดานหรือจอภาพ ทาใหอ้ ่านไม่ถนดั และเกิดความเมื่อยลา้ ในการเรียน

-8- 1.2 แสงสว่างภายในห้อง ห้องเรียนท่ีแสงสวา่ งไม่เพียงพอ จะเป็ นอุปสรรคในการดูเน้ือหาบทเรียน และแสงสลวั จะทาใหเ้ กิดอาการง่วงนอนในการเรียน หรือการต้งั กระดานชิดหนา้ ต่างจะทาใหแ้ สงตกลงบนกระดานเกิดจุดขาวสะทอ้ น ทาใหอ้ า่ นขอ้ ความไมไ่ ด้ 1.3 อุณหภูมิภายในห้องเรียน ห้องเรียนท่ีร้อนหรือเย็นเกินไปจะเป็ นอุปสรรคดา้ นกายภาพ ทาใหค้ วามสนใจในการเรียนของผเู้ รียนลดลง 1.4 เสียงรบกวนจากภายนอก หอ้ งเรียนท่ีอยตู่ ิดถนนใหญ่หรือสนามเด็กเล่นจะทาให้มีเสียงดงั เขา้ มาในหอ้ งเรียน ทาใหผ้ เู้ รียนเสียสมาธิในการเรียน 1.5 วัสดุอุปกรณ์ส่ือการเรียนการสอน ความพอเพียงของสิ่งท่ีจดั ไวเ้ พ่ืออานวยความสะดวกในการเรียนจะทาใหผ้ ูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิผล ไมว่ า่ จะเป็ นวสั ดุ เช่นหนงั สือ ตาราเรียน ของจาลอง ภาพหรืออุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ ความบกพร่องในปัจจยั สภาพแวดลอ้ มในการเรียนท่ีกล่าวมาแลว้ จะทาให้ผูเ้ รียนขาดสมาธิ ลดความกระฉบั กระเฉง ไม่มีความกระตือรือร้น ขาดความต้งั ใจเรียน อนั ส่งผลใหก้ ารเรียนรู้หยอ่ นประสิทธิภาพและไมบ่ รรลุถึงวตั ถุประสงคท์ ่ีต้งั ไว้ 2. ปัจจัยด้านจิตวิทยา ปัจจยั ดา้ นจิตวิทยาจะเก่ียวข้องกบั ความแตกต่างของผูเ้รียนแต่ละคนอยา่ งชดั เจน ซ่ึงมีผลต่อการเรียนรู้ดว้ ย ปัจจยั ดา้ นน้ีจะรวมถึงสภาพทางอารมณ์ของผูเ้รียน ในขณะที่เรียนดว้ ยเพราะจะเกี่ยวเนื่องกบั การรับรู้ขณะน้นั วา่ มีความพร้อมท่ีจะรับขอ้ มูลข่าวสารท่ีส่งผ่านมามากนอ้ ยเพยี งใด หรือกล่าวง่าย ๆ คือ ผูเ้ รียนมีความพร้อมที่จะเรียนหรือไม่ และบางคร้ัง จะเก่ียวเนื่อง ถึงวธิ ีการส่งผา่ นสารสนเทศดว้ ยวา่ ผเู้ รียนมีความสะดวกในการรับหรือไม่ ท้งั น้ีเพราะผูเ้รียนแต่ละคนสามารถเลือกความพึงพอใจในวิธีการรับเน้ือหาบทเรียนตามความชอบของตน เพราะแตล่ ะคนจะมีความถนดั ในการเรียนรู้แตกต่างกนั หากผูส้ อนไม่คานึงถึงความแตกต่างในเรื่องน้ี อาจทาให้เกิดความสับสนใจการรับรู้ของผูเ้ รียนได้ และอาจทาให้เน้ือหาผิดเพ้ียน เช่น ถา้ ผูเ้ รียนคนใดมีความพึงพอใจในการรับรู้ด้วยการดู ผูส้ อนย่อมนาเสนอเน้ือหาด้วยภาพ หรือภาพประกอบมากกว่า ข้อความและการบรรยาย เพราะจะทาใหผ้ เู้ รียนไม่สามารถรับขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งชดั เจนท้งั หมด หรือถา้ ผเู้ รียนมีความพึงพอใจในการเรียนดว้ ยการฟัง ผสู้ อนยอ่ มใชก้ ารบรรยายและใชส้ ่ือที่เนน้ การฟังมากกวา่ การดู 3. ปัจจัยด้านผู้เรียน ผูเ้ รียนแต่ละคนจะมีการกลน่ั กรองขอ้ มูลสารสนเทศท่ีไดร้ ับมาดว้ ยเหตุผลของแต่ละคน ในลกั ษณะท่ีเรียกวา่ ตวั กรองส่วนตวั (Personal filters) โดยรวมถึงความเชื่อศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี ประสบการณ์ ระดบั อายุ ระดบั สังคมที่แต่ละคนมี เมื่อผเู้ รียนไดร้ ับขอ้ มูลสารสนเทศจากผสู้ อน ยอ่ มมีการกลนั่ กรองดว้ ยตวั กรองเหล่าน้นั ก่อน ซ่ึงบางคร้ังอาจทาให้เกิดการเรียนรู้ท่ีไม่ตรงกบั เน้ือหาที่ส่งมา ทศั นคติในเชิงลบต่อท้งั ผสู้ อนและผเู้ รียน เช่น ความไม่ชอบผสู้ อนเป็ นการส่วนตวั หรือตอ้ งเรียนในวิชาบงั คบั ยอ่ มทาใหไ้ ม่สนใจเรียนเท่าที่ควร ซ่ึงเป็ นอีก

-9-ปัจจยั ท่ีทาให้ไม่สามารถเกิดการเรียนรู้ท่ีสมบูรณ์ได้ นอกจากน้ี ความเชื่อที่ไดร้ ับการปลูกฝังจากครอบครัวในเรื่องวฒั นธรรม ประเพณี และศาสนา จะทาใหก้ ารรับรู้บิดเบือนไมต่ รงตามความเป็ นจริงได้ หากส่ิงท่ีไดร้ ับมาน้นั ไม่ตรงกบั ความเช่ือที่มีอยูข่ องตน ดงั น้นั ผูส้ อนจึงจาเป็ นตอ้ งคานึงถึงตวั ผูเ้ รียนเป็ นสาคญั ในการส่งผ่านเน้ือหาสารสนเทศท่ีจะไม่ขดั ต่อความเชื่อของผูเ้ รียนเพ่ือใหเ้ กิดการเรียนรู้ไดต้ ามความเป็นจริงอยา่ งถูกตอ้ ง 4. ปัจจัยด้านผู้สอน เป็ นปัจจยั สาคญั อีกอยา่ งหน่ึงท่ีทาให้การเรียนรู้ของผูเ้ รียนเกิดข้ึนได้ตรงตามวตั ถุประสงคท์ ี่ต้งั ไวห้ รือไม่ ท้งั น้ีเพราะผูส้ อนเป็ นผูท้ ี่มีบทบาทสาคญั ย่ิงในการออกแบบและวางแผนจดั การในการส่งผา่ นความรู้และทกั ษะไปยงั ผเู้รียนเพื่อใหเ้ กิดการเรียนรู้ข้ึน เช่นเดียวกบั รูปแบบการเรียนและปัจจยั ดา้ นผูเ้ รียน ผสู้ อนแต่ละคนยอ่ มมีรูปแบบการเรียน แบบการคิด และเชาวน์ปัญญาท่ีแตกต่างกนั ดงั น้นั ผูส้ อนแต่ละคนจะมีรูปแบบการสอนท่ีพึงพอใจตามความถนดั เฉพาะตวั เช่นกนัและส่วนมากแล้วจะเป็ นรูปแบบเดียวกบั ที่เคยเรียนมา นั่นคือ เคยมีรูปแบบการเรียนมาอย่างไรจะสอนในรูปแบบน้ัน อย่างไรก็ตาม ผูส้ อนย่อมตอ้ งมีการเรียนวิชาชีพครูและมีการฝึ กสอนมาก่อนที่จะประกอบอาชีพน้ี ทาให้ฝึ กฝนการสอนรูปแบบต่าง ๆ มามากพอจะนามาประยุกตใ์ ชใ้ ห้เหมาะสมกบั ผูเ้ รียนได้ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงก่อนสอนยอ่ มตอ้ งมีการวิเคราะห์ผูเ้ รียนวา่ เหมาะสมแก่การเรียนรู้รูปแบบใด มีกลยุทธ์การสอนแบบต่าง ๆ เลือกใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมกบั การสอน วางแผนการมีปฏิสัมพนั ธ์กบั ผูเ้ รียน รวมถึงการใช้ทฤษฎีและหลกั การดา้ นจิตวิทยามาใช้ร่วมดว้ ย เพ่ือให้ผเู้รียนเกิดการเรียนรู้ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั รูปแบบการคิด แบบการเรียน และเชาวน์ปัญญาของแต่ละคน จะเห็นไดว้ ่าการจดั การเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลน้ัน จะต้องอาศยัปัจจยั ท่ีเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั ผเู้ รียนท้งั หมด 4 ปัจจยั ถา้ ขาดปัจจยั ใดปัจจยั หน่ึง หรือไม่เหมาะสมจะส่งผลกระทบต่อคุณภาพของการจดั การเรียนรู้ โดยเฉพาะปัจจยั ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม ถือวา่ เป็ นปัจจยัที่สาคญั และสามารถควบคุมจดั การไดง้ ่ายการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา ในการจดั การเรียนการสอนอาชีวศึกษาน้นั มีหลกั การดงั น้ี 1. การอาชีวศึกษาเป็นการเตรียมตวั บุคคลเขา้ สู่อาชีพ และทางานตอ่ ไปดว้ ยความสาเร็จ 2. เป้าหมายของการอาชีพมุง่ ท่ีงานและสัมพนั ธ์กบั การมีงานทา 3. การอาชีวศึกษาตอ้ งสอดคลอ้ งกบั สภาพเศรษฐกิจและสังคม และวฒุ ิภาวะของนกั เรียนนกั ศึกษา 4. การอาชีวศึกษาเป็นการจดั ใหผ้ สู้ าเร็จการศึกษาสามารถร่วมกิจกรรมตา่ ง ๆ ไดใ้ นฐานะพลเมืองที่ดีของสงั คม

- 10 - 5. การอาชีวศึกษาจดั ใหน้ กั ศึกษามีความรู้พ้นื ฐานที่จาเป็นในการเขา้ สู่อาชีพได้ 6. แตล่ ะบุคคลมีสิทธิท่ีจะเลือกอาชีพที่ตนปรารถนาได้ 7. รัฐมีหนา้ ท่ีที่จะจดั ใหร้ ายบุคคลไดร้ ับการฝีกอบรม เพื่อประกอบอาชีพไดต้ ามที่แต่ละบุคคลไดต้ ้งั เป้าหมายได้ 8. ประสิทธิภาพการอาชีวศึกษาจะสูง ถา้ จดั สภาพแวดลอ้ มใหผ้ เู้ รียนไดร้ ับการฝึก โดยจาลองสภาพแวดลอ้ มการทางานให้เหมือนสภาพเม่ือจะไปทางานจริง 9. การฝึกอาชีพจะมีประสิทธิผล เม่ืองานฝึกกระทาในลกั ษณะเดียวกนั กบั งานจริงน้นั คือใชข้ ้นั ตอนการทางาน เครื่องมือและเครื่องจกั ร เช่นเดียวกบั ท่ีใชใ้ นการทางานในอาชีพน้นั 10. ประสิทธิผลของการอาชีวศึกษาจะสูงเมื่อจดั ใหผ้ เู้ รียนเป็นรายบุคคลใหไ้ ดใ้ ชค้ วามสนใจนิสยั ความถนดั และมนั สมองของผนู้ ้นั อยา่ งเตม็ ท่ี 11. การฝึกอาชีพที่มีประสิทธิภาพของแต่ละอาชีพช่าง หรืองานก็ต่อเมื่อไดจ้ ดั ใหแ้ ก่กลุ่มท่ีตอ้ งการและไดร้ ับประโยชนจ์ ากการฝึกเท่าน้นั 12. การฝึกอาชีพอยา่ งมีประสิทธิผลจะตอ้ งฝึกประสบการณ์เฉพาะดา้ นหลาย ๆ คร้ัง เพอื่สร้างนิสัยที่ถูกตอ้ งในการกระทาและการคิด จนกระทงั่ นิสัยที่ตอ้ งการพฒั นาข้ึน ซ่ึงเป็ นทกั ษะที่จาเป็ นในการหางานทา 13. การฝึกอาชีพจะมีประสิทธิผลยอ่ มข้ึนอยกู่ บั ครูฝึก ซ่ึงจะตอ้ งมีประสบการณ์วชิ าชีพในการประยกุ ตท์ กั ษะและความรู้ในการปฏิบตั ิงานและกระบวนการทางานของส่ิงที่ตนสอน 14. สาหรับแตล่ ะอาชีพผฝู้ ึกจะตอ้ งมีความสามารถในการผลิตข้นั ต่าระดบั หน่ึง เพื่อท่ีจะทางานและรักษาตาแหน่งงานไวไ้ ด้ ถา้ การอาชีวศึกษาไม่สามารถจดั ไดถ้ ึงข้นั น้ีแลว้ ก็จะไมม่ ีประสิทธิผลท้งั สาหรับรายบุคคลและสาหรับสงั คม 15. การสร้างนิสัยการปฏิบตั ิงาน จะไดผ้ ลตอ่ เม่ือผูฝ้ ึกไดท้ างานจริง ไม่ใชท้ าแบบฝึกหดัหรือทางานปลอม 16. แหล่งของเน้ือหาสาระท่ีเชื่อถือไดข้ องการฝึกเฉพาะแตล่ ะอาชีพมาจากแหล่งเดียวเท่าน้นั คือจากประสบการณ์ของผชู้ านาญงานของอาชีพน้นั 17. สาหรับแตล่ ะอาชีพจะมีเน้ือหาอยจู่ านวนหน่ึงซ่ึงเป็ นอาชีพน้นั เฉพาะ และไม่มีคุณค่าในทางปฏิบตั ิสาหรับอาชีพน้นั 18. การบริการอาชีวศึกษา จะบริการแก่สงั คมอยา่ งมีประสิทธิภาพตอ่ เม่ือสามารถบริการในเรื่องที่คนตอ้ งการและผตู้ อ้ งการไดป้ ระโยชนม์ ากท่ีสุด 19. การอาชีวศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพจะแปรผนั ตามวธิ ีการสอน และความสมั พนั ธ์กบัผเู้ รียน จึงควรพิถีพถิ นั พจิ ารณาคุณลกั ษณะของกลุ่มที่เรียนและผสู้ อนดว้ ย

- 11 - 20. การบริหารอาชีวศึกษาจะมีประสิทธิภาพตอ่ เม่ือมีการจดั การในลกั ษณะยดื หยนุ่แทนการมีมาตรฐานท่ีตายตวั เกินไป 21. ขณะท่ีพยายามลดค่าใชจ้ ่ายต่อหวั แตก่ ต็ อ้ งใชง้ บประมาณข้นั ต่าจานวนหน่ึง ซ่ึงถา้จ่ายต่ากวา่ น้ีแลว้ จะไมส่ ามารถจดั การอาชีวศึกษาใหม้ ีประสิทธิผลได้ และถา้ ไม่สามารถสนบั สนุนงบประมาณข้นั ต่าน้ีแลว้ กไ็ ม่สมควรที่จะจดั ใหม้ ีระบบอาชีวศึกษาทฤษฎกี ารจัดการเรียนรู้ บลมู (Benjamin S. Bloom) และ คณะ ไดเ้ สนอแนวคิดทฤษฎีซ่ึงสามารถนามาใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ โดยแบ่งการเรียนรู้ออกเป็น 3 ดา้ น ดงั น้ี 1. ด้านพทุ ธิพสิ ัย (Cognitive Domain) หรือดา้ นสติปัญญา หรือดา้ นความรู้และการคิดประกอบดว้ ยความรู้ความจาเกี่ยวกบั สิ่งตา่ ง ๆ การนาเอาสิ่งท่ีเป็นความรู้ความจาไปทาความเขา้ ใจนาไปใช้ การใชค้ วามคิด วเิ คราะห์ สังเคราะห์ และประเมินคา่ 1.1 ความรู้ (Knowledge) หมายถึง การเรียนรู้ที่เนน้ ถึงการจาและการระลึกไดถ้ ึงความคิด วตั ถุ และปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ซ่ึงเป็นความจาที่เร่ิมจากส่ิงง่าย ๆ ที่เป็นอิสระแก่กนั ไปจนถึงความจาในส่ิงท่ียงุ่ ยากซบั ซอ้ นและมีความสัมพนั ธ์ระหวา่ งกนั 1.2 ความเขา้ ใจหรือความคิดรวบยอด (Comprehension) เป็นความสามารถทางสติปัญญาในการขยายความรู้ ความจา ใหก้ วา้ งออกไปจากเดิมอยา่ งสมเหตุสมผล การแสดงพฤติกรรมเมื่อเผชิญกบั สื่อความหมาย และความสามารถในการแปลความหมาย การสรุปหรือการขยายความสิ่งใดสิ่งหน่ึง 1.3 การนาไปปรับใช้ (Application) เป็นความสามารถในการนาความรู้ (knowledge)ความเขา้ ใจหรือความคิดรวบยอด (comprehension) ในเรื่องใด ๆ ที่มีอยเู่ ดิม ไปแกไ้ ขปัญหาท่ีแปลกใหมข่ องเร่ืองน้นั โดยการใชค้ วามรู้ตา่ ง ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ วธิ ีการกบั ความคิดรวบยอดมาผสมผสานกบั ความสามารถในการแปลความหมาย การสรุปหรือการขยายความส่ิงน้นั 1.4 การวเิ คราะห์ (Analysis) เป็นความสามารถและทกั ษะท่ีสูงกวา่ ความเขา้ ใจ และการนาไปปรับใช้ โดยมีลกั ษณะเป็นการแยกแยะส่ิงที่จะพิจารณาออกเป็ นส่วนยอ่ ย ที่มีความสมั พนั ธ์กนัรวมท้งั การสืบคน้ ความสมั พนั ธ์ของส่วนต่าง ๆ เพื่อดูวา่ ส่วนประกอบปลีกยอ่ ยน้นั สามารถเขา้ กนั ได้หรือไม่ อนั จะช่วยใหเ้ กิดความเขา้ ใจต่อส่ิงหน่ึงส่ิงใดอยา่ งแทจ้ ริง 1.5 การสังเคราะห์ (Synthesis) เป็นความสามารถในการรวบรวมส่วนประกอบยอ่ ย ๆหรือส่วนใหญ่ ๆ เขา้ ดว้ ยกนั เพ่ือใหเ้ ป็นเร่ืองราวอนั หน่ึงอนั เดียวกนั การสังเคราะห์จะมีลกั ษณะของการเป็นกระบวนการรวบรวมเน้ือหาสาระของเรื่องต่าง ๆ เขา้ ไวด้ ว้ ยกนั เพื่อสร้างรูปแบบหรือ

- 12 -โครงสร้างท่ียงั ไม่ชดั เจนข้ึนมาก่อน อนั เป็นกระบวนการที่ตอ้ งอาศยั ความคิดสร้างสรรคภ์ ายในขอบเขตของสิ่งที่กาหนดให้ 1.6 การประเมินผล (Evaluation) เป็นความสามารถในการตดั สินเกี่ยวกบั ความคิดคา่ นิยม ผลงาน คาตอบ วธิ ีการและเน้ือหาสาระเพ่ือวตั ถุประสงคบ์ างอยา่ ง โดยมีการกาหนดเกณฑ์(criteria) เป็นฐานในการพจิ ารณาตดั สิน การประเมินผล จดั ไดว้ า่ เป็นข้นั ตอนที่สูงสุดของพุทธิลกั ษณะ (characteristics of cognitive domain) ที่ตอ้ งใชค้ วามรู้ความเขา้ ใจ การนาไปปรับใช้ การวเิ คราะห์และการสังเคราะห์เขา้ มาพจิ ารณาประกอบกนั เพื่อทาการประเมินผลส่ิงหน่ึงส่ิงใด 2. ด้านจิตพสิ ัย (Effective Domain) หรือดา้ นอารมณ์ – จิตใจ ความสนใจ เจตคติค่านิยม และคุณธรรม เช่น การเห็นคุณค่า การรับรู้ การตอบสนอง และการสร้างคุณค่าในเรื่องท่ีตนรับรู้น้นั แลว้ นาเอาสิ่งที่มีคุณค่าน้นั มาจดั ระบบและสร้างเป็นลกั ษณะนิสัย 3. ด้านทกั ษะพสิ ัย (Psychomotor Domain) หรือดา้ นทกั ษะทางกาย หรือดา้ นการปฏิบตั ิ ประกอบดว้ ยทกั ษะการเคล่ือนไหว และการใชอ้ วยั วะต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น การเลียนแบบ การทาตามคาบอก การทาอยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม การทาไดถ้ ูกตอ้ งหลายรูปแบบ การทาไดอ้ ยา่ งเป็นธรรมชาติรูปแบบวธิ ีการสอนในแบบต่าง ๆ ลกั ษณะการสอนทดี่ ี การสอนที่ดีควรมีลกั ษณะที่สาคญั หลายประการดว้ ยกนั เช่น 1. มีการส่งเสริมนกั เรียนใหเ้ รียนดว้ ยการกระทา การไดล้ งมือทาจริง ใหป้ ระสบการณ์ที่มีความหมาย 2. มีการส่งเสริมนกั เรียนใหเ้ รียนดว้ ยการทางานเป็นกลุ่ม นกั เรียนไดแ้ สดงความคิดเห็นยอมรับความคิดเห็นซ่ึงกนั และกนั การทางานร่วมกบั ผูอ้ ่ืน 3. มีการตอบสนองความตอ้ งการของนกั เรียน เรียนดว้ ยความสุข ความสนใจ ระตือรือร้นในการทากิจกรรมตา่ ง ๆ 4. มีการสอนใหส้ ัมพนั ธ์ระหวา่ งวชิ าท่ีเรียนกบั วชิ าอ่ืน ๆ ในหลกั สูตรเป็ นอยา่ งดี 5. มีการใชส้ ่ือการสอน จาพวกโสตทศั นวสั ดุ เพ่อื เร้าความสนใจ ช่วย ผเู้ รียนเขา้ ใจบทเรียนไดง้ ่ายข้ึน 6. มีกิจกรรมท่ีหลากหลาย เพอ่ื เร้าความสนใจ ผเู้ รียนสนุกสนาน ไดล้ งมือปฏิบตั ิจริง และดูผลการปฏิบตั ิของตนเอง

- 13 - 7. มีการส่งเสริมใหน้ กั เรียนไดใ้ ชค้ วามคิดอยเู่ สมอ ดว้ ยการซกั ถาม หรือใหแ้ สดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั ปัญหาง่าย ๆ เดก็ คิดหาเหตุผลเปรียบเทียบ และพิจารณาความสมั พนั ธ์ของสิ่งต่าง ๆ 8. มีการส่งเสริมความคิดริเริ่ม และความคิดสร้างสรรค์ ส่งเสริมการคิดทาสิ่งใหม่ ๆ ท่ีดีมีประโยชนไ์ มเ่ ลียนแบบใคร ส่งเสริมกิจกรรมสุนทรียภาพ ร้อยกรอง วาดภาพ และแสดงละคร 9. มีการใชก้ ารจูงใจในระหวา่ งเรียน เช่น รางวลั การชมเชย คะแนนแขง่ ขนั เคร่ืองเชิดชูเกียรติ การลงโทษ ซ่ึงจะช่วยใหเ้ กิดความสนใจ ต้งั ใจ ขยนั หมนั่ เพยี รในการเรียนและทากิจกรรม 10. มีการส่งเสริมการดาเนินชีวติ ตามแบบประชาธิปไตย เปิ ดโอกาสใหแ้ สดงความคิดเห็นมีการรับฟังความคิดเห็นซ่ึงกนั และกนั เคารพความคิดเห็นของผอู้ ื่น ยกยอ่ งความคิดเห็นที่ดี นกั เรียนมีส่วนร่วมในการวางแผนร่วมกบั ครู 11. มีการเร้าความสนใจก่อนลงมือทาการสอนเสมอ 12. มีการประเมินผลตลอกเวลา โดยวธิ ีการตา่ ง ๆ เช่น การสังเกต การซกั ถาม การทดสอบเพือ่ ใหแ้ น่ใจวา่ การสอนของครูตรงตามจุดประสงคม์ ากท่ีสุด วธิ ีสอนแบบต่าง ๆ ไมส่ ามารถกล่าวไดว้ า่ วธิ ีการสอนใดเป็นวธิ ีสอนที่ดีท่ีสุด เพราะการเรียนการสอนตอ้ งข้ึนกบั องคป์ ระกอบหลายประการ ดงั น้นั จึงเป็นหนา้ ท่ีของครูท่ีจะตอ้ งตดั สินใจเลือกวธิ ีสอนตามความเหมาะสมของสภาพท่ีเป็นอยู่ ควรนาเทคนิคตา่ ง ๆ มากระตุน้ และเร้าความสนใจของผเู้ รียน โดยพิจารณาใหเ้ หมาะสมกบั เน้ือหาและเวลาท่ีกาหนดให้ วธิ ีการสอนที่นิยมใชก้ นัโดยทว่ั ไปมี 2 ลกั ษณะดงั น้ี 1. วธิ ีสอนทยี่ ดึ ครูเป็ นศูนย์กลาง (Teacher – Centered Method) ไดแ้ ก่การสอนที่ครูเป็นผสู้ อน ครูเป็นผูด้ าเนินกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นส่วนใหญ่ เช่น ครูจะเป็นผตู้ ้งั จุดมุ่งหมายควบคุมเน้ือหา จดั กิจกรรม และวดั ผล เป็นตน้ วธิ ีสอนแบบน้ีมีหลายวธิ ีไดแ้ ก่ วธิ ีสอนแบบบรรยายวธิ ีสอนแบบสาธิต วธิ ีสอนโดยการทบทวน 2. วิธีสอนท่ียึดผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง (Child - Centered Method) ได้แก่วิธีสอนท่ีให้นกั เรียนไดม้ ีโอกาสเป็ นผคู้ น้ ควา้ หาความรู้ดว้ ยตนเอง เป็ นผวู้ างแผนบทเรียน ดาเนินการคน้ ควา้ หาความรู้ ครูเป็ นเพียงผูแ้ นะแนวไปสู่การคน้ ควา้ แนะนาสื่อการเรียนการสอนจนนกั เรียนไดค้ วามรู้ดว้ ยตนเอง ผทู้ าการวจิ ยั ไดเ้ ลือกวธิ ีการสอนท่ียดึ ผเู้ รียนเป็ นศูนยก์ ลางมาใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนวชิ าหลกั การจดั การ รหสั วชิ า 32001003

- 14 - วธิ ีสอนทยี่ ดึ ผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง มีนกั การศึกษาหลายทา่ นใหท้ ศั นะการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ โดยยดึ ผเู้ รียนเป็นสาคญัหรือเนน้ ผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลาง ไวด้ งั น้ี สงบ ลกั ษณะ กล่าวถึง การจดั การเรียนการสอนท่ีควรจะเป็นวา่ ควรเป็ นการเรียนการสอนท่ีนกั เรียนไดร้ ับการยอมรับในการเป็นเอกตั ตบุคคล ไดเ้ รียนดว้ ยวธิ ีที่เหมาะสมกบัความสามารถ ไดเ้ รียนสิ่งที่สนใจ ตอ้ งการหรือมีประโยชน์ ไดป้ ฏิบตั ิตามกระบวนการเพอ่ื การเรียนรู้ ไดร้ ับการเอาใจใส่ ประเมิน และช่วยเหลือเป็นรายบุคคล และไดร้ ับการพฒั นาเตม็ ศกั ยภาพและสาเร็จตามอตั ภาพ ดร.โกวทิ วรพพิ ฒั น์ กล่าววา่ การจดั การเรียนที่พึงประสงค์ หมายถึง กระบวนการพฒั นาใหผ้ เู้ รียนคิดเป็น ทาเป็น และแกป้ ัญหาเป็ นจะเป็ นผอู้ านวยความรู้ ช่วยเอ้ือใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้ ตลอดจนเป็นผคู้ อยสอดส่อง สารวจในขณะผเู้ รียนฝึก และใหข้ อ้ มูลป้อนกลบั เพ่ือช่วยให้ผเู้ รียนสามารถแกไ้ ขปรับปรุงตนเองและเกิดพฒั นาการข้ึน วฒั นาพร ระงบั ทุกข์ (2542 : 7) กล่าวถึงหลกั การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั หรือเป็นศูนยก์ ลางไวด้ งั น้ี 1. การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ควรเป็นไปอยา่ งมีชีวติ ชีวา ดงั น้นั ผูเ้ รียนจึงควรมีบทบาทรับผดิ ชอบต่อการเรียนรู้ของตนเองและมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน 2. การเรียนรู้เกิดข้ึนไดจ้ ากแหล่งตา่ ง ๆ กนั ใช่จากแหล่งใดแหล่งหน่ึงเพียงแหล่งเดียวประสบการณ์ความรู้สึกนึกคิดของแตล่ ะบุคคลถือวา่ เป็นแหล่งการเรียนรู้ท่ีสาคญั 3. การเรียนรู้ท่ีดีจะตอ้ งเป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการสร้างความรู้ ความเขา้ ใจดว้ ยตนเองจึงจะช่วยใหผ้ เู้ รียนจดจาและสามารถในการเรียนรู้น้นั ใหผ้ ลประโยชน์ได้ การเรียนรู้ที่ผเู้ รียนเป็นผคู้ น้ พบดว้ ยตนเอง มีส่วนช่วยใหเ้ กิดความเขา้ ใจลึกซ้ึงและจดจาไดด้ ี 4. การเรียนรู้กระบวนการเรียนมีความสาคญั หากผเู้ รียนเขา้ ใจและมีทกั ษะในกระบวนการเรียนรู้แลว้ จะสามารถใหเ้ ป็ นเครื่องมือในการแสงหาความรู้ และคาตอบตา่ ง ๆ ท่ีตนตอ้ งการ 5. การเรียนรู้ท่ีมีความหมายแก่ผเู้ รียนคือ การเรียนรู้ที่สามารถนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ไดจ้ ริง ทิศนา แขมมณี (2542 : 4-6) กล่าววา่ แนวการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเนน้ ให้ผเู้ รียนมีส่วนร่วมเพอื่ ใหเ้ กิดการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาตอ้ งประกอบดว้ ย 1. กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีดีควรช่วยใหผ้ เู้ รียนไดม้ ีส่วนร่วมทางดา้ นร่างกาย (PhysicalParticipation) คือ กิจกรรมที่ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ คล่ือนไหวร่างกายในลกั ษณะหน่ึงเป็นระยะ ๆ เหมาะสมกบั วยั และระดบั ความสนใจของผเู้ รียน 2. กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดี ควรช่วยใหผ้ เู้ รียนไดม้ ีส่วนร่วมทางสติปัญญา (Intellect

- 15 -participation) คือ กิจกรรมท่ีใหผ้ เู้ รียนเกิดการเคลื่อนไหวทางสติปัญญา ทา้ ทายความคิด สนุกที่จะคิดเหมาะสมกบั วยั และความสามารถของผเู้ รียนรู้ 3. กิจกรรมการเรียนท่ีดีช่วยใหผ้ เู้ รียนไดม้ ีส่วนร่วมทางสังคม (Social participation) เป็ นกิจกรรมท่ีช่วยใหผ้ ูเ้ รียนมีปฏิสมั พนั ธ์ทางสังคมกบั บุคคลหรือสิ่งแวดลอ้ มรอบตวั จะช่วยใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้ทางสงั คมและการเรียนรู้ดา้ นอื่น ๆ และควรจดั กิจกรรมส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรู้จากส่ิงแวดลอ้ มรอบตวั 4. กิจกรรมการเรียนท่ีดีควรช่วยใหผ้ เู้ รียนไดม้ ีส่วนร่วมทางอารมณ์ (Emotionalparticipation) คือ เป็นกิจกรรมที่ส่งผลต่ออารมณ์ ความรู้สึกต่อผเู้ รียน ซ่ึงจะช่วยใหก้ ารเรียนรู้น้นัเกิดความหมายต่อตนเอง กิจกรรมเหล่าน้ีมกั เป็นกิจกรรมท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ชีวติ ประสบการณ์ และความเป็นจริงของผเู้ รียนการเรียนรู้อย่างมคี วามสุข ผศ.กติ ิยวดี บุญซ่ือ และคณะ ไดเ้ สนอวธิ ีการเรียนรู้ซ่ึงเป็ นองคป์ ระกอบของการเรียนรู้อยา่ งมีความสุขไว้ ดงั น้ี 1. เด็กแต่ละคนไดร้ ับการยอมรับวา่ เป็ นมนุษยค์ นหน่ึงที่มีหวั ใจและสมอง 2. ครูใหค้ วามเมตตาจริงใจและออ่ นโยนตอ่ เดก็ ทุกคนโดยทวั่ ถึง 3. เด็กเกิดความรักและความภูมิใจในตนเอง รู้จกั ปรับตวั ไดท้ ุกท่ี และทุกเวลา 4. เด็กแตล่ ะตนไดม้ ีโอกาสเลือกเรียนตามความถนดั ความสนใจของตนเอง 5. บทเรียนสนุก แปลกใหมจ่ ูงใจใหต้ ิดตามและเร้าใจใหอ้ ยากคน้ หาความรู้เพิม่ เติมดว้ ยตนเอง 6. ส่ิงท่ีเรียนรู้สามารถนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั 7. สื่อเร้าใจและตรงตามเป้าหมายท่ีกาหนดไวอ้ ยา่ งชดั เจน 8. ประเมินพฒั นาการของเด็กโดยรวมไม่เนน้ แตด่ า้ นวชิ าการทฤษฎคี วามพงึ พอใจ ความหมายของความพงึ พอใจ พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน (2542 : 775) ไดใ้ หค้ วามหมายของความพึงพอใจหมายถึง พอใจ ชอบใจ วลู แมน (Wolman. 1973 : 384) อธิบายไวว้ า่ ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกมีความสุขเม่ือคนเราไดร้ ับผลสาเร็จตามจุดมุ่งหมายความตอ้ งการหรือแรงจูงใจ

- 16 - เชอร่ี และคณะ (Shelly; et al. 1964 : 232) ไดศ้ ึกษาแนวความคิดเกี่ยวกบั ความพึงพอใจสรุปไดว้ า่ ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกสองแบบของมนุษย์ คือ ความรู้สึกในทางบวกและความรู้สึกในทางลบ ความรู้สึกทางบวกเป็นความรู้สึกที่เมื่อเกิดข้ึนแลว้ จะทาใหเ้ กิดความสุข ความรู้สึกน้ีเป็นความรู้สึกที่แตกตา่ งจากความรู้สึกทางบวกอ่ืน ๆ กล่าวคือ เป็นความรู้สึกท่ีมีระบบยอ้ นกลบั หรือความรู้สึกทางบวกท่ีเพมิ่ ข้ึนไดอ้ ีก ดงั น้นั จะเห็นไดว้ า่ ความสุขเป็นความรู้สึกท่ีสลบั ซบั ซอ้ น และความสุขน้ีจะมีผลตอ่ บุคคลมากกวา่ ความสุขทางบวกอ่ืน ๆ เวก็ ซีย์ และยเู กิล (Wexey and Yukle อา้ งถึงใน ดาริ มุศรีพนั ธ์. 2545 : 39) ไดอ้ ธิบายความหมายของความพึงพอใจไวว้ า่ ความพงึ พอใจคือทศั นคติโดยทว่ั ๆ ไปของบุคคลที่จะนาไปสู่การประเมินผลและความคาดหวงั ต่องาน อุทยั พรรณ สุดใจ (2545 : 7) ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกหรือทศั นคติของบุคคลที่มีต่อส่ิงใดสิ่งหน่ึงโดยอาจจะเป็ นไปในเชิงประเมินค่า วา่ ความรู้สึกหรือทศั นคติต่อสิ่งหน่ึงสิ่งใดน้นัเป็ นไปในทางบวกหรื อทางลบ ศิริวรรณ และคณะ (2546 : 365) กล่าววา่ การจูงใจเป็ นส่ิงเร้า และความพยายามที่จะตอบสนองความตอ้ งการหรือเป้าหมาย ส่วนความพึงพอใจ หมายถึงความพอใจเม่ือความตอ้ งการไดร้ ับการตอบสนอง ดงั น้นั การจูงใจจึงเป็นส่ิงเร้าเพื่อใหไ้ ดผ้ ลลพั ธ์ คือ ความพงึ พอใจซ่ึงเป็นผลลพั ธ์ ซ่ึงเมื่อเกิดแรงจูงใจข้ึน แลว้ สามารถตอบสนองแรงจูงใจน้นั ผลลพั ธ์กค็ ือ ความพงึ พอใจ จากที่กล่าวมาสรุปความหมายของความพงึ พอใจไดว้ า่ ความพงึ พอใจเป็นความรู้สึกยนิ ดี พอใจ ของบุคคลหน่ึงที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหน่ึง ซ่ึงสิ่งเหล่าน้ีจะเกิดข้ึนไดต้ ่อเม่ือบุคคลเหล่าน้นั ไดร้ ับการตอบสนองในสิ่งท่ีตนเองตอ้ งการ หรือเป็ นไปตามเป้าหมายท่ีไดว้ างแผนไว้ ซ่ึงระดบัความพงึ พอใจจะแตกต่างกนั ยอ่ มข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั ตา่ ง ๆ หรือองคป์ ระกอบที่แตกตา่ งกนั เป็นภาวะการแสดงออกถึงความรู้สึกในทางบวก ทฤษฎที เี่ ก่ียวข้องกบั ความพึงพอใจ นกั วชิ าการไดพ้ ฒั นาทฤษฎีที่อธิบายองคป์ ระกอบของความพึงพอใจ และอธิบายความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความพึงพอใจกบั ปัจจยั อ่ืน ๆ ไวห้ ลายทฤษฎี (กนั ยารัตน์ เศวตนนั ทิกลุ . 2552 :26-27) ดงั น้ี 1. ทฤษฎลี าดบั ความต้องการของมาสโลว์ (Maslows’s hierarchy of need) ความตอ้ งการของมนุษยม์ ีลกั ษณะเป็ นลาดบั ข้นั กล่าวคือ เม่ือความตอ้ งการในระดบั หน่ึงไดร้ ับการตอบสนองจะมีความตอ้ งการอ่ืนในระดบั ที่สูงข้ึนต่อไป ลาดบั ความตอ้ งการไดแ้ ก่

- 17 - 1.1 ความตอ้ งการของร่างกาย (Physiological needs) เป็ นความตอ้ งการข้นั พ้นื ฐานเพ่ือความอยรู่ อด เช่น อาหาร น้า เคร่ืองนุ่งห่ม 1.2 ความตอ้ งการความมน่ั คงหรือความปลอดภยั (Security or safety needs)เป็นความตอ้ งการที่จะเป็นอิสระจากอนั ตรายทางกาย 1.3 ความตอ้ งการการยอมรับหรือความผกู ผนั (Affiliation or acceptance needs)เน่ืองจากบุคคลอยใู่ นสังคมจะตอ้ งการการยอมรับจากบุคคลอ่ืน 1.4 ความตอ้ งการการยกยอ่ ง (Esteem needs) เป็ นความพึงพอใจในอานาจความภาคภูมิใจในสถานะ และความเช่ือมนั่ ในตนเอง 1.5 ความตอ้ งการความสาเร็จในชีวติ (Need for self-actualization) เป็นความตอ้ งการในระดบั สูงสุด เพื่อท่ีจะมีศกั ยภาพและบรรลุความสาเร็จในส่ิงใดส่ิงหน่ึงในระดบั สูงสุด 2. ทฤษฎกี ารจูงใจ ERG ของ Alderfer เป็นทฤษฎีความตอ้ งการท่ีมีพ้ืนฐานจากลาดบั ข้นั ความตอ้ งการของมาสโลว์ โดยพจิ ารณาถึงวธิ ีการท่ีบุคคลมีปฏิกิริยาเม่ือเขาสามารถ และไม่สามารถตอบสนองความตอ้ งการของตนโดยพฒั นาหลกั ความกา้ วหนา้ ในความพึงพอใจ (Satisfaction progression) เพ่ืออธิบายถึงวธิ ีการที่บุคคลมีความกา้ วหนา้ กบั ลาดบั ข้นั ความตอ้ งการ เม่ือตอบสนองความตอ้ งการในระดบั ต่ากวา่ ได้และในทางตรงขา้ มกบั หลกั ของการถดถอยความตึงเครียด (Frustration regression) เมื่อบุคคลท่ียงั มีความตึงเครียดในการพยายามที่จะตอบสนองความตอ้ งการในระดบั ที่สูงข้ึน เขาจะเลิกตอบสนองความตอ้ งการ และเปล่ียนไปใชค้ วามพยายามท่ีจะตอบสนองในระดบั ที่ต่ากวา่ 3. ทฤษฎี 2 ปัจจัย ของ Herzberg (Herzberg’s two factor theory) ปัจจยั ที่ 1 ไดแ้ ก่ ปัจจยั รักษา (Maintenance factor) หรือปัจจยั สุขอนามยั (Hygienefactor) เป็นปัจจยั ที่มีอิทธิพลในการสร้างความไมพ่ อใจ ปัจจยั อนามยั จะรักษาแรงจูงใจใหอ้ ยใู่ นระดบั สูงแลว้ จะป้องกนั แรงจูงใจไมใ่ หเ้ กิดข้ึนในทางลบ ปัจจยั ท่ี 2 ไดแ้ ก่ ปัจจยั การจูงใจ (Motivation factor) เป็นปัจจยั ท่ีมีอิทธิพลในการสร้างความพึงพอใจ 4. ทฤษฎกี ารเสริมแรง (Reinforcement Theory) หรือการปรับปรุงพฤตกิ รรม เป็ นทฤษฎีท่ีวา่ พฤติกรรมของมนุษยท์ ่ีถือเกณฑค์ วามสมั พนั ธ์ระหวา่ งพฤติกรรมหน่ึงกบั ผลของพฤติกรรมน้นั การเกิดพฤติกรรมซ้าเป็นผลจากความพึงพอใจ แตถ่ า้ ผลของพฤติกรรมไม่พึงพอใจ เขาก็จะมีพฤติกรรมที่แตกตา่ งไป

บทท่ี 3 วธิ ีดำเนินกำรวจิ ัย การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวิชาหลกั การจดั การ (3200-1003) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2556ผวู้ จิ ยั ใชก้ ารสารวจความคิดเห็น รวบรวมขอ้ มูล และวเิ คราะห์ขอ้ มูล ดงั น้ี 1. ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 2. เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 3. การสร้างเคร่ืองมือ 4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 5. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 6. สถิติที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูลประชำกรและกล่มุ ตวั อย่ำง ประชำกร ประชากรท่ีใช้ในการวจิ ยั ในคร้ังน้ี คือ นกั ศึกษาท่ีกาลงั ศึกษาอยใู่ นระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพช้ันสูง วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2556 จานวน.4...ห้องเรียน มีนักเรียน...112......คน กล่มุ ตัวอย่ำง กลุ่มตวั อย่างท่ีใชใ้ นการวิจยั ในคร้ังน้ี เป็ นการสุ่มกลุ่มตวั อยา่ งแบบอยา่ งง่ายโดยการจบัสลากจากนกั ศึกษา ระดบั ปวส. ที่กาลงั ศึกษาอยใู่ นวิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2ปี การศึกษา 2556 ไดก้ ลุ่มตวั อยา่ งจานวน 112 คน จาแนกไดด้ งั น้ี ระดบั ปวส.1 การบญั ชี กลุ่ม 1จานวน 40 คน , ระดับ ปวส.1 การบัญชี กลุ่ม 2 จานวน 37 คน , ระดบั ปวส.1 เทคโนโลยีสานกั งาน กลุ่ม 1 จานวน 14 คน และระดบั ปวส.1 การตลาด จานวน 21 คน

- 28 -เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในกำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล ลกั ษณะของเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล เป็ นแบบสอบถาม แบ่งออกเป็ น3 ตอน ไดแ้ ก่ ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist)เป็ นข้อคาถามเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม ได้แก่ แผนกวิชาที่สังกัดระดบั ช้นั วชิ าท่ีประเมิน และครูผสู้ อนท่ีรับการประเมิน ตอนที่ 2 ขอ้ มูลเก่ียวกบั ความพึงพอใจของนกั ศึกษาที่มีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวิชาหลกั การจดั การ (3200-1003) วิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2ปี การศึกษา 2556 ซ่ึงแบ่งเป็ น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความสามารถในการจดั การเรียนการสอนด้านความรู้ความสามารถในวิชาที่สอน และด้านการวดั และประเมินผล เป็ นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) มี 5 ระดบั กาหนดข้ึนตามวธิ ีการของลิเคิร์ท (Likert) มีการประมาณคา่ คาตอบของคาถามดงั น้ี 5 หมายถึง มีความพึงพอใจระดบั มากที่สุด 4 หมายถึง มีความพงึ พอใจระดบั มาก 3 หมายถึง มีความพงึ พอใจระดบั ปานกลาง 2 หมายถึง มีความพงึ พอใจระดบั นอ้ ย 1 หมายถึง มีความพงึ พอใจระดบั นอ้ ยที่สุด การแปลความหมายของข้อมูลโดยการนาค่าเฉล่ียท่ีได้มาเทียบกับเกณฑ์ดังต่อไปน้ี(บุญชม ศรีสะอาด. 2545 : 161) ค่าเฉล่ีย 4.51-5.00 ความพงึ พอใจในหวั ขอ้ น้นั มากท่ีสุด ค่าเฉล่ีย 3.51-4.50 ความพึงพอใจในหวั ขอ้ น้นั มาก ค่าเฉลี่ย 2.51-3.50 ความพงึ พอใจในหวั ขอ้ น้นั ปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.51-2.50 ความพงึ พอใจในหวั ขอ้ น้นั นอ้ ย คา่ เฉลี่ย 1.00-1.50 ความพงึ พอใจในหวั ขอ้ น้นั นอ้ ยท่ีสุด ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ เป็ นคาถามปลายเปิ ดเก่ียวกบั ความคิดเห็นนอกเหนือจากคาถามและขอ้ เสนอแนะ

- 29 -กำรสร้ำงเครื่องมือ การวจิ ยั คร้ังน้ีผวู้ จิ ยั ไดด้ าเนินการสร้างเคร่ืองมือดงั น้ี 1.1 ศึกษาคน้ ควา้ เอกสารตารา และงานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ้ ง เพ่ือกาหนดขอบเขตเน้ือหาเกี่ยวกบั คุณภาพการจดั การเรียนการสอนของครู เพ่ือนามาใช้เป็ นข้อมูลเบ้ืองตน้ ในการสร้างแบบสอบถาม 1.2 ศึกษาวธิ ีการสร้างแบบสอบถาม 1.3 สร้างแบบสอบถาม แบง่ ออกเป็น 3 ตอน ไดแ้ ก่ ตอนที่ 1 ขอ้ มูลพ้ืนฐานของผูต้ อบแบบสอบถาม ซ่ึงมีลกั ษณะเป็ นแบบสารวจรายการ (Check List) ไดแ้ ก่ แผนกวชิ า ระดบั ช้นั รายวชิ าท่ีประเมิน และครูผสู้ อนท่ีรับการประเมิน ตอนท่ี 2 ข้อมูลเก่ียวกบั ความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 จานวน 3 ดา้ น ตอนที่ 3 เป็ นแบบสอบถามปลายเปิ ด เก่ียวกบั ขอ้ เสนอแนะของ นกั ศึกษาที่มีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของครูผสู้ อน 1.4 นาแบบสอบถามไปทดลองใชก้ บั กลุ่มทดลองท่ีไม่ใช่กลุ่มตวั อยา่ ง จานวน 50 คน 1.5 เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลแลว้ ทาการวเิ คราะห์และนาเสนอขอ้ มูล 1.6 เขียนรายงานการวจิ ยักำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล เก็บรวบรวมขอ้ มูลจากนกั ศึกษาที่กาลงั เรียนวชิ า หลกั การจดั การ (3200-1003) ในภาคเรียนที่ 2ปี การศึกษา 2556 วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช จานวนท้งั สิ้น 112 ชุดกำรวเิ ครำะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลของผูต้ อบแบบสอบถาม คณะกรรมการประเมินดาเนินการโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป SPSS for Window วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ตารางประกอบการบรรยายโดยจาแนกแบบสอบถามทุกชุด ดงั น้ี

- 30 - ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม วิเคราะห์หาค่าความถี่แต่ละรายการโดยการหาค่าร้อยละ (Percentage) ได้แก่ แผนกวิชาที่สังกัด ระดับช้ัน วิชาที่ประเมิน และครูผสู้ อนที่รับการประเมิน ตอนที่ 2 ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ความพึงพอใจของนกั ศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวิชาหลกั การจดั การ (3200-1003) วิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2ปี การศึกษา 2556 ซ่ึงแบ่งเป็ น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความสามารถในการจดั การเรียนการสอนด้านความรู้ความสามารถในวิชาท่ีสอน และด้านการวดั และประเมินผล วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย(Mean) และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Devition) แล้วนาค่าไปเปรียบเทียบกบั เกณฑ์การวเิ คราะห์ของลิเคิร์ท (Likert) คา่ เฉลี่ย 4.51-5.00 หมายถึง ความพึงพอใจของนกั ศึกษาที่มีตอ่ คุณภาพการสอนของ ครูผสู้ อน อยใู่ นระดบั มากท่ีสุด คา่ เฉล่ีย 3.51-4.50 หมายถึง ความพึงพอใจของนกั ศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการสอนของ ครูผสู้ อน อยใู่ นระดบั มาก คา่ เฉลี่ย 2.51-3.50 หมายถึง ความพงึ พอใจของนกั ศึกษาที่มีตอ่ คุณภาพการสอนของ ครูผสู้ อน อยใู่ นระดบั ปานกลาง คา่ เฉลี่ย 1.51-2.50 หมายถึง ความพงึ พอใจของนกั ศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการสอนของ ครูผสู้ อน อยใู่ นระดบั นอ้ ย ค่าเฉล่ีย 1.00-1.50 หมายถึง ความพึงพอใจนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพการสอนของ ครูผสู้ อน อยใู่ นระดบั นอ้ ยที่สุด ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ เป็ นคาถามปลายเปิ ดเก่ียวกบั ความคิดเห็นนอกเหนือจากคาถามและขอ้ เสนอแนะสถติ ทิ ใี่ ช้ในกำรวเิ ครำะห์ข้อมูล 1 สถติ ิพืน้ ฐำน 1.1 ร้อยละ (Percentage) โดยใชส้ ูตรดงั น้ี P = f 100 n เมื่อ P แทน ร้อยละ f แทน ความถี่ท่ีตอ้ งการแปลงใหเ้ ป็ นร้อยละ n แทน จานวนความถี่ท้งั หมดของผตู้ อบแบบสอบถาม

- 31 -2 สถติ ทิ ใี่ ช้ในกำรศึกษำ2.1 คา่ เฉลี่ย (Mean) โดยใชส้ ูตรดงั น้ี X = X n เม่ือ X แทน คา่ เฉล่ียของคะแนน X แทน ผลรวมของคะแนนท้งั หมดในกลุ่ม n แทน จานวนผูต้ อบแบบสอบถาม2.2 คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใชส้ ูตรS.D. = n X 2   X 2 nn 1เมื่อ S.D. แทน คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนX แทน คะแนนของผูต้ อบแบบสอบถามแตล่ ะคนn แทน จานวนผตู้ อบท้งั หมด แทน ผลรวม

บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2556 ผปู้ ระเมินผลไดเ้ สนอการวเิ คราะห์ขอ้ มูลตามลาดบั ดงั น้ี 1. สญั ลกั ษณ์ที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 2. ลาดบั ข้นั ในการเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 3. ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลสัญลกั ษณ์ทใ่ี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล N แทน จานวนประชากร n แทน จานวนกลุ่มตวั อยา่ ง X แทน ค่าเฉลี่ยของความคิดเห็นของกลุ่มตวั อยา่ ง S.D แทน ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นของกลุ่มตวั อยา่ งลาดับข้นั ในการเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist)เป็ นข้อคาถามเก่ียวกับสถานภาพทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม ได้แก่ แผนกวิชาท่ีสังกัดระดบั ช้นั วชิ าที่ประเมิน และครูผสู้ อนท่ีรับการประเมิน ตอนท่ี 2 ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ความพึงพอใจของนกั ศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวิชาหลกั การจดั การ (3200-1003) วิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2ปี การศึกษา 2556 ซ่ึงแบ่งเป็ น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความสามารถในการจดั การเรียนการสอนดา้ นความรู้ความสามารถในวชิ าท่ีสอน และดา้ นการวดั และประเมินผล ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ เป็ นคาถามปลายเปิ ดเกี่ยวกบั ความคิดเห็นนอกเหนือจากคาถามและขอ้ เสนอแนะ

- 33 -ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลตอนที่ 1 ข้อมูลทวั่ ไปตารางที่ 4-1 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามแผนกวชิ าที่สงั กดั แผนกวชิ าทสี่ ังกดั จานวน ร้อยละ1. การบญั ชี กลุ่ม 1 40 35.72. การบญั ชี กลุ่ม 2 37 33.03. เทคโนโลยสี านกั งาน กลุ่ม 1 14 12.54. การตลาด 21 18.8 รวม 112 100.0 จากตารางท่ี 4-1 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามสังกดั แผนกวิชาการบญั ชี กลุ่ม 1 มากที่สุดจานวน 40 คน คิดเป็ นร้อยละ 35.7 รองลงมาเป็นแผนกวชิ าการบญั ชี กลุ่ม 2 จานวน 37 คน คิดเป็ นร้อยละ 33.0 แผนกวิชาการตลาด จานวน 21 คน คิดเป็ นร้อยละ 18.8 และแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ (สาขางานเทคโนโลยีสานกั งาน กลุ่ม 1) จานวน 14 คน คิดเป็ นร้อยละ 12.5ดงั แสดงในภาพท่ี 4-1ภาพท่ี 4-1 ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามแผนกวชิ าท่ีสังกดั

- 34 -ตารางที่ 4-2 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามระดบั ช้นั1. ปวส.1 ระดับช้ัน จานวน ร้อยละ2. ปวส.2 รวม 112 100.0 0 0.0 112 100.0 จากตารางท่ี 4-2 พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามท้ังหมดเป็ นนักศึกษาระดับช้ัน ปวส.1จานวน 112 คน คิดเป็นร้อยละ 100.0 ดงั แสดงในภาพท่ี 4-2ภาพท่ี 4-2 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามระดบั ช้นั

- 35 -ตารางท่ี 4-3 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามวชิ าท่ีประเมิน วชิ าทปี่ ระเมนิ จานวน ร้อยละ1. วชิ าการจดั การทวั่ ไป 112 100.02. วชิ าอ่ืน ๆ 0 0.0 รวม 112 100.0 จากตารางที่ 4-3 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมดประเมินวิชาหลักการจดั การจานวน 112 คน คิดเป็นร้อยละ 100.0 ดงั แสดงในภาพที่ 4-3ภาพท่ี 4-3 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามวชิ าที่ประเมิน

- 36 -ตารางท่ี 4-4 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามครูผสู้ อนท่ีรับการประเมิน ครูผ้สู อนทร่ี ับการประเมิน จานวน ร้อยละ1. คุณครูสุนีย์ แสงสุวรรณ 112 100.02. อื่น ๆ 0 0.0 รวม 112 100.0 จากตารางที่ 4-4 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามท้งั หมดประเมิน คุณครูสุนีย์ แสงสุวรรณจานวน 112 คน คิดเป็นร้อยละ 100.0 ดงั แสดงในภาพที่ 4-4ภาพท่ี 4-4 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามครูผสู้ อนที่รับการประเมิน

- 37 -ตอนท่ี 2 ข้อมูลเกยี่ วกบั ความพงึ พอใจของนักศึกษาทมี่ ีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวชิ า หลกั การจัดการ (3200-1003) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2556ตารางท่ี 4-5 แสดงคา่ เฉลี่ยและค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานเกี่ยวกบั ความพึงพอใจของนกั ศึกษาท่ีมีต่อ คุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 ดา้ นความสามารถในการจดั การเรียนการสอนด้านความสามารถในการจัดการเรียนการสอน X S.D ระดบั ความพงึ พอใจ1. ผสู้ อนแจง้ วตั ถุประสงค์ เน้ือหาวชิ า และวธิ ีการจดั การเรียน 4.60 .510 มากท่ีสุดการสอนชดั เจน2. ผสู้ อนใหค้ วามสนใจกบั ผเู้ รียนเป็นรายบุคคลอยา่ งทว่ั ถึง 4.53 .584 มากท่ีสุด .569 มาก3. ผสู้ อนเขา้ สอนและเลิกสอนตรงตามเวลา 4.49 .440 มากที่สุด4. วธิ ีการสอนที่ผสู้ อนนามาใชม้ ีความหลากหลาย เหมาะสม 4.74กบั เน้ือหา5. ผสู้ อนใชส้ ื่อการสอนไดอ้ ยา่ งน่าสนใจ 4.77 .465 มากท่ีสุด .569 มากที่สุด6. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนมีส่วนร่วมในการจดั การเรียนการสอน 4.52 .615 มาก7. ผสู้ อนส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนฝึกปฏิบตั ิงานร่วมกนั 4.50 .372 มากทสี่ ุด รวม 4.59 จากตารางที่ 4-5 พบวา่ ระดบั ความพึงพอใจของนกั ศึกษาที่มีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) วิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2ปี การศึกษา 2556 ดา้ นความสามารถในการจดั การเรียนการสอน โดยภาพรวม อยู่ในระดบั มากที่สุด ค่าเฉล่ีย ( X ) = 4.59 คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.37 เม่ือพิจารณาแต่ละรายการ พบวา่ รายการ ผูส้ อนแจ้งวตั ถุประสงค์ เน้ือหาวิชา และวิธีการจดั การเรียนการสอนชัดเจนผูต้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย ( X ) = 4.60 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.51

- 38 - รายการ ผสู้ อนใหค้ วามสนใจกบั ผเู้ รียนเป็ นรายบุคคลอยา่ งทว่ั ถึง ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มากที่สุด ค่าเฉลี่ย ( X ) = 4.53 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.58 รายการ ผูส้ อนเขา้ สอนและเลิกสอนตรงตามเวลา ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มาก คา่ เฉลี่ย ( X ) = 4.49 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.56 รายการ วิธีการสอนท่ีผูส้ อนนามาใช้มีความหลากหลาย เหมาะสมกบั เน้ือหา ผูต้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั มากที่สุด ค่าเฉล่ีย ( X ) = 4.74 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D) = 0.44 รายการ ผสู้ อนใชส้ ่ือการสอนไดอ้ ยา่ งน่าสนใจ ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มากท่ีสุด คา่ เฉลี่ย ( X ) = 4.77 คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.46 รายการ ผูส้ อนให้ผูเ้ รียนมีส่วนร่วมในการจดั การเรียนการสอน ผูต้ อบแบบสอบถามมีความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มากท่ีสุด คา่ เฉล่ีย ( X ) = 4.52 คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.56 รายการ ผูส้ อนส่งเสริมให้ผูเ้ รียนฝึ กปฏิบตั ิงานร่วมกนั ผูต้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มาก คา่ เฉลี่ย ( X ) = 4.50 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.61ตารางที่ 4-6 แสดงค่าเฉลี่ยและคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐานเกี่ยวกบั ความพงึ พอใจของนกั ศึกษาท่ีมีต่อ คุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 ดา้ นความรู้ความสามารถในวชิ าท่ีสอน ด้านความรู้ความสามารถในวชิ าทสี่ อน X S.D ระดับ ความพงึ พอใจ1. ผสู้ อนสอนเน้ือหาครบถว้ นตามโครงการสอน/แผนการ 4.55 .534 มากที่สุดสอน2. ผสู้ อนไดน้ าเทคโนโลยแี ละวทิ ยาการใหม่ ๆ มาใช้ 4.73 .465 มากท่ีสุดประกอบการสอน3. ผสู้ อนมีความรู้ความสามารถในเน้ือหาที่สอนเป็นอยา่ งดี 4.71 .492 มากที่สุด รวม 4.66 .366 มากทส่ี ุด

- 39 - จากตารางท่ี 4-6 พบวา่ ระดบั ความพึงพอใจของนกั ศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) วิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2ปี การศึกษา 2556 ดา้ นความรู้ความสามารถในวิชาท่ีสอน โดยภาพรวม อยู่ในระดบั มากที่สุดค่าเฉล่ีย ( X ) = 4.66 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.36 เม่ือพิจารณาแตล่ ะรายการ พบวา่ รายการ ผู้สอนสอนเน้ือหาครบถ้วนตามโครงการสอน/แผนการสอน ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มากที่สุด ค่าเฉลี่ย ( X ) = 4.55 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D) = 0.53 รายการ ผูส้ อนไดน้ าเทคโนโลยีและวิทยาการใหม่ ๆ มาใช้ประกอบการสอน ผูต้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มากท่ีสุด ค่าเฉล่ีย ( X ) = 4.73 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D) = 0.46 รายการ ผสู้ อนมีความรู้ความสามารถในเน้ือหาที่สอนเป็ นอยา่ งดี ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มากท่ีสุด คา่ เฉล่ีย ( X ) = 4.71 คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.49ตารางที่ 4-7 แสดงคา่ เฉล่ียและคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐานเก่ียวกบั ความพึงพอใจของนกั ศึกษาที่มีต่อ คุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 ดา้ นการวดั และประเมินผล ด้านการวดั และประเมินผล X S.D ระดับ ความพงึ พอใจ1. ผสู้ อนแจง้ หลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการวดั ผล ประเมินผลล่วงหนา้ 4.62 .541 มากที่สุดชดั เจน2. ผสู้ อนมีวธิ ีการวดั ผลหลายวธิ ี 4.49 .585 มาก .512 มากที่สุด3. ผสู้ อนมีการวดั ผล ประเมินผล ทุกคร้ังท่ีมีการจดั การเรียน 4.66การสอน4. ผสู้ อนมีวธิ ีการแกป้ ัญหาใหผ้ ูเ้ รียนที่ไม่ผา่ นการประเมิน 4.62 .589 มากท่ีสุดทุกคร้ัง5. ผสู้ อนมีการประเมินผลอยา่ งเป็นธรรม 4.71 .531 มากท่ีสุด .439 มากทส่ี ุด รวม 4.61

- 40 - จากตารางท่ี 4-7 พบวา่ ระดบั ความพึงพอใจของนกั ศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) วิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2ปี การศึกษา 2556 ดา้ นการวดั และประเมินผล โดยภาพรวม อยใู่ นระดบั มากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย ( X ) =4.61 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.43 เมื่อพิจารณาแตล่ ะรายการ พบวา่ รายการ ผูส้ อนแจ้งหลักเกณฑ์และวิธีการวดั ผล ประเมินผลล่วงหน้าชัดเจน ผูต้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มากที่สุด ค่าเฉลี่ย ( X ) = 4.62 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D) = 0.54 รายการ ผสู้ อนมีวธิ ีการวดั ผลหลายวิธี ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดบัมาก ค่าเฉล่ีย ( X ) = 4.49 คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.58 รายการ ผูส้ อนมีการวดั ผล ประเมินผล ทุกคร้ังท่ีมีการจดั การเรียนการสอน ผูต้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มากที่สุด ค่าเฉล่ีย ( X ) = 4.66 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D) = 0.51 รายการ ผู้สอนมีวิธีการแก้ปัญหาให้ผู้เรียนที่ไม่ผ่านการประเมินทุกคร้ัง ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มากที่สุด ค่าเฉลี่ย ( X ) = 4.62 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D) = 0.58 รายการ ผสู้ อนมีการประเมินผลอยา่ งเป็ นธรรม ผูต้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มากท่ีสุด คา่ เฉล่ีย ( X ) = 4.71 คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.53

- 41 -ตารางที่ 4-8 แสดงค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเก่ียวกบั ความพงึ พอใจของนกั ศึกษาที่มีต่อ คุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 รายการประเมนิ เป็ นรายด้าน X S.D ระดบั ความพงึ พอใจ1. ดา้ นความสามารถในการจดั การเรียนการสอน2. ดา้ นความรู้ความสามารถในวชิ าที่สอน 4.59 .372 มากท่ีสุด3. ดา้ นการวดั และประเมินผล 4.61 .439 มากที่สุด รวม 4.66 .366 มากที่สุด 4.62 .336 มากทสี่ ุด จากตารางท่ี 4-8 พบวา่ ระดบั ความพึงพอใจของนกั ศึกษาที่มีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1003) วิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2ปี การศึกษา 2556 โดยภาพรวม อยูใ่ นระดบั มากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย ( X ) = 4.62 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D) = 0.33 เมื่อพิจารณาเป็นรายดา้ น พบวา่ ดา้ นความสามารถในการจดั การเรียนการสอน ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย ( X ) = 4.59 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.37 ดา้ นความรู้ความสามารถในวิชาท่ีสอน ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดบัมากท่ีสุด คา่ เฉลี่ย ( X ) = 4.61 คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.43 ดา้ นการวดั และประเมินผล ผูต้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั มากที่สุดค่าเฉลี่ย ( X ) = 4.66 คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.36

- 42 -ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ ปวส.1 บญั ชี กลุ่ม 1 1) ถา้ คุณครูท่านอื่นมีหลกั การสอนเหมือนกบั คุณครูวิชาน้ีทุกคนก็คงจะดี เพราะคุณครูสามารถสอนไดท้ ุกเร่ือง ไม่วา่ จะเป็ นเรื่องการเรียนหรือเรื่องการใชช้ ีวิตประจาวนั คุณครูเป็ นกนั เองกบั นกั ศึกษา นกั ศึกษาสามารถปรึกษาปัญหาไดท้ ุกเร่ือง คุณครูรู้จกั นาเทคโนโลยมี าใชป้ ระกอบการสอนไดด้ ีมาก ทาใหน้ กั ศึกษามีความสนใจในการเรียนมากยงิ่ ข้ึน 2) คุณครูมีความเข้าใจในความจาเป็ นของนักศึกษาและโอกาสนักศึกษาแต่ละคนเป็ นอยา่ งดี ปวส.1 บญั ชี กลุ่ม 2 - ไม่มีขอ้ เสนอแนะ - ปวส.1 เทคโนโลยสี านักงาน กล่มุ 1 - ไมม่ ีขอ้ เสนอแนะ - ปวส.1 การตลาด 1) คุณครูเป็นครูท่ีดีมาก สอนเก่ง มีคุณภาพ ไมเ่ คยดุด่านกั ศึกษา สอนใหข้ อ้ คิด 2) Miss You Teacher 3) คุณครูน่ารักมาก สอนเก่ง ใจดี 4) คุณครูเป็นคนที่น่ารักท่ีสุด 5) นกั ศึกษาชอบเรียนวชิ าน้ี

บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การศึกษาความพึงพอใจของนกั ศึกษาที่มีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวิชาหลกั การจดั การ (3200-1003) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2556ผวู้ จิ ยั ขอสรุป อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ีวตั ถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนกั ศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวิชาหลกั การจดั การ (3200-1003) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2556 2. เพือ่ นาขอ้ มูลท่ีไดไ้ ปพฒั นาคุณภาพการสอนของครูผสู้ อนในภาคเรียนถดั ไปประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากร ประชากรที่ใชใ้ นการวิจยั ในคร้ังน้ี คือ นกั ศึกษาท่ีกาลงั ศึกษาอยูใ่ นระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพช้ันสูง วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตวั อยา่ งท่ีใชใ้ นการวิจยั ในคร้ังน้ี เป็ นการสุ่มกลุ่มตวั อยา่ งแบบอย่างง่าย โดยการจบัสลากจากนกั เรียน ระดบั ปวส. ที่กาลงั ศึกษาอยใู่ นวิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2ปี การศึกษา 2556 ไดก้ ลุ่มตวั อย่างจานวน 112 คน จาแนกไดด้ งั น้ี ระดบั ปวส.1 การบญั ชี กลุ่ม 1จานวน 40 คน , ระดับ ปวส.1 การบัญชี กลุ่ม 2 จานวน 37 คน , ระดับ ปวส.1 เทคโนโลยีสานกั งาน กลุ่ม 1 จานวน 14 คน และระดบั ปวส.1 การตลาด จานวน 21 คนสรุปผลการวจิ ัย กลุ่มตวั อยา่ งที่ตอบแบบสอบถามการศึกษาการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวิชาหลักการจดั การ (3200-1003) วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 เป็ นนักศึกษาระดับ ปวส.1 โดยครูผูส้ อนคือ

- 44 -คุณครูสุนีย์ แสงสุวรรณ สังกดั แผนกวชิ าการบญั ชี กลุ่ม 1 มากท่ีสุด ร้อยละ 35.7 การบญั ชี กลุ่ม 2ร้อยละ 33.0 การตลาด ร้อยละ 18.8 และน้อยที่สุดคือ สาขางานเทคโนโลยีสานกั งาน กลุ่ม 1 ร้อยละ12.5 การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวิชาหลกั การจดั การ (3200-1003) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศึกษา 2556โดยภาพรวม อยใู่ นระดบั มากที่สุด ค่าเฉลี่ย ( X ) = 3.62 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.33 โดยมีความพึงพอใจต่อ ดา้ นความสามารถในการจดั การเรียนการสอน รายการผูส้ อนใช้ส่ือการสอนได้อย่างน่าสนใจ สูงที่สุด อยู่ในระดบั มากท่ีสุด ค่าเฉล่ีย ( X ) = 4.77 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.46ส่วนรายการท่ีมีความพึงพอใจต่าท่ีสุดคือ ด้านความสามารถในการจดั การเรียนการสอน รายการผสู้ อนเขา้ สอนและเลิกสอนตรงตามเวลา อยใู่ นระดบั มาก ค่าเฉลี่ย ( X ) = 4.49 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D) = 0.56 และดา้ นการวดั และประเมินผล รายการผสู้ อนมีวิธีการวดั ผลหลายวธิ ี อยูใ่ นระดบั มากคา่ เฉลี่ย ( X ) = 4.49 คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.58อภปิ รายผล จากการศึกษาวจิ ยั เรื่องความพึงพอใจของนกั ศึกษาที่มีตอ่ คุณภาพการจดั การเรียนการสอนของวิชาหลักการจดั การ (3200-1003) วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ท้ัง 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ ด้านความสามารถในการจดั การเรียนการสอน ดา้ นความรู้ความสามารถในวิชาที่สอน และดา้ นการวดั และประเมินผล พบวา่ นกั ศึกษามีความพึงพอใจในภาพรวมระดบั มากท่ีสุดทุกดา้ น แสดงให้เห็นว่าครูผูส้ อนวิชาการจดั การทวั่ ไป รหัสวิชา 3200-1003 วิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช โดยคุณครูสุนีย์ แสงสุวรรณ เป็ นบุคคลท่ีมีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ีในการสอน มีการพฒั นาทกั ษะในสาขาวชิ าท่ีสอน ก่อนสอนครูไดม้ ีการศึกษาหลกั สูตรและมีการจดั การเรียนรู้ โดยคานึงถึงความแตกต่างระหวา่ งผูเ้ รียน ใหผ้ ูเ้ รียนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น จดั กิจกรรมการเรียนรู้สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผูเ้ รียน มีการวดั ผล-ประเมินผลตามสภาพจริง ตลอดจนมีการนาสื่อเทคโนโลยีและวทิ ยากรใหม่ ๆ มาใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ ครูมีการใช้แหล่งการเรียนรู้ท่ีหลากหลายมีการส่งเสริมให้ผูเ้ รียนไดเ้ ขา้ ถึงแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ อยา่ งเป็นระบบ

- 45 -ข้อเสนอแนะ ควรมีการจดั ทาวิจยั ความพึงพอใจของนกั ศึกษา ท่ีมีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของครูผสู้ อนทุกแผนกวชิ า เพื่อพฒั นาคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของครู วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช อนั ก่อใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดแก่นกั เรียน/นกั ศึกษา ต่อไป

บรรณานุกรมกนั ยารัตน์ เศวตนนั ทิกุล. (2552) ความพงึ พอใจและแนวโน้มพฤตกิ รรมการใช้บริการทีศ่ ูนย์บริการ จุดเดียวเบ็ดเสร็จของสานักงานเขตพญาไท. สารนิพนธ์ บธ.ม. (การตลาด). กรุงเทพมหานคร : บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ.กิดานนั ท์ มลิทอง. เทคโนโลยแี ละการสื่อสารเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอ์ รุณการพมิ พ,์ 2548.ดาริ มุศรีพนั ธ์. ความพงึ พอใจและความต้องการด้านการจัดการศึกษาสายอาชีพของศูนย์บริการ การศึกษานอกโรงเรียน อาเภอเมือง จังหวดั หนองบวั ลาภู. รายงานการคน้ ควา้ อิสระ การศึกษามหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั มหาสารคาม, 2545.บุญชม ศรีสะอาด. การพฒั นาการสอน. กรุงเทพมหานคร : ชมรมเด็ก, 2545.ราชบณั ฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพมหานคร : นานมีบุค๊ ส์ พบั ลิเคชนั่ ส์, 2546.ลว้ น สายยศ และ องั คณา สายยศ. หลกั การวจิ ัยทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ศึกษาพร, 2549.วฒั นาพร ระงบั ทุกข.์ แผนการสอนทเี่ น้นผ้เู รียนเป็ นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ : ภาพพมิ พ,์ 2542.ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพมหานคร : บริษทั ธรรมสาร, 2546.สุพนิ บุญชูวงศ.์ หลกั การสอน. กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ สถาบนั ราชภฏั สวนดุสิต, 2544.อุทยั พรรณ สุดใจ. ความพงึ พอใจของผู้ใช้บริการทมี่ ีต่อการให้บริการขององค์การโทรศัพท์แห่ง ประเทศไทย จังหวดั ชลบุรี. กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, 2544.Shelly.; et al. Paper from a Conference on Research in Organization. New York : Wiley, 1964.Wolman, BB. Dictionary of Behavior Science. New York : Van Norstand Reinhold, 1973.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook