Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Resaerch59

Resaerch59

Published by kanthikasaeng2561, 2018-11-23 10:22:26

Description: Resaerch59

Search

Read the Text Version

ความพงึ พอใจของนักศึกษาที่มีต่อคณุ ภาพการจัดการเรียนการสอนวชิ าหลกั การจัดการ (3200-1002) วิทยาลยั อาชวี ศึกษานครศรธี รรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 โดย กณั ฐิกา แสงสวุ รรณ แผนกวชิ าการจัดการท่ัวไป วิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรธี รรมราช สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ.2560

ชอื่ เรอื่ ง การศึกษาความพงึ พอใจของนักศึกษาท่ีมตี อ่ คณุ ภาพการจัดการเรยี นการสอนของวิชา หลักการจดั การ (3200-1002) วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2560ผูว้ ิจัย นางสาวกณั ฐกิ า แสงสวุ รรณปีท่ีวจิ ัย 2560 บทคัดย่อ การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลักการจัดการ (3200-1002) วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา2560 มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มตี ่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวชิ าหลักการจัดการ (3200-1002) วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษานครศรีธรรมราช ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา2560 และเพ่ือนาข้อมูลที่ได้ไปพัฒนาคุณภาพการสอนของครูผู้สอนในภาคเรยี นถัดไป กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยในคร้ังน้ี เป็นการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบอย่างง่าย จากนักศึกษาที่กาลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ที่กาลังศึกษาอยู่ในวิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2ปกี ารศกึ ษา 2560 จานวน 81 คน สรุปผลการวจิ ยั กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามการศึกษาการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลักการจัดการ (3200-1002) วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2560 เป็นนักศึกษาระดบั ปวส.1 โดยครผู ้สู อนคือ คุณครูกัณฐิกา แสงสุวรรณ สังกัดแผนกวิชาการบัญชี กลุ่ม 1 มากท่ีสุด ร้อยละ 50.6 สาขาวิชาการจดั การโลจสิ ติกส์ ร้อยละ 25.9 และสาขาวิชาการเลขานุการ กลมุ่ 1 รอ้ ยละ 23.5 การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลักการจัดการ (3200-1002) วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา2560 โดยภาพรวม อยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย ( X ) = 3.62 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) =0.33 โดยมีความพึงพอใจตอ่ ดา้ นความสามารถในการจัดการเรียนการสอน รายการผู้สอนใชส้ ื่อการสอนได้อย่างน่าสนใจ สูงที่สุด อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย ( X ) = 4.77 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D) = 0.46 ส่วนรายการท่มี ีความพึงพอใจต่าท่ีสุดคือ ดา้ นความสามารถในการจัดการเรียนการสอนรายการผู้สอนเข้าสอนและเลิกสอนตรงตามเวลา อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย ( X ) = 4.49 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.56 และด้านการวัดและประเมินผล รายการผู้สอนมีวิธีการวัดผลหลายวิธี อยู่ในระดบั มาก ค่าเฉลย่ี ( X ) = 4.49 คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.58

-ข- กติ ติกรรมประกาศ รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลักการจดั การ (3200-1002) วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2ปีการศึกษา 2560 ฉบับน้ี สาเร็จสมบูรณ์ได้ด้วยความช่วยเหลือจากบุคคลหลายท่าน ซึ่งได้ให้แนวคิดในการจัดทา พัฒนา และทดลองใช้จนสมบูรณ์ ผู้จัดทาขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณโอกาสน้ี ขอขอบพระคุณ ผู้อานวยการวิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช รองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ผู้บริหาร และเพ่ือนครูวิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ทุกท่านท่ีมีส่วนร่วมให้การช่วยเหลือ ให้คาแนะนา และเป็นกาลังใจให้จัดทาผลงานจนเสร็จลุล่วง รวมท้ังผู้เรียนท่ีร่วมทดลองใช้และประเมินผลความพึงพอใจ จนเป็นผลสาเร็จสมบูรณ์ ขอขอบพระคุณทุกท่านท่ีให้ความร่วมมือในการดาเนินการครัง้ นี้เป็นอย่างดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานการประเมินผลฉบับนี้ จะได้นาไปใช้ในการปรบั ปรงุ พฒั นาการจัดการเรียนการ เพือ่ ใหเ้ กิดประโยชน์แก่ผูเ้ กี่ยวขอ้ งและผูส้ นใจต่อไป การใดท่ีเป็นประโยชน์จากการจัดทารายงานฉบับน้ี ผู้รายงานขอมอบเป็นกุศลแด่บิดามารดา ผู้มีพระคุณ ผู้ให้การสนับสนุน รวมท้ังเจ้าของเอกสาร ตารา และแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆทีใ่ ชศ้ กึ ษาขอ้ มลู ใช้อา้ งอิงในการจดั ทารายงานฉบบั นี้ กัณฐกิ า แสงสุวรรณ มีนาคม 2560

-ค- หนา้ สารบญั ก คเร่อื ง ง ฉบทคดั ย่อ ชกิตตกิ รรมประกาศ 1สารบัญ 1สารบัญตาราง 2สารบญั ภาพ 2บทที่ 1 บทนา 2 3 ท่มี าและความสาคัญของปัญหา 4 วตั ถุประสงค์ของการวิจยั 4 ขอบเขตของการวจิ ัย 5 นิยามศพั ท์เฉพาะ 7 ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ 8บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง 9 หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพชน้ั สงู พุทธศกั ราช 2557 11 ปจั จยั ที่ส่งผลต่อการจดั การเรียนรู้ 12 การจัดการเรียนการสอนอาชีวศกึ ษา 14 ทฤษฎกี ารจดั การเรยี นรู้ รปู แบบวธิ ีการสอนในแบบตา่ ง ๆ 15 การเรยี นรู้อยา่ งมีความสุข 15 ทฤษฎคี วามพึงพอใจ 15 งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้อง 16 17บทท่ี 3 วธิ ีการดาเนินการวิจยั 17 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 18 เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล การสรา้ งเครื่องมือ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การวเิ คราะห์ข้อมูล สถติ ทิ ีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล

-ง- 19 19บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล 19 สัญลักษณ์ที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 20 ลาดับขนั้ ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์ข้อมลู หนา้ สารบัญ (ตอ่ ) 28 28เรอ่ื ง 28 28บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 29 วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจยั 29 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง สรุปผลการวจิ ยั อภิปรายผล ขอ้ เสนอแนะบรรณานุกรมภาคผนวก ภาคผนวก ก รายชื่อกลุม่ เรียนของนักศึกษาที่เรยี น ภาคผนวก ข แบบสอบถาม ภาคผนวก ค การวเิ คราะหข์ ้อมูลดว้ ยโปรแกรม SPSS FOR WINDOW

-จ- สารบัญตารางตารางที่ หนา้4-1 จานวนและร้อยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม จาแนกตามแผนกวชิ าท่ีสงั กัด 204-2 จานวนและรอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามระดบั ชนั้ 214-3 จานวนและรอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามวิชาที่ประเมิน 224-4 จานวนและรอ้ ยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามครูผู้สอนที่รบั การประเมิน 234-5 แสดงคา่ เฉลย่ี และค่าเบยี่ งเบนมาตรฐานเกย่ี วกบั ความพึงพอใจของนักศึกษาทีม่ ีต่อ 24 คณุ ภาพการจดั การเรียนการสอนของวิชาหลักการจัดการ (3200-1002) วิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2560 25 ด้านความสามารถในการจดั การเรยี นการสอน4-6 แสดงค่าเฉลย่ี และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเก่ียวกับความพึงพอใจของนักศึกษาทม่ี ีต่อ 26 คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวชิ าหลักการจัดการ (3200-1002) วิทยาลัยอาชวี ศึกษานครศรธี รรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2560 27 ด้านความรคู้ วามสามารถในวิชาทส่ี อน4-7 แสดงคา่ เฉลยี่ และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานเกย่ี วกบั ความพึงพอใจของนักศึกษาทม่ี ีต่อ คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลกั การจดั การ (3200-1002) วิทยาลยั อาชวี ศึกษานครศรธี รรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ด้านการวดั และประเมินผล4-8 แสดงคา่ เฉล่ียและค่าเบย่ี งเบนมาตรฐานเก่ียวกับความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมตี ่อ คณุ ภาพการจัดการเรยี นการสอนของวิชาหลกั การจดั การ (3200-1002) วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2560

-ฉ- หนา้ สารบัญภาพ 20 21ภาพท่ี 22 4-1 ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามแผนกวชิ าท่สี งั กดั 23 4-2 ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามระดับช้นั 4-3 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามวิชาทป่ี ระเมนิ 4-4 ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามครูผูส้ อนท่รี ับการประเมิน

บทท่ี 1 บทนำควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปญั หำ จากพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยมหิดล เม่ือวันที่ 2 กรกฎาคม 2538 มีข้อความเก่ียวกับการจัดการศึกษาความตอนหน่ึงว่า\".....ความรู้ท่ีจะศึกษามีอยู่สามส่วน คือ ความรู้วิชาการ ความรู้ปฏิบัติการ และความคิดอ่านตามเหตุผลความเป็นจริงซ่ึงแต่ละคนควรเรียนรู้ให้ครบ เพ่ือสามารถนาไปใช้ประกอบกิจการงาน และแก้ปัญหาทั้งปวงได้อย่างมีประสิทธิภาพ.....\" เป็นกระแสพระราชดารัสซ่ึงเป็นแนวทางสาหรับการจัดการศึกษาอันทรงคุณค่ายิ่ง เนื่องจากการศึกษาเป็นกระบวนการสาคัญในการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ค่านิยมเจตคติและคุณภาพของบคุ คล เพอ่ื ใหเ้ ป็นพลังสาคัญในการพฒั นาประเทศในโลกที่เปลย่ี นแปลงรวดเร็วทั้งด้านวิทยาการความก้าวหน้าโดยเฉพาะเทคโนโลยีสื่อสาร หรือการแข่งขันอย่างรุนแรงด้านเศรษฐกิจดงั น้ันสาระสาคัญของแนวคิดในการปฏิรูปการศึกษาในพระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 จึงระบุไว้ชัดเจนให้มีการจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เพราะการศึกษาถือเป็นกลไกสาคัญที่สามารถพัฒนาคุณภาพของบุคคล เป็นวิธีการจัดการเรียนการสอนท่ีจะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่แท้จรงิ และยั่งยืน เพื่อให้บุคคลเหล่าน้ันกลับมาพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช เป็นสถาบันการศึกษาหนึ่ง ท่ีมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาวิชาชีพ ทาการวิจัย ผลิตครู ผลิตผู้เรียน และส่งเสริมวิทยฐานะครู ซ่ึงจากปณิธานดังกล่าวนี้วิทยาลัยฯ สามารถผลิตผู้เรียนท่ีมีคุณภาพ ไปประกอบอาชีพสุจริตได้เป็นจานวนมาก ปัจจุบันวิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ได้ดาเนินการจัดการเรียนการสอนในด้านสายอาชีพ เป็นระยะเวลานานหลายปีแล้ว จึงเล็งเห็นว่านักศึกษาท่ีจบไปแล้ว และนาความรู้ท่ีได้ไปพัฒนาเป็นอาชีพได้น้ัน ต้องได้รับการพัฒนาจากครูผู้สอนเป็นสาคัญ และสิ่งท่ีขาดเสียมิได้เลยก็คือ กระบวนการจัดการเรียน การสอน ผู้รายงานในฐานะที่เป็นผู้สอนหลักการจดั การ (3200-1002) เห็นว่าในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นมีความสาคัญต่อการพัฒนานักศึกษาอย่างย่ิง จึงทาการศึกษาแนวทางและการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับการดารงชีวิต ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและลงมือปฏิบัติจริงทุกข้ันตอนจะบังเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทาให้ผู้เรียนเกิดทักษะการปฏิบัติได้เป็นอย่างดี และเน่ืองจากสภาพการจัดการเรียนการสอนในวิชาหลักการจัดการ (3200-1003) เพ่ือให้ผู้เรียนได้เตรียมตัวออกไปประกอบอาชีพได้จริง จะต้องจัดเนื้อหาประสบการณ์ ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับความเป็นอยู่ในชีวติ ประจาวันและความสนใจของผู้เรียน

-2-มีการฝึกทักษะการปฏิบัติงาน ให้ผู้เรียนสามารถทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และทาให้ผู้เรียนทุกคนได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและช่วยกันทาความเข้าใจส่ิงที่ เรียน มีกิจกรรมหลากหลายสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล มีการบูรณาการทั้งด้านความรู้ ทักษะ คุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ เพ่ือให้นักศึกษามีความสนใจในการเรยี นเพิ่มขึ้นรวมท้ังมีทักษะชวี ิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ดังนั้น จึงได้มีการจัดทาแบบสอบถามขึ้นในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 เพื่อประเมินผลความพึงพอใจของนักศึกษา ต่อคุณภาพการสอนของครูผู้สอน ในรายวิชาหลักการจัดการ(3200-1002) เพ่ือเป็นข้อมูลในการปรับปรุง พัฒนาการสอนของครูผู้สอน ให้ผู้เรียนมีความพึงพอใจและมีประสทิ ธภิ าพเพ่มิ ข้ึนวัตถุประสงค์ 1. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลกั การจดั การ (3200-1002) วิทยาลัยอาชีวศกึ ษานครศรีธรรมราช ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2560 2. เพอ่ื นาข้อมูลทไี่ ด้ไปพัฒนาคุณภาพการสอนของครผู ้สู อนในภาคเรยี นถัดไปขอบเขตของกำรวจิ ยั การวิจัยน้ีเป็นการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลักการจดั การ (3200-1002) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษานครศรีธรรมราช คอื ความพึงพอใจของ นักศึกษา ทมี่ ีตอ่ คุณภาพ การจดั การเรยี นการสอนของครผู สู้ อนนยิ ำมศพั ท์ ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึก ความคิดเห็น ความพอใจ ความชอบ รวมท้ังความต้องการของนักศึกษาตอ่ กระบวนการจัดการเรียนการสอน วิชาหลักการจดั การ (3200-1002) กระบวนการเรียนการสอน หมายถึง ลักษณะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ในด้านเนื้อหาวิชาในหลักสูตร อาจารย์ผู้สอน กิจกรรมการเรียนการสอน ส่ิงแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียน การประเมนิ ผล นักศึกษา หมายถึง นักศึกษา ระดับ ปวส. ที่กาลังศึกษาอยู่ในวิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2560 สภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียน หมายถึง ส่ิงต่าง ๆ ท่ีส่งผลให้กิจกรรมการเรียนการสอนให้มีประสทิ ธิภาพมากย่ิงข้ึน เช่น ห้องสมุด ห้องเรียน โสตทศั นูปกรณ์ สัมพันธภาพระหว่างเพื่อนนักศึกษาและสมั พันธภาพระหวา่ งนักศึกษากบั อาจารย์

-3- กิจกรรมการเรียนการสอน หมายถึง รูปแบบและวธิ กี ารต่าง ๆ ทใ่ี ช้ในการเรยี นการสอน คุณภาพการสอน หมายถึง เทคนิค ทักษะในการจัดการเรียนการสอน การใช้ส่ือประกอบการสอน ความรู้ความสามารถในรายวิชาท่ีสอน เทคนิควิธีการประเมินผล และแนวทางในการปฏิบัติ อันจะส่งผลให้ผู้เรยี นมผี ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามจุดมุ่งหมายของหลักสตู ร ครูผู้สอน หมายถึง ครูที่ทาการสอนวิชาหลักการจัดการ (3200-1002) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ซึ่งไดแ้ ก่ นางสาวกณั ฐกิ า แสงสวุ รรณประโยชน์ท่คี ำดว่ำจะไดร้ ับ 1. ทราบถึงระดับความพึงพอใจของนักศึกษา ท่ีมีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลกั การจดั การ (3200-1002) วิทยาลัยอาชีวศกึ ษานครศรธี รรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2560 2. ผลการเรียนของผเู้ รียนหลักการจัดการ (3200-1002) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง(ปวส.) เปน็ ไปอยา่ งเหมาะสม มีผลการเรียนท่ดี ีขึ้น 3. ใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการพฒั นาคุณภาพการสอนของครูผสู้ อนในภาคเรยี นถัดไป 4. เปน็ แนวทางใหแ้ ก่ครผู สู้ อนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้แก่ผเู้ รียน

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวขอ้ ง การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลักการจัดการ (3200-1002) วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560ครัง้ นี้ได้ศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยที่เก่ียวข้องเพ่ือเป็นพน้ื ฐานการการศึกษา ดังนี้ 1. หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชนั้ สงู พทุ ธศักราช 2546 2. ปัจจัยท่ีสง่ ผลต่อการจดั การเรยี นรู้ 3. การจัดการเรียนการสอนอาชวี ศึกษา 4. ทฤษฎกี ารจัดการเรียนรู้ 5. รปู แบบวิธกี ารสอนในแบบตา่ ง ๆ 6. การเรียนร้อู ยา่ งมีความสุข 8. ทฤษฎีความพึงพอใจ 7. งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วข้องหลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้นั สงู พทุ ธศกั ราช 2557 หลักการ 1. เป็นหลักสูตรท่ีมุ่งผลิตและพัฒนาแรงงานระดับผู้ชานาญการเฉพาะสาขาอาชีพสอดคล้องกับตลาดแรงงาน สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สามารถเปน็ หัวหน้างานหรือเป็นผ้ปู ระกอบการได้ 2. เปน็ หลกั สตู รทีม่ ุ่งเนน้ ให้ผ้เู รียนมีสมรรถนะในการประกอบอาชีพ มีความรูเ้ ต็มภูมิ ปฏบิ ัติได้จรงิ และ เขา้ ใจชีวิต 3. เปน็ หลักสูตรท่เี ปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการวชิ าชีพมีสว่ นร่วมในการเรียนการสอนวิชาชีพสามารถถ่ายโอนประสบการณ์การเรียนรู้จากสถานประกอบการ และสามารถสะสมการเรียนรู้และประสบการณไ์ ด้ จุดหมาย 1. เพ่ือให้มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดารงชีวิต สามารถศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมหรือศกึ ษาต่อในระดับทีส่ งู ขนึ้ 2. เพื่อใหม้ ีทักษะและสมรรถนะในงานอาชพี ตามมาตรฐานวชิ าชพี 3. เพ่ือให้สามารถบรู ณาการความรู้ ทักษะจากศาสตร์ต่าง ๆ ประยุกต์ใช้ในงานอาชพี สอดคล้องกับการเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยี

-5- 4. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ มีความม่ันใจและภาคภูมิใจในงานอาชีพ รักงาน รักองค์กรสามารถทางานเปน็ หมู่คณะไดด้ ี และมีความภาคภมู ิใจในตนเองต่อการเรยี นวชิ าชพี 5. เพื่อให้มีปัญญา ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการจัดการ การตัดสินใจและการแก้ปัญหา รู้จักแสวงหาแนวทางใหม่ ๆ มาพัฒนาตนเอง ประยุกต์ใช้ความรู้ในการสร้างงานให้สอดคลอ้ งกบั วิชาชีพ และการพฒั นางานอาชพี อยา่ งต่อเน่ือง 6. เพื่อให้มีบุคลิกภาพที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ซ่ือสัตย์ มีวินัย มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งรา่ งกายและจติ ใจ เหมาะสมกับการปฏิบัติในอาชีพนน้ั ๆ 7. เพ่ือให้เป็นผู้มีพฤติกรรมทางสังคมท่ีดีงาม ทั้งในการทางาน การอยู่ร่วมกัน มีความรบั ผดิ ชอบต่อครอบครัว องค์กร ทอ้ งถิ่นและประเทศชาติ อทุ ิศตนเพ่ือสังคม เข้าใจและเหน็ คุณค่าของศิลปวฒั นธรรม ไทย ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ตระหนักในปญั หาและความสาคัญของส่งิ แวดล้อม 8. เพื่อให้ตระหนักและมีส่วนร่วมในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเปน็ กาลงั สาคญั ในดา้ นการผลิตและใหบ้ รกิ าร 9. เพ่ือให้เห็นคุณค่าและดารงไว้ซึ่งสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ปฏิบัติตนในฐานะพลเมืองดีตามระบอบประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุขปจั จยั ทส่ี ่งผลต่อการจัดการเรยี นรู้ กิดานันท์ มลิทอง (2548 : 28) ได้กล่าวถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ไว้ว่า เมื่อมีการเรียนการสอนจะมีกระบวนการสื่อสารเกิดขึ้น โดยผสู้ อนส่งการสอนไปยังผูเ้ รียน และผู้เรียนจะเรียนรู้เถึงแนวคิดและทักษะท่ีครผู ู้สอนส่งผ่านไป แต่การเรียนรู้ท่ีเกิดข้ึนอาจไม่เป็นไปตามเป้าประสงค์อย่างสมบูรณ์ ท้ังน้ีเน่ืองจากมีปัจจัยมากมายหลายประการที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่นสภาพแวดล้อมในการเรียนการสอน ปัจจัยด้านจิตวิทยา ปัจจัยด้านผู้เรียน และปัจจัยด้านผู้สอนดงั นี้ 1. สภาพแวดล้อมในการเรียน สภาพแวดล้อมในการเรียนที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ที่เห็นได้ชัดเจนทส่ี ุดคอื สภาพหอ้ งเรียนและส่งิ ต่าง ๆ ดงั นี้ 1.1 การจัดโต๊ะเรียน ในห้องเรียนปกติและห้องปฏิบัติการส่วนมากแล้วการจัดโต๊ะเรียนจะเปน็ การต้งั โต๊ะแบบคู่ หนั เข้าด้านหนา้ ห้อง ท่ีตดิ กระดานหรือจอภาพเพื่อความสะดวกในการดูเนือ้ หาแต่บางคร้ังห้องปฏิบตั ิการบางแห่งอาจมีขนาดเล็ก หรือมีผ้เู รียนจานวนมาก จึงจาเป็นต้องจดั โต๊ะชิดกาแพงและเรียงแถวคู่ตามความยาวของห้อง ทาให้ผเู้ รียนตอ้ งหนั ขา้ งดูเนอ้ื หาบนกระดาน หรอื จอภาพ ทาให้อา่ นไมถ่ นัดและเกิดความเมอ่ื ยลา้ ในการเรยี น

-6- 1.2 แสงสว่างภายในห้อง ห้องเรียนที่แสงสว่างไม่เพียงพอ จะเป็นอุปสรรคในการดูเน้ือหาบทเรียน และแสงสลัวจะทาให้เกิดอาการง่วงนอนในการเรียน หรือการตั้งกระดานชิดหน้าต่างจะทาใหแ้ สงตกลงบนกระดานเกิดจุดขาวสะทอ้ น ทาให้อา่ นข้อความไม่ได้ 1.3 อุณหภูมิภายในห้องเรียน ห้องเรียนท่ีร้อนหรือเย็นเกินไปจะเป็นอุปสรรคดา้ นกายภาพ ทาให้ความสนใจในการเรยี นของผู้เรยี นลดลง 1.4 เสียงรบกวนจากภายนอก ห้องเรียนที่อยู่ติดถนนใหญ่หรือสนามเด็กเล่นจะทาให้มีเสยี งดงั เข้ามาในหอ้ งเรียน ทาใหผ้ ูเ้ รยี นเสยี สมาธใิ นการเรยี น 1.5 วัสดุอุปกรณ์สื่อการเรียนการสอน ความพอเพียงของสิ่งที่จัดไว้เพื่ออานวยความสะดวกในการเรียนจะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิผล ไม่ว่าจะเป็นวัสดุ เช่นหนงั สอื ตาราเรียน ของจาลอง ภาพหรอื อุปกรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ เช่น เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ ความบกพร่องในปัจจัยสภาพแวดล้อมในการเรียนที่กล่าวมาแล้ว จะทาให้ผู้เรียนขาดสมาธิ ลดความกระฉับกระเฉง ไม่มีความกระตือรือร้น ขาดความต้ังใจเรียน อันส่งผลให้การเรียนรู้หย่อนประสทิ ธิภาพและไมบ่ รรลุถงึ วตั ถปุ ระสงค์ทีต่ ้งั ไว้ 2. ปจั จัยด้านจิตวทิ ยา ปัจจัยด้านจิตวิทยาจะเก่ียวข้องกับความแตกต่างของผู้เรียนแต่ละคน อย่างชัดเจน ซ่ึงมีผลต่อการเรียนรู้ด้วย ปัจจัยด้านน้ีจะรวมถึงสภาพทางอารมณ์ของผู้เรียนในขณะท่ีเรียนด้วย เพราะจะเก่ียวเน่ืองกับการรับรู้ขณะน้ันว่ามีความพร้อมที่จะรับข้อมูลข่าวสารท่ีส่งผ่านมามากน้อยเพียงใด หรือกล่าวง่าย ๆ คือ ผู้เรียนมีความพร้อมที่จะเรียนหรือไม่ และบางครั้งจะเก่ียวเน่ือง ถึงวิธีการส่งผ่านสารสนเทศด้วยว่า ผู้เรียนมีความสะดวกในการรบั หรือไม่ ท้ังนี้เพราะผ้เู รียนแต่ละคนสามารถเลือกความพึงพอใจในวิธีการรับเนอ้ื หาบทเรยี นตามความชอบของตน เพราะแต่ละคนจะมีความถนัดในการเรยี นร้แู ตกต่างกัน หากผู้สอนไม่คานึงถึงความแตกต่างในเรื่องน้ี อาจทาให้เกิดความสับสนใจการรบั รู้ของผู้เรียนได้ และอาจทาให้เน้ือหาผิดเพี้ยน เช่น ถ้าผู้เรยี นคนใดมีความพึงพอใจในการรับรู้ด้วยการดู ผู้สอนย่อมนาเสนอเนื้อหาด้วยภาพ หรือภาพประกอบมากกว่าข้อความและการบรรยาย เพราะจะทาให้ผู้เรียนไม่สามารถรับข้อมูลได้อย่างชัดเจนทั้งหมด หรือถ้าผู้เรียนมีความพึงพอใจในการเรียนด้วยการฟัง ผู้สอนย่อมใช้การบรรยายและใช้สื่อที่เน้นการฟังมากกว่าการดู 3. ปัจจัยด้านผู้เรียน ผู้เรียนแต่ละคนจะมีการกล่ันกรองข้อมูลสารสนเทศท่ีได้รับมาด้วยเหตผุ ลของแตล่ ะคน ในลกั ษณะที่เรียกว่า ตวั กรองส่วนตวั (Personal filters) โดยรวมถงึ ความเชื่อศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ประสบการณ์ ระดับอายุ ระดับสังคมท่ีแต่ละคนมี เมื่อผู้เรียนได้รับขอ้ มูลสารสนเทศจากผ้สู อน ย่อมมีการกล่ันกรองดว้ ยตัวกรองเหลา่ นนั้ ก่อน ซงึ่ บางครั้งอาจทาให้เกิดการเรียนรู้ท่ีไม่ตรงกับเน้ือหาท่ีส่งมา ทัศนคติในเชิงลบต่อท้ังผู้สอนและผู้เรียน เช่น ความไม่ชอบผู้สอนเป็นการส่วนตัว หรือต้องเรียนในวิชาบังคับ ย่อมทาให้ไม่สนใจเรียนเท่าที่ควร ซึ่งเป็นอีก

-7-ปัจจัยท่ีทาให้ไม่สามารถเกิดการเรียนรู้ที่สมบูรณ์ได้ นอกจากน้ี ความเช่ือท่ีได้รับการปลูกฝังจากครอบครัวในเร่ืองวัฒนธรรม ประเพณี และศาสนา จะทาให้การรับรู้บิดเบือนไม่ตรงตามความเป็นจริงได้ หากส่ิงที่ได้รับมานั้นไม่ตรงกับความเชื่อที่มีอยู่ของตน ดังน้ัน ผู้สอนจึงจาเป็นต้องคานึงถึงตัวผู้เรียนเป็นสาคัญในการส่งผ่ านเนื้อหาสารสนเทศที่จะไม่ขัดต่อความเชื่อของผู้เรียน เพื่อให้เกิดการเรียนรไู้ ด้ตามความเป็นจรงิ อยา่ งถูกตอ้ ง 4. ปัจจัยด้านผู้สอน เป็นปัจจัยสาคัญอีกอย่างหน่ึงที่ทาให้การเรียนรู้ของผู้เรียนเกิดข้ึนได้ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ที่ตัง้ ไวห้ รือไม่ ท้ังน้ีเพราะผู้สอนเป็นผู้ที่มีบทบาทสาคัญยิง่ ในการออกแบบและวางแผนจดั การในการส่งผ่านความร้แู ละทักษะไปยังผู้เรียน เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ขึ้น เช่นเดียวกับรปู แบบการเรียนและปัจจัยด้านผู้เรียน ผู้สอนแต่ละคนย่อมมีรูปแบบการเรียน แบบการคิด และเชาวน์ปัญญาท่ีแตกต่างกันดังน้ัน ผู้สอนแต่ละคนจะมีรูปแบบการสอนท่ีพึงพอใจตามความถนัดเฉพาะตัวเช่นกัน และส่วนมากแลว้ จะเป็นรูปแบบเดียวกับที่เคยเรยี นมา น่ันคือ เคยมรี ปู แบบการเรียนมาอย่างไร จะสอนในรูปแบบนั้น อย่างไรก็ตาม ผู้สอนย่อมต้องมีการเรียนวิชาชีพครูและมีการฝึกสอนมาก่อนที่จะประกอบอาชีพน้ีทาให้ฝึกฝนการสอนรูปแบบต่าง ๆ มามากพอจะนามาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับผู้เรียนได้ โดยเฉพาะอย่างย่ิงก่อนสอนย่อมต้องมีการวิเคราะห์ผู้เรียนว่าเหมาะสมแก่การเรียนรู้รูปแบบใด มีกลยุทธ์การสอนแบบต่าง ๆ เลือกใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับการสอน วางแผน การมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนรวมถึงการใช้ทฤษฎีและหลักการด้านจิตวิทยามาใช้ร่วมด้วย เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ได้อย่างเหมาะสมกบั รูปแบบการคิด แบบการเรียน และเชาวน์ปญั ญาของแต่ละคน จะเห็นได้ว่าการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลน้ัน จะต้องอาศัยปัจจัยที่เหมาะสมสอดคล้องกับผู้เรียนท้ังหมด 4 ปัจจัย ถ้าขาดปัจจัยใดปัจจัยหน่ึง หรือไม่เหมาะสม จะส่งผลกระทบต่อคุณภาพของการจัดการเรียนรู้ โดยเฉพาะปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ถือว่าเป็นปัจจัยที่สาคัญและสามารถควบคมุ จดั การไดง้ า่ ยการจดั การเรยี นการสอนอาชีวศึกษา ในการจัดการเรยี นการสอนอาชีวศกึ ษาน้นั มีหลกั การดงั น้ี 1. การอาชวี ศึกษาเป็นการเตรียมตัวบคุ คลเข้าส่อู าชีพ และทางานตอ่ ไปดว้ ยความสาเรจ็ 2. เปา้ หมายของการอาชพี มงุ่ ทีง่ านและสัมพนั ธก์ บั การมงี านทา 3. การอาชีวศึกษาต้องสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม และวุฒิภาวะของนักเรียนนักศกึ ษา 4. การอาชีวศึกษาเป็นการจัดให้ผู้สาเร็จการศึกษาสามารถร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ได้ในฐานะพลเมอื งทดี่ ีของสังคม 5. การอาชีวศึกษาจัดใหน้ กั ศึกษามีความรู้พนื้ ฐานทจี่ าเปน็ ในการเข้าสู่อาชีพได้

-8- 6. แตล่ ะบคุ คลมสี ทิ ธทิ ี่จะเลอื กอาชพี ทตี่ นปรารถนาได้ 7. รัฐมีหน้าที่ท่ีจะจัดให้รายบุคคลได้รับการฝีกอบรม เพื่อประกอบอาชีพได้ตามท่ีแต่ละบคุ คลได้ตัง้ เปา้ หมายได้ 8. ประสิทธิภาพการอาชีวศึกษาจะสูง ถ้าจัดสภาพแวดล้อมให้ผู้เรียนได้รับการฝึก โดยจาลองสภาพแวดลอ้ มการทางานให้เหมือนสภาพเมือ่ จะไปทางานจรงิ 9. การฝึกอาชีพจะมีประสิทธิผล เม่ืองานฝึกกระทาในลักษณะเดียวกันกับงานจริงน้ันคือใช้ขั้นตอนการทางาน เคร่อื งมอื และเครื่องจกั ร เชน่ เดยี วกบั ท่ีใชใ้ นการทางานในอาชีพนั้น 10. ประสิทธผิ ลของการอาชวี ศึกษาจะสงู เมื่อจดั ให้ผเู้ รียนเป็นรายบคุ คลให้ได้ใชค้ วามสนใจนสิ ยั ความถนดั และมันสมองของผู้น้ันอย่างเต็มที่ 11. การฝึกอาชีพท่ีมีประสิทธิภาพของแตล่ ะอาชีพช่าง หรืองานกต็ ่อเมื่อได้จัดให้แกก่ ลุ่มที่ต้องการและได้รับประโยชนจ์ ากการฝึกเท่านั้น 12. การฝกึ อาชีพอย่างมีประสิทธิผลจะตอ้ งฝึกประสบการณ์เฉพาะด้านหลาย ๆ คร้ัง เพ่ือสร้างนิสัยท่ีถูกต้องในการกระทาและการคิด จนกระทั่งนิสัยท่ีต้องการพัฒนาข้ึน ซ่ึงเป็นทักษะที่จาเป็นในการหางานทา 13. การฝึกอาชีพจะมีประสิทธิผลย่อมขึ้นอยู่กับครูฝึก ซึ่งจะต้องมีประสบการณ์วิชาชีพในการประยุกตท์ ักษะและความรใู้ นการปฏิบตั งิ านและกระบวนการทางานของสิ่งทต่ี นสอน 14. สาหรับแต่ละอาชีพผู้ฝึกจะต้องมีความสามารถในการผลิตขั้นต่าระดับหน่ึง เพ่ือที่จะทางานและรักษาตาแหน่งงานไว้ได้ ถ้าการอาชีวศึกษาไม่สามารถจัดได้ถึงข้ันนี้แล้วก็จะไม่มีประสิทธผิ ลทั้งสาหรับรายบุคคลและสาหรบั สังคม 15. การสร้างนิสัยการปฏิบัติงาน จะได้ผลต่อเม่ือผู้ฝึกได้ทางานจริง ไม่ใช้ทาแบบฝึกหัดหรอื ทางานปลอม 16. แหล่งของเน้ือหาสาระท่ีเชื่อถือได้ของการฝึกเฉพาะแต่ละอาชีพมาจากแหล่งเดียวเทา่ น้นั คือจากประสบการณ์ของผู้ชานาญงานของอาชีพนัน้ 17. สาหรับแต่ละอาชีพจะมีเนื้อหาอยู่จานวนหนึ่งซ่ึงเป็นอาชีพน้ันเฉพาะ และไม่มีคุณค่าในทางปฏบิ ัติสาหรบั อาชีพนัน้ 18. การบริการอาชีวศึกษา จะบริการแก่สังคมอย่างมีประสิทธิภาพต่อเม่ือสามารถบริการในเรื่องทค่ี นต้องการและผูต้ อ้ งการไดป้ ระโยชน์มากท่ีสุด 19. การอาชีวศึกษาที่มีประสิทธิภาพจะแปรผันตามวิธีการสอน และความสัมพันธ์กับผู้เรยี น จึงควรพถิ พี ถิ นั พิจารณาคณุ ลักษณะของกลุ่มทเ่ี รยี นและผสู้ อนด้วย 20. การบริหารอาชีวศึกษาจะมีประสิทธิภาพต่อเม่ือมีการจัดการในลักษณะยืดหยุ่นแทนการมมี าตรฐานท่ีตายตวั เกนิ ไป

-9- 21. ขณะที่พยายามลดค่าใช้จ่ายต่อหัว แต่ก็ต้องใช้งบประมาณขั้นต่าจานวนหน่ึง ซึ่งถ้าจ่ายต่ากว่าน้ีแล้ว จะไม่สามารถจัดการอาชีวศึกษาให้มีประสิทธิผลได้ และถ้าไม่สามารถสนับสนุนงบประมาณขัน้ ต่านี้แล้วกไ็ มส่ มควรท่จี ะจดั ให้มีระบบอาชวี ศึกษาทฤษฎีการจดั การเรียนรู้ บลูม (Benjamin S. Bloom) และ คณะ ได้เสนอแนวคิดทฤษฎีซึ่งสามารถนามาใช้ในการจดั การเรียนรู้ โดยแบง่ การเรียนรอู้ อกเปน็ 3 ดา้ น ดังน้ี 1. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) หรือด้านสติปัญญาหรือด้านความรู้และการคิดประกอบด้วยความรู้ความจาเกี่ยวกับส่ิงต่าง ๆ การนาเอาสิ่งท่ีเป็นความรู้ความจาไปทาความเข้าใจนาไปใช้ การใช้ความคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และประเมนิ คา่ 1.1 ความรู้ (Knowledge) หมายถึง การเรียนรู้ที่เน้นถึงการจาและการระลึกได้ถึงความคิด วตั ถุ และปรากฏการณ์ต่าง ๆ ซ่ึงเป็นความจาที่เร่ิมจากส่ิงง่าย ๆ ท่ีเป็นอสิ ระแกก่ ัน ไปจนถึงความจาในสิ่งที่ยุ่งยากซบั ซอ้ นและมีความสัมพันธร์ ะหวา่ งกัน 1.2 ความเข้าใจหรือความคิดรวบยอด (Comprehension) เป็นความสามารถทางสตปิ ัญญาในการขยายความรู้ ความจา ให้กว้างออกไปจากเดมิ อยา่ งสมเหตสุ มผล การแสดงพฤติกรรมเมื่อเผชญิ กับสื่อความหมาย และความสามารถในการแปลความหมาย การสรปุ หรือการขยายความสิ่งใดสิ่งหนงึ่ 1.3 การนาไปปรบั ใช้ (Application) เป็นความสามารถในการนาความรู้ (knowledge)ความเข้าใจหรือความคดิ รวบยอด (comprehension) ในเรื่องใด ๆ ท่ีมอี ยู่เดิม ไปแกไ้ ขปญั หาทีแ่ ปลกใหม่ของเรื่องนั้น โดยการใช้ความรู้ต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิธีการกบั ความคิดรวบยอดมาผสมผสานกบั ความสามารถในการแปลความหมาย การสรุปหรือการขยายความสิ่งน้นั 1.4 การวิเคราะห์ (Analysis) เป็นความสามารถและทักษะที่สูงกว่าความเข้าใจ และการนาไปปรับใช้ โดยมีลักษณะเป็นการแยกแยะส่ิงท่ีจะพิจารณาออกเป็นส่วนย่อย ท่ีมีความสัมพันธ์กัน รวมท้ังการสืบค้นความสัมพันธ์ของส่วนต่าง ๆ เพื่อดูว่าส่วนประกอบปลีกย่อยน้ันสามารถเข้ากันได้หรือไม่ อนั จะชว่ ยให้เกิดความเข้าใจตอ่ สงิ่ หนึ่งส่งิ ใดอย่างแท้จรงิ 1.5 การสังเคราะห์ (Synthesis) เป็นความสามารถในการรวบรวมส่วนประกอบย่อย ๆหรือส่วนใหญ่ ๆ เข้าด้วยกันเพื่อให้เป็นเรื่องราวอันหนึ่งอันเดียวกัน การสังเคราะห์จะมีลักษณะของการเป็นกระบวนการรวบรวมเน้ือหาสาระของเร่ืองต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน เพ่ือสร้างรูปแบบหรือโครงสร้างทย่ี ังไมช่ ัดเจนขนึ้ มากอ่ น อันเปน็ กระบวนการท่ตี อ้ งอาศัยความคดิ สร้างสรรค์ภายในขอบเขตของส่ิงท่กี าหนดให้

- 10 - 1.6 การประเมินผล (Evaluation) เป็นความสามารถในการตัดสินเก่ียวกับความคิดค่านิยม ผลงาน คาตอบ วิธีการและเนื้อหาสาระเพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง โดยมีการกาหนดเกณฑ์(criteria) เปน็ ฐานในการพิจารณาตดั สนิ การประเมินผล จัดได้วา่ เป็นขั้นตอนที่สูงสดุ ของพทุ ธิลักษณะ(characteristics of cognitive domain) ทต่ี ้องใช้ความรู้ความเข้าใจ การนาไปปรับใช้ การวิเคราะห์และการสังเคราะหเ์ ขา้ มาพจิ ารณาประกอบกันเพื่อทาการประเมนิ ผลสิ่งหน่งึ ส่งิ ใด 2. ด้านจิตพิสัย (Effective Domain) หรือด้านอารมณ์–จิตใจ ความสนใจ เจตคติค่านิยม และคุณธรรม เช่น การเห็นคุณค่า การรับรู้ การตอบสนอง และการสร้างคุณค่าในเรื่องที่ตนรับรู้น้นั แลว้ นาเอาสิง่ ทีม่ คี ุณคา่ น้ันมาจัดระบบและสรา้ งเปน็ ลักษณะนิสัย 3. ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) หรือด้านทักษะทางกาย หรือด้านการปฏิบัติ ประกอบด้วยทักษะการเคลื่อนไหว และการใช้อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น การเลียนแบบ การทาตามคาบอก การทาอย่างถูกต้องเหมาะสม การทาไดถ้ ูกต้องหลายรูปแบบ การทาได้อยา่ งเปน็ ธรรมชาติรปู แบบวธิ ีการสอนในแบบต่าง ๆ ลกั ษณะการสอนท่ดี ี การสอนท่ดี ีควรมลี กั ษณะท่สี าคัญหลายประการดว้ ยกัน เช่น 1. มกี ารส่งเสริมนักเรยี นให้เรียนด้วยการกระทา การได้ลงมอื ทาจริง ให้ประสบการณ์ที่มีความหมาย 2. มีการส่งเสริมนักเรียนให้เรียนด้วยการทางานเป็นกลุ่ม นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นยอมรับความคิดเหน็ ซ่งึ กันและกนั การทางานร่วมกับผู้อน่ื 3. มกี ารตอบสนองความต้องการของนักเรียน เรยี นด้วยความสุข ความสนใจ กระตอื รอื ร้นในการทากิจกรรมตา่ ง ๆ 4. มกี ารสอนให้สมั พันธร์ ะหวา่ งวชิ าทีเ่ รยี นกบั วิชาอื่น ๆ ในหลักสูตรเปน็ อย่างดี 5. มีการใช้ส่ือการสอน จาพวกโสตทัศนวัสดุ เพ่ือเร้าความสนใจ ช่วย ผู้เรียนเข้าใจบทเรยี นไดง้ ่ายขน้ึ 6. มีกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อเร้าความสนใจ ผู้เรยี นสนุกสนาน ได้ลงมือปฏิบัติจริง และดูผลการปฏบิ ัตขิ องตนเอง 7. มีการส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้ความคิดอยู่เสมอ ด้วยการซักถามหรือให้แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับปัญหาง่าย ๆ เดก็ คดิ หาเหตผุ ลเปรยี บเทยี บ และพิจารณาความสมั พันธข์ องสิง่ ต่าง ๆ 8. มีการส่งเสริมความคิดริเริ่ม และความคิดสร้างสรรค์ ส่งเสริมการคิดทาสิ่งใหม่ ๆ ท่ีดีมีประโยชนไ์ ม่เลยี นแบบใคร ส่งเสริมกิจกรรมสุนทรียภาพ รอ้ ยกรอง วาดภาพ และแสดงละคร

- 11 - 9. มีการใช้การจูงใจในระหว่างเรียน เช่น รางวัล การชมเชย คะแนนแข่งขัน เครื่องเชิดชูเกยี รติ การลงโทษ ซึง่ จะช่วยให้เกิดความสนใจ ตง้ั ใจ ขยนั หม่ันเพยี รในการเรียนและทากจิ กรรม 10. มีการส่งเสริมการดาเนินชีวิตตามแบบประชาธิปไตย เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น มีการรับฟังความคิดเห็นซ่ึงกันและกัน เคารพความคิดเห็นของผู้อ่ืน ยกย่องความคิดเห็นที่ดีนักเรยี นมสี ว่ นรว่ มในการวางแผนรว่ มกับครู 11. มกี ารเร้าความสนใจกอ่ นลงมือทาการสอนเสมอ 12. มีการประเมินผลตลอกเวลา โดยวิธีการต่าง ๆ เช่น การสังเกต การซักถาม การทดสอบ เพื่อใหแ้ น่ใจว่าการสอนของครตู รงตามจุดประสงคม์ ากท่ีสุด วิธสี อนแบบต่าง ๆ ไม่สามารถกล่าวได้ว่าวิธีการสอนใดเป็นวิธีสอนท่ีดีท่ีสุด เพราะการเรียนการสอนต้องข้ึนกับองค์ประกอบหลายประการ ดังนั้น จึงเป็นหน้าที่ของครูท่ีจะต้องตัดสินใจเลือกวิธีสอนตามความเหมาะสมของสภาพที่เป็นอยู่ ควรนาเทคนิคต่าง ๆ มากระตุ้นและเร้าความสนใจของผเู้ รยี น โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับเนือ้ หาและเวลาที่กาหนดให้ วิธกี ารสอนที่นยิ มใช้กันโดยท่ัวไปมี2 ลักษณะ ดังนี้ 1. วิธีสอนท่ียึดครูเป็นศูนย์กลาง (Teacher – Centered Method) ได้แก่การสอนที่ครูเป็นผู้สอน ครูเป็นผู้ดาเนินกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นส่วนใหญ่ เช่น ครูจะเป็นผู้ตั้งจุดมุ่งหมายควบคมุ เนื้อหา จัดกจิ กรรม และวัดผล เป็นต้น วธิ ีสอนแบบน้ีมหี ลายวิธีไดแ้ ก่ วธิ สี อนแบบบรรยาย วิธีสอนแบบสาธติ วธิ ีสอนโดยการทบทวน 2. วิธีสอนท่ียึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Child - Centered Method) ได้แก่ วิธีสอนที่ให้นักเรียนได้มีโอกาสเป็นผู้ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง เป็นผู้วางแผนบทเรียน ดาเนินการค้นคว้าหาความรู้ ครเู ปน็ ผ้แู นะแนวส่กู ารคน้ คว้า แนะนาสอ่ื การเรียนการสอนจนนักเรยี นไดค้ วามรดู้ ว้ ยตนเอง ผู้ทาการวิจัยได้เลือกวิธีการสอนท่ียึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาหลกั การจัดการ รหสั วิชา 3200 1003 วิธีสอนท่ียดึ ผู้เรยี นเป็นศนู ยก์ ลาง มีนักการศึกษาหลายท่านให้ทัศนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ โดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญหรอื เนน้ ผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลาง ไว้ดงั น้ี สงบ ลักษณะ กล่าวถึง การจัดการเรียนการสอนที่ควรจะเป็นวา่ ควรเป็นการเรียนการสอนท่ีนักเรยี นได้รับการยอมรับในการเป็นเอกัตตบุคคล ได้เรียนด้วยวิธีท่ีเหมาะสมกับความสามารถได้เรยี นสิ่งที่สนใจ ต้องการหรือมีประโยชน์ ได้ปฏิบัติตามกระบวนการเพ่ือการเรียนรู้ ได้รบั การเอาใจใส่ ประเมิน และชว่ ยเหลอื เปน็ รายบคุ คล และไดร้ บั การพฒั นาเตม็ ศกั ยภาพและสาเร็จตามอตั ภาพ

- 12 - ดร.โกวิท วรพิพัฒน์ กล่าวว่า การจัดการเรียนที่พึงประสงค์ หมายถึง กระบวนการพฒั นาให้ผูเ้ รียนคดิ เป็น ทาเป็น และแกป้ ัญหาเป็นจะเป็นผู้อานวยความรู้ ช่วยเอื้อให้ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรู้ ตลอดจนเป็นผู้คอยสอดส่อง สารวจในขณะผู้เรียนฝึก และให้ข้อมูลป้อนกลับ เพ่ือช่วยให้ผูเ้ รยี นสามารถแกไ้ ขปรบั ปรุงตนเองและเกดิ พฒั นาการขน้ึ วฒั นาพร ระงบั ทุกข์ (2542 : 7) กลา่ วถึงหลกั การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั หรือเป็นศูนย์กลางไวด้ งั นี้ 1. การเรียนรู้เป็นกระบวนการทคี่ วรเปน็ ไปอยา่ งมีชีวิตชวี า ดังนน้ั ผู้เรียนจึงควรมีบทบาทรับผิดชอบต่อการเรยี นรู้ของตนเองและมสี ่วนร่วมในกิจกรรมการเรยี นการสอน 2. การเรียนรู้เกิดขึ้นได้จากแหล่งต่าง ๆ กัน ใช่จากแหล่งใดแหล่งหนึ่งเพียงแหล่งเดียวประสบการณค์ วามร้สู กึ นกึ คิดของแตล่ ะบุคคลถือวา่ เป็นแหล่งการเรียนรู้ทีส่ าคัญ 3. การเรียนรู้ท่ีดีจะต้องเป็นการเรียนรู้ท่ีเกิดจากการสร้างความรู้ ความเข้าใจด้วยตนเองจึงจะช่วยให้ผู้เรียนจดจาและสามารถในการเรียนรู้นั้นให้ผลประโยชน์ได้ การเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นผู้ค้นพบด้วยตนเอง มีสว่ นชว่ ยให้เกดิ ความเข้าใจลกึ ซ้ึงและจดจาไดด้ ี 4. การเรียนรู้กระบวนการเรียนมีความสาคญั หากผู้เรียนเขา้ ใจและมีทักษะในกระบวนการเรียนรู้แลว้ จะสามารถใหเ้ ป็นเคร่อื งมอื ในการแสงหาความรู้ และคาตอบตา่ ง ๆ ทตี่ นตอ้ งการ 5. การเรยี นรู้ที่มีความหมายแก่ผู้เรียน คือ การเรียนรู้ที่สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันไดจ้ รงิ ทิศนา แขมมณี (2542 : 4-6) กล่าวว่า แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นให้ผูเ้ รียนมสี ่วนรว่ มเพือ่ ใหเ้ กิดการเรียนร้ทู ีม่ คี ุณภาตอ้ งประกอบดว้ ย 1. กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดีควรช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมทางด้านร่างกาย (PhysicalParticipation) คือ กิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้เคล่ือนไหวร่างกายในลักษณะหน่ึงเป็นระยะ ๆ เหมาะสมกบั วัยและระดับความสนใจของผูเ้ รียน 2. กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีดี ควรช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมทางสติปัญญา (Intellectparticipation) คือ กิจกรรมที่ให้ผู้เรียนเกิดการเคลื่อนไหวทางสติปัญญา ท้าทายความคิด สนุกที่จะคดิ เหมาะสมกบั วยั และความสามารถของผเู้ รียนรู้ 3. กิจกรรมการเรยี นท่ีดีช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมทางสังคม (Social participation) เป็นกจิ กรรมที่ช่วยให้ผเู้ รยี นมีปฏิสมั พันธ์ทางสงั คมกับบุคคลหรอื ส่ิงแวดลอ้ มรอบตัว จะช่วยให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรู้ทางสังคมและการเรียนรู้ด้านอื่น ๆ และควรจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากสิง่ แวดล้อมรอบตัว 4. กิจกรรมการเรียนท่ีดีควรช่วยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมทางอารมณ์ (Emotionalparticipation) คือ เป็นกิจกรรมที่ส่งผลต่ออารมณ์ ความรู้สึกต่อผู้เรียน ซึ่งจะช่วยให้การเรียนรู้น้ัน

- 13 -เกิดความหมายต่อตนเอง กิจกรรมเหล่าน้มี ักเป็นกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับชีวิตประสบการณ์ และความเป็นจรงิ ของผู้เรียนการเรยี นรูอ้ ย่างมคี วามสุข ผศ.กติ ิยวดี บญุ ซอ่ื และคณะ ได้เสนอวิธกี ารเรียนรซู้ ึง่ เป็นองค์ประกอบของการเรียนรูอ้ ย่างมีความสุขไว้ ดังน้ี 1. เดก็ แต่ละคนไดร้ บั การยอมรับว่าเปน็ มนุษยค์ นหนึ่งที่มหี ัวใจและสมอง 2. ครูใหค้ วามเมตตาจรงิ ใจและออ่ นโยนตอ่ เดก็ ทุกคนโดยทว่ั ถงึ 3. เด็กเกิดความรักและความภมู ิใจในตนเอง รจู้ กั ปรบั ตวั ได้ทกุ ท่ี และทกุ เวลา 4. เดก็ แตล่ ะตนได้มโี อกาสเลือกเรียนตามความถนดั ความสนใจของตนเอง 5. บทเรียนสนุก แปลกใหม่จูงใจให้ติดตามและเร้าใจให้อยากค้นหาความรู้เพ่ิมเติมด้วยตนเอง 6. สงิ่ ที่เรยี นรูส้ ามารถนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวัน 7. ส่อื เร้าใจและตรงตามเปา้ หมายทก่ี าหนดไว้อย่างชดั เจน 8. ประเมนิ พัฒนาการของเด็กโดยรวมไมเ่ น้นแตด่ ้านวิชาการทฤษฎคี วามพึงพอใจ ความหมายของความพึงพอใจ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2542 : 775) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจหมายถึง พอใจ ชอบใจ วูลแมน (Wolman. 1973 : 384) อธิบายไว้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกมคี วามสุขเมอื่ คนเราไดร้ บั ผลสาเร็จตามจุดมุง่ หมายความต้องการหรือแรงจงู ใจ เชอรี่ และคณะ (Shelly; et al. 1964 : 232) ได้ศึกษาแนวความคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจสรุปได้ว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกสองแบบของมนุษย์ คือ ความรู้สึกในทางบวกและความรู้สึกในทางลบ ความรู้สึกทางบวกเป็นความรู้สึกท่ีเมื่อเกิดขึ้นแล้วจะทาให้เกิดความสุข ความรู้สึกน้ีเป็นความรสู้ กึ ทีแ่ ตกตา่ งจากความรู้สกึ ทางบวกอืน่ ๆ เว็กซีย์ และยูเกิล (Wexey and Yukle อ้างถึงใน ดาริ มุศรีพันธ์. 2545 : 39) ได้อธิบายความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า ความพึงพอใจคือทัศนคติโดยท่ัว ๆ ไปของบุคคลท่ีจะนาไปสู่การประเมินผลและความคาดหวังต่องาน

- 14 - อทุ ัยพรรณ สุดใจ (2545 : 7) ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกหรือทัศนคติของบุคคลท่ีมีต่อส่ิงใดส่ิงหน่ึงโดยอาจจะเป็นไปในเชิงประเมินค่า ว่าความรู้สึกหรือทัศนคติต่อส่ิงหนึ่งส่ิงใดน้ันเป็นไปในทางบวกหรือทางลบ ศิริวรรณ และคณะ (2546 : 365) กล่าวว่า การจูงใจเป็นส่ิงเร้า และความพยายามท่ีจะตอบสนองความตอ้ งการหรอื เปา้ หมาย สว่ นความพึงพอใจ หมายถงึ ความพอใจเมอ่ื ความต้องการไดร้ ับการตอบสนอง ดังนั้นการจูงใจจึงเป็นสิ่งเร้าเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ คือ ความพึงพอใจซ่ึงเป็นผลลัพธ์ ซึ่งเม่ือเกิดแรงจูงใจขึน้ แลว้ สามารถตอบสนองแรงจูงใจนน้ั ผลลัพธ์กค็ อื ความพงึ พอใจ จากที่กล่าวมาสรุปความหมายของความพึงพอใจได้ว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกยินดีพอใจ ของบุคคลหนึ่งที่มีต่อส่ิงใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้ต่อเม่ือบุคคลเหล่านั้นได้รับการตอบสนองในส่ิงที่ตนเองต้องการ หรือเป็นไปตามเป้าหมายท่ีได้วางแผนไว้ ซึ่งระดับความพึงพอใจจะแตกต่างกันย่อมข้ึนอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ หรือองค์ประกอบที่แตกต่างกัน เป็นภาวะ การแสดงออกถึงความรู้สกึ ในทางบวก ทฤษฎที ่ีเกยี่ วข้องกับความพึงพอใจ นักวิชาการได้พัฒนาทฤษฎีท่ีอธิบายองค์ประกอบของความพึงพอใจ และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจกับปัจจัยอ่ืน ๆ ไว้หลายทฤษฎี (กันยารัตน์ เศวตนันทิกุล. 2552 :26-27) ดงั น้ี 1. ทฤษฎีลาดับความตอ้ งการของมาสโลว์ (Maslows’s hierarchy of need) ความต้องการของมนุษย์มีลักษณะเป็นลาดับขั้น คือ เมื่อความต้องการในระดับหนึ่งได้รบั การตอบสนองจะมคี วามต้องการอืน่ ในระดบั ทีส่ งู ขน้ึ ต่อไป ลาดบั ความตอ้ งการ ไดแ้ ก่ 1.1 ความต้องการของร่างกาย (Physiological needs) เป็นความต้องการข้ันพื้นฐานเพ่ือความอยรู่ อด เช่น อาหาร นา้ เคร่อื งนุ่งหม่ 1.2 ความต้องการความม่ันคงหรือความปลอดภัย (Security or safety needs)เปน็ ความตอ้ งการทจ่ี ะเป็นอิสระจากอันตรายทางกาย 1.3 ความต้องการการยอมรับหรือความผูกผัน (Affiliation or acceptance needs)เนอ่ื งจากบคุ คลอยู่ในสงั คมจะต้องการการยอมรบั จากบุคคลอื่น 1.4 ความต้องการการยกย่อง (Esteem needs) เป็นความพึงพอใจในอานาจความภาคภมู ใิ จในสถานะ และความเช่ือม่ันในตนเอง 1.5 ความต้องการความสาเร็จในชีวิต (Need for self-actualization) เป็นความตอ้ งการในระดบั สูงสุด เพ่อื ทจี่ ะมีศักยภาพและบรรลุความสาเรจ็ ในสงิ่ ใดสงิ่ หน่ึงในระดับสูงสดุ 2. ทฤษฎกี ารจูงใจ ERG ของ Alderfer

- 15 - เป็นทฤษฎีความต้องการที่มีพื้นฐานจากลาดับข้ันความต้องการของมาสโลว์ โดยพิจารณาถึงวิธีการที่บุคคลมีปฏิกิริยาเม่ือเขาสามารถ และไม่สามารถตอบสนองความต้องการของตนโดยพัฒนาหลักความก้าวหน้าในความพึงพอใจ (Satisfaction progression) เพื่ออธิบายถึงวิธีการทีบ่ คุ คลมีความกา้ วหนา้ กับลาดับขั้นความต้องการ เมอ่ื ตอบสนองความต้องการในระดับตา่ กว่าได้ และในทางตรงข้ามกับหลักของการถดถอยความตึงเครียด (Frustration regression) เม่ือบุคคลที่ยังมีความตึงเครียดในการพยายามที่จะตอบสนองความต้องการในระดับที่สูงข้ึน เขาจะเลิกตอบสนองความต้องการ และเปลี่ยนไปใช้ความพยายามทจ่ี ะตอบสนองในระดบั ทตี่ า่ กว่า 3. ทฤษฎี 2 ปจั จยั ของ Herzberg (Herzberg’s two factor theory) ปัจจัยที่ 1 ได้แก่ ปัจจัยรักษา (Maintenance factor) หรือปัจจัยสุขอนามัย (Hygienefactor) เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลในการสร้างความไม่พอใจ ปัจจัยอนามัยจะรักษาแรงจูงใจให้อยู่ในระดับสูงแล้ว จะป้องกันแรงจูงใจไม่ให้เกิดข้ึนในทางลบ ปัจจัยท่ี 2 ได้แก่ ปัจจัยการจูงใจ (Motivation factor) เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลในการสรา้ งความพงึ พอใจ 4. ทฤษฎกี ารเสริมแรง (Reinforcement Theory) หรือการปรับปรุงพฤติกรรม เป็นทฤษฎีท่ีว่า พฤตกิ รรมของมนุษย์ท่ีถือเกณฑ์ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมหน่ึงกับผลของพฤติกรรมน้นั การเกดิ พฤตกิ รรมซา้ เป็นผลจากความพงึ พอใจ แตถ่ า้ ผลของพฤตกิ รรมไม่พึงพอใจ เขาก็จะมพี ฤตกิ รรมท่แี ตกต่างไปงานวจิ ยั ท่ีเก่ยี วข้อง สุพจน์ ทองเหลือง (2552 : บทคัดย่อ) ได้ทาการวิจัยเร่ือง ความพึงพอใจต่อการให้บริการในฝ่ายบริหารทรัพยากรของผู้บริหาร ครู เจ้าหน้าท่ี และนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยการอาชีพพนมสารคาม อาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา พบว่า ผู้บริหาร ครู เจ้าหน้าท่ีและนักเรียนนักศึกษา มีความพึงพอใจต่อการให้บริการในฝ่ายบริหารทรัพยากร โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( x = 3.14, SD = 0.84) เม่ือวิเคราะห์เป็นรายด้านพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจในด้านสถานท่ีและส่ิงอานวยความสะดวกมากที่สุด อยู่ในระดับ ปานกลาง ( x = 3.29, SD = 0.79)รองลงมาได้แก่ ด้านอื่น ๆ อยู่ในระดับปานกลาง ( x = 3.17, SD = 1.00) ผลการเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการในฝ่ายบริหารทรัพยากรของผู้บริหาร ครู เจ้าหน้าที่และนักเรียน พบว่าเพศ อายุ ระดับการศึกษา และตาแหน่ง แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการให้บริหารในฝ่ายบริหารทรัพยากร ว่าควรอานวยความสะดวก

- 16 -สาหรับท่ีนงั่ นักเรยี น นักศึกษา รวมถึงหอ้ งน้า หอ้ งส้วมต้องสะอาด เจ้าหน้าทคี่ วรย้ิมแย้มแจ่มใส แต่งกายสภุ าพ เรียบร้อย มีความถูกต้องและรวดเรว็ ในการตดิ ตอ่ งาน

บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรวิจยั การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลกั การจดั การ (3200-1002) วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2560ผู้วิจัยใช้การสารวจความคิดเห็น รวบรวมข้อมลู และวิเคราะหข์ ้อมลู ดงั นี้ 1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 2. เคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู 3. การสรา้ งเคร่ืองมือ 4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 5. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 6. สถิติที่ใช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูลประชำกรและกลุ่มตวั อย่ำง ประชำกร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในคร้ังนี้ คือ นักศึกษาท่ีกาลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษานครศรธี รรมราช ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2560 กลมุ่ ตวั อย่ำง กลุ่มตัวอย่างทใ่ี ช้ในการวิจยั ในครั้งนี้ คือ นักศึกษาทก่ี าลังศึกษาอยู่ในระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2560 ท่ีเรียนวิชาหลักการจัดการ ของ นางสาวกัณฐิกา แสงสุวรรณ จานวน 81 คน จาแนกได้ดังนี้ ระดับ ปวส.1การบัญชี กลุ่ม 1 จานวน 41 คน , ระดับ ปวส.1 การจัดการโลจิสติกส์ จานวน 21 คน และระดับ ปวส.1 การเลขานุการ กลมุ่ 1 จานวน 19 คนเครื่องมือทีใ่ ชใ้ นกำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ลักษณะของเครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถาม แบ่งออกเป็น3 ตอน ไดแ้ ก่ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist)เป็นข้อคาถามเกี่ยวกับสถานภาพท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ แผนกวิชาท่ีสังกัด ระดับช้ันวชิ าที่ประเมนิ และครผู สู้ อนท่รี ับการประเมนิ

- 16 -ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลักการจดั การ (3200-1002) ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2560 ซึ่งแบ่งเป็น 3 ด้านได้แก่ ดา้ นความสามารถในการจัดการเรยี นการสอน ด้านความรู้ความสามารถในวิชาท่ีสอน และด้านการวัดและประเมนิ ผล เป็นแบบมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) มี 5 ระดับ กาหนดข้ึนตามวิธีการของลิเคิรท์ (Likert) มกี ารประมาณค่าคาตอบของคาถามดังน้ี 5 หมายถงึ มีความพึงพอใจระดับมากท่ีสุด 4 หมายถึง มคี วามพึงพอใจระดบั มาก 3 หมายถึง มคี วามพึงพอใจระดับปานกลาง 2 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจระดบั นอ้ ย 1 หมายถงึ มีความพึงพอใจระดบั นอ้ ยท่ีสุดการแปลความหมายของข้อมูลโดยการนาคา่ เฉล่ยี ท่ีได้มาเทียบกับเกณฑ์ดังตอ่ ไปนี้ (บุญชมศรสี ะอาด. 2545 : 161) คา่ เฉลี่ย 4.51-5.00 ความพงึ พอใจในหัวข้อนั้นมากทสี่ ดุ คา่ เฉลยี่ 3.51-4.50 ความพงึ พอใจในหัวข้อน้นั มาก วยบขคา่ เฉลีย่ 2.51-3.50 ความพึงพอใจในหวั ข้อนั้นปานกลาง ค่าเฉล่ีย 1.51-2.50 ความพงึ พอใจในหัวข้อนน้ั นอ้ ย ค่าเฉลีย่ 1.00-1.50 ความพงึ พอใจในหัวข้อนัน้ นอ้ ยท่สี ุดตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ เป็นคาถามปลายเปิดเก่ียวกับความคิดเห็นนอกเหนือจากคาถามและขอ้ เสนอแนะกำรสรำ้ งเคร่ืองมือ การวจิ ัยคร้งั นผ้ี ูว้ จิ ยั ได้ดาเนนิ การสร้างเคร่อื งมือดงั น้ี 1. ศึกษาค้นคว้า เอกสารตารา และงานวิจัยที่เก่ียวข้อง เพื่อกาหนดขอบเขตเนื้อหาเกี่ยวกับคณุ ภาพการจัดการเรยี นการสอน เพือ่ นามาใช้เป็นขอ้ มูลเบอื้ งตน้ ในการสรา้ งแบบสอบถาม 2. ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถาม 3. สรา้ งแบบสอบถาม แบ่งออกเปน็ 3 ตอน ได้แก่ ตอนท่ี 1 ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม ซ่ึงมีลักษณะเป็นแบบสารวจรายการ(Check List) ไดแ้ ก่ แผนกวชิ า ระดบั ชั้น รายวชิ าที่ประเมิน และครูผู้สอนท่ีรบั การประเมิน ตอนที่ 2 ข้อมูลเก่ียวกับความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวชิ าหลักการจัดการ (3200-1003) วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรธี รรมราช ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2560 จานวน 3 ดา้ น

- 17 - ตอนท่ี 3 เป็นแบบสอบถามปลายเปิด เกี่ยวกับข้อเสนอแนะของ นักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจดั การเรียนการสอนของครูผู้สอน 4. นาแบบสอบถามไปทดลองใชก้ ับกลุ่มทดลองที่ไม่ใชก่ ลุ่มตัวอย่าง จานวน 50 คน 5. เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู แลว้ ทาการวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูล 6. เขียนรายงานการวิจัยกำรเก็บรวบรวมขอ้ มลู เก็บรวบรวมข้อมูลจากนักศกึ ษาทีก่ าลงั เรียนวิชา หลกั การจัดการ (3200-1002) ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2560 วทิ ยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช จานวนท้งั สน้ิ 81 ชดุกำรวเิ ครำะหข์ อ้ มูล ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู ของผู้ตอบแบบสอบถาม ผู้วิจยั ดาเนินการโดยใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์สาเร็จรูป SPSS for Window วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ตารางประกอบการบรรยายโดยจาแนกแบบสอบถามทกุ ชุด ดงั นี้ ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์หาค่าความถี่แต่ละรายการ โดยการหาค่าร้อยละ (Percentage) ได้แก่ แผนกวชิ าท่ีสังกัด ระดับชั้น วิชาท่ปี ระเมิน และครูผู้สอนที่รบั การประเมิน ตอนที่ 2 ข้อมูลเก่ียวกับความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลักการจัดการ (3200-1002) วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ซ่ึงแบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความสามารถในการจัดการเรียนการสอนด้านความรู้ความสามารถในวิชาที่สอน และด้านการวัดและประเมินผล วิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย(Mean) และค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Devition) แล้วนาค่าไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์การวิเคราะห์ของลเิ คิร์ท (Likert) คา่ เฉลยี่ 4.51-5.00 หมายถึง ความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการสอนของ ครผู ้สู อน อยใู่ นระดบั มากท่สี ุด คา่ เฉล่ยี 3.51-4.50 หมายถึง ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพการสอนของ ครผู สู้ อน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลีย่ 2.51-3.50 หมายถึง ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพการสอนของ ครูผ้สู อน อยู่ในระดบั ปานกลาง คา่ เฉลี่ย 1.51-2.50 หมายถึง ความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการสอนของ ครผู ู้สอน อยู่ในระดับน้อย

- 18 - ค่าเฉลี่ย 1.00-1.50 หมายถึง ความพึงพอใจนักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการสอนของ ครูผู้สอน อยู่ในระดับน้อยท่ีสดุ ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะ เป็นคาถามปลายเปิดเก่ียวกับความคิดเห็นนอกเหนือจากคาถามและขอ้ เสนอแนะสถิติท่ีใช้ในกำรวิเครำะห์ขอ้ มูล 1 สถติ ิพื้นฐำน 1.1 รอ้ ยละ (Percentage) โดยใช้สตู รดงั น้ี P = f 100 n เมื่อ P แทน ร้อยละ f แทน ความถ่ีทตี่ ้องการแปลงใหเ้ ปน็ รอ้ ยละ n แทน จานวนความถท่ี ง้ั หมดของผู้ตอบแบบสอบถาม2 สถิตทิ ใี่ ช้ในกำรศึกษำ 2.1 คา่ เฉลีย่ (Mean) โดยใชส้ ตู รดังน้ี X = X nเม่อื X แทน คา่ เฉล่ียของคะแนน X แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกลมุ่ n แทน จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม2.2 คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใช้สตู รS.D. = n X 2   X 2 nn 1เม่ือ S.D. แทน คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนX แทน คะแนนของผูต้ อบแบบสอบถามแตล่ ะคนn แทน จานวนผตู้ อบทั้งหมดส แทน ผลรวม

บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลักการจัดการ (3200-1002) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 วิทยาลัยอาชีวศกึ ษานครศรธี รรมราช ผปู้ ระเมินผลไดเ้ สนอการวิเคราะหข์ ้อมลู ตามลาดบั ดังน้ี 1. สัญลกั ษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 2. ลาดบั ข้ันในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมลู 3. ผลการวเิ คราะห์ข้อมลูสญั ลักษณ์ทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล N แทน จานวนประชากร n แทน จานวนกลุม่ ตัวอย่าง X แทน ค่าเฉล่ียของความคิดเหน็ ของกลุม่ ตวั อยา่ ง S.D แทน คา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐานของความคดิ เหน็ ของกลุม่ ตัวอยา่ งลาดับข้นั ในการเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ตอนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist)เป็นข้อคาถามเก่ียวกับสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ แผนกวิชาที่สังกัด ระดับช้ันวชิ าทป่ี ระเมิน และครูผสู้ อนทีร่ ับการประเมิน ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลักการจัดการ (3200-1002) วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2ปีการศึกษา 2560 ซึ่งแบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความสามารถในการจัดการเรียนการสอนด้านความรคู้ วามสามารถในวชิ าที่สอน และด้านการวดั และประเมนิ ผล ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ เป็นคาถามปลายเปิดเกี่ยวกับความคิดเห็นนอกเหนือจากคาถามและข้อเสนอแนะ

- 20 -ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลูตอนที่ 1 ขอ้ มูลท่ัวไปตารางที่ 4-1 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามแผนกวิชาทส่ี ังกัด แผนกวิชาท่ีสงั กัด จานวน ร้อยละ1. การบญั ชี กลุ่ม 1 41 50.62. การเลขานุการ กลุม่ 1 21 25.93. การจัดการโลจิสติกส์ กลุ่ม 1 19 23.5 81 100.0 รวม จากตารางท่ี 4-1 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามสังกัดแผนกวิชาการบัญชี กลุ่ม 1 มากท่ีสุดจานวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 50.6 รองลงมาเป็นแผนกวิชาการเลขานุการ จานวน 21 คนคดิ เป็นร้อยละ 25.9 และแผนกวิชาการจัดการโลจิสติกส์ กลุ่ม 1 จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ23.5 ดงั แสดงในภาพท่ี 4-1ภาพท่ี 4-1 ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามแผนกวิชาที่สังกดั

- 21 -ตารางท่ี 4-2 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามระดบั ชน้ั1. ปวส.1 ระดับช้นั จานวน รอ้ ยละ2. ปวส.2 รวม 0 100.0 0.0 100.0 จากตารางท่ี 4-2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมดเป็นนักศึกษาระดับช้ัน ปวส.1จานวน 101 คน คิดเป็นร้อยละ 100.0 ดังแสดงในภาพท่ี 4-2ภาพที่ 4-2 จานวนและรอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามระดบั ชน้ั

- 22 -ตารางท่ี 4-3 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามวชิ าทป่ี ระเมิน วชิ าทป่ี ระเมิน จานวน ร้อยละ1. วิชาการจัดการทวั่ ไป 0 100.02. วชิ าอ่นื ๆ 0.0 100.0 รวม จากตารางที่ 4-3 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดประเมินวิชาหลักการจัดการจานวน 101 คน คดิ เป็นร้อยละ 100.0 ดังแสดงในภาพท่ี 4-3ภาพที่ 4-3 จานวนและรอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามวิชาที่ประเมนิ

- 23 -ตารางที่ 4-4 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามครูผู้สอนท่ีรับการประเมนิ ครูผ้สู อนทร่ี ับการประเมิน จานวน ร้อยละ1. คณุ ครูกณั ฐกิ า แสงสวุ รรณ 0 100.02. อืน่ ๆ 0.0 100.0 รวม จากตารางท่ี 4-4 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามท้ังหมดประเมิน คุณครูกัณฐิกา แสงสุวรรณจานวน 101 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.0 ดงั แสดงในภาพท่ี 4-4ภาพท่ี 4-4 จานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามครูผูส้ อนที่รับการประเมนิ

- 24 - ตอนที่ 2 ข้อมูลเก่ียวกับความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลกั การจัดการ (3200-1002) วิทยาลัยอาชวี ศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560ตารางที่ 4-5 แสดงค่าเฉล่ยี และค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐานเกย่ี วกับความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมตี ่อ คุณภาพการจัดการเรยี นการสอนของวิชาหลกั การจดั การ (3200-1002) วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2560 ด้านความสามารถในการจัดการเรยี นการสอนดา้ นความสามารถในการจดั การเรยี นการสอน X S.D ระดบั ความพงึ พอใจ1. ผู้สอนแจง้ วตั ถุประสงค์ เนือ้ หาวชิ า และวธิ กี ารจัดการเรียน 4.60 .510 มากทส่ี ุดการสอนชดั เจน2. ผสู้ อนใหค้ วามสนใจกับผ้เู รียนเป็นรายบุคคลอยา่ งทัว่ ถงึ 4.53 .584 มากท่สี ดุ .569 มาก3. ผสู้ อนเข้าสอนและเลกิ สอนตรงตามเวลา 4.49 .440 มากทสี่ ุด4. วิธีการสอนทผ่ี สู้ อนนามาใชม้ ีความหลากหลาย เหมาะสมกับ 4.74เน้อื หา5. ผู้สอนใชส้ ื่อการสอนได้อย่างน่าสนใจ 4.77 .465 มากทีส่ ดุ .569 มากทส่ี ุด6. ผสู้ อนให้ผู้เรียนมีส่วนรว่ มในการจดั การเรียนการสอน 4.52 .615 มาก .168 มาก7. ผู้สอนสง่ เสริมให้ผเู้ รียนฝกึ ปฏิบัตงิ านร่วมกัน 4.50 รวม 4.32 จากตารางที่ 4-5 พบว่า ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลักการจัดการ (3200-1002) วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรยี นที่ 2ปีการศึกษา 2560 ด้านความสามารถในการจัดการเรียนการสอน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมากค่าเฉล่ีย ( X ) = 4.32 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.16 เมื่อพิจารณาแต่ละรายการ พบว่า รายการ ผู้สอนแจ้งวัตถุประสงค์ เนื้อหาวิชา และวิธีการจัดการเรียนการสอนชัดเจนผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย ( X ) = 4.60 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.51 รายการ ผู้สอนให้ความสนใจกับผู้เรียนเป็นรายบุคคลอย่างทั่วถึง ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มากที่สดุ คา่ เฉลย่ี ( X ) = 4.53 ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.58

- 25 - รายการ ผสู้ อนเขา้ สอนและเลิกสอนตรงตามเวลา ผูต้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ยี ( X ) = 4.49 ค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.56 รายการ วิธีการสอนท่ีผู้สอนนามาใช้มีความหลากหลาย เหมาะสมกับเน้ือหา ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย ( X ) = 4.74 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D) = 0.44 รายการ ผู้สอนใช้สื่อการสอนได้อย่างน่าสนใจ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด คา่ เฉล่ยี ( X ) = 4.77 ค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.46 รายการ ผู้สอนให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั มากท่ีสดุ ค่าเฉลี่ย ( X ) = 4.52 คา่ เบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.56 รายการ ผู้สอนสง่ เสริมให้ผเู้ รียนฝกึ ปฏิบตั ิงานรว่ มกัน ผ้ตู อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก ค่าเฉลยี่ ( X ) = 4.50 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.61ตารางท่ี 4-6 แสดงค่าเฉล่ียและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเกีย่ วกับความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมตี ่อ คณุ ภาพการจัดการเรียนการสอนของวชิ าหลกั การจดั การ (3200-1002) วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษานครศรีธรรมราช ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2560 ดา้ นความรูค้ วามสามารถในวิชาท่ีสอน ดา้ นความรู้ความสามารถในวิชาทส่ี อน X S.D ระดบั 4.55 ความพึงพอใจ1. ผู้สอนสอนเนอื้ หาครบถว้ นตามโครงการสอน/แผนการสอน 4.732. ผสู้ อนได้นาเทคโนโลยแี ละวทิ ยาการใหม่ ๆ มาใช้ .534 มากที่สุด 4.71 ประกอบการสอน .465 มากทีส่ ุด3. ผสู้ อนมคี วามรู้ความสามารถในเนือ้ หาท่ีสอนเป็นอยา่ งดี .492 มากที่สดุรวม 4.63 .175 มากทสี่ ดุ จากตารางท่ี 4-6 พบว่า ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลักการจัดการ (3200-1002) วิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรธี รรมราช ภาคเรียนที่ 2ปีการศึกษา 2560 ด้านความรู้ความสามารถในวิชาท่ีสอน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก คา่ เฉลี่ย( X ) = 4.63 ค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.17 เมื่อพจิ ารณาแต่ละรายการ พบวา่

- 26 - รายการ ผู้สอนสอนเนื้อหาครบถ้วนตามโครงการสอน/แผนการสอน ผ้ตู อบแบบสอบถามมีความพงึ พอใจอย่ใู นระดบั มากทีส่ ดุ คา่ เฉลี่ย ( X ) = 4.55 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.53 รายการ ผู้สอนได้นาเทคโนโลยีและวิทยาการใหม่ ๆ มาใช้ประกอบการสอน ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉล่ีย ( X ) = 4.73 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D) = 0.46 รายการ ผู้สอนมีความรู้ความสามารถในเนื้อหาที่สอนเป็นอย่างดี ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยใู่ นระดับมากทส่ี ดุ ค่าเฉล่ยี ( X ) = 4.71 คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.49ตารางท่ี 4-7 แสดงค่าเฉล่ยี และค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐานเกีย่ วกับความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมตี ่อ คุณภาพการจัดการเรยี นการสอนของวชิ าหลกั การจัดการ (3200-1002) วิทยาลัยอาชวี ศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2560 ดา้ นการวัดและประเมินผล ด้านการวดั และประเมินผล X S.D ระดับ ความพึงพอใจ1. ผู้สอนแจ้งหลกั เกณฑ์และวธิ ีการวัดผล ประเมนิ ผลล่วงหน้า 4.62 .541 มากที่สดุชัดเจน2. ผสู้ อนมวี ิธกี ารวดั ผลหลายวิธี 4.49 .585 มาก3. ผสู้ อนมกี ารวดั ผล ประเมินผล ทุกคร้งั ที่มีการจัดการเรยี น 4.66 .512 มากที่สุดการสอน4. ผูส้ อนมีวิธีการแกป้ ัญหาใหผ้ เู้ รยี นท่ไี ม่ผา่ นการประเมนิ ทกุ 4.62 .589 มากทีส่ ดุครง้ั5. ผสู้ อนมีการประเมินผลอย่างเป็นธรรม 4.71 .531 มากที่สุด รวม 4.08 .253 มากท่สี ดุ จากตารางที่ 4-7 พบว่า ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลักการจดั การ (3200-1002) วิทยาลยั อาชวี ศึกษานครศรธี รรมราช ภาคเรยี นท่ี 2ปีการศึกษา 2560 ด้านการวัดและประเมินผล โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย ( X ) =4.08 ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.25 เมื่อพจิ ารณาแตล่ ะรายการ พบว่า

- 27 - รายการ ผู้สอนแจ้งหลักเกณฑ์และวิธีการวัดผล ประเมินผลล่วงหน้าชัดเจน ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย ( X ) = 4.62 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D) = 0.54 รายการ ผู้สอนมีวิธีการวัดผลหลายวิธี ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลีย่ ( X ) = 4.49 ค่าเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.58 รายการ ผู้สอนมีการวัดผล ประเมินผล ทุกคร้ังท่ีมีการจัดการเรียนการสอน ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย ( X ) = 4.66 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D) = 0.51 รายการ ผู้สอนมีวิธีการแก้ปัญหาให้ผู้เรียนท่ีไม่ผ่านการประเมินทุกครั้ง ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย ( X ) = 4.62 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน(S.D) = 0.58 รายการ ผูส้ อนมีการประเมนิ ผลอย่างเปน็ ธรรม ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มากท่สี ุด คา่ เฉลยี่ ( X ) = 4.71 คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.53ตารางท่ี 4-8 แสดงค่าเฉลย่ี และค่าเบยี่ งเบนมาตรฐานเกยี่ วกับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อ คุณภาพการจดั การเรยี นการสอนของวชิ าหลักการจดั การ (3200-1002) วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2560 รายการประเมนิ เปน็ รายด้าน X S.D ระดบั ความพงึ พอใจ1. ดา้ นความสามารถในการจดั การเรยี นการสอน2. ดา้ นความรคู้ วามสามารถในวิชาทส่ี อน 4.32 .168 มาก3. ด้านการวดั และประเมนิ ผล 4.03 .175 มาก รวม 4.08 .253 มาก 4.14 .188 มาก จากตารางที่ 4-8 พบว่า ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลักการจัดการ (3200-1002) วิทยาลยั อาชีวศึกษานครศรธี รรมราช ภาคเรยี นท่ี 2ปีการศึกษา 2560 โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย ( X ) = 4.14 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D) = 0.18 เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายด้าน พบว่า ด้านความสามารถในการจัดการเรียนการสอน ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดบั มากทส่ี ุด คา่ เฉล่ยี ( X ) = 4.59 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.37

- 28 - ด้านความรู้ความสามารถในวิชาท่ีสอน ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทส่ี ุด คา่ เฉล่ีย ( X ) = 4.61 คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.43 ด้านการวัดและประเมินผล ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุดค่าเฉล่ยี ( X ) = 4.66 คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.36 ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ 1) ถ้าคุณครูท่านอื่นมีหลักการสอนเหมือนกับคุณครูวิชาน้ีทุกคนก็คงจะดี เพราะคุณครูสามารถสอนได้ทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการเรียนหรือเร่ืองการใช้ชีวิตประจาวัน คุณครูเป็นกันเองกับนกั ศึกษา นักศึกษาสามารถปรึกษาปัญหาได้ทุกเรื่อง คณุ ครูรู้จักนาเทคโนโลยีมาใช้ประกอบการสอนได้ดีมาก ทาใหน้ กั ศึกษามีความสนใจในการเรียนมากยิง่ ขึน้ 2) คณุ ครมู คี วามเขา้ ใจในความจาเป็นของนักศึกษาและโอกาสนักศึกษาแตล่ ะคนเปน็ อย่างดี 1) คุณครเู ป็นครูทีด่ ีมาก สอนเก่ง มีคุณภาพ ไม่เคยดุด่านกั ศึกษา สอนให้ขอ้ คิด 2) คณุ ครนู ่ารกั มาก สอนเกง่ ใจดี 3) คุณครูเปน็ คนที่นา่ รกั ท่ีสุด 4) นกั ศึกษาชอบเรยี นวชิ านี้

บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลักการจัดการ (3200-1002) วทิ ยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2560ผวู้ ิจัยขอสรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ดังนี้วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลักการจดั การ (3200-1002) วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 2. เพ่ือนาข้อมลู ทไี่ ดไ้ ปพฒั นาคุณภาพการสอนของครูผูส้ อนในภาคเรียนถัดไปประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งน้ี คือ นักศึกษาที่กาลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยอาชวี ศึกษานครศรธี รรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2560 กลมุ่ ตัวอยา่ ง กลุ่มตวั อยา่ งท่ีใชใ้ นการวิจัยในคร้ังนี้ คือ นักศึกษาท่ีกาลังศึกษาอยู่ในระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2560 ที่เรียนวิชาหลักการจัดการ ของ นางสาวกัณฐิกา แสงสุวรรณ จานวน 81 คน จาแนกได้ดังนี้ ระดับ ปวส.1การบัญชี กลุ่ม 1 จานวน 41 คน , ระดับ ปวส.1 การจัดการโลจิสติกส์ จานวน 21 คน และระดบั ปวส.1 การเลขานุการ กลมุ่ 1 จานวน 19 คนสรปุ ผลการวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามการศึกษาการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลักการจัดการ (3200-1002) วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2560 เป็นนักศึกษาระดับ ปวส.1 โดยครูผู้สอนคอื คุณครูกัณฐิกา แสงสุวรรณ สังกัดแผนกวิชาการบัญชี กลุ่ม 1 มากท่ีสุด ร้อยละ 50.6 สาขาวิชาการจัดการโลจสิ ติกส์ รอ้ ยละ 25.9 และสาขาวชิ าการเลขานุการ กล่มุ 1 รอ้ ยละ 23.5

- 29 - การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลกั การจัดการ (3200-1002) วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษานครศรีธรรมราช ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2560โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย ( X ) = 4.14 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.18 โดยมีความพึงพอใจต่อ ด้านความสามารถในการจัดการเรียนการสอน รายการผู้สอนใช้ส่ือการสอนได้อย่างน่าสนใจ สูงที่สุด อยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย ( X ) = 4.77 ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.46ส่วนรายการท่ีมีความพึงพอใจต่าที่สุดคือ ด้านความสามารถในการจัดการเรียนการสอน รายการผู้สอนเข้าสอนและเลิกสอนตรงตามเวลา อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย ( X ) = 4.49 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D)= 0.56 และด้านการวัดและประเมินผล รายการผู้สอนมีวิธีการวัดผลหลายวิธี อยู่ในระดับมากคา่ เฉลยี่ ( X ) = 4.49 คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) = 0.58อภปิ รายผล จากการศึกษาวิจัยเร่ืองความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของวิชาหลักการจัดการ (3200-1002) วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560 ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความสามารถในการจัดการเรียนการสอน ด้านความรู้ความสามารถในวิชาที่สอน และด้านการวัดและประเมินผล พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจในภาพรวมระดับมากท่ีสุดทกุ ดา้ น แสดงให้เห็นวา่ ครูผู้สอนวิชาการจัดการทั่วไป รหัสวิชา 3200-1002วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช โดยครูกัณฐิกา แสงสุวรรณ เปน็ บคุ คลทีม่ ีความรบั ผิดชอบต่อหน้าที่ในการสอน มีการพัฒนาทักษะในสาขาวิชาท่ีสอน ก่อนสอนครูได้มีการศึกษาหลักสูตรและมีการจัดการเรียนรู้ โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างผู้เรียน ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น จัดกิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน มีการวัดผล-ประเมินผลตามสภาพจริง ตลอดจนมีการนาสอ่ื เทคโนโลยีและวิทยากรใหม่ ๆ มาใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ ครูมีการใช้แหลง่ การเรียนรู้ท่หี ลากหลายมกี ารสง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รยี นไดเ้ ข้าถึงแหลง่ การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ อยา่ งเปน็ ระบบขอ้ เสนอแนะ ควรมีการจัดทาวิจัยความพึงพอใจของนักศึกษา ท่ีมีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนทุกแผนกวิชา เพ่ือพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครู วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรธี รรมราช อันกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สดุ แก่นกั เรยี น/นักศึกษา ต่อไป

บรรณานุกรมกันยารตั น์ เศวตนนั ทิกุล. (2552)ความพงึ พอใจและแนวโน้มพฤติกรรมการใช้บรกิ ารที่ศนู ยบ์ รกิ าร จดุ เดียวเบ็ดเสร็จของสานกั งานเขตพญาไท. สารนพิ นธ์ บธ.ม. (การตลาด). กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ.กดิ านนั ท์ มลิทอง. เทคโนโลยแี ละการสื่อสารเพ่ือการศึกษา. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์อรณุ การพมิ พ,์ 2548.ดาริ มศุ รพี นั ธ.์ ความพึงพอใจและความต้องการดา้ นการจัดการศึกษาสายอาชพี ของศนู ยบ์ รกิ าร การศกึ ษานอกโรงเรียน อาเภอเมอื ง จังหวดั หนองบัวลาภู. รายงานการคน้ ควา้ อิสระ การศึกษามหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม, 2545.บญุ ชม ศรสี ะอาด. การพฒั นาการสอน. กรุงเทพมหานคร : ชมรมเดก็ , 2545.ราชบณั ฑติ ยสถาน. พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถานพ.ศ.2542. กรงุ เทพมหานคร : นานมีบ๊คุ ส์ พับลิเคชั่นส,์ 2546.ล้วน สายยศ และ องั คณา สายยศ. หลักการวิจัยทางการศึกษา. กรงุ เทพมหานคร : ศึกษาพร, 2549.วฒั นาพร ระงบั ทุกข์. แผนการสอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นศนู ย์กลาง. กรุงเทพฯ : ภาพพมิ พ์, 2542.ศิรวิ รรณ เสรีรัตน์ และคณะ. การบริหารการตลาดยคุ ใหม่. กรงุ เทพมหานคร : บริษัทธรรมสาร,2546.สุพนิ บญุ ชวู งศ์. หลกั การสอน.กรุงเทพฯ : คณะครศุ าสตร์ สถาบนั ราชภฏั สวนดสุ ิต, 2544.อุทยั พรรณ สดุ ใจ. ความพึงพอใจของผู้ใชบ้ ริการท่ีมตี ่อการให้บริการขององค์การโทรศัพทแ์ หง่ ประเทศไทย จังหวดั ชลบรุ ี.กรุงเทพมหานคร : มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, 2544.Shelly.; et al. Paper from a Conference on Research in Organization.New York: Wiley,1964.Wolman, BB.Dictionary of Behavior Science.New York: Van Norstand Reinhold,1973.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook