๑ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๙ เรอื่ งเลา่ จากพทั ลุง กล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทยรายวชิ า ภาษาไทยรหัสวชิ า ท ๑๔๑๐๑ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ นางอรวรรณ ปานจำรญู ครผู ูส้ อน โรงเรียนวัดพชื นิมติ (คำสวัสดร์ิ าษฎรบ์ ำรุง) ตำบลคลองหนึง่ อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทมุ ธานี สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต ๑
๒ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๙ เร่ือง เร่ืองเลา่ จากพัทลงุ กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รายวิชา ภาษาไทย รหสั ท ๑๔๑๐๑ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๔ เวลา 8 ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวัด สาระที่๑ การอา่ น มาตรฐานการเรียนรู้ ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคดิ เพ่อื นำไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ญั หาใน การดำเนนิ ชีวิตและมีนสิ ยั รกั การอา่ น ตวั ชว้ี ดั ท ๑.๑ ป. ๔/๑ อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองไดถ้ กู ตอ้ ง ท ๑.๑ ป. ๔/๓อ่านเรอ่ื งส้ันๆ ตามเวลาท่ีกำหนดและตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน ท ๑.๑ ป. ๔/๔แยกขอ้ เท็จจริงและขอ้ คดิ เห็นจากเรื่องทอ่ี ่าน ท ๑.๑ ป. ๔/๖ สรุปความรคู้ วามคดิ จากเรอ่ื งที่อา่ นเพือ่ นำไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน ท ๑.๑ ป. ๔/๗อา่ นหนงั สือที่มคี ุณค่าตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกบั เรอื่ งทอ่ี า่ น ท ๑.๑ ป. ๔/๘มมี ารยาทในการอา่ น สาระท่ี๒ การเขยี น มาตรฐานการเรยี นรู้ ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขยี นสอ่ื สาร เขียนเรยี งความ ย่อความและเขียนเรือ่ งราวใน รูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ ตวั ช้วี ดั ท ๒.๑ ป. ๔/๒ คดั ลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และคร่ึงบรรทดั ท ๒.๑ ป. ๔/๔เขยี นยอ่ ความจากเร่ืองสน้ั ๆ ท ๒.๑ ป. ๔/๕เขียนจดหมายถงึ เพอ่ื นและบิดามารดา ท ๒.๑ ป. ๔/๘มีมารยาทในการเขียน สาระท๓่ี การฟงั การดู และการพูด มาตรฐานการเรยี นรู้ ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงั และดูอยา่ งมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สกึ ในโอกาสตา่ งๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ ตวั ชีว้ ดั ท ๓.๑ ป. ๔/๒ พดู สรปุ ความจากการฟงั และดู ท ๓.๑ ป. ๔/๔ตง้ั คำถามและตอบคำถามเชงิ เหตุผลจากเรอ่ื งทฟี่ ังและดู ท ๒.๑ ป. ๔/๖ มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพูด สาระที่๔หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐานการเรียนรู้ ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษา และ พลงั ของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติ ตัวช้วี ัด ท ๔.๑ ป. ๔/๖บอกความหมายของสำนวน ท ๔.๑ ป. ๔/๗เปรยี บเทียบภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถ่นิ
๓ สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐานการเรยี นรู้ ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คณุ ค่า และนำมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ ตวั ชวี้ ัด ท ๕.๑ ป. ๔/๓รอ้ งเพลงพนื้ บา้ น ๒. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด การอ่านเนื้อหาจะต้องฝึกจับใจความสำคญั ของเรื่องท่ีอ่าน การอ่านออกเสียงได้ถูกต้องตามอักขรวิธี และฉันทลักษณ์อย่างคล่องแคล่ว สามารถถ่ายทอดอารมณ์ตามเรื่องที่อ่านเป็นการสื่อความหมายไปสู่ผู้ฟังได้ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การศกึ ษาคำศัพท์ สำนวนและความหมายของคำ ทำให้เราเกิดความเข้าใจได้ถูกต้องและ ชัดเจนนำไปใช้ได้ถูกต้องเหมาะสมกับบรบิ ทของคำศพั ท์ ข้อความ การใช้สำนวนไทย ทำให้เข้าใจความหมาย การอ่านบทความคืองานเขียนที่มุ่งถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดและความรู้ของผู้เขียนไปสู่ผู้อ่านบนพื้นฐานของ ข้อเท็จจริงจากแหล่งต่าง ๆ การศึกษาเรื่องภาษาถิ่น จะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษา และแยกแยะ ความแตกต่างของภาษาถิ่นกับภาษาไทยมาตรฐาน เพลงพื้นบ้านจะใช้คำภาษาถิ่นเป็นเนื้อเรื่องซึ่งเป็น เอกลกั ษณป์ ระจำถ่ินและการมีมารยาทในการฟัง การดู การพูดจะทำใหไ้ ด้รับความรู้ท่ีมปี ระโยชน์ และนำไปใช้ ในชวี ิตประจำวนั ได้ ๓. สาระการเรียนรู้ ความรู้ ๑. การอา่ นคำและความหมายของคำ ๒. การอ่านจบั ใจความสำคญั ๓. แผนภาพโครงเรอื่ ง ๔. การอา่ นออกเสียง ๕. สำนวนไทย ๖.เร่อื งนา่ รู้จากบทความ ๗. ภาษาไทยมาตรฐาน ๘. มารยาทในการฟังดพู ดู ๙. เพลงพนื้ บ้าน ทักษะ/กระบวนการ ๑. อา่ นคำและความหมายของคำ ๒. อ่านจบั ใจความสำคญั ๓. เขยี นแผนภาพโครงเรอ่ื ง ๔. อา่ นออกเสียง ๕. สำนวนไทย ๖. ถา่ ยทอดความรสู้ ึกนกึ คิดเรอ่ื งน่ารู้จากบทความ ๗. แยกแยะความแตกต่างของภาษาถิ่นกับภาษาไทยมาตรฐาน ๘. ร้องเพลงพื้นบา้ น
๔ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๑. มีมารยาทในการฟัง ดู พดู ๔. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน ๑. ความสามารถในการส่ือสาร ๒. ความสามารถในการคดิ - ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ ๓. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ - กระบวนการทำงานกลมุ่ - กระบวนการปฏิบัติ ๕. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ๑. มีวินัย - ใฝเ่ รยี นรู้ - ม่งุ มั่นการทำงาน ๖.ชิ้นงาน/ภาระงาน ๑. ทำแผนภาพโครงเรอ่ื ง ๒. ทำสมดุ เล่มเล็กสำนวนไทย ๗. การวัดและประเมนิ ผล วธิ กี าร เครือ่ งมือ เกณฑก์ ารผา่ น ๑. ประเมนิ การเขียนแผนภาพ ๑. แบบประเมินการเขยี น ๑. เกณฑก์ ารเขยี นแผนภาพโครงเรอื่ ง ๑๔ - ๑๘ คะแนน ระดบั ดี โครงเรอ่ื ง แผนภาพโครงเรือ่ ง ๘ – ๑๒ คะแนน ระดบั พอใช้ ต่ำกว่า ๘ คะแนน ระดบั ปรับปรุง ๒. ประเมนิ การทำสมุดเลม่ เล็ก ๒. แบบประเมินการทำสมดุ ๒. เกณฑก์ ารทำสมุดเลม่ เล็ก ๙ - ๑๒ คะแนน ระดบั ดี เลม่ เล็ก ๕ – ๘ คะแนน ระดบั พอใช้ ต่ำกวา่ ๕ คะแนน ระดบั ปรับปรุง
๕ ๘. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ชว่ั โมงที่ ๑ การศึกษาคำศพั ท์ จุดประสงค์การเรียนรู้ อ่านและเขียนคำศัพท์ไดถ้ ูกต้อง กจิ กรรมการเรยี นรู้ ครใู ห้นกั เรยี นทำขอ้ สอบก่อนเรยี น หนว่ ยการเรยี นรู้เรอ่ื งท่ี ๙ เร่ืองเลา่ จากพทั ลงุ ข้ันนำ ๑. ครูยกบัตรคำศัพทใ์ หน้ กั เรียนดู แล้วให้นกั เรียนอ่านออกเสยี งดงั ๆ พรอ้ มกนั เชน่ กระมล อ่านวา่ กระ -มน เกษมศานต์ อา่ นว่า กะ - เสม - สาน กลุ ียุค อา่ นว่า กุ – ลี -ยุก ฯลฯ ๒. ครูแจ้งจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรใู้ ห้นักเรยี นทราบเรือ่ งการอา่ นออกเสยี งและเขยี นคำศัพทจ์ ากเรอื่ ง เร่ืองเล่าจากพทั ลุง ขั้นสอน ๓. นักเรียนอ่านคำศัพทจ์ ากแผนภมู คิ ำศพั ท์ พรอ้ มกนั ทัง้ ชนั้ เรียน ดังน้ี กระมล กรา กลใด กลอ้ ง กอ้ นดิน กะเจ๊ก กาเบอะ กายัง กลุ ยี คุ เก่งแก๋ เกษมศานต์ ไกพ็อก โกวัล ขนัด ขณั ฑ์ แขกไทร คนขยัน คนงั ครรไล คกุ พาทย์และกลม คูหา จอเฮ็ด ชฏั ชา้ ป่ี ชุด เชิด เชดิ ฉ่ิง ซ้องซ้อ เซ่นเหล้า เซเรยา แซ็ดแซด็ ดงดาน ดับสงั ขาร์ ดำขาว ดกิ๊ ดก๊ิ ดึงเถาวลั ย์พนั ผูก กล้องแทนคาน ตองตง ตอ้ งไฟ ตะพดมะพร้าว ตัวเตง็ ตากบ ตายก ตาเอ๊ช เตาโวะ๊ ไต่เหราะ ทะยาน นางควากบอเลา บาซงิ บาวดั ปั๋วปว๋ั ปีนตล่ิง เป่าปกั ษา เป่าฮุด ผงาด พนาวนั พนาวา มอเจน มุเตียว ไม้ไผ่ ยด ยวัง ระเห็จ รักสามเส้า ราคิน ร่าย ลมพัดชายเขา ลวาย ละหาน ลาเตา๊ ะ ลิงยด ลงิ โลด ลกู กกเกาะ เลเลเอเลลา เลาะเต๊ียะ วานร เวหา สกนธ์ สนาน สระบหุ ร่งนอก สังขาร์ เสมอ หมดั หลอดไม้ เหล็กไฟ เหนิ อเวย์ อา้ ยแค เองแอง๊ ฮอยะ ฮงั วิช ๔. เลอื กสุ่มนกั เรียนท่อี ่านออกเสียงชดั เจน อา่ นคลอ่ ง อ่านคำศพั ทใ์ ห้เพือ่ นฟงั และให้เพื่อนอ่านตาม เนน้ การอา่ นออกเสยี งถูกตอ้ งและชดั เจนจากน้นั ครอู ธบิ ายความหมายของคำศพั ทแ์ ตล่ ะคำให้นักเรียนเข้าใจ ๕. แบง่ นกั เรยี นเป็นกลมุ่ แต่ละกลุ่มฝึกอา่ นคำจากแผนภมู ิคำศพั ท์โดยกลุ่มท๑ี่ อา่ นคำศัพทจ์ ำนวน ๒๐ คำ ๒๐ คน ภายในกลุ่มช่วยกันดูแล การอ่านของเพื่อนในกลุ่ม กลุ่มใครอ่านไม่ได้หรือไม่คล่องให้เพื่อนชว่ ย จนสามารถอา่ นคล่อง ๖. แตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนออกมารับกระดาษแผ่นใหญจ่ ากครู แลว้ รว่ มกันค้นหาความหมายของคำศัพท์ที่ มีในบทเรียน (หน้า ๑๑๔ - ๑๒๐) หากคำศัพท์ใดไม่มีในหนังสือให้ค้นคว้าจากพจนานุกรมในชั้นเรียน เมื่อได้ คำศพั ท์ครบแลว้ ให้นำไปตดิ ไวบ้ นกระดาน ๗. นักเรียนทุกคนอา่ นออกเสียงคำศัพทพ์ รอ้ มกนั อกี ครัง้ ครูคอยสังเกตการอา่ นของเด็ก ๆ เพื่อนำไปเป็นขอ้ มลู ในการพฒั นาต่อไป ๘. นักเรียนทกุ คนบนั ทกึ คำศัพทแ์ ละความหมายลงสมุดบนั ทึกเป็นรายบคุ คล
๖ ขนั้ สรุป ๙. ครูอธิบายให้นักเรียนเกิดความเข้าใจว่า การนำพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์มาประสมรวมกันจะ ทำให้เกิดเป็นคำต่างๆ ซึ่งนักเรียนควรอ่าน และเขียนคำให้ถูกต้องและรู้ความหมาย เพื่อจะได้ใช้ภาษาไทยได้ ถูกต้องต่อไป ๑๐. ครูแนะนำสง่ เสรมิ ให้นกั เรียนอ่านหนังสือต่าง ๆ เพื่อสรา้ งนิสัยรกั การอา่ นให้ติดเปน็ นสิ ัย สื่อและแหลง่ เรยี นรู้ ๑. บตั รคำศพั ท/์ แผนภูมคิ ำศัพทจ์ ากบทเรยี น เร่อื งเล่าจากพทั ลงุ หนงั สือเรยี นภาษาไทย วรรณคดลี ำนำ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ ๒. พจนานกุ รม การวดั ผลประเมนิ ผล เคร่ืองมอื เกณฑ์ วธิ ีการ แบบประเมนิ การอา่ นออก เกณฑ์การอา่ นออกเสียงและเขยี นคำศพั ท์ ๑. ประเมินการอ่านออกเสยี ง เสยี งและเขียนคำศัพท์ ๙ – ๑๒ คะแนน ระดบั ดี ๕ – ๘ คะแนน ระดบั พอใช้ คำศพั ท์และเขียนคำศพั ท์ ต่ำกวา่ ๕ คะแนน ระดับ ปรบั ปรงุ
๗ แบบประเมนิ การอา่ นออกเสยี งและเขียนคำศัพท์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๔ โรงเรียน.................................... สำนักงานเขตการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน.............................. ................................ ภาคเรยี นท่ี.....................ปีการศึกษา ........................................... เรอ่ื ง....................................................... ประเมนิ ครั้งท่ี ............... วันท่ี ................... เดือน .............................................. พ.ศ...................... ___________________________________________________________ คำช้แี จง ครูประเมินพฤตกิ รรมของนกั เรียนในการอา่ นออกเสยี งและเขียนคำศพั ท์ ให้คะแนนลงในชอ่ งท่ีตรง กบั พฤตกิ รรมของนักเรียน ความ ูถกต้องในการอ่าน สรุปผล คุณลักษณะ รวม การประเมิน ( ีมความ ั่มนใจในการใช้ภาษา ) เลขที่ ชือ่ -สกุล การสะกดคำศัพ ์ท อธิบายความหมายของคำ ัศพ ์ท ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๒ ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ลงชื่อ............................................................ผปู้ ระเมิน (.....................................................)
๘ รายละเอยี ดเกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบประเมนิ การอ่านออกเสียงและเขียนคำศัพท์(rubrics) กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ โรงเรียน.......................................................................... ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ............ ประเดน็ การประเมิน ระดับคุณภาพ ๓ ๒๑ ๑. ความถูกต้องในการอา่ น สามารถอ่านได้ถูกต้อง สามารถอ่านได้เกือบ พยายามอ่านได้บ้าง ทัง้ หมด ถูกตอ้ งทั้งหมด ผิดไมเ่ กิน ผดิ มากกว่า 3 คำ 3 คำ ๒. คุณลักษณะ มีความมน่ั ใจในการอา่ น มีความมั่นใจในการอ่าน ขาดความมั่นใจใน (มีความมั่นใจในการอา่ น ) ดี มีการเตรยี มตวั มา พอใช้ เตรียมตัวมาอยา่ ง ตนเอง เตรียมตัวมา อยา่ งดี มัน่ ใจตนเอง ดี ยังประหม่า บ้างแตไ่ ม่มากนัก ๓. การสะกดคำศพั ท์ การสะกด การสะกด สะกดคำผดิ มาก คำศพั ท์ถูกต้อง คำศพั ทผ์ ดิ เลก็ นอ้ ย ๔.อธิบายความหมาย อธิบายความหมายได้ อธิบายความหมายได้ อธิบายความหมาย ของคำศพั ท์ ถกู ตอ้ งสมบูรณ์ เกอื บถกู ต้อง ไมไ่ ด้ เกณฑก์ ารประเมิน ๙ - ๑๒ ระดับคณุ ภาพ ดี ชว่ งคะแนน ๕-๘ ระดบั คณุ ภาพ พอใช้ ช่วงคะแนน ตำ่ กว่า ๕ ระดบั คณุ ภาพ ปรบั ปรุง ช่วงคะแนน
๙ ชัว่ โมงที่ ๒ การอ่านจับใจความ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑.อ่านเรอ่ื งสั้น ๆ ตามเวลาทกี่ ำหนด ตอบคำถามจากเร่ืองที่อา่ นได้ ๒. มมี ารยาทในการอา่ น กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำ ๑. ครูพูดคุยทักทายนักเรียน จากนั้นให้นักเรียนดูภาพจากหน้า ๙๒ – ๙๓ เรื่องเล่าจากพัทลุง ในหนังสือภาษาไทย วรรณคดลี ำนำ นักเรียนช่วยกนั ตอบวา่ ภาพที่เห็นเป็นภาพเกี่ยวกับอะไร เด็กที่อยู่ในภาพ เรียกวา่ อะไร นักเรยี นเคยเห็นภาพเดก็ รปู รา่ ง และการแต่งกายลกั ษณะเชน่ น้จี ากทใี่ ดบา้ ง ๒. ครูแจ้งประสงค์การเรียนให้นักเรียนทราบเรื่องการอ่านและ ตอบคำถาม สรุปความรู้และข้อคิด จากเรอ่ื งที่อ่าน ขั้นสอน ๓. นักเรียนอ่านออกเสียงบทเรียนเรื่อง เรื่องเล่าจากพัทลุง โดยผลัดกันอ่านคนละย่อหน้าจนครบ ครอู ธบิ ายใหน้ ักเรียนเกิดความเขา้ ใจวา่ หลักการอ่านจับใจความสำคัญนักเรยี นอา่ นแล้วต้องตั้งคำถามจากเรื่อง ใหไ้ ดว้ า่ ใคร ทำอะไร ทไ่ี หน อยา่ งไร เมอื่ ไร และตอบคำถามได้ตลอดถงึ การเรยี งลำดับเหตกุ ารณต์ ่าง ๆจะทำ ใหเ้ ขา้ ใจเรื่องราวต่าง ๆ ได้ดีและทบทวนชี้แจงหลักมารยาทการอ่าน ๔.นักเรียนอ่านออกเสียงพร้อมกันอีกครั้ง ครูสังเกตมารยาทการอ่านของนักเรียนและกล่าวตักเตือน หากนักเรยี นคนใดไมต่ ัง้ ใจอา่ น ๕. นักเรียนเล่าเรือ่ งตามลำดับเหตุการณ์ของเรื่องโดยจับประเด็นสำคัญหลกั โดยครูกล่าวนำคำถาม จากเรอ่ื งทอ่ี า่ น และใหน้ กั เรยี นออกมาเขยี นคำตอบบนกระดาน ดังเชน่ - เงาะป่าเปน็ บทพระราชนพิ นธข์ องบคุ คลใด - เรอ่ื งราวที่อ่านมใี คร ทำอะไร ทไี่ หน อย่างไร เม่ือไร ๖. นักเรียนช่วยกันสรุปเรื่องตามเหตุการณข์ องเรื่องที่เพื่อนเขียนบนกระดานและชว่ ยกันเสนอว่าอ่าน เร่อื งเล่าจากพทั ลงุ แล้วได้ข้อคดิ อยา่ งไรบ้าง นกั เรยี นเขียนขอ้ คิดบนกระดานดำ ข้นั สรุป ๗. ครูและนักเรียนช่วยกนั สรปุ หลักการจับใจความสำคัญของการอ่านในเรื่องต่างๆร่วมกันโดยการใช้ คำถามและตอบคำถาม ๘.ครูให้นักเรียนทำใบงาน การอ่านจับใจความ เรื่อง เล่าจากพัทลุง โดยเขียนเรื่องราวย่อ และ ขอ้ คิดของเร่ือง จาก เรือ่ งเลา่ จากพทั ลงุ ตามลำดบั เหตกุ ารณ์ท่ีเกิดขน้ึ ตามรปู แบบที่นักเรยี นถนัด ส่อื และแหลง่ เรยี นรู้ หนังสอื เรยี นภาษาไทย วรรณคดลี ำนำ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔
๑๐ การวดั ผลประเมินผล เคร่อื งมอื เกณฑ์ วธิ ีการ ๑. แบบประเมนิ การอ่าน จบั ใจความสำคญั ๑ .เกณฑ์การอา่ นจับใจความสำคญั ๑. ประเมนิ การอ่าน ๙ – ๑๒ คะแนน ระดับ ดี จบั ใจความสำคัญ ๒. ใบงานการอ่านจับใจความ ๕ – ๘ คะแนน ระดบั พอใช้ เรอื่ งเล่าจากพทั ลุง ตำ่ กวา่ ๕ คะแนน ระดบั ปรับปรุง ๒. ตรวจผลงานใบงาน การอา่ นจับใจความ ผา่ นเกณฑป์ ระเมินรอ้ ยละ ๗๐ เรือ่ งเลา่ จากพทั ลุง
๑๑ รายละเอียดเกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบประเมนิ ความสามารถในการอา่ นจับใจความ กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ โรงเรียน.......................................................................... ภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ............ ประเดน็ การประเมนิ เกณฑก์ ารให้คะแนน ๓ ๒๑ ๑.ตอบคำถามจากเรอื่ งทอ่ี า่ น ตอบคำถามถกู ตอ้ ง ตอบคำถามผิดไมเ่ กิน ตอบผิดมากกวา่ ทกุ ข้อ ๓ ข้อใน ๕ ข้อ ๓ ข้อ ใน ๕ ข้อ ๒.บอกความสำคญั ของเรื่อง บอกเน้อื หาสาระถกู ตอ้ ง บอกเนอ้ื หาสาระได้ บอกเนื้อหาสาระ ที่อ่าน ได้ใจความต่อเนอื่ ง ถกู ตอ้ ง แตว่ กวน ได้บ้าง ๓. บอกขอ้ คดิ จากเรื่องทอ่ี ่าน บอกข้อคิดได้ตรง บอกขอ้ คดิ ไดต้ รง บอกขอ้ คดิ ไดบ้ า้ ง ประเดน็ สมบรู ณ์ ประเดน็ แต่ไม่ตอ่ เนื่อง แต่วกวน เกณฑ์การประเมนิ ๘–๑๐ ระดับคุณภาพ ดี ช่วงคะแนน ๕ –๗ ระดับคณุ ภาพ พอใช้ ชว่ งคะแนน ตำ่ กว่า ๕ ระดับคณุ ภาพ ปรบั ปรุง ช่วงคะแนน
๑๒ แบบประเมินความสามารถในการอ่านจับใจความสำคญั กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียน.................................... สำนักงานเขตการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน.............................. ................................ ภาคเรียนที่.....................ปีการศกึ ษา ........................................... เร่ือง ....................................................... ประเมินคร้ังที่ ……. วนั ท่ี ................... เดือน .............................................. พ.ศ...................... ___________________________________________________________ คำช้ีแจง ครูประเมินพฤติกรรมของนักเรยี นในการอา่ นจบั ใจความสำคญั ให้คะแนนลงในชอ่ งทต่ี รงกับ พฤติกรรมของนักเรยี น ตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน สรปุ ผล บอกความสำคัญของเร่ือง ี่ท ่อาน รวม การประเมิน บอก ้ขอคิดจากเรื่อง ่ีทอ่าน เลขท่ี ชื่อ-สกลุ ๓๔ ๓ ๑๐ ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ลงช่ือ............................................................ผู้ประเมนิ (.....................................................)
๑๓ ช่วั โมงท่ี ๓ การเขียนแผนภาพโครงเรือ่ ง จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑. เขียนแผนภาพโครงเรอื่ งได้ ๒. สังเกตการทำงานกลมุ่ กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั นำ ๑. ทบทวนอา่ นคำศพั ท์จากแผนภมู ิคำศัพท์ ๑๐ คำ ดังนี้ กระมล กล้อง กอ้ นดนิ กาเบอะ กุลียคุ เกษมศานต์ ขนดั ขณั ฑ์ คนขยัน ครรไล ๒. ครูแจง้ จุดประสงค์การเรียนรู้ เรื่องการ เขยี นแผนภาพโครงเรอื่ ง และมารยาทในการเขยี น ขน้ั สอน ๓. นกั เรยี นช่วยกันทบทวน เรอ่ื งย่อ และข้อคิดจากเร่อื ง เรื่องเลา่ จากพทั ลุง ๔. นกั เรียนศกึ ษารปู แบบการเขียนการทำแผนภาพโครงเรอื่ งที่ครูเตรียมไวใ้ ห้ ๕. แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม ครูมอบหมายให้นักเรียนร่วมอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเขียน สรุปใจความสำคัญเรื่องเรื่องเล่าจากพัทลุงโดยเลือกประเด็นที่สำคัญ ๆ ที่เขียนไว้ในชั่วโมงที่ผ่านมา นำข้อมูล มาเขียนเป็นแผนภาพโครงเรื่องโดยใช้คำถาม ใคร(ตัวละครในเรื่องมีใครบ้าง) ทำอะไร (เหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ เกิดขึ้น) ที่ไหน( สถานที่ที่เกิดเหตุการณ์) เมื่อไร (เวลาหรือเหตุการณ์เกิดขึ้นเมื่อไร) อย่างไร(วิธีการหรือ บรรยากาศเป็นอยา่ งไร)และเขียนลงในใบบนั ทกึ งานกลุม่ ๖. ตวั แทนกลมุ่ ออกมาเลา่ เรอื่ งจากแผนภาพโครงเร่อื งโดยใชภ้ าษาท่เี ปน็ ของนักเรียนเอง ขัน้ สรปุ ๗.นกั เรยี นร่วมกนั สรุปเรอ่ื งมารยาทการเขยี นว่ามีความสำคัญต่อการนำไปใช้ในงานเขียน และเป็นการ บง่ บอกวา่ เราเป็นผู้มมี ารยาทในการเขียน จงึ ควรนำไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนท์ กุ คร้งั ส่อื และแหล่งเรียนรู้ หนงั สอื เรยี นภาษาไทย วรรณคดลี ำนำ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี แหล่งเรียนรู้ การวดั ผลประเมินผล วธิ กี าร เคร่อื งมือ เกณฑ์ ๑. สังเกตการทำงานกลมุ่ ๑. แบบสังเกต๑ก. ารทำงานกลมุ่ เกณฑก์ ารทำงานกล่มุ ๑๔ - ๑๘ คะแนน ระดบั ดี ๘ – ๑๒ คะแนน ระดับ พอใช้ ต่ำกว่า ๘ คะแนน ระดับ ปรบั ปรงุ ๒. ประเมินการเขียนแผนภาพ ๒. แบบประเมนิ การเขียน ๒. เกณฑก์ ารเขยี นแผนภาพโครงเร่อื ง โครงเรอ่ื ง แผนภาพโครงเรื่อง ๑๔ – ๑๘ คะแนน ดี ๘ – ๑๒ คะแนน พอใช้ ตำ่ กว่า ๘ คะแนน ปรบั ปรงุ
๑๔ แบบประเมนิ การทำงานกลมุ่ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ โรงเรยี น.................................... สำนกั งานเขตการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน.............................. ................................ ภาคเรียนท่ี.....................ปีการศกึ ษา ........................................... เรอ่ื ง ....................................................... ประเมนิ คร้ังท่ี ……. วนั ที่ ................... เดือน .............................................. พ.ศ...................... ___________________________________________________________ คำชแ้ี จง ครปู ระเมนิ พฤติกรรมของนักเรยี นในการทำงานกลมุ่ ให้คะแนนลงในชอ่ งท่ตี รงกับพฤตกิ รรมของ นักเรียน คณะทำงาน สรุปผล ความรับ ิผดชอบต่อหน้าท่ี รวม การประเมิน ขั้นตอนการทำงาน เลขท่ี ชื่อ-สกลุ ความร่วม ืมอในการทำงาน การร่วมงานก ่ลุมอ ่ยางมีความสุข เวลา ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๘ ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงชอ่ื ............................................................ผ้ปู ระเมนิ (.....................................................)
๑๕ รายละเอยี ดเกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบประเมนิ การทำงานกลมุ่ กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ โรงเรยี น.......................................................................... ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การใหค้ ะแนน ๓๒ ๑ ขาดองค์ประกอบ ๑.คณะทำงาน มีประธาน เลขานุการ ผู้นำ ขาดองคป์ ระกอบ ๒ อย่างข้นึ ไป มีผทู้ ี่มหี น้าทีแ่ ตไ่ ม่ เสนอ ผรู้ ่วมงาน ๑ อยา่ ง รับผิดชอบ ๒ คนขึน้ ไป ๒.ความรับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ี ทกุ คนทำหนา้ ที่ และมคี วาม มผี ู้มีหน้าที่ แต่ไม่ ขาดข้นั ตอน ๒ ขน้ั ตอน ขึ้นไปหรอื ไม่ชัดเจน รับผิดชอบตอ่ หน้าทข่ี อง รับผิดชอบ ๑ คน รอ้ ยละ ๖๐ ของกลมุ่ มี ตนเอง ส่วนร่วมและให้ความ รว่ มมือ ๓. ข้นั ตอนการทำงาน ๑. คดั เลอื กเรื่องตามความสนใจ ขาดขัน้ ตอน๑ ข้ันตอน รอ้ ยละ ๖๐ ของกล่มุ รว่ มกจิ กรรมกล่มุ อยา่ งมี ของกลุ่ม หรอื ไม่ชัดเจน ความสขุ เสร็จไม่ทันตามกำหนด ๒. มีการวางแผนงาน และงานไมม่ ีคุณภาพ ๓. เตรยี มวัสดอุ ุปกรณ์ ๔. ปฏบิ ตั ิตามแผนและพัฒนา งาน ๔.ความร่วมมือในการ ทุกคนมสี ่วนร่วมและใหค้ วาม ร้อยละ ๘๐ ของกลมุ่ มี ทำงาน รว่ มมืออยา่ งเตม็ ท่ี ส่วนร่วมและให้ความ ร่วมมือ ๕. การรว่ มงานกลุ่มอยา่ งมี ทุกคนร่วมกจิ กรรมกล่มุ อยา่ ง รอ้ ยละ ๘๐ ของกลุม่ ความสขุ มีความสขุ รว่ มกิจกรรมกลุม่ อย่างมี ความสุข ๖.เวลา เสร็จตามกำหนดและงานมี เสรจ็ ไมท่ นั ตามกำหนด คณุ ภาพ แต่งานมคี ุณภาพ เกณฑก์ ารประเมิน ๑๔- ๑๘ ระดบั คณุ ภาพ ดี ชว่ งคะแนน ๘–๑๒ ระดับคุณภาพ พอใช้ ชว่ งคะแนน ตำ่ กว่า ๘ ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง ช่วงคะแนน
๑๖ แบบประเมนิ การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ โรงเรียน.................................... สำนกั งานเขตการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน.............................. ................................ ภาคเรยี นท่ี.....................ปกี ารศึกษา ........................................... เร่อื ง ....................................................... ประเมนิ ครั้งที่ ……. วนั ที่ ................... เดอื น .............................................. พ.ศ...................... ___________________________________________________________ คำชแ้ี จง ครปู ระเมินพฤติกรรมของนักเรยี นในการเขยี นแผนภาพโครงเรอื่ ง ใหค้ ะแนนลงในช่องทตี่ รงกับ พฤติกรรมของนักเรียน การออกแบบแผนภาพโครงเรื่องไ ้ดดี สรุปผล ลำดับเรื่อง/เหตุการ ์ณได้ดี รวม การประเมนิ เ ีขยนได้ครบ ้ถวน/ครอบคลุม เลขท่ี ช่อื -สกุล ใช้ภาษาสื่อสารไ ้ด ีด นำเสนอผลงานได้ดี ทำงานได้ทันเวลา ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๘ ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงชอื่ ............................................................ผปู้ ระเมนิ (.....................................................)
๑๗ รายละเอียดเกณฑก์ ารให้คะแนนแบบประเมนิ การเขียนแผนภาพโครงเร่ือง กล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ โรงเรียน.......................................................................... ประเดน็ การประเมนิ ๓ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ๑ ๑.การออกแบบแผนภาพโครงเร่ือง ออกแบบแผนภาพโครง ๒ ออกแบบแผนภาพ ไดด้ ี เรื่องไดด้ แี ละสรา้ งสรรค์ โครงเรอื่ งได้ไมด่ ี ออกแบบแผนภาพโครง เรอื่ งไดด้ ี ๒. ลำดับเรื่อง/เหตกุ ารณไ์ ดด้ ี ลำดับเรอ่ื งเหตกุ ารณไ์ ด้ดี ลำดับเร่อื งเหตุการณ์ได้ดี ลำดับเรื่องไม่ดี สลับ ไมส่ ลับวกวนไปมา แต่มสี ลับที่บา้ ง วกวนไปมา ๓. เขยี นไดค้ รบถ้วน/ครอบคลุม เขียนไดค้ รบถวั นครอบ เขียนไดค้ รบถว้ นแตไ่ ม่ เขยี นไม่ครบถว้ นไม่ ๔.ใชภ้ าษาสื่อสารไดด้ ี ๕. นำเสนอผลงานไดด้ ี คลุมตอ่ เนอ่ื ง ตั้งแตต่ น้ ต่อเน่อื ง ตอ่ เน่อื ง ๖. ทำงานได้ทันเวลา จนจบ ใช้ภาษาสื่อสารในการ ใชภ้ าษาเขยี นสือ่ สารไดด้ ี ใชภ้ าษาสื่อสารไม่ เขียนได้ดี ทำใหเ้ ข้าใจสงิ่ แตม่ ขี อ้ บกพรอ่ งในบาง ชัดเจน ท่ีสือ่ สารอยา่ งชดั เจน ประเดน็ นำเสนอผลงานไดด้ มี าก นำเสนอผลงานไดด้ ี แต่ นำเสนอผลงานไมด่ ี มีความครบถว้ นทุก ไมค่ รบสมบรู ณ์ ประเด็น ครบสมบูรณ์ ตง้ั แตต่ น้ จนจบเรื่อง ทำงานไดท้ นั ตามเวลา ทำงานเกินเวลาเล็กน้อย ทำงานเกนิ เวลาไป กำหนด มาก เกณฑ์การประเมนิ ๑๔- ๑๘ ระดบั คณุ ภาพ ดี ช่วงคะแนน ๘–๑๒ ระดับคุณภาพ พอใช้ ช่วงคะแนน ตำ่ กวา่ ๘ ระดบั คุณภาพ ปรับปรุง ชว่ งคะแนน
๑๘ ช่ัวโมงที่ ๔ การอา่ นออกเสียง จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑. อา่ นออกเสยี งรอ้ ยแก้วรอ้ ยกรองได้ถกู ต้องชดั เจน ๒. มมี ารยาทการเขียน กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั นำ ๑. นักเรียนและครูช่วยกันทบทวนอ่านคำศัพท์จากแผนภูมิคำศัพท์ ให้นักเรียนอ่านออกเสียงดัง ๆ พร้อมกัน คุก พาทย์ และ กลม ชัฏ ช้าปี่ เชิดฉิ่ง เซ่นเหล้า ดงดาน ดับสังขาร์ ดึง เถาวัลย์ พันผกู กล้อง แทน คาน ตองตง ๒. ครูแจง้ จุดประสงค์การเรียนรู้ เรือ่ ง อา่ นออกเสยี งร้อยแก้วร้อยกรอง มารยาทการอ่าน ขน้ั สอน ๓. นกั เรยี นชว่ ยกันทบทวนเรอื่ งหลกั การอา่ นออกเสียง การเวน้ วรรคตอน ออกเสยี งควบกล้ำ การอา่ น คำใหถ้ ูกตอ้ ง ระดบั เสียงเหมาะสมฯลฯ ๔. ให้นกั เรยี นเปดิ หนังสือเรียนวรรณคดลี ำนำ เร่ืองเรอื่ งเลา่ จากพทั ลุงและครูอา่ นให้นกั เรยี นฟังเปน็ ตวั อยา่ ง ๒ - ๓ ประโยค ๕. นักเรียนเปิดหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานภาษาวรรณคดีลำนำ เรื่องเล่าจากพัทลุง แล้วอ่าน ออกเสียงบทเรียนคนละหนึ่งย่อหน้า ตามลำดับเลขที่จากหน้า ๙๒ ถึงหน้า ๑๐๗ ต่อกัน โดยอ่านเวียน จนครบทุกคน นักเรียนคนที่ไม่ได้อ่านออกเสียงให้อ่านในใจตามไปด้วยครูสังเกตพฤติกรรมการอ่านและ ความสนใจในการเรียนของนกั เรยี น ๖. ใหน้ กั เรยี นอ่านออกเสยี งพรอ้ ม ๆกนั ครูคอยสังเกตการอ่านของเด็ก ๆ เพอื่ นำไปเป็นขอ้ มูลในการ พฒั นาต่อไป ๗. ครูนัดหมายให้นักเรียนอ่านออกเสียงอ่านออกเสยี งให้ครูฟังเป็นรายบุคคลเพื่อประเมินการอา่ นออก เสยี งนอกเวลาเรียน ๘. นักเรียนช่วยกันสรปุ ถึงเรื่องราวทีอ่ ่านว่าเกี่ยวกับเรื่องอะไรและพูดคุยถึงรายละเอียดของเรื่องที่อ่าน พอเขา้ ใจ ขัน้ สรปุ ๙. ครแู ละนักเรียนช่วยกนั สรุปบทเรียนอกี ครง้ั ๑๐. ครูแนะนำว่าการอ่านออกเสียง เป็นการอ่านที่เป็นการพัฒนาความรู้ ความสามารถ และเห็น ข้อบกพร่องได้ง่าย เพราะอาศัยการฟังของครูและเพื่อน ๆ ช่วยแนะนำได้ หากพบว่านักเรียนมีปัญหาการอ่าน ต้องหมั่นฝึกฝนซ้ำบ่อย ๆ เพื่อให้เกิดความคล่องในการอ่าน หากมีเวลาครูให้มาฝึกอ่านกับครูตัวต่อตัวหรือให้ เพื่อนที่อ่านเกง่ ชว่ ยสอนนอกเวลา สอื่ และแหล่งเรียนรู้ ๑. แผนภูมิคำศพั ท์ ๒. บทเรยี นเรอ่ื ง เรอื่ งเล่าจากพัทลุง จากหนงั สอื เรียนภาษาไทย วรรณคดีลำนำ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔
การวดั ผลประเมินผล เครอ่ื งมือ ๑๙ วิธกี าร แบบประเมินการอา่ น เกณฑ์ ประเมนิ การอ่านออกเสยี ง ออกเสยี ง เกณฑ์การอา่ นออกเสียง ๑๔ - ๑๘ คะแนน ระดับ ดี ๘ – ๑๒ คะแนน ระดับ พอใช้ ต่ำกว่า ๘ คะแนน ระดับ ปรบั ปรุง
๒๐ แบบประเมินการอ่านออกเสยี ง กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ โรงเรียน.................................... สำนกั งานเขตการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน.............................. ................................ ภาคเรยี นท่ี.....................ปกี ารศกึ ษา ........................................... เร่อื ง ....................................................... ประเมินคร้งั ที่ ……. วนั ท่ี ................... เดือน .............................................. พ.ศ...................... ___________________________________________________________ คำช้ีแจง ครปู ระเมินพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในการอา่ นออกเสียงให้คะแนนลงในชอ่ งที่ตรงกบั พฤตกิ รรมของ นักเรียน การ ัจบหนัง ืสอ/พ ิลกห ันงสือ/ ่ทาทาง สรปุ ผล ในการอ่าน ่ที ูถกต้อง รวม การประเมิน ่อาน ูถกต้องตามอักขรวิธี เลขที่ ช่ือ-สกลุ การเว้นวรรคตอน ูถกต้อง ้นำเ ีสยงเหมาะสมกับเร่ืองที่อ่าน ไม่ ่อาน ้ขาม/เ ิตมคำ/ตู่คำ ่อานเสียง ัดงเหมาะสม ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๓ ๑๘ ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ลงช่ือ............................................................ผู้ประเมนิ (.....................................................)
๒๑ รายละเอยี ดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมินการอา่ นออกเสยี ง กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๔ โรงเรยี น.......................................................................... ประเดน็ การประเมนิ เกณฑก์ ารให้คะแนน ๓ ๒๑ ๑.การจับหนงั สอื /พลิกหนังสอื / ลกั ษณะท่าทาง การวาง ลักษณะทา่ ทาง การวาง ลกั ษณะท่าทาง การ ทา่ ทางในการอ่านท่ถี กู ตอ้ ง และการจับหนงั สือ และการจับหนงั สอื ไม่ วาง และการจับ ถูกต้อง ถกู ตอ้ ง ๑ อยา่ ง หนงั สือไมถ่ ูกต้อง ๒ อย่าง ขึน้ ไป ๒.อา่ นถูกตอ้ งตามอกั ขรวธิ ี อ่านถกู ตอ้ งตามอักขรวธิ ี อา่ นถูกตอ้ งตามอักขรวธิ ี อ่านไมถ่ ูกต้องตาม ออกเสียง ร และควบ ออกเสียง ร และควบ อักขรวิธีออกเสยี ง ร กล้ำ ร ล ว ชัดเจน กลำ้ ร ล ว ชดั บา้ งไมช่ ดั และควบกล้ำ ร ล ว บา้ ง ไมช่ ดั เจนเลย ๓. การเว้นวรรคตอนถูกตอ้ ง อา่ นและเวน้ วรรคตอนได้ อ่านเว้นวรรคตอนผิด อา่ นเว้นวรรคตอนผิด ถกู ตอ้ งตลอดทัง้ เร่อื ง บ้างเปน็ บางครงั้ ตลอดทง้ั เรื่องต้ังแต่ ต้ังแต่ตน้ จนจบ ต้นจนจบเร่อื ง ๔.น้ำเสียงเหมาะสมกับเรือ่ งทอ่ี า่ น อา่ นเสียงดังชัดเจน อา่ นเสยี งดังชดั เจน อา่ นเสียงไม่ชัดเจน น้ำเสยี งเหมาะสมกบั น้ำเสยี งเหมาะสมบ้าง นำ้ เสยี งไมเ่ หมาะสม เร่ืองทอ่ี ่าน เปน็ บางคร้ัง กับเร่ืองท่อี า่ นตลอด ทัง้ เรือ่ ง ๕. ไมอ่ ่านขา้ ม/เติมคำ/ตคู่ ำ อา่ นออกเสยี งไดถ้ กู ต้อง อ่านออกเสียงได้ถกู ต้อง อา่ นออกเสยี งไม่ ชดั เจนทกุ คำ ทุก ชัดเจนเป็นบางคำ มีอ่าน ถกู ตอ้ ง ไม่ชดั เจน ข้อความ ทกุ ประโยค ตู่คำ เพิ่มคำและตคู่ ำเปน็ อ่านขา้ มคำ อา่ นเพ่ิม บางครั้ง คำ และตู่คำมาก ๖.อา่ นเสยี งดังเหมาะสม อ่านเสียงดงั ชัดเจน ได้ อ่านเสยี งดังบา้ งเปน็ อา่ นเสยี งเบา ไดย้ ิน ยนิ ทั่วถงึ กบั ทง้ั หอ้ ง เสียง บางครั้ง เสียงไม่ ไม่ทั่วถึง ดัง สม่ำเสมอ สมำ่ เสมอ เกณฑก์ ารประเมนิ ช่วงคะแนน ๑๔- ๑๘ ระดบั คณุ ภาพ ดี ช่วงคะแนน ๘–๑๒ ระดับคุณภาพ พอใช้ ชว่ งคะแนน ต่ำกวา่ ๘ ระดบั คุณภาพ ปรบั ปรงุ
๒๒ แบบสงั เกตความสนใจและความต้งั ใจในการทำกจิ กรรมของนกั เรยี น ชอื่ นกั เรยี น....................................................................ชั้น..................... กิจกรรม......................................................................วนั ที่ ............................................... รายการ ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ตั ิ ๑. เรมิ่ ต้นงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายทันที ๒. ทำงานเสร็จเรียบร้อยตามเวลาท่ีกำหนด ๓. ขอคำแนะนำจากครูหรอื เพอื่ นเมื่อไม่เข้าใจ ๔. ทำกจิ กรรมด้วยความสนกุ สนานและเต็มใจ ๕. มีส่วนร่วมในการทำกจิ กรรมอย่างสมำ่ เสมอ ๖. ชว่ ยเหลือแนะนำเพอ่ื นในการทำกจิ กรรมตามสมควร ๗. สนใจศกึ ษาหาความรู้เพมิ่ เติมด้วยตนเอง รวมคะแนน หมายเหตุ ๑. ขอ้ ใดทนี่ กั เรยี นปฏบิ ตั ิ ไดค้ ะแนน ๑ คะแนน ไม่ปฏบิ ตั ิ ไดค้ ะแนน ๐ คะแนน ๒. เกณฑก์ ารประเมินจากแบบสงั เกตอาจกำหนด ดงั น้ี ๗ คะแนน ผลการประเมนิ ดีมาก ๕-๖ คะแนน ผลการประเมนิ ดี ๓-๔ คะแนน ผลการประเมนิ พอใช้ ๑-๒ คะแนน ผลการประเมนิ ควรปรบั ปรงุ
๒๓ ชว่ั โมงที่ ๕ สำนวนไทย จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑. นักเรียนบอกความหมายของสำนวนไทยได้ ๒. สงั เกตความสนใจและความตั้งใจในการทำกจิ กรรม กิจกรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นำ ๑. นกั เรียนดภู าพและสนทนาจากภาพ ว่าเป็นภาพอะไร มสี ำนวนไทยใดท่ตี รงกับภาพทีน่ ักเรียนดู ๒. ครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนใหน้ ักเรียนทราบ ข้นั สอน ๓. นักเรียนแบ่งกลุ่มศึกษาใบความรู้เรื่องสำนวนไทยจากที่ครูแจกให้ แต่ละกลุ่มเลือกสำนวนที่กลุ่ม ตนเองสนใจมาจัดทำหนังสือเล่มเล็ก เรื่องสำนวนและความหมายพร้อมวาดภาพประกอบและตกแต่ง ให้สวยงาม ๔. ครูและนกั เรียนชว่ ยกนั สรปุ เกยี่ วกบั สำนวนไทยและความหมายของสำนวน ๕. นำหนังสือเล่มเล็กเรื่องสำนวนไทยมาจัดวางไว้ที่มุมรักการอ่านในชั้นเรียนเพื่อให้นักเรียนได้ แลกเปลย่ี นเรียนรู้ ๖. นกั เรยี นและครูร่วมกันสรุปถึงความหมายและประโยชน์ของสำนวนไทยและการนำไปใช้ ๗. นกั เรียนทำแบบฝกึ เรือ่ งสำนวนไทยเปน็ การบา้ น ส่อื และแหล่งเรยี นรู้ ๑. หนังสอื เรยี นภาษาไทย วรรณคดีลำนำ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๔ ๒. ใบความร้สู ำนวนไทย ๓. แบบฝกึ เร่อื ง สำนวนไทย การวดั ผลประเมนิ ผล วิธกี าร เครอื่ งมอื เกณฑ์ การสังเกตความสนใจ แบบสังเกตพฤติกรรมค๑ว.าม เกณฑ์สังเกตพฤติกรรมความสนใจในการเรยี น ในการเรยี น สนใจในการเรยี น ๗ คะแนน ผลการประเมนิ ดีมาก ๕-๖ คะแนน ผลการประเมนิ ดี ๓-๔ คะแนน ผลการประเมนิ พอใช้ ๑-๒ คะแนน ผลการประเมิน ควรปรบั ปรงุ ตรวจผลงานหนังสอื เลม่ เลก็ แบบบนั ทกึ คะแนน ผ่านเกณฑป์ ระเมิน รอ้ ยละ ๗๐(รบู ิค) เรอ่ื งสำนวนไทย ตรวจแบบฝกึ เรือ่ งสำนวนไทย แบบฝกึ สำนวนไทย เกณฑ์การประเมนิ ช้นิ งาน /ภาระงาน แบบฝึกสำนวนไทย คะแนนเตม็ ๓๐ คะแนน ข้อละ ๑ คะแนน ผ่านเกณฑป์ ระเมนิ รอ้ ยละ ๗๐
๒๔ แบบสงั เกตความสนใจและความต้งั ใจในการทำกจิ กรรมของนกั เรยี น ชอื่ นกั เรยี น....................................................................ชั้น..................... กจิ กรรม......................................................................วนั ที่ ............................................... รายการ ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏบิ ตั ิ ๑. เรมิ่ ตน้ งานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายทันที ๒. ทำงานเสร็จเรียบร้อยตามเวลาท่ีกำหนด ๓. ขอคำแนะนำจากครูหรอื เพอื่ นเมื่อไม่เข้าใจ ๔. ทำกจิ กรรมด้วยความสนกุ สนานและเต็มใจ ๕. มีส่วนรว่ มในการทำกจิ กรรมอย่างสมำ่ เสมอ ๖. ชว่ ยเหลือแนะนำเพอ่ื นในการทำกจิ กรรมตามสมควร ๗. สนใจศึกษาหาความรู้เพมิ่ เติมด้วยตนเอง รวมคะแนน หมายเหตุ ๑. ขอ้ ใดทนี่ กั เรยี นปฏบิ ตั ิ ไดค้ ะแนน ๑ คะแนน ไม่ปฏบิ ตั ิ ไดค้ ะแนน ๐ คะแนน ๒. เกณฑก์ ารประเมินจากแบบสงั เกตอาจกำหนด ดงั น้ี ๗ คะแนน ผลการประเมนิ ดีมาก ๕-๖ คะแนน ผลการประเมนิ ดี ๓-๔ คะแนน ผลการประเมนิ พอใช้ ๑-๒ คะแนน ผลการประเมนิ ควรปรบั ปรงุ
๒๕ รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมนิ การทำสมดุ เลม่ เล็ก เร่ืองสำนวนไทย กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๔ โรงเรยี น.......................................................................... ประเดน็ การประเมนิ เกณฑ์การให้คะแนน ๑. รูปเลม่ ๔๓ ๒ ๒ .ความสมบูรณข์ องเนือ้ หา สวยงามแข็งแรง คงทน สวยงามแข็งแรง คงทน ไมส่ วยงามใหญเ่ ทอะทะ ๓. ภาพประกอบ ไม่เหมาะกับเร่อื งราว เหมาะกบั เรอ่ื งราวและ เหมาะกบั เรือ่ งราวและวยั และวัยของผอู้ ่าน วยั ของผูอ้ ่าน ของผอู้ ่านเปน็ สว่ นใหญ่ เน้อื หามากเกนิ ไป ไม่เหมาะสมกบั ภาพ เน้อื หาเหมาะสมกับภาพ เน้อื หาเหมาะสมกับภาพ มีเขยี นคำผิดเปน็ บาง แหง่ และการวางขอ้ ความ สมบูรณ์ ถกู ต้องทงั้ การ สมบูรณ์ ถูกต้องทั้งการ กับภาพไมเ่ หมาะสม เขียนคำและการวาง เขยี นคำและการวาง ภาพประกอบมนี ้อยและ ไมส่ อดคลอ้ งกบั เนื้อเรอื่ ง ขอ้ ความกบั ภาพ ข้อความกับภาพเปน็ ส่วน และไมร่ ะบายสี ใหญ่ ภาพประกอบสอดคลอ้ ง ภาพประกอบสอดคล้อง กบั เน้ือเรอื่ งและระบายสี กบั เนือ้ เรื่องเป็นส่วนใหญ่ ได้สวยงาม และมีการระบายสี เกณฑก์ ารประเมนิ ๙- ๑๒ ระดบั คุณภาพ ดี ชว่ งคะแนน ๕–๘ ระดับคุณภาพ พอใช้ ช่วงคะแนน ตำ่ กว่า ๕ ระดับคุณภาพ ปรบั ปรุง ช่วงคะแนน
๒๖ ชว่ั โมงท่ี ๖ เร่ืองน่ารจู้ ากบทความ จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑. อ่านบทความ ตอบคำถาม แยกขอ้ เทจ็ จริงและข้อคดิ เหน็ สรุปความร้คู วามคิดจากบทความที่อ่าน เพ่ือนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ ๒. สังเกตความสนใจในการเรียน กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั นำ ๑. นักเรียนดูภาพ และสนทนาจากภาพเพื่อเชื่อมโยงนำไปสู่การอ่านคิดวิเคราะห์จากบทความ ดว้ ยกิจกรรมคำถามนำ ดงั นี้ - เป็นภาพเก่ียวกบั อะไร - จากภาพใหค้ วามร้อู ะไรบ้าง ๒. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้เรื่องการอ่านบทความตามเวลาที่กำหนดและตอบคำถาม จากบทความเรื่องที่อ่านแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่านสรุปความรู้ความคิดจากบทความที่อ่าน เพือ่ นำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ ข้นั สอน ๓. ครูแจกตัวอย่างบทความ เป็นตัวอย่างให้นักเรียนอ่านพร้อมกันและช่วยกันวิเคราะห์ว่าเป็น บทความเกี่ยวกับอะไร ข้อเท็จจริงเป็นเรื่องอะไร และนักเรียนมีความคิดเห็นอย่างไรต่อบทความนั้น และ นกั เรียนได้รบั ขอ้ คดิ หรอื ความร้อู ะไรจากบทความนี้ ๔.แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม ให้หัวหน้ากลุ่มรับใบกิจกรรมการอ่านคิดวิเคราะห์จากใบกิจกรรมตัว อย่าง บทความ ๕. นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิด ตอบคำถามจากการใช้กระบวนการนำหมวกความคิด ๖ ใบ มาใช้แลว้ บนั ทึกลงในใบบันทกึ ๖. นักเรียนและครูร่วมสรุปผลการระดมความคิดจากกการใช้กระบวนการหมวกความคิด ๖ ใบ มาเพอื่ ชว่ ยให้นกั เรยี นได้รจู้ ักคิดอย่างเป็นระบบ ๗. ครูแนะนำเพ่ิมเติมในเร่ืองการอ่านคดิ วิเคราะห์จากบทความ ขน้ั สรุป เปน็ ๘.นักเรียนทำแบบฝึกท่ี ๑- ๖ จาก แบบฝกึ อา่ นคิดพนิ ิจบทความดว้ ยคำถามหมวก ๖ ใบ รายบุคคล ส่อื และแหลง่ เรยี นรู้ ๑. ภาพตวั อยา่ งการอา่ นคดิ วิเคราะห์ จากบทความ ๒. ตัวอย่างบทความ ๓. แบบฝกึ ท่ี ๑ - ๖ จากแบบฝกึ อา่ นคิดพนิ ิจบทความ ๔. หนังสือเรียนภาษาไทย ภาษาพาที ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๔
๒๗ การวดั ผลประเมนิ ผล เครอ่ื งมอื เกณฑ์ วิธกี าร ๑. เกณฑส์ ังเกตพฤตกิ รรมความสนใจในการเรียน แบบสงั เกตพฤติกรรมความ การสงั เกตความสนใจ สนใจในการเรียน ๗ คะแนน ผลการประเมนิ ดีมาก ในการเรยี น ๕-๖ คะแนน ผลการประเมิน ดี ๓-๔ คะแนน ผลการประเมนิ พอใช้ ๑-๒ คะแนน ผลการประเมิน ควรปรับปรุง วิธีการ เครอื่ งมอื เกณฑ์ ตรวจผลงานในแบบฝกึ อ่าน แบบบันทกึ คะแนน นักเรียนผา่ นเกณฑ์ร้อยละ ๗๐ ขน้ึ ไป คิดพนิ จิ บทความ เกณฑก์ ารประเมนิ ชนิ้ งาน /ภาระงาน คะแนนเต็ม ๓๖ คะแนน ข้อละ ๑ คะแนน ผ่านเกณฑ์ประเมิน รอ้ ยละ ๗๐
๒๘ แบบสงั เกตความสนใจและความต้งั ใจในการทำกจิ กรรมของนกั เรยี น ชอื่ นกั เรยี น....................................................................ชั้น..................... กิจกรรม......................................................................วนั ที่ ............................................... รายการ ปฏบิ ตั ิ ไม่ปฏบิ ตั ิ ๑. เรมิ่ ต้นงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายทันที ๒. ทำงานเสร็จเรียบร้อยตามเวลาท่ีกำหนด ๓. ขอคำแนะนำจากครูหรอื เพอื่ นเมื่อไม่เข้าใจ ๔. ทำกจิ กรรมด้วยความสนกุ สนานและเต็มใจ ๕. มีส่วนร่วมในการทำกจิ กรรมอย่างสมำ่ เสมอ ๖. ชว่ ยเหลือแนะนำเพอ่ื นในการทำกจิ กรรมตามสมควร ๗. สนใจศกึ ษาหาความรู้เพมิ่ เติมด้วยตนเอง รวมคะแนน หมายเหตุ ๑. ขอ้ ใดทนี่ กั เรยี นปฏบิ ตั ิ ไดค้ ะแนน ๑ คะแนน ไม่ปฏบิ ตั ิ ไดค้ ะแนน ๐ คะแนน ๒. เกณฑก์ ารประเมินจากแบบสงั เกตอาจกำหนด ดงั น้ี ๗ คะแนน ผลการประเมนิ ดีมาก ๕-๖ คะแนน ผลการประเมนิ ดี ๓-๔ คะแนน ผลการประเมนิ พอใช้ ๑-๒ คะแนน ผลการประเมนิ ควรปรบั ปรงุ
๒๙ ชั่วโมงท่ี ๗ ภาษาไทยมาตรฐาน จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. สามารถเปรยี บเทียบภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถ่ินได้ กจิ กรรมเรยี นรู้ ขน้ั นำ ๑. ครูสนทนากับนักเรียนว่าในชีวิตประจำวันของนักเรียนเวลาพูดสนทนากับบุคคลในครอบครัว ใช้ภาษาอะไรในการสนทนา โดยสุ่มคุยกับนักเรียนบางคนว่านอกจากใช้ภาษาไทยแล้วได้ใช้ภาษาอะไรในการ สนทนาอีกบ้าง ครูยกตัวอย่างคำภาษาถิ่น เช่น คำว่า เตี่ยว โส้ง กางเก๋ง ให้นักเรียนฟังและให้เดาว่า หมายถึงอะไรและเชอ่ื มโยงสกู่ ารเรียนรู้เร่ืองภาษาถนิ่ ๒. ครแู จ้งจดุ ประสงคก์ ารเรียนเรอื่ งเปรยี บเทียบภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาไทยได้ ขนั้ สอน ๓. ให้นักเรียนอ่านคำศัพท์และความหมายภาษาก็อย (ภาษาถิ่น)จากบัตรคำศัพท์พร้อมกันทั้งช้ัน ซง่ึ เปน็ ภาษาก็อยเป็นภาษาถิ่นของชนเผา่ “ซาไก” หรือ “เงาะ”จาก เรอ่ื ง เร่อื งเลา่ จากพทั ลุงดงั น้ี ภาษาถน่ิ ชนเผ่าซาไก ความหมาย (ภาษามาตรฐาน) ก็อย เงาะ กรา ลิง กะเจ๊ก มะมว่ งหิมพานต์ กาเบอะ ผลไม้ กายัง ต้นเตย ไกพ็อก ชายผ้าท่ีหอ้ ยขา้ งหนา้ ผ้านุ่งของผ้ชู ายชาวซาไก โกวลั นกยาง จอเฮด็ ตน้ ไทร เซเรยา ตน้ ไทร แซด็ แซด็ นกขนาดเลก็ ตองตง ละมุด ตากบ หวั มัน ตายก ลงิ เสน ตาเอช๊ นกขนาดใหญบ่ ินได้สงู เตาโวะ๊ ชะนี บอเลา กล้องหรือหลอดไม้ บาซิง คา่ งตวั เมยี บาวดั ลิงใหญ่ มอเจน ทุเรียน มเุ ตียว นกขนาดเล็กคล้ายนกกางเขน ยด ลิง ยวัง นกขนาดใหญ่ ลวาย ต้นเสม็ด ลาเตา๊ ะ นกขนาดเล็กตัวลาย ลงิ ยด นกขนาดเล็กอยใู่ นโพรงไม้ กนิ มด เลเลเอเลลา คำร้องของพวกกอ็ ยแสดงความรื่นเริ
๓๐ เลาะเตี๊ยะ ผ้าน่งุ สำหรบั ผู้ชาย อเวย์ ต้นหวาย เองแอ๊ง ทบั , กระทอ่ ม ฮงั วิช อรอ่ ย ๔. เขยี นคำศพั ทภ์ าษาถ่ินชนเผ่าซาไก ลงสมุด (ทำเป็นการบา้ น) ๕. ครูให้ความรเู้ พ่ิมเติมเรอ่ื งภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถน่ิ ตา่ งกันตรงที่ภาษาไทยกลางใช้เป็นภาษา ราชการสื่อสารกันทั่วประเทศ และใช้ในการเรียนการสอน ส่วนภาษาถิ่นเป็นภาษาพื้นเมืองหรือภาษาที่ใช้ ในท้องถิ่น ซึ่งเป็นภาษาดั้งเดิมของชาวบ้านที่ใช้สื่อสารกันในทอ้ งถิ่นของตน ซึ่งจะใช้คำที่มีความหมายต่างกัน ไปเฉพาะถน่ิ คำบางคำมคี วามหมายต่างกัน และยงั ใช้สำเนียงต่างกนั ๖. นักเรียนเปิดหนังสือหลักภาษาไทย อ่านคำภาษาไทยมาตรฐาน กับภาษาถิ่นเหนือ ถิ่นอิสาน ถิ่นใต้ พรอ้ ม ๆ กัน ๗. นกั เรียนทำแบบฝึกเรื่อง การเปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถิ่นเพื่อส่งครูตรวจ ขนั้ สรุป ๘. นกั เรยี นร่วมกนั สรุปเรอื่ งภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิน่ อีกครง้ั ส่ือและแหลง่ เรยี นรู้ ๑. บัตรคำศัพท์และความหมายภาษากอ็ ย ๒. แบบฝึก เรือ่ งการเปรยี บเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกบั ภาษาถิน่ การวดั ผลประเมินผล วธิ ีการ เครื่องมอื เกณฑ์ ๑. การสังเกตความสนใจ ๑. แบบสังเกตพฤติกรรม ๑. เกณฑ์สังเกตพฤติกรรมความสนใจในการเรียน ในการเรยี น ความสนใจในการเรยี น ๗ คะแนน ผลการประเมิน ดีมาก ๒.ตรวจผลงานในใบกจิ กรรม ๒. ใบกิจกรรม ๕-๖ คะแนน ผลการประเมิน ดี ๓-๔ คะแนน ผลการประเมนิ พอใช้ ๑-๒ คะแนน ผลการประเมนิ ควรปรบั ปรุง ๒. นักเรียนผ่านเกณฑร์ ้อยละ ๗๐ข้ึนไป เกณฑก์ ารประเมนิ ชน้ิ งาน /ภาระงาน คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ข้อละ ๑ คะแนน
๓๑ ชั่วโมงที่ ๘ มารยาทในการฟัง ดู พดู จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. นักเรียนมีมารยาทในการฟงั การดูและการพดู กิจกรรมเรยี นรู้ ขน้ั นำ ๑. ครูเปิดวิดิทัศน์นำเสนอเร่ืองสารคดชี ีวติ เงาะป่าทค่ี รูเตรยี มไว้ให้นกั เรียนดู ระหว่างนี้สังเกตพฤติกรรม การดูวดิ ทิ ศั นข์ องนักเรียน ๒. ครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นเรื่องการมมี ารยาทในการฟงั การดแู ละการพดู ข้ันสอน ๓. ครูกล่าวเกริ่นนำในเรื่อง การฟัง การดู และการพูด นักเรียนต้องมีมารยาทในการรับสาร ส่งสาร ดังนั้นให้นักเรียนยกตัวอย่างของการมีมารยาทการฟัง การดูและการพูดพอเข้าใจ จากนั้นนักเรียนแบ่งกลุ่ม ๓ กลุ่ม แตล่ ะกลุ่ม จับฉลากเลอื กหวั ข้อเพ่ือช่วยกนั ระดมความคดิ เขยี นมารยาทในการฟัง การดูและการพูด ตามลำดบั โดยชว่ ยกันระบดุ ังนี้ - การฟังทด่ี ตี ้องมมี ารยาท นักเรยี นคิดว่าเราควรมีมารยาทอยา่ งไรบ้าง - การดูท่ดี ีตอ้ งมมี ารยาท นกั เรียนคดิ วา่ เราควรมมี ารยาทอยา่ งไรบา้ ง - การพดู ที่ดีต้องมีมารยาท นกั เรียนคิดว่าเราควรมีมารยาทอยา่ งไรบา้ ง ตัวแทนกลุ่มนักเรียนออกมาเขียนบนกระดานดำ โดยแบ่งกระดานดำเป็น ๓ ชอ่ ง มารยาทการฟัง มารยาทการดู มารยาทการพดู เขยี นการตอบคำถามของนักเรยี น เขยี นการตอบคำถามของนกั เรียน เขยี นการตอบคำถามของนักเรียน ๔. รว่ มกันตรวจสอบความถกู ตอ้ งการเขียนมารยาทการฟัง การดูและการพูด ทีน่ กั เรียนเขยี น หากไม่ สมบรู ณค์ รเู พ่ิมเตมิ ให้สมบรู ณ์ ๕. นกั เรียนศึกษาใบความรเู้ ร่ืองมารยาทการฟัง การดูและการพูด ๖. นกั เรยี นทำแบบฝึก เรอื่ ง มารยาท การฟงั การดแู ละการพูดส่งครูตรวจ ขน้ั สรปุ ๗. นักเรียนอ่านสรุปความรู้ทเี่ ขียนบนตารางเร่ืองมารยาทการฟงั การดแู ละการพดู ครูสรุปประโยชน์ ของการมีมารยาทจะทำให้เป็นผทู้ ี่รกั ใครช่ อบพอของบคุ คลอื่นและยงั จะเกิดประโยชนต์ ่อการเรยี น และนำใช้ ในชวี ิตประจำวนั ไดท้ กุ สถานการณ์ สื่อและแหลง่ เรียนรู้ ๑. ใบความรู้ เร่อื ง มารยาท การฟงั การดแู ละการพดู ๒. แบบฝึก เร่อื งมารยาท การฟงั การดูและการพูด ๓. หนังสือเรียนภาษาไทย วรรณคดลี ำนำ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๔
๓๒ การวดั ผลประเมนิ ผล วธิ กี าร เครอ่ื งมือ เกณฑ์ ๑. สังเกตความสนใจ ๑.แบบสังเกตพฤติกรรมความ ๑. เกณฑ์สังเกตพฤติกรรมความสนใจในการเรียน ในการเรียน สนใจในการเรียน ๗ คะแนน ผลการประเมิน ดีมาก ๕-๖ คะแนน ผลการประเมิน ดี ๓-๔ คะแนน ผลการประเมนิ พอใช้ ๒. ตรวจแบบฝึกมารยาท ๒. แบบฝึกมารยาทการฟัง ๑-๒ คะแนน ผลการประเมนิ ควรปรบั ปรงุ การฟงั การดูและการพูด การดแู ละการพูด ๒. นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์ร้อยละ ๗๐ข้ึนไป เกณฑ์การประเมนิ ชิ้นงาน /ภาระงาน คะแนนเต็ม ๕ คะแนน ข้อละ ๑ คะแนน
๓๓ ชั่วโมงที่ ๙ เพลงพน้ื บา้ น จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑. นกั เรยี นรอ้ งเพลงพ้ืนบ้านได้ กิจกรรมเรียนรู้ ขนั้ นำ ๑. นักเรียนฟังเพลงพื้นบ้านที่ครูเปิดให้ฟังและสนทนาซักถามว่านักเรียนเคยได้ยินเพลงเหล่านี้หรือไม่ ใครเคยร้องเพลงแบบนี้บ้าง หากใครเคยร้อง รู้สึกอย่างไรที่ได้ร้องเพลงพื้นบ้าน และให้นักเรียนที่สามารถร้อง เพลงพ้นื บา้ นของตนไดอ้ อกมาร้องเพลงหน้าชนั้ เรยี น หรือรอ้ งพร้อมกนั ท้งั ช้ัน ๒. ครแู จง้ จุดประสงคก์ ารเรยี นนักเรยี นร้องเพลงพ้นื บ้านได้ ขั้นสอน ๓. ครูเปดิ เพลงพ้ืนเมอื งของแต่ละภาคให้นกั เรียนฟงั เพลงพนื้ เมืองทัง้ ๔ ภาคโดยใหน้ กั เรยี นบอกวา่ เปน็ เพลงพ้นื บา้ นของภาคใด โดยใช้ดวิ ิทัศน์ ๔. นักเรียนฝึกร้องเพลงพื้นบ้านในท้องถิ่นของตนตามครูหรือแถบบันทึกเสียงหรือจากดิวิทัศน์ ๒– ๓ เท่ยี ว ๕. แบ่งกลุ่มนักเรียนฝึกร้องเพลพื้นบ้านที่กลุ่มของตนถนัดหรือตามความสนใจให้จนคล่องและพร้อม เพรยี งกันจากนนั้ แต่ละกลุ่มมาร้องเพลงพื้นบ้านทกี่ ลมุ่ ตนฝกึ ให้ครูฟัง ขน้ั สรุป ๖. นักเรียนสรุปประโยชนของการร้องเพลงพื้นเมืองว่าเป็นการอนุรักษ์ภาษาอีกทางหนึ่ง และเป็นการ ผ่อนคลาย ซง่ึ ทกุ คนสามารถร้องได้ ๗. นักเรียนรวบรวมเพลงพื้นบ้านจากภูมิปัญญาท้องถิ่นแต่ละภาคมารวบรวมเป็นหนังสือเล่มเล็ก จดั แสดงผลงานเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นไดแ้ ลกเปล่ียนเรียนรู้ สือ่ และแหลง่ เรียนรู้ ๑. เพลงพ้นื บา้ น ๒.ใบความรูเ้ รอ่ื ง เพลงพนื้ บา้ น ๓. วดิ ิทศั น์ การวดั ผลประเมินผล วธิ ีการ เครอ่ื งมอื เกณฑ์ ๑.การสงั เกตความสนใจใน ๑แบบสังเกตพฤตกิ รรมความ๑. เกณฑส์ ังเกตพฤติกรรมความสนใจในการเรียน การเรียน สนใจในการเรยี น ๗ คะแนน ผลการประเมนิ ดมี าก ๕-๖ คะแนน ผลการประเมนิ ดี ๓-๔ คะแนน ผลการประเมนิ พอใช้ ๑-๒ คะแนน ผลการประเมิน ควรปรับปรุง ๒.ประเมนิ การรอ้ งเพลง ๒.ร้องเพลงพื้นบา้ น ๒. นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์ร้อยละ ๗๐ข้ึนไป พ้นื บา้ น
เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ๓๔ ๑ เกณฑก์ ารประเมนิ การรอ้ งเพลงพน้ื บ้าน ประเดน็ การ เกณฑ์การให้คะแนน ประเมิน ๔ ๓ ๒ เกณฑ์การประเมนิ ๑๓– ๑๖ คะแนน หมายถึงดี ๘– ๑๒ คะแนน หมายถึงพอใช้ ๑ – ๗ คะแนน หมายถงึ ปรบั ปรุง
๓๕ ภาคผนวก หนว่ ยท่ี ๙ เรือ่ งเล่าจากพทั ลุง แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยท่ี ๙ เร่อื งเลา่ จากพทั ลงุ คำชีแ้ จง เขยี นเครื่องหมาย × ทับอักษรหน้าคำตอบที่ถูกตอ้ งท่สี ดุ ..................................................................................................................... ๑. เงาะปา่ เปน็ บทพระราชนพิ นธข์ องใคร ก. พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ข. พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หวั ค. พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว ง. พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวภูมพิ ลอดุลยเดช ๒. พวกเงาะมีอีกช่อื เรยี กวา่ อยา่ งไร ก. คนัง ข. ฮเนา ค. ลำหับ ง. ซาไก ๓. พวกเงาะเปน็ ชาวปา่ ท่ีอาศัยอยใู่ นภาคใด ก. ภาคใต้ ข. ภาคกลาง ค. ภาคเหนอื ง. ภาคตะวนั ออก ๔.“นางบาซงิ เหน่ยี วกงิ่ มอเจนโหน พาลกู น้อยลอยโจนน่าใจหาย” คำท่ขี ดี เส้นใต้ หมายถงึ ก. นางอาย ข. ลงิ ตัวเมีย ค. นกตวั เมยี ง. ค่างตวั เมีย ๕. ขอ้ ใดคืออาวธุ ในการลา่ สัตวข์ องคนัง ก. มีด ข. ยิงดว้ ยธนู ค. ยิงดว้ ยลกู ดอก ง. เป่าดว้ ยหลอดไม้ ๖.“ตกน้ำไมไ่ หล ..........................................” เตมิ สำนวนใดใหส้ มบรู ณ์ ก. ตกไฟไม่ไหม้ ข. ตกนรกท้งั เปน็ ค. ตกถงั ขา้ วสาร ง. ตกกระไดพลอยโจน
๓๖ ๗. ข้อใดใชภ้ าษาเขียนไดถ้ ูกต้อง ก. เธอจะวา่ ยังไงก็แล้วแตเ่ ธอ ข. เคา้ อยากใหเ้ ธออยเู่ ปน็ เพ่ือน ค. แมต่ อ้ งการดูแลลูกอยา่ งใกล้ชิด ง. ลุงข้างบ้านใหม้ ะม่วงมาเยอะแยะ ๘. สำนวน หมายความวา่ อย่างไร ก. ถ้อยคำที่เปน็ มาตรฐาน ข. ถอ้ ยคำท่ีผรู้ ู้เปน็ ผู้แต่งข้ึน ค. ถ้อยคำท่มี คี ารมคมคายและมคี วามหมายลึกซึง้ ง. ถ้อยคำทเ่ี ป็นแบบอยา่ งของการกระทำท่ที รงคณุ คา่ ๙. ววั หายล้อมคอก หมายความวา่ อย่างไร ก. เกดิ ปัญหาแลว้ ไมย่ อมแกไ้ ข ข. ววั หายไปจากคอกท่ีเลย้ี งไว้ ค. เกดิ ปัญหาแลว้ คอ่ ยกลบั มาป้องกัน ง. ตอ้ งระดมชาวบ้านมาชว่ ยกนั ค้นหา ๑๐. อดอยาก.............................. ควรเติมคำในขอ้ ใด ก. ยากจน ข. แห้งแลง้ ค. ยากเขญ็ ง. ปากแห้ง ๑๑. สำนวนใด หมายถึง ชกั นำศตั รเู ข้าบ้าน ก. ชกั หน้าไมถ่ ึงหลงั ข. ชกั แมน่ ำ้ ทัง้ ห้า ค. ชักใบใหเ้ รือเสยี ง. ชักนำ้ เขา้ ลกึ ชกั ศกึ เข้าบา้ น ๑๒. ในขณะพูดหน้าห้อง นักเรียนไม่ควรทำสิ่งใด ก. พดู เสยี งดังฟังชดั ข. ยนื พักขา มอื ไพลห่ ลัง ค. กล่าวคำขอโทษเม่อื ไอหรอื จาม ง. เมื่อพูดเสรจ็ เปดิ โอกาสใหเ้ พื่อนๆได้ซกั ถาม ๑๓. พดู แบบใดถือวา่ มีมารยาท ก. พดู ชา้ ข. พูดข่มขู่ ค. พดู สุภาพ ง. พูดเสียงเบา
๓๗ ๑๔. เวลาท่เี พอ่ื นกำลังเลา่ เร่ืองอยู่หนา้ หอ้ ง นกั เรยี นควรทำอยา่ งไร ก. ฟังทเี่ พือ่ นเลา่ เงยี บๆ ข. ถามปญั หาท่สี งสัยทันที ค. ถกปญั หาต่างๆกับเพอื่ น ง. ฟงั และคอยเวลาถามปัญหาที่ตนสงสยั ได้ถูกตอ้ ง ๑๕. การทีจ่ ะฟงั คำพูดให้เข้าใจเราตอ้ งทำอยา่ งไร ก. ฟงั แล้วคดิ ตาม ข. ฟังแล้วซักถาม ค. ศกึ ษาหาความรู้มากๆ ง. เกบ็ ความสงสยั กลบั มาคดิ ๑๖. สำนวนในขอ้ ใดท่หี มายถงึ การพดู ทด่ี ี ก. พดู อย่างทำอยา่ ง ข. พดู ดเี ปน็ ศรีแกป่ าก ค. ปากปราศรยั นำ้ ใจเชอื ดคอ ง. พูดไปสองไพเบยี้ นง่ิ เสียตำลึงทอง ๑๗. ขอ้ ใดไมใ่ ชข่ ้อปฏิบัตเิ ก่ยี วกบั การฟงั และการดูทถี่ ูกตอ้ ง ก. จดบนั ทึกสาระสำคญั ไวใ้ ช้ประโยชน์ ข. พยายามหาขอ้ คดิ ท่จี ะนำไปใช้ในชีวติ ค. คิดพจิ ารณาเฉพาะเร่ืองราวท่ตี นสนใจ ง. เลอื กฟังและดตู ามจุดม่งุ หมายทตี่ อ้ งการ ๑๘. บคุ คลใดไมม่ ีมารยาทในการฟงั และดูในทีส่ าธารณะ ก. อมุ้ นัง่ หลับในขณะทีว่ ิทยากรพูดอยู่บนเวที ข. อม้ั ปรบมอื ใหน้ กั แสดงเมื่อการแสดงส้นิ สดุ ค. อ้อยทำความเคารพกอ่ นเดนิ ออกไปเข้าห้องน้ำ ง. ออ้ มเกดิ ความสงสยั จงึ ยกมอื ถามเม่ือวิทยากรบรรยายเสร็จแลว้ ๑๙. สำนวนทีว่ ่า “คดิ ถึงเพื่อนรกั จะขาดใจ” หมายถึงอะไร ก. คดิ ถึงมาก ข. คดิ ถงึ เสมอ ค. คดิ ถึงจะตาย ง. ขอ้ ก และข ถูก ๒๐. “อยู่ทบั แทบป่าพนาวนั คำวา่ “ทับ” หมายถงึ อะไร ก. กระท่อม ข. บงั กะโล ค. เรอื นไทย ง. หอ้ งแถว
๓๘ ใหน้ ักเรียนอ่านบทเพลงท่ีกำหนดให้แลว้ ตอบคำถาม ขอ้ ๒๑-๒๔ ต้นไม้ของพอ่ นานมาแล้ว พ่อไดป้ ลูกต้นไม้ไว้ใหเ้ รา เพ่ือวนั หนงึ่ จะบงั ลมหนาว และคอยเป็นรม่ เงา ปลูกไว้เพอื่ พวกเรา ทกุ ทกุ คน พอ่ ใชเ้ หงื่อแทนนำ้ รดลงไป เพ่อื ให้ผลดิ อกใบออกผล ใหเ้ ราทกุ ทกุ คนเตบิ ใหญอ่ ย่างร่มเย็นในบ้านเรา ผ่านมาแล้ว ห้าสิบใบ ตน้ ไมน้ ้นั สงู ใหญ่ ลมแรงเทา่ ไรก็บรรเทา ออกผลใหเ้ ก็บกินแตกใบ เพ่ือใหร้ ่มเงา คอยดูแลเรา ให้เรายังมวี นั ต่อไป จนวันน้ี ใต้รม่ เงาแหง่ ตน้ ไม้ต้นใหญ่ ลูกไดอ้ ยไู่ ดค้ อยอาศยั แผน่ ดนิ อยา่ งกวา้ งใหญ่ แต่เหมือนว่าหัวใจพ่อกวา้ งกว่า ลกู ทีเ่ กดิ ตรงนีน้ น้ั ยงั อยู่ จากวนั น้สี ักหม่นื ปตี น้ ไมท้ พ่ี อ่ ปลกู ต้องสวยต้องงดงามและยงิ่ ใหญส่ บื สานและติดตาม จากรอยท่ีพอ่ ตั้งใจ เหงอื่ เราจะเทไปให้ตน้ ไม้ของพอ่ ยงั งดงาม(ซ้ำ) ๒๑. จดุ มงุ่ หมายของการแต่งเพลงนคี้ อื อะไร ก. ต้องการแสดงความจงรกั ภักดี ข. ตอ้ งการให้คนไทยไมต่ ดั ไม้ทำลายปา่ ค. ตอ้ งการให้คนไทยสบื สานประเพณีไทย ง. ตอ้ งการให้คนไทยชว่ ยกนั ปลูกตน้ ไม้ใหม้ าก ๆ ๒๒. คำวา่ “พ่อ”ในบทเพลงหมายถงึ ใคร ก. ผู้ว่าราชการจงั หวดั ข. สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชมกฏุ ราชกมุ าร ค. พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวภมู พิ ลอดุลยเดช ง. รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ๒๓. จากบทเพลงน้ี นักเรยี นจะปฏบิ ัตติ นอยใู่ นสังคมอยา่ งไร ก.ปลกู ตน้ ไม้ให้มากๆจะได้มีร่มเงา ข. รกั สามคั คีและพอใจในท้องถนิ่ ของตน ค. ทกุ คนในครอบครวั ชว่ ยกนั ทำมาหากิน ง. ปลูกต้นไมใ้ นรว้ั บ้านทุกบ้านเพื่อใหร้ ่มเงา ๒๔. จากเพลงน้ีใหข้ อ้ คดิ อย่างไร ก. คนไทยทั้งประเทศควรมนี ้ำใจต่อกนั ข. แมฝ้ นตกฟ้าร้องตน้ ไมท้ ่ีปลกู ไวย้ ังคงอย่มู ไิ ดถ้ ูกทำลาย ค. ให้เราสานตอ่ งานที่พอ่ ทำไว้ ใหม้ คี วามกตญั ญูตอ่ ผมู้ พี ระคุณ ง. การปลกู ตน้ ไมเ้ ปน็ สิง่ ทดี่ ที ่ีทกุ คนตอ้ งรว่ มมือรว่ มใจชว่ ยกนั ปลกู ๒๕. ข้อใดเป็นแนวคดิ สำคัญของข้อความน้ี “เม่ือตน้ ไมถ้ กู หักกิง่ มนั ไมเ่ คยเสียเวลาใหเ้ กดิ ความเจ็บปวด ท้อแท้ หากแต่พยายามยืดกง่ิ แทงหนอ่ ขน้ึ มาใหม่ แล้วปล่อยกง่ิ แหง้ หกั น้ันใหต้ กลงดนิ กลายเป็นปุ๋ยอันโอชะใหแ้ ก่ราก เพอ่ื เปน็ อาหารหลอ่ เล้ยี งลำต้นตอ่ ไป ก. ควรใชว้ ิกฤตใิ หเ้ ปน็ โอกาส ข. อย่าสน้ิ หวงั กบั ความสญู เสยี ทเี่ กิดข้ึน ค. ควรนำข้อผิดพลาดในอดีตมาเป็นพลัง ง. อย่าปล่อยให้เวลาล่วงเลยไปโดยเปล่าประโยชน์
๓๙ ๒๖.ขอ้ ใดเปน็ ใจความสำคญั ท่ดี ที สี่ ุด “การเลือกหนังสอื ก็มคี วามสำคัญอยมู่ ิใชน่ ้อย เวลานี้หนังสือมอี ยมู่ ากมายก่ายกอง ไม่มี ผู้ใดจะสามารถ อ่านหนังสือได้ทกุ เล่ม ฉะน้ันเราตอ้ งฉลาดเลือกหนังสืออา่ น ให้พอเหมาะแกเ่ วลาท่ีเรามอี ยู่ หนังสอื อะไรเหมาะ แก่เรา เราคนเดยี วเท่านน้ั ทท่ี ราบดี จงพยายามเลือกหนงั สือที่ทรงคุณคา่ สาระ งดเวน้ หนงั สือท่ีไม่ทำให้เราดีข้นึ หรอื ฉลาดข้นึ เสีย ยิ่งเปน็ หนังสอื ประเภทตอ้ งห้ามด้วยแลว้ ควรหลีกเล่ยี งดกี วา่ ” ก. ปัจจุบันนี้หนังสอื มมี ากมายกา่ ยกอง ข. การเลือกอา่ นหนงั สือมีความสำคัญมาก ค. ไมม่ ีผูใ้ ดสามารถอา่ นหนังสอื ได้หมดทุกเรื่อง ง. ควรหลีกเล่ยี งการอา่ นหนงั สือประเภทต้องห้าม อ่านบทร้อยกรองแล้วตอบ คำถาม “เฝา้ ถนอมกลอ่ มเกลีย้ งไมเ่ ลยี่ งหลบ ขา้ วปลาครบจัดหามาทั้งส้นิ แม้นเหนื่อยยากลำบากเนือ้ หยาดเหงื่อรนิ ลูกมีกนิ สขุ กายสบายพอ” ๒๗. บทรอ้ ยกรองข้างตน้ กล่าวถงึ เร่ืองใด ก. ความรกั ของหนุ่มสาว ข. ความรกั ของแมท่ ่ีมตี อ่ ลูก ค. ความรักของลกู ท่มี ตี ่อแม่ ง. ความทุกข์ของแมท่ ่ตี ้องเล้ียงลกู “ จะมผี วั ผวั ก็พลดั กำจดั จาก จนแสนยากอยา่ งนี้แล้วมหิ นำ มามีลกู ลกู กจ็ ากวบิ ากกรรม สะอ้ืนรำ่ รนั ทดสลดใจ ” ๒๘. จากคำประพันธ์ดังกลา่ วตรงกับสำนวนไทยในข้อใด ก. พระอฐิ พระปูน ข. กงกรรมกงเกวยี น ค. พรากลกู นกฉกลูกกา ง. พระศกุ รเ์ ขา้ พระเสารแ์ ทรก ๒๙.“กาเหวา่ เอย ไข่ให้แมก่ าฟัก แมก่ ากห็ ลงรกั คดิ ว่าลกู ในอทุ ร” ข้อความนีเ้ ปน็ เนื้อเพลงประเภทใด ก. เพลงลอ้ เลยี น ข. เพลงกลอ่ มเดก็ ค. เพลงปลอบเดก็ ง. ประกอบการเลน่ ๓๐. สำนวนเปรียบเทยี บในข้อใดมคี วามหมายตรงกบั “ ต่างฝา่ ยตา่ งไมย่ อมเสยี เปรียบกนั ” ก. คมในฝกั ข. วดั รอยเทา้ ค. ขมนิ้ กบั ปูน ง. เกลอื จิม้ เกลอื
๔๐ เฉลย แบบทดสอบก่อนเรยี น – หลังเรยี นกล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๔ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๙ เรอ่ื งเล่าจากพัทลุง ๑. ค ๒. ง ๓. ก ๔. ง ๕. ง ๖. ก ๗. ค ๘. ค ๙. ค ๑๐.ง ๑๑.ข ๑๒.ข ๑๓.ค ๑๔.ค ๑๕.ก ๑๖.ข ๑๗.ง ๑๘.ก ๑๙.ก ๒๐.ก ๒๑.ค ๒๒.ค ๒๓.ข ๒๔.ค ๒๕.ข ๒๖.ข ๒๗.ข ๒๘.ง ๒๙.ข ๓๐.ง ๓๑.
41 ช่วั โมงที่ ๑ ตวั อยา่ ง บัตรคำศพั ท์ กระมล อา่ นว่า กระ -มน เกษมศานต์ อ่านวา่ กะ - เสม - สาน กลุ ยี ุค อ่านว่า กุ – ลี -ยกุ แผนภูมิคำศพั ท์ กระมล กรา กลใด กล้อง กอ้ นดนิ กะเจก๊ กาเบอะ กายงั กลุ ยี ุค เกง่ แก๋ เกษมศานต์ ไกพอ็ ก โกวลั ขนัด ขัณฑ์ แขกไทร คนขยัน คนัง ครรไล คกุ พาทยแ์ ละกลม คูหา จอเฮ็ด ชฏั ชา้ ปี่ ชดุ เชิด เชิดฉง่ิ ซ้องซอ้ เซน่ เหล้า เซเรยา แซด็ แซ็ด ดงดาน ดับสงั ขาร์ ดำขาว ดิก๊ ดก๊ิ ดงึ เถาวัลยพ์ นั ผูก กล้องแทนคานตองตง ต้องไฟ ตะพดมะพร้าว ตัวเต็ง ตากบ ตายก ตาเอ๊ช เตาโว๊ะ ไต่เหราะ ทะยาน นางควากบอเลา บาซิง บาวัด ปั๋วปั๋ว ปีนตลิ่ง เป่า ปักษา เป่าฮดุ ผงาด พนาวันพนาวา มอเจน มุเตียว ไมไ้ ผ่ ยด ยวงั ระเหจ็ รัก สามเสา้ ราคนิ รา่ ย ลมพัดชายเขา ลวาย ละหาน ลาเตา๊ ะ ลงิ ยด ลิงโลด ลกู กกเกาะ เลเลเอเลลา เลาะเตยี๊ ะวานร เวหา สกนธ์ สนาน สระบหุ รง่ นอก สงั ขาร์ เสมอ หมัด หลอดไม้ เหลก็ ไฟ เหนิ อเวย์ อ้ายแค เองแอ๊ง ฮอยะ ฮงั วชิ
42 ชว่ั โมงที่ ๒ ใบความรู้ การอา่ นจับใจความสำคัญ การอา่ นจบั ใจความสำคญั คือ การคน้ หาสาระสำคัญของเร่อื งหรือของหนังสอื ท่ีอา่ น ใจความสำคัญของเรอ่ื ง คอื ข้อความท่มี สี าระครอบคลมุ ขอ้ ความอ่นื ๆ ในย่อหนา้ นัน้ หรือเน้อื เรอ่ื ง ท้งั หมด ข้อความตอนห่งึ หรอื เร่ืองหน่งึ จะมีใจความสำคัญทีส่ ดุ เพยี งหนึ่งเดยี ว ซึง่ ใจความสำคญั ก็คอื ส่ิงท่ี เปน็ สาระสำคัญของเรอ่ื งนน้ั เอง ข้อควรปฏิบตั ใิ นการอา่ นจับใจความสำคัญ ๑. อา่ นผา่ น ๆ โดยตลอด เพอ่ื ให้รู้วา่ เร่อื งท่อี ่านเป็นเร่ืองเกี่ยวกับอะไร มใี คร ทำอะไร ทไ่ี หน อยา่ งไร เมื่อไร ๒. อ่านใหล้ ะเอยี ดอีกคร้ังหนงึ่ เพื่อทำความเข้าใจเรื่องที่อ่าน ๓. เขียนเรียบเรยี งใจความสำคญั ของเรอื่ งที่อ่านด้วยสำนวนภาษาของตนเอง ๔. อา่ นทบทวนเพื่อตรวจสอบความถูกตอ้ งอีกครัง้ หนง่ึ ใบงาน การอ่านจับใจความ เรื่องเลา่ จากพัทลงุ คำชีแ้ จง ตอนที่ ๑ นกั เรยี นตอบคำถามจากเรอ่ื ง เรื่องเลา่ จากพทั ลุง ตอ่ ไปน้ี ๑. พวกเงาะอยู่ทางภาคใดของประเทศไทย ๒. บุคคลใดไดพ้ ระราชนพิ นธเ์ ร่ือง เงาะป่า ๓. ชาวเงาะมชี ื่อเรยี กอกี อยา่ งหนึ่งว่าอยา่ งไร ๔. บุคคลใดแตง่ ต้ังชอื่ เงาะคนัง ๕. ภาษาของชาวเงาะเรยี กวา่ อะไร
43 ตอนท่ี ๒ ใหน้ ักเรียนเขียนสรปุ เรอ่ื งย่อและข้อคิดจาการอา่ นเรือ่ ง เร่ืองเลา่ จากพทั ลุง ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................
44 ชว่ั โมงที่ ๓ คำชแ้ี จงใหน้ กั เรยี นเขยี นแผนภาพโครงเรื่อง เร่ืองเลา่ จากพทั ลงุ แผนภาพโครงเร่อื ง“เร่ืองเลา่ จากพทั ลุง” ตัวละครสำคัญ : …………………………………………........................................................………… ตัวละครทีเ่ ป็นตัวประกอบ; ………………………………………......................................................…………… เร่อื งเกิดทไ่ี หน : ……………………………………….......................................................………….. เร่ืองเกดิ เวลาใด : …………………………………………….......................................................…….. ปญั หาท่เี กิดในเรื่อง : ………………………………….........................................……………..............… เหตกุ ารณ์ท่ี ๑ : ………………………………….........................................……………..............… ………………………………….........................................……………..............… ตวั ละคร : ………………………………….........................................……………..............… สถานท่ี : ………………………………….........................................……………..............… ปัญหา : ………………………………….........................................……………..............… การกระทำ : ………………………………….........................................……………..............… ………………………………….........................................……………..............… ผลการกระทำ : ………………………………….........................................……………..............… เหตุการณ์ที่ ๒ : ………………………………….........................................……………..............… ………………………………….........................................……………..............… ตวั ละคร : ………………………………….........................................……………..............… สถานที่ : ………………………………….........................................……………..............… ปญั หา : ………………………………….........................................……………..............… การกระทำ : ………………………………….........................................……………..............… ………………………………….........................................……………..............… ผลการกระทำ : ………………………………….........................................……………..............…
45 เหตุการณท์ ่ี ๓ : ………………………………….........................................……………..............… ………………………………….........................................……………..............… ตวั ละคร : ………………………………….........................................……………..............… สถานท่ี : ………………………………….........................................……………..............… ปญั หา : ………………………………….........................................……………..............… การกระทำ : ………………………………….........................................……………..............… ………………………………….........................................……………..............… ผลการกระทำ : ………………………………….........................................……………..............… เหตกุ ารณท์ ี่ ๔ : ………………………………….........................................……………..............… ………………………………….........................................……………..............… ตวั ละคร : ………………………………….........................................……………..............… สถานท่ี : ………………………………….........................................……………..............… ปัญหา : ………………………………….........................................……………..............… การกระทำ : ………………………………….........................................……………..............… ………………………………….........................................……………..............… ผลการกระทำ : ………………………………….........................................……………..............… ขอ้ คดิ : ………………………………….........................................……………..............… ………………………………….........................................……………..............… ………………………………….........................................……………..............……………………………… …….........................................……………..............……………………………………............................. ............……………..............… ………………………………….........................................……………..............……………………………… …….........................................……………..............…
46 ชัว่ โมงที่ ๕ ภาพสำนวนไทย
47 ความร้เู ก่ยี วกบั สำนวนไทย คำว่าสำนวน ตามพจนานุกรมอธบิ ายความหมายว่า หมายถงึ ถ้อยคำทเี่ รียบเรยี งการพดู หรือการเขยี น ท่ใี ช้ความสามารถทางภาษา ถ้อยคำท่ไี ม่ถกู ไวยากรณ์ แตร่ บั ใชเ้ ป็นภาษาทถี่ กู ตอ้ ง การแสดงถ้อยคำออกมา เปน็ ข้อความพิเศษเฉพาะหน่งึ ๆ ดงั นน้ั ถ้าจะกล่าวอย่างสรปุ ก็คือ สำนวนไทยหมายถงึ ถอ้ ยคำในภาษาไทยทใี่ ช้ สอ่ื สารกันโดยมีความหมายเปน็ นัย กนิ ความกวา้ งหรอื ลึกซ้งึ ไมไ่ ด้แปลความหมายของคำตรงตัว เชน่ คำ ความหมาย ประโยค กล้วย งา่ ย รายงานชน้ิ น้กี ลว้ ยจรงิ ๆ (กลว้ ยไมไ่ ดห้ มายถึงผลไม้ แต่เปน็ คำทมี่ คี วามหมายโดยนัยวา่ งา่ ยๆ ที่ใช้คำวา่ กล้วยอาจจะเปน็ เพราะวา่ กล้วยเป็นผลไม้ท่ี รบั ประทานได้งา่ ยๆ ไม่ยงุ่ ยากในการปอกเปลอื ก หมู ง่าย ขอ้ สอบวนั นห้ี มูจรงิ ๆ (หมู ไมไ่ ด้หมายถึงสัตว์ แต่ นำมาเปรียบเทียบกบั ส่ิงทเ่ี กิดข้ึนวา่ งา่ ย และหมูก็ เป็นสตั วท์ นี่ ิยมมารับประทานอย่บู อ่ ยๆ ดเู ปน็ เรอื่ งที่ ง่าย เปรย้ี ว แปลกไปจากปกติผู้ พ่ีแตง่ ตัวเปรี้ยวจงั เลย ( เปร้ียวไมไ่ ด้หมายถึงรสอยา่ ง ทก่ี ลา้ ทำอะไรลำ้ หนึง่ อย่างรสมะนาว ไมใ่ ชแ้ ปลว่าเส้อื ผ้ามรี สเปรย้ี ว หนา้ คนอน่ื แต่เสอ้ื ผา้ มลี กั ษณะแปลก ทา้ ทายความรู้สกึ ของ (สว่ นมากจะใช้กบั บุคคลรอบตวั ผหู้ ญงิ ) การใชส้ ำนวนภาษา ต้องรจู้ ักใชใ้ หเ้ หมาะสม และสอดคลอ้ งกับเร่ืองราวหรอื เหตกุ ารณใ์ นขณะน้นั การ ใช้สำนวนทดี่ ี ยอ่ มส่อื ความหมายใหแ้ กผ่ ู้ฟังเข้าใจตรงกบั สง่ิ ทผี่ ้พู ดู ตอ้ งการจะพูดถึง สำนวนภาษาทใ่ี ชก้ นั อยโู่ ดยทว่ั ไป มักจะเปน็ คำทอ่ี ยู่ใกลๆ้ ตัวของเราอาจเปน็ คำท่มี าจากธรรมชาติ ต้นไม้ สตั ว์ หรอื แม้แต่มาจากรา่ งกายของเราเองก็ยังมี ดังนน้ั ในทนี่ ี้จะขอเสนอสำนวนที่นักเรียนควรจะรู้จักไว้ บ้าง ดงั ต่อไปนี้
48 ตัวอยา่ งสำนวนไทย นำ้ มาปลากนิ มด นำ้ ลดมดกนิ ปลา ที่ใครทมี นั น้ำรอ้ นปลาเป็นนำ้ เย็นปลาตาย คำพดู แบบขวานผ่าซากอาจไมถ่ กู ใจคนฟงั แต่ไม่มีภยั นำ้ ส่ังฟ้า ปลาสง่ั ฝน สั่งเสียเป็นคร้งั สุดทา้ ย หรือทำการอนั ใดทเี่ ป็นสิง่ สำคัญ เพื่อไวอ้ าลยั กอ่ นจากไป นิ้วไหนร้ายก็ตัดนิ้วนน้ั คนใดไม่ดกี ต็ ัดออกไปจากหม่คู ณะ เนื้อเตา่ ยำเต่า นำเอาทรัพย์สว่ นที่เป็นกำไรหรอื ดอกเบย้ี กลบั ไปลงทุนตอ่ ไปอีก โดยไมต่ อ้ งใชท้ นุ เดิม เนอื้ หนปู ะเนอ้ื ชา้ ง เอาสง่ิ ท่ีมอี ยู่เพยี งเลก็ น้อยไปใหฝ้ ่ายท่ีมมี ากกวา่ บนบานศาลกล่าว ขอร้องให้สง่ิ ศกั ดิส์ ิทธ์ชิ ว่ ยเหลอื บอกเล่าเก้าสิบ บอกกลา่ วใหร้ ู้ บัวไม่ใหช้ ้ำน้ำไมใ่ หข้ ุ่น รจู้ กั ผ่อนปรนเข้าหากนั มใิ หก้ ระทบกระเทอื นใจกัน บ้าหอบฟาง อาการทหี่ อบห้ิวสิง่ ของพระรุงพะรัง บ่างช่างยุ คนท่ชี อบพูดส่อเสยี ดยุยงใหเ้ ขาแตกกัน บา้ ห้าร้อยจำพวก บา้ มากมายหลายประเภท บานปลาย ขยายออกไปมากกวา่ ทต่ี งั้ ใจไวเ้ ดิม บ้านเคยอยู่ อู่เคยนอน สถานท่ีตนเคยอย่อู าศัยมากอ่ น บ้านแตกสาแหรกขาด เหตุการณ์ท่เี กิดขนึ้ ในครอบครัวหรือบ้านเมอื งอยา่ งรา้ ยแรง ทำให้ต้องกระจัดกระจายพลัดพรากจากกนั บ้านนอกคอกนา เรยี กคนทีเ่ ปน็ ชาวไรช่ าวนาท่ีอยู่นอกเมอื งหลวง บา้ นเมอื งมีขอ่ื มแี ป ประเทศย่อมมีกฎหมายคมุ้ ครอง บกุ ปา่ ฝา่ ดง พยายามต่อสู้อุปสรรคตา่ ง ๆ บุญทำกรรมแต่ง บุญหรือบาปทีท่ ำไวใ้ นชาตกิ อ่ นเปน็ เหตใุ นรปู รา่ งหน้าตาเป็นเช่นน้ี บญุ มาวาสนาส่ง เมือ่ มีบุญอำนาจวาสนากม็ าเอง เบ้ียตอ่ ไส้ เงินหรือสง่ิ ของทีห่ ามาไดพ้ อปะทงั ชวี ิตไปวันหน่งึ เบ้ียน้อยหอยน้อย มเี งินนอ้ ย มไี ม่มาก นอนตาไมห่ ลบั เปน็ ทกุ ข์ นอนหลับทบั สทิ ธิ์ ไมใ่ ช้สทิ ธิ์ทต่ี นมีอย่เู มือ่ ถึงคราวทีค่ วรจะใช้ นอนหลับไม่รู้นอนคู้ไม่เห็น ไมท่ ราบเรื่องที่เกิดขน้ึ นา่ เกลียดน่าชัง นา่ รกั น่าเอ็นดู (ใช้แก่เดก็ เล็ก ๆ) นายว่าขีข้ า้ พลอย พลอยพดู ผสมโรงติเตยี นผู้อื่นตามนาย น้อยเนื้อตำ่ ใจ หม่นหมอง นอ้ ยใจท่ไี มไ่ ด้ความสนใจตามทีค่ วร น้ำกลิ้งบนใบบอน ใจที่ไม่แน่นอน กลบั กลอก นำ้ ขึ้นให้รบี ตัก มโี อกาสดีควรรีบทำ น้ำขุ่นไวใ้ น แมจ่ ะไมพ่ อใจก็แสดงสหี นา้ ยิ้มแยม้ น้ำใสไวน้ อก น้ำตาเป็นเผาเต่า ร้องไห้นำ้ ตาไหลพราก น้ำลายหก อยากได้ นำ้ เช่ยี วอยา่ ขวางเรือ อยา่ ขดั ขวางผ้ทู ีม่ อี ำนาจ
49 นำ้ ซมึ บอ่ ทราย หาไดม้ าเรอื่ ย ๆ น้ำบอ่ น้อย น้ำลาย นำ้ บอ่ นอ้ ย ความหวังในอนาคต น้ำลูบทอ้ ง อดทนไปกอ่ น น้ำลดตอผดุ เมือ่ หมดอำนาจความชั่วที่ทำไว้กับปรากฏ น้ำตาเชด็ หัวเขา่ เสียใจเพราะใจหรอื ต้องผดิ หวงั อย่างหนัก น้ำตาตกใน เศรา้ โศกเสยี ใจอยา่ งมาก แตไ่ ม่แสดงใหป้ รากฏ นำ้ ตาลใกลม้ ด ชายหญงิ ทีใ่ กลช้ ดิ กนั มากยอ่ มหา้ มใจไมใ่ หร้ กั กันยาก น้ำท่วมทุ่งผักบ้งุ โหรงเหรง พูดมากแต่ไมเ่ นื้อหาสาระน้อย นำ้ ทว่ มปาก พูดไมอ่ อกเพราะเกรงจะมีภยั แกตนและผ้อู ื่น นำ้ ทว่ มหลงั เปด็ ไม่มีทางเป็นไปได้ น้ำน้อยยอ่ มแพไ้ ฟ ฝ่ายข้างน้อยย่อมแพฝ้ า่ ยข้างมาก นำ้ นงิ่ ไหลลึก คนท่ีมที า่ ทางเฉย ๆ แตม่ ีความคดิ ลกึ ซงึ้ นำ้ พ่ึงเรือเสือพง่ึ ปา่ การพ่ึงพาอาศยั กนั ปลอ่ ยไก่ ทำเปิน่ ใหเ้ ป็นทอ่ี บั อายขายหนา้ งๆู ปลาๆ รู้เพยี งผวิ ดนิ ไมถ่ อ่ งแท้ นกสองหวั ทำตัวเข้าเป็นพวกทัง้ สองฝา่ ย ลงิ หลอกเจ้า กริ ิยามารยาทไม่เรียบรอ้ ย ววั ลมื ตนี คนทไี่ ดด้ ีแลว้ ลืมตวั มา้ มดื ผู้ชนะโดยทีไ่ ม่มีใครคาดคิดมากอ่ น แร้งลง กลุ้มรุมแย่งชิงกนั กระดกู ขดั มนั ยาก เขม้ งวด ตระหนมี่ าก คอเป็นเอ็น เถียงไม่ลดละ ใจเดด็ เป็นคนเข้มแข็งเดด็ เด่ียว ตายใจ ปลงใจเช่อื สนทิ ตาเขยี ว โกรธ ปากบอน ปากอยไู่ ม่สุข ชอบพูดชอบฟอ้ ง มือแข็ง ไม่ชอบไหว้ ไม่อ่อนนอ้ ม หนา้ ตาย ทำหนา้ เฉย ไม่หวั เราะ หวั สงู ทำตัวว่าชอบของดี แกเ้ ผ็ด ทำตอบแทนใหห้ ายแค้น แกแ่ ดด ยงั ไม่ถึงวยั แตท่ ำเกนิ อายุ หูเบา ผู้ทีเ่ ชอ่ื คนงา่ ย เค็ม ตระหน่ี ขเ้ี หนียว คมในฝกั มคี วามรู้ ความสามารถ แตย่ ังไม่แสดงออก พายเรือทวนนำ้ ทำด้วยความลำบาก ผักชโี รยหนา้ ทำความดเี พยี งผิวเผิน ควกั กระเป๋า เสยี เงนิ ตแี ตก ทำดแี ล้วไมไ่ ด้ตลอด
50 ทิง้ ทวน สุดฝมี อื ปมี ะโว้ เนนิ่ นานมาแล้ว ฝ่ามรสมุ ฟาดเคราะห์ ผจญอุปสรรค รดั เขม็ ขัด ยอมเสยี หายถือวา่ พ้นเคราะห์ไป ไสแ้ ห้ง ประหยัด เจ็บไข้ไดป้ ว่ ย ยากจน งูเงยี้ วเข้ยี วขอ ป่วย ไม่สบาย หมูไปไก่มา สัตว์มีพษิ ลูกผลี กู คน แลกเปลย่ี นกัน งอ่ ยเปล้ยี เสียขา เอาเปน็ ทแ่ี น่นอนยงั ไม่ได้ ขุน่ ขอ้ งหมองใจ ไม่สมประกอบ ปากว่า ตาขยิบ ผดิ ใจกนั อดอยากปากแห้ง พดู อย่างหนง่ึ ทำอกี อยา่ งหนง่ึ หนา้ ไหว้หลงั หลอก อดอยากไมม่ ีกนิ ก่อกรรมทำเขญ็ ทำดตี อ่ หน้า ลบั หลังตรงข้าม เทอื กเถาเหลา่ กอ ทำเวรทำกรรมให้ผอู้ น่ื ว่านอนสอนงา่ ย เชื้อสาย ตระกูล หนักเอาเบาสู้ อยใู่ นโอวาท อดทน ขยนั
Search