Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 402_ภาษาไทย ป4 หน่วย13 เล่นสนุกกับพวกเรา

402_ภาษาไทย ป4 หน่วย13 เล่นสนุกกับพวกเรา

Published by krupom61, 2020-05-07 01:46:55

Description: 402_ภาษาไทย ป4 หน่วย13 เล่นสนุกกับพวกเรา

Search

Read the Text Version

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๑3 เรือ่ ง เลน่ สนกุ กับพวกเรา กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยรายวชิ า ภาษาไทยรหสั วิชา ท ๑๔๑๐๑ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๔ นางอรวรรณ ปานจำรูญ ครผู ูส้ อน โรงเรียนวัดพชื นมิ ติ (คำสวสั ดร์ิ าษฎรบ์ ำรุง) ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวดั ปทมุ ธานี สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต ๑

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๑3 เร่อื ง เล่นสนกุ กับพวกเรา กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย รายวิชา ภาษาไทย รหสั ท ๑๔๑๐๑ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ เวลา ๘ ชัว่ โมง ………………………………………………………………………………………………………………………………… แผนการเรียนรู้ที่ ๑ เรือ่ ง อา่ นออกเขยี นสวยสื่อสารได้ เวลา ๑ ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวช้วี ัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคดิ เพือ่ นำไปใช้ตดั สนิ ใจแกป้ ญั หาในการ ดำเนินชีวติ และมีนิสัยรักการอา่ น ตวั ช้ีวัด ท ๑.๑ ป.๔/๑ อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ และ บทร้อยกรองได้ถูกตอ้ ง มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขยี น เขยี นสือ่ สาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเรือ่ งราว ในรูปแบบต่างๆเขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ตัวช้ีวัด ท ๒.๑ ป.๔/๑ การคดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครง่ึ บรรทดั ๒. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เข้าใจความหมายของเร่อื งสน้ั ท่ีอ่านและตอบคำถาม ไดข้ อ้ คิดจากการอา่ นเปน็ ประโยชน์ต่อการ นำไปใชใ้ นชีวิตประวนั และสามารถคัดลายมอื ตามอกั ษรไทยไดถ้ กู ต้องตามรปู แบบของกระทรวง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๑. นักเรียนมีความสามารถอ่านเรื่องแล้วสอ่ื สารได้ ๒. นกั เรยี นมีคัดลายมือไดถ้ กู ต้อง ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ การสรุปเรือ่ งจากการอา่ นบทร้อยแกว้ ๓.๒ การคัดลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทดั และครึง่ บรรทดั ๔. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ๔.๑ ความสามารถในการส่อื สาร ๔.๒ ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์/คา่ นยิ ม ๕.๑ นกั เรยี นมีความมงุ่ มัน่ ในการทำงาน ๕.๒ นักเรียนมีความใฝ่รู้ใฝเ่ รยี น ๖. ชน้ิ งาน/ภาระงาน ๖.๑. การคัดลายมอื ๖.๒. การอา่ นรอ้ ยแก้ว

๗ .การวัดประเมนิ ผล เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารผ่าน นักเรียนต้องผ่านรอ้ ยละ ๖๐ วิธกี าร ๑. แบบประเมนิ การอา่ นร้อย แกว้ ๑. ประเมนิ อ่านรอ้ ยแกว้ 2. เกณฑก์ ารตรวจคัดลายมอื 2. การคดั ลายมอื ๘. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ใช้กระบวนการสรา้ งความรู้) ขัน้ ที่ ๑ ขน้ั แนะนำ 1. ครแู จง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรใู้ ห้นกั เรียนทราบ 2. แบบทดสอบก่อนเรยี น จำนวน ๑๐ ข้อ ขน้ั ที่ ๒ ข้ันทบทวนความรู้เดิม 3. นกั เรยี นร่วมกนั สนทนาเกี่ยวกับการใช้ภาษาในการดำเนินรายการหรอื ผ้อู ่านข่าวโทรทัศน์ ในเรอื่ งการใชภ้ าษาเช่น การอ่านคำควบกล้ำ อา่ นเน้นเสยี งหนกั เบา ทนี่ กั เรยี นเคยได้ยนิ 4. นกั เรียนยกตัวอย่างบุคคลท่สี ามารถเปน็ แบบอยา่ งการอ่านท่ีดีไดแ้ ละบอกเหตุผลท่ี นกั เรียนชน่ื ชอบอาจจะเปน็ คณุ ครใู นโรงเรียนหรือบุคคลท่ีนกั เรยี นรู้จกั ขั้นที่ ๓ ข้นั ปรับเปลีย่ นความคิด 5. นกั เรียนรว่ มกนั ศกึ ษาเร่อื งการอ่านหนงั สือหรืออา่ นข่าวใหน้ า่ ฟงั จะตอ้ งอา่ นออกเสียงให้ ชัดเจนมีลีลาการอ่านท่ีสอดคลอ้ งกบั เรอ่ื งทีอ่ ่าน 6. นักเรยี นศกึ ษาหลกั เกณฑ์ในการอา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้ว จากหนังสือเรยี นภาษาพาที ชั้น ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 7. นักเรียนฝึกอ่านบทอ่านท่คี รูแจกให้ โดยจับคกู่ ับเพื่อนเพอื่ ฝกึ อา่ นตามหลกั เกณฑ์ในการ อา่ นทีไ่ ดศ้ กึ ษามา 8. ครูสงั เกตการอา่ นออกเสียงของนักเรยี นแลว้ เสนอแนะในส่วนทบี่ กพร่องให้นกั เรียนนำไป ปรบั แกก้ ารอ่านให้ถูกต้อง 9. นกั เรียนแต่ละคฝู่ กึ การอ่านออกเสียงให้ถูกตอ้ ง และทำเครอื่ งหมายแบง่ วรรคตอนในการ อ่านเพือ่ ใหฝ้ กึ อา่ นได้ง่าย 10. นกั เรียนคดั ลายมอื ตวั บรรจงครึ่งบรรทัดเป็นการบ้าน ข้นั ท่ี ๔ ข้ันทบทวน 11. นักเรียนรว่ มกนั สรุปความรเู้ ก่ียวกบั หลักเกณฑใ์ นการอา่ นออกเสียงบทร้อยแก้ว 12. นักเรียนร่วมกนั อภปิ รายเกีย่ วกับวธิ กี ารอา่ นออกเสียงแบบบรรยาย และการอา่ นแบบ พรรณนาใหเ้ ห็นภาพ 13. ตัวแทนนักเรยี นอา่ นเปน็ ตวั อย่างให้นักเรียนในหอ้ งเหน็ ความแตกตา่ งของการอา่ นท้ังสอง แบบ 14. นักเรียนจับคู่คนเดิมฝกึ อ่านตามตวั อย่างจากหนงั สอื เรียน โดยให้เพอ่ื นประเมนิ การอ่าน ออกเสียงของตนเอง 15. แลกเปลยี่ นหรอื แสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกบั ข้อบกพรอ่ งของการอา่ น 16. อาสาสมัครนกั เรียน ๒ คน ออกมาอา่ นออกเสียงหนา้ ชั้นเรยี นแลว้ ครเู สนอแนะส่วนที่ ควรปรับปรุงเพอื่ เปน็ ประโยชนใ์ นการนำไปปรบั แกไ้ ข

๙. ส่อื และแหล่งเรยี นรู้ ๙.๑ ใบงานแบบฝกึ อา่ นบทรอ้ ยแกว้ ๙.๒ หอ้ งสมดุ ,แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ ๑๐. ขอ้ เสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. ..............................................................................................................................................................................

ใบงานสำหรับฝกึ อ่าน คำชแี้ จง ให้นักเรียนอา่ นออกเสียงบทความต่อไปน้ี นกั เรียนไทยจดตามครูสอน นกั เรยี นของประเทศทป่ี ระสบความสำเรจ็ ทางการศึกษาใชว้ ิธกี ารรว่ มสนทนาและถกเถียงกับอาจารย์และเพอ่ื น ครูไทย จำนวนไมน่ อ้ ยมีความมงุ่ หวงั ตง้ั ใจแต่เดมิ ไม่อยากเปน็ ครู ครใู นประเทศพฒั นา แล้วส่วนใหญเ่ ป็นครดู ้วยจิตวิญญาณ ปรารถนาอยากเปน็ ครูมาตัง้ แต่ตน้ อาชีพครูในหลายประเทศเป็นยากมาก เงนิ เดอื นของครูสูงเทา่ กบั แพทย์ ในขณะที่บ้านเราการเขา้ เรยี นครูหรอื การเปน็ ครูทำได้งา่ ยกวา่

เกณฑก์ ารประเมนิ การอา่ นออกเสียงรอ้ ยแกว้ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ เร่ือง เลน่ สนกุ กับพวกเรา รายการการ ๔ ระดบั คุณภาพ ๑ นำ้ หนกั คะแนน ประเมิน ๓๒ คะแนน รวม ๑๖ ๑. ความถูกตอ้ ง อา่ นไดถ้ ูกต้อง อา่ นได้ถกู ตอ้ ง อ่านได้ ผิด อา่ นได้บ้าง ๔ ๔ ในการอ่าน ทง้ั หมด ทัง้ หมด ผิดไม่ ไมเ่ กิน ๑๐ คำ ผดิ มากกวา่ ๑ ๘ เกนิ ๓ คำ ๑๐ คำ ๒ ๑๒ ๒. นำ้ เสียงการ อา่ นไดช้ ัดเจน อ่านไดช้ ดั เจน อา่ นไดค้ ่อนข้าง อ่านได้บา้ ง ๓ ๔๐ เว้นวรรค ส่อื ความรู้สกึ สอื่ ความรู้สกึ ช้า ส่ือ เสยี งเบา ไม่ ตอน ของเรือ่ งท่ีอ่าน ของเรื่องทอี่ า่ น ความรสู้ กึ ของ ชดั เจน ส่อื ไดด้ ี ได้พอใช้ เรือ่ งที่อา่ นยงั ความรูส้ ึก ไม่ชัดเจน ไม่ได้ ๓. การแบง่ วรรค แบง่ วรรคตอน แบ่งวรรคตอน แบง่ วรรคตอน แบ่งวรรค ตอน ตามหลักการ ตามหลกั การ ตามหลักการ ตอนตาม อา่ นไดถ้ กู ต้อง อา่ นไดพ้ อใช้ อา่ นไดบ้ ้าง หลกั การอา่ น เป็นบางแห่ง ไมถ่ ูกตอ้ ง ๔. ออกเสียงคำท่ี ออกเสยี งคำทมี่ ี ออกเสียงคำทมี่ ี ออกเสียงคำทมี่ ี ออกเสยี งคำที่ มี ร ล และ ร ล และคำ ร ล และคำ ร ล และคำ มี ร ล และ คำควบกลำ้ ควบกล้ำ ควบกลำ้ ถูกตอ้ ง ควบกล้ำ คำควบกลำ้ ถูกตอ้ งตาม ถกู ต้องตาม ตามอกั ขรวิธีไดด้ ี ถูกตอ้ งตาม ยงั ไม่ถูกต้อง อกั ขรวิธี อกั ขรวิธีได้ดี อกั ขรวิธีได้ ตามอักขรวิธี มาก พอใช้ รวมคะแนน เกณฑก์ ารตัดสิน/ระดับคุณภาพ/เกณฑก์ ารผา่ น ผา่ นระดับ ๓ ขึน้ ไป คะแนน ๓๒– ๔๐ ระดับ ๕ หมายถึง ดเี ย่ียม คะแนน ๒๘– ๓๑ ระดับ ๔ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๒๔– ๒๗ ระดับ ๓ หมายถึง ดี คะแนน ๒๐– ๒๓ ระดบั ๒ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๐ – ๑๙ ระดบั ๑ หมายถงึ ควรปรบั ปรุง

แบบบันทึกคะแนนการอ่านออกเสยี งร้อยแก้ว หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ เรอื่ ง เลน่ สนกุ กบั พวกเรา รายการประเมนิ ๑.ความ ูถก ้ตองในการ ่อาน ๒.น้ำเ ีสยงการเว้นวรรคตอน เลข ๓.การแ ่บงวรรคตอน ท่ี คะแนน ๔. ออกเ ีสยงคำ ่ีท ีม ร ล และคำ ควบก ้ลำ ูถก ้ตองตามอักขรวิธี ชอื่ -สกลุ รวมคะแนน ระ ัดบ ุคณภาพ ๑๖ ๔ ๘ ๑๒ ๔๐ ๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ หมายเหตุ ใหด้ ูจากเกณฑท์ ี่กำหนดไวข้ ้างต้น

แผนการเรียนรูท้ ่ี ๒ เรื่อง สอ่ื สารแบบเรียบง่ายใช้จดหมายซิจะ๊ เวลา ๑ ชัว่ โมง ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวช้ีวัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคดิ เพื่อนำไปใชต้ ัดสินใจแก้ปญั หาใน การดำเนินชวี ิตและมีนสิ ยั รกั การอา่ น ตัวชว้ี ัด ท.๑.๑ ป.๔/๑อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและ บทร้อยกรองได้ถกู ต้อง มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี น เขยี นสอื่ สาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเร่ืองราว ในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ท.๒.๑ ป.๔/๕ เขียนจดหมายถงึ เพ่ือนและบิดามารดา ๒. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด เข้าใจความหมายของเรอื่ งสั้นท่อี า่ นและตอบคำถาม ได้ขอ้ คดิ จากการอ่านเป็นประโยชนต์ ่อการ นำไปใชใ้ นชวี ติ ประวนั สง่ ผลการเขียนจดหมายถึงเพือ่ นและบิดามารดาไดถ้ กู ตอ้ งตามรปู แบบ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑.นักเรียนมคี วามสามารถอา่ นเรื่องแล้วสื่อสารได้ ๒.นักเรยี นคัดลายมอื ไดถ้ ูกตอ้ ง ๓.นกั เรียนเขียนจดหมายได้ตามรปู แบบ ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ การสรปุ เรอ่ื งจากการอา่ นบทร้อยแก้ว ๓.๒ การคดั ลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทดั และครึ่งบรรทดั ๓.๓ การเขยี นจดหมายสว่ นตวั ๔. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ๔.๑ ความสามารถในการส่ือสาร ๔.๒ ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต ๕. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค/์ ค่านยิ ม ๕.๑ นักเรียนมคี วามมงุ่ มน่ั ในการทำงาน ๕.๒ นักเรียนมคี วามใฝ่รู้ใฝเ่ รยี น ๖. ชน้ิ งาน/ภาระงาน ๖๑ การคดั ลายมือ ๖.๒ การเขียนจดหมายถงึ บดิ ามารดา ๗. การวัดประเมินผล เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารผา่ น วธิ ีการ ๒. แบบประเมนิ ผลงานนักเรยี น นกั เรียนตอ้ งผ่านรอ้ ยละ ๖๐ ๑. ประเมนิ ผลจากเขยี น จดหมาย

๘. กิจกรรมการเรยี นร้(ู ใช้กระบวนการสรา้ งความรู้) ข้นั ที่ ๑ ขั้นแนะนำ 1. นกั เรียนเลน่ เกม การเรียงเครอ่ื งมือสื่อสาร โดยท่ี นกั เรียนลองเรียงรูปแบบการส่อื สารจาก ทช่ี า้ ท่ีสุดมาจนถงึ เรว็ ทส่ี ดุ กัน โดยเรียงการสื่อสารต่อไปน้ีโทรเลข โทรศพั ท์ อีเมลจดหมาย จดหมายด่วนพิเศษ ขน้ั ที่ ๒ ขั้นทบทวนความรู้เดิม 2. นักเรียนศกึ ษาความรูเ้ ร่ือง จดหมาย คอื การเขียนสื่อสารทมี่ ีความสำคญั ในดา้ นการส่ง ขอ้ มูลขา่ วสารถงึ กันจากอดีตมาจนถงึ ปจั จบุ นั ถึงแมว้ า่ ปัจจุบนั จะมีเทคโนโลยีดา้ นการสื่อสารที่ทนั สมยั มากมาย แต่การเขยี นจดหมายก็ยังคงได้รับความนิยม เพราะเป็นการสื่อสารทเ่ี สยี ค่าใชจ้ ่ายน้อยแต่ไดป้ ระโยชน์มาก ขัน้ ที่ ๓ ข้นั ปรับเปล่ียนความคิด 3. นกั เรยี นศึกษาเร่อื งการจดหมายถึงญาติผู้ใหญ่มีหลักปฏบิ ตั ิดงั นี้ 3.1 มีรปู แบบเหมือนจดหมายหมายธรรมดาท่วั ไป ซง่ึ ประกอบด้วยสว่ นตา่ งๆ คือ ทอ่ี ยู่ ของผ้เู ขยี นวัน เดือน ปี ท่ีเขยี น คำขึน้ ตน้ และคำลงทา้ ย 3.2 คำขึน้ ต้นจดหมายอาจใช้ กราบเทา้ ............ ท่ีเคารพ หรอื เรยี น..............ทเ่ี คารพ 3.3 สรรพนามทใี่ ชอ้ าจใช้ช่อื เล่นของผ้เู ขียน หรือใชค้ ำวา่ “ลกู ” “หลาน” “นอ้ ง” “กระผม” หรอื “ดฉิ ัน” อย่างใดอย่างหนงึ่ ขึ้นอยกู่ ับความสนิทสนมที่มีกบั ญาตผิ ู้ใหญ่ดว้ ย 3.4 ใช้ท่ีสภุ าพแสดงความเคารพนับถือ 3.5 กอ่ นจบจดหมายแตล่ ะครง้ั ควรไดแ้ สดงมารยาอนั ดีงามไตถ่ ามทกุ ขส์ ุขทางครอบครวั ของญาตผิ ้ใู หญด่ ว้ ย 4. นักเรียนร่วมกนั อภปิ รายถึงคุณคา่ ของการเขยี นจดหมายครูชว่ ยเสริมให้นกั เรยี นเหน็ คณุ ค่า และอย่าละเลยรบี ฝึกฝนเขียนจดหมายกนั ถึงแม้วา่ ปจั จบุ นั เราจะใชจ้ ดหมายอีเลก็ ทรอนิกสม์ ากข้ึน แต่รูปแบบ การเขียนก็ยงั คงใชร้ ปู แบบการเขยี นจดหมายแบบเดมิ ขนั้ ที่ ๔ ข้ันทบทวน 5. นักเรียนศึกษาใบความรู้ เร่ืองการเขยี นจดหมายอยา่ งละเอยี ด โดยครูอธบิ ายตามลำดบั ดงั น้ี 5.1 ความหมายของคำว่าจดหมาย 5.2 แบบการเขียนคำนำ คำสรรพนามและคำลงท้ายของจดหมาย 5.3 แบบจ่าหนา้ ซองจดหมายทถี่ ูกต้อง 6. ใหน้ ักเรยี นนำซองจดหมายมาตรฐานขนาด๙x๑๔ของการส่ือสารแหง่ ประเทศไทยมาคนละ ๑ซอง แล้วจา่ หนา้ ซองจดหมาย(สมมุตชิ อื่ ผรู้ ับเอาเองทง้ั หมด)เขียนเสร็จแล้วนำมาสง่ ครูตรวจ 7. แจกตวั อยา่ งการเขยี นจดหมายถึงญาตใิ ห้นักเรียนดูเปน็ ตวั อยา่ งโดยครูอธบิ ายประกอบ และใหน้ ักเรยี นเขยี นจดหมายถึงญาติ เพ่อื ถามข่าวคราว โดยสมมตุ ิชื่อ ท่ีอยู่เอาเอง เมอื่ เขยี นเสรจ็ แลว้ ให้พับ จดหมายใสซ่ องพรอ้ มจา่ หน้าซองใหส้ มบรู ณ์ แลว้ นำมาส่งครูตรวจ 8. ตรวจผลงานการเขียนจดหมายของนักเรียนและใหข้ ้อเสนอแนะเพือ่ นำไปปรับปรุงแก้ไขให้ ถกู ต้องแลว้ คัดเลอื กผลงานที่ถกู ตอ้ งไปติดแสดงไวท้ ี่ป้ายนเิ ทศ พรอ้ มสรุปผลการเขยี นจดหมายสว่ นตัวของ นกั เรยี นทกุ คน 9. ครแู ละนักเรยี นชว่ ยกนั สรุปบทเรยี นอีกคร้ัง 10. นกั เรียนทำใบงาน

๙. สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ ๙.๑ จดหมาย – ซองจดหมาย แสตมป์ ท่ีครสู ะสมไว้ ๙.๒ ใบความรู้เร่อื ง “การเขยี นจดหมายส่วนตวั ” ๙.๓ ซองจดหมาย ๙.๔ ตวั อยา่ งการเขียนจ่าหน้าซอง ๑๐.ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………….................. ..............................................................................................................................................................................

รายการการ เกณฑก์ ารประเมินการเขียนจดหมาย ประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ นำ้ หนกั คะแนน ๔ ๓ ๒ ๑ คะแนน รวม ๑. เนื้อเรอื่ ง เนอ้ื เรือ่ ง สรปุ เนอ้ื เรอ่ื ง สรุป เนือ้ เร่ือง สรุป เน้ือเรื่อง สรปุ ยงั สรปุ ถกู ต้องตาม ถกู ตอ้ งแตไ่ ม่ ถกู ต้อง เลก็ น้อย ไมถ่ ูกต้อง ๓ ๑๒ หลกั เกณฑ์ ครบถว้ น ๒. ลำดับความคิด ลำดบั ความคิด ลำดับความคิด ลำดบั ความคิด ลำดับความคิด เหตกุ ารณ์ เหตุการณต์ อ่ เน่อื ง เหตกุ ารณต์ ่อเน่ือง เหตุการณต์ อ่ เนื่อง เหตกุ ารณ์ต่อเนอื่ ง ๓ ๑๒ ตอ่ เนือ่ ง สมั พนั ธ์กันดีมาก สมั พันธ์กนั พอใช้ สมั พนั ธ์กนั บา้ ง ยังไมส่ มั พนั ธก์ นั สัมพนั ธ์กนั เปน็ บางคร้งั ๓. สำนวนภาษา สำนวนภาษาส่อื สำนวนภาษาสื่อ สำนวนภาษาส่ือ สำนวนภาษาสอื่ สอื่ ความหมายได้ ความหมายได้ ความหมาย ความหมายยังไม่ ๓ ๑๒ ความหมาย ถูกตอ้ งชัดเจนดี ถูกต้องพอใช้ ถูกตอ้ งเป็นบาง ถูกต้อง ชดั เจน มาก ขอ้ ความ ๔. ความสะอาด สะอาด เป็น สะอาด เป็น สะอาด เปน็ สะอาด เป็น เปน็ ระเบียบ ระเบียบ ลายมือ ระเบียบ ลายมือ ระเบียบ ลายมือ ระเบียบ มีรอยลบ เรียบรอ้ ย สม่ำเสมอ ไมม่ ีรอย สม่ำเสมอ มีรอย สม่ำเสมอ รอยขดี ขดู ขีดฆา่ ๑๔ ขดี ฆ่า ขีดฆ่าเลก็ นอ้ ย ฆา่ ลบ ๓-๔ แหง่ มากกว่า ๔ แหง่ รวมคะแนน ๔๐ เกณฑ์การตดั สิน / ระดบั คุณภาพ คะแนน ๓๑ – ๔๐ ระดับ ๔ คะแนน ๒๑ – ๓๐ ระดบั ๓ คะแนน ๑๑ – ๒๐ ระดับ ๒ คะแนน ๐ – ๑๐ ระดับ ๑ เกณฑก์ ารผ่าน ผ่านระดับ ๒

๑๒ ๑๒ ๑. เนือ้ เร่อื ง สรปุ แบบบันทึกคะแนนการเขยี นจดหมาย ๑ ๒ ๒. ลำดับความคิดเหตกุ ารณ์ รายการ ๓ ตอ่ เน่ืองสัมพนั ธก์ นั ประเมิน ๔ ๓. สำนวนภาษาสอ่ื ๕ ความหมายชัดเจน เลข คะแนน ๖ ๔. ความสะอาดเปน็ ระเบียบ ท่ี ช่อื -สกลุ ๗ เรยี บร้อย ๘ ๙ รวมคะแนน ๑๐ ระดบั คุณภาพ ๑๑ ๑๒ หมายเหตุ ให้ดูจากเกณฑ์ทก่ี ำหนดไว้ขา้ งตน้ ๑๒ ๔ ๔๐ ๔

แผนการเรยี นรูท้ ี่ ๓ เรอื่ ง แผนภาพโครงเร่อื งชว่ ยสรุปใจความ เวลา ๑ ช่ัวโมง ๑.มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวช้วี ัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความร้แู ละความคดิ เพ่ือนำไปใช้ตดั สินใจแกป้ ัญหาในการ ดำเนินชวี ติ และมนี สิ ัยรกั การอ่าน ตัวชี้วดั ท 1.๑ ป. ๔/๑ อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรองไดถ้ ูกต้อง ท 1.๑ ป. ๔/3 อา่ นเรอ่ื งสัน้ ๆตามเวลาท่ีกำหนดและตอบคำถามจากเรอ่ื งที่อ่าน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนส่อื สาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขยี นเรือ่ งราวใน รูปแบบต่างๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอย่างมปี ระสิทธิภาพ ตัวชวี้ ดั ท ๒.๑ ป. ๔/๑ คัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทดั และครง่ึ บรรทดั ท ๒.๑ ป. ๔/๒ เขียนสอื่ สารโดยใช้คำไดถ้ ูกต้อง ชัดเจนและเหมาะสม ๒. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด อา่ นเรอ่ื งแลว้ เขยี นสอ่ื สารสรุปใจความสำคญั โดยลำดบั เหตุการณข์ องเรอ่ื งท่อี า่ นได้ถกู ตอ้ ง จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑ นกั เรยี นสามารถสรุปใจความสำคัญจากการอ่านได้ ๒ นกั เรียนลำดบั เหตุการณ์ของเรื่องไดถ้ กู ตอ้ ง ๓. สาระการเรียนรู้ 3.๑. การอ่านจากเร่ืองที่นกั เรียนสนใจ 3.๒ การเขยี นโครงเรือ่ งสรุปเรอ่ื งจากการอา่ น ๔. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น ๔.๑ ความสามารถในการอ่าน ๔.๒ ความสามารถในการสรุปความและเขียนสรปุ โครงเร่อื ง ๕. ลักษณะอันพงึ ประสงค์/คา่ นิยม ๕.๑ นกั เรียนมคี วามมุ่งมั่นในการทำงาน ๕.๒ นกั เรียนมีความใฝ่รู้ใฝเ่ รียน ๖. ชนิ้ งาน/ภาระงาน การเขยี นโครงเรือ่ ง ๗.การวัดประเมนิ ผล เครื่องมือ เกณฑก์ ารผา่ น วธิ กี าร 1. แบบประเมนิ ผลงานนักเรยี น นักเรียนจะต้องผ่านการประเมนิ 1. ประเมินผลจากเขยี นโครง เรอ่ื ง รอ้ ยละ ๖๐

๘. กิจกรรมการเรยี นรู้ (กจิ กรรมการสร้างความรโู้ ดยใชค้ ำถาม) ขั้นท่ี1 ขน้ั วางแผนการใชค้ ำถาม 1. นักเรยี นและครสู นทนาเกี่ยวกับเรื่อง สนุกสนานกบั การเล่น จากหนังสือภาษาพาที ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ ของกระทรวงศึกษาธิการ หนา้ ๑๔๑ –๑๔๙ และบอกว่าชอบหรอื ไม่ เพราะอะไร ขนั้ ที่2 เตรยี มคำถาม 2. ครูเตรยี มคำถามจากเรือ่ ง สนุกสนานกบั การเล่น จากหนงั สือ ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษา ปที ี่ ๔ ของกระทรวงศึกษาธิการ หนา้ ๑๔๑ –๑๔๙ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นจับใจความสำคัญของเรื่อง ดงั นี้ ใคร มีตวั ละครใครบา้ ง ทีไ่ หน เหตุการณเ์ กดิ ขน้ึ ทไ่ี หนบา้ ง ใครทำอะไร มีเหตุการณอ์ ะไรเกดิ ข้นึ บา้ ง เหตุการณท์ ่ี 1 เหตุการณ์ที่ 2 เหตุการณท์ ี่ 3 เหตุการณ์ท่ี 4 ผลของเหตุการณ์เป็นอยา่ งไร -ขอ้ คิดจากเร่อื ง ขน้ั ท3่ี การใช้คำถาม 3. นักเรยี นตอบคำถามตามหัวข้อทีค่ รูกำหนด หลงั จากอ่านเรื่อง สนกุ สนานกบั การเลน่ จากหนังสอื ภาษาพาที ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๔ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร หนา้ ๑๔๑ –๑๔๙ 4. นกั เรยี นศกึ ษาใบความรู้เรอื่ งการทำโครงเรอื่ ง ขัน้ ท่ี4 สรุปและประเมนิ ผล 5. นักเรยี นเขา้ กลุ่มตามความเหมาะสม ใหแ้ ต่ละกลุ่มเขียนโครงเรอื่ งสนกุ สนานกบั การเลน่ จากหนงั สอื ภาษาพาที ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ ของกระทรวงศึกษาธิการ หน้า ๑๔๑ –๑๔๙ 6. นกั เรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอโครงเร่ืองทหี่ น้าชน้ั เรียน ครูและเพ่ือนกล่มุ อนื่ ร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ๙. สือ่ และแหล่งเรียนรู้ ๙.๑ หนงั สือเรียนภาษาภาที ช้นั ป.๔ ๙.๒ กระดาษชาร์ท ๙.๓ สีเมจกิ ๙.๔ ใบความรู้ เรือ่ งโครงเร่ือง ๑๐. ขอ้ เสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

ใบความรู้ แผนภมู โิ ครงเรอ่ื ง ดังน้ี ใคร : ตัวละคร ท่ไี หน : สถานที่ เมื่อไร : เวลาทเี่ กิดเหตกุ ารณ์ เหตกุ ารณ์ : เหตกุ ารณท์ ่ี ๑ เหตุการณ์ที่๒ เหตุการณ์ท่ี ๓ ฯลฯ.. บทสรุป : ผลของเหตุการณ์ ขอ้ คิด : สรปุ ข้อคิด ใบงาน _________________________________________________________________________ คำชแี้ จง ให้นกั เรียนเขยี นเรอ่ื งสรุปโครงเร่อื งดว้ ยคำพดู ของนักเรียนเอง (๔๐ คะแนน) ใคร : ……………………………………………………………….…………..………... ทไ่ี หน : ………………………………………………………………………….…….….... เมือ่ ไร : ………………………………………………………………………….……..…... เหตกุ ารณ์ : ……………………………………………………….………………………..…... บทสรปุ : ………………………………………………….………………………….….…... ข้อคิด : ……………………………………………………..……………………..……..... …………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เกณฑก์ ารประเมนิ การเขยี นแผนภาพโครงเร่อื ง หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๑ เร่ือง เลน่ สนุกกับพวกเรา รายการการ ๔ ระดับคณุ ภาพ นำ้ หนัก คะแนน ประเมิน ๓๒ ๑ คะแนน รวม ๑๒ ๑. เนื้อเรื่อง เน้ือเร่อื ง สรุป เนอ้ื เร่อื ง สรุป เนอื้ เร่ือง สรปุ เน้ือเรื่อง สรุป สรปุ ถกู ตอ้ งตาม ๑๒ หลกั เกณฑ์ ถูกต้องแตไ่ ม่ ถกู ตอ้ ง เล็กน้อย ยงั ไมถ่ กู ต้อง ๓ ๓ ๑๒ ๒. ลำดับ ลำดับความคิด ครบถว้ น ๓ ความคดิ เหตกุ ารณ์ ๑ ๔ เหตกุ ารณ์ ตอ่ เนอื่ งสมั พันธ์ ลำดับความคิด ลำดบั ความคิด ลำดับความคิด ๔๐ ต่อเนอ่ื ง กนั ดีมาก สมั พนั ธก์ ัน เหตุการณ์ เหตุการณ์ เหตุการณ์ ๓. สำนวนภาษา สำนวนภาษาสอ่ื ตอ่ เน่อื งสัมพันธ์ ตอ่ เนอ่ื งสัมพนั ธ์ ตอ่ เน่ืองยังไม่ สอ่ื ความหมายได้ ความหมาย ถกู ตอ้ งชดั เจน กนั พอใช้ กนั บา้ งเปน็ สัมพนั ธก์ ัน ชดั เจน ดมี าก บางครั้ง ๔. ความสะอาด สะอาด เป็น เปน็ ระเบียบ ระเบียบ ลายมือ สำนวนภาษาสอื่ สำนวนภาษาสื่อ สำนวนภาษาสอ่ื เรยี บร้อย สม่ำเสมอ ไม่มี รอยขีดฆ่า ความหมายได้ ความหมาย ความหมายยงั ไม่ ถูกตอ้ งพอใช้ ถกู ต้องเปน็ บาง ถกู ต้อง ขอ้ ความ สะอาด เปน็ สะอาด เป็น สะอาด เปน็ ระเบียบ ลายมอื ระเบียบ ลายมอื ระเบียบ มีรอยลบ สม่ำเสมอ มีรอย สม่ำเสมอ รอยขดี ขดู ขีดฆ่า ขีดฆ่าเลก็ นอ้ ย ฆ่า ลบ ๓-๔ แห่ง มากกว่า ๔ แหง่ รวมคะแนน เกณฑก์ ารตดั สนิ /ระดับคณุ ภาพ/เกณฑก์ ารผา่ น ผ่านระดบั ๓ ขน้ึ ไป คะแนน ๓๒– ๔๐ ระดบั ๕ หมายถึง ดีเยีย่ ม คะแนน ๒๘– ๓๑ ระดบั ๔ หมายถึง ดีมาก คะแนน ๒๔– ๒๗ ระดบั ๓ หมายถงึ ดี คะแนน ๒๐– ๒๓ ระดบั ๒ หมายถงึ พอใช้ คะแนน ๐ – ๑๙ ระดับ ๑ หมายถงึ ควรปรับปรงุ

แบบบันทึกคะแนนการเขียนแผนภาพโครงเรือ่ ง หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ เรือ่ ง เลน่ สนุกกบั พวกเรา เลข ชอ่ื -สกุล รายการประเมิน ๑.เนื้อเร่ือง สรุป ท่ี คะแนน ๒. ลำ ัดบความ ิคดเห ุตการ ์ณ ่ตอเน่ือง ัสมพัน ์ธกัน ๓. สำนวนภาษา ่ืสอความหมาย ัชดเจน ๔. ความสะอาดเ ็ปนระเ ีบยบ เรียบร้อย รวมคะแนน ระ ัดบ ุคณภาพ ๑๒ ๑๒ ๑๒ ๔ ๔๐ ๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ หมายเหตุ ให้ดูจากเกณฑ์ทก่ี ำหนดไวข้ า้ งตน้

แผนการเรียนรู้ท่ี ๔ เร่อื ง พูดดีเป็นศรีแก่ปาก เวลา ๑ ชว่ั โมง 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชี้วดั มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดอู ยา่ งมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรูส้ กึ ในโอกาสต่างๆอยา่ งมีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ ตวั ชว้ี ดั ท ๓.๑ ป.๔/๑ จำแนกขอ้ เท็จจริงและขอ้ คดิ เหน็ จากเร่อื งที่อ่านฟงั และดู ท ๓.๑ ป.๔/๒ พูดสรปุ ความจากการอ่าน ฟังและดู ท ๓.๑ ป.๔/๓ พูดแสดงความรู้ ความคดิ เห็น และความรู้สึกเก่ยี วกับเร่อื งท่ีอา่ นฟงั และดู ท ๓.๑ ป.๔/๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามจากเร่อื งที่อ่านฟังและดู ท ๓.๑ ป.๔/๖ มมี ารยาทในการอา่ นฟงั การดแู ละการพดู ๒. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เข้าใจความหมายของเร่ืองที่อ่านและการพดู แสดงความรู้ความคิด ในเรื่องท่ีอ่านฟังและดูจากสือ่ ต่างๆ และนำมาใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑.นกั เรียนสามารถพูดสือ่ สารได้ ๒ นกั เรียนมมี ารยาทในการอ่าน ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ การอ่าน การฟัง การดูจากเร่ืองท่นี ักเรยี นสนใจ ๓.๒ พูดสรุปใจความสำคัญความคดิ เห็น จากเร่อื ง ๔.สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น ๔.๑ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ๔.๒ ความสามารถในการพดู ส่อื สาร ๕. ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์/ค่านิยม ๕.๑ นกั เรียนมีวนิ ัย ใฝร่ ใู้ ฝเ่ รียน ๕.๒ นกั เรียนมีมารยาทในการพดู ๖. ชิ้นงาน/ภาระงาน การพดู สื่อสาร ๗.การวัดประเมินผล เคร่ืองมือ เกณฑ์การผ่าน วธิ กี าร ๑.แบบประเมินการพูดสื่อสาร นกั เรียนจะต้องผา่ นการประเมนิ ๑. ประเมินการพดู สอ่ื สาร รอ้ ยละ ๖๐

๘.กจิ กรรมการเรียนรู้(ใช้กระบวนการสร้างความรู)้ ข้นั ที่ ๑ ขั้นทบทวนความรเู้ ดิม 1. นักเรียนสนทนาเกี่ยวกบั เนื้อเรือ่ งทสี่ รปุ ไดจ้ ากแผนภาพโครงเรอ่ื ง วา่ ได้ขอ้ คิดอย่างไรบ้าง 2. นกั เรยี นอาสาสมัครออกมาสรุปเรือ่ งจากบทเรียนทผี่ ่านมาให้เพื่อนๆฟงั หน้าชน้ั เรยี น ขน้ั ที่ ๒ การแสวงหาความรใู้ หม่ 3. นกั เรยี นแบง่ ออกเป็น ๕ กลุ่ม 4. แตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษาค้นคว้าในหอ้ งสมดุ และสรปุ เรื่องจากการอา่ น การ ฟงั และการดู ที่มี เนอื้ หาเกี่ยวกับการกระทำอยา่ งใดอย่างหนงึ่ ทเ่ี กิดปญั หาต่างๆ ขัน้ ท่ี ๓ ขัน้ ศกึ ษาทำความเข้าใจข้อมูล/ ความรู้ใหม่และเช่อื มโยงความรูใ้ หมก่ บั ความรเู้ ดมิ 5. หลงั จากนกั เรียนศกึ ษาคน้ ควา้ เน้อื เรอ่ื งที่นกั เรียนสนใจในห้องสมดุ แลว้ นกั เรยี นแตล่ ะคน ในกลมุ่ ชว่ ยกันระดมความคดิ โดยต้งั คำถามและตอบคำถามจากเรือ่ งทีอ่ ่านพร้อมทง้ั ข้อคิดที่ได้จากเรือ่ งที่อ่าน 6. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ นำความคิดของแต่ละคนมาร่วมอภปิ รายภายในกล่มุ และเลอื กคำถาม คำตอบ ข้อคดิ ทีค่ ล้ายกันแยกเป็นกลมุ่ ๆ หลอมรวมกนั เป็นประเด็นสำคัญของเรื่องแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั สรุปความรู้ ที่ไดล้ งกระดาษชารท์ ข้นั ท่ี ๔ ขน้ั ปฏิบัติและการแสดงผลงาน 7. นกั เรยี นแต่ละกล่มุ สง่ ตัวแทนออกพดู นำเสนอผลงานหน้าชน้ั เรยี นโดยให้เพอ่ื นกลุม่ อนื่ ๆ ร่วมกนั ซักถามและแสดงความคิดเหน็ จากเรือ่ งที่เพือ่ นๆนำเสนอหนา้ ชั้นเรยี นพร้อมทง้ั ร่วมกนั ประเมินการพูด นำเสนอของแตล่ ะกลุ่มร่วมกัน ขั้นที่ ๕ ขน้ั ประยุกต์ใช้ความรู้ 8. ครูสง่ เสริมใหน้ ักเรียนไดฝ้ กึ ฝนการอ่านการสรุปความด้วยการตัง้ คำถามไปใช้ใน สถานการณ์ต่างๆไมว่ า่ จะเปน็ การอา่ น การฟัง เพอ่ื เพิม่ ความชำนาญ ความเขา้ ใจความสามารถในการ แกป้ ญั หาและความจำในเร่อื งนนั้ ๆ เป็นการใหโ้ อกาสผเู้ รยี นใช้ความรู้ให้เป็นประโยชน์ เปน็ การสง่ เสรมิ ความคิดสรา้ งสรรค์ ๙. สอื่ และแหลง่ เรียนรู้ ๙.๑ หนังสือภาษาไทย ชน้ั ป.๔ ๙.๒ กระดาษชาร์ท ๙.๓ สีเมจกิ ๙.๔ หอ้ งสมุดโรงเรยี นอนุบาลศรวี ิไล ๑๐. ข้อเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

แบบบันทึกการประเมนิ การพูด ประเดน็ / ความถูกต้อง ความ การแสดงท่าทาง/ รวม คะแนน 8 คล่องแคล่ว นำ้ เสยี ง คะแนน เลขท่ี 8 ประกอบการพดู 20 ชื่อ - สกลุ 4 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 ๑๖ ลงช่ือ.........................................................ผู้ประเมนิ (................................................................) วนั ท.ี่ .........เดอื น.................................พ.ศ. .................

เกณฑก์ ารให้คะแนนการพูด ระดบั คะแนน ๔ เกณฑ์การให้คะแนน น้ำหนัก/ คะแนน ๓๒ ๑ ความสำคัญ รวม ประเด็นการ ประเมิน ความถกู ตอ้ ง ออกเสียง ออกเสยี ง ออกเสียง ออกเสียงคำ/ คำศพั ทแ์ ละ คำศพั ท์และ คำศัพทแ์ ละ ประโยคผดิ ประโยคได้ ประโยคได้ ประโยคได้ หลักการออก ถูกตอ้ งตาม ถูกต้องตาม ถกู ต้องเปน็ เสยี งทำให้ หลัก หลักการ สว่ นใหญ่ ส่ือสารไม่ได้ การออก ออกเสยี งมี ขาดการออก เสียง เสียง เสยี ง ๒ ๘ ออกเสยี ง เน้นหนกั ใน เนน้ หนกั ๒ ๘ 1 4 เนน้ คำ/ประโยค ๕ ๒๐ หนกั ในคำ/ เปน็ สว่ น ประโยค ใหญ่ อยา่ ง สมบรู ณ์ ความ พดู ต่อเน่ือง พูดตะกุก พูดเปน็ คำๆ พูดไดบ้ างคำ คล่องแคล่ว ไมต่ ดิ ขดั ตะกกั บ้าง หยุดเปน็ ทำให้สอื่ พูดชดั เจน แต่ ชว่ งๆ ความหมาย ทำให้สอื่ สาร ยังพอสือ่ สาร เพือ่ ทำให้ ไมไ่ ด้ ได้ ได้ สอ่ื สารได้ไม่ ชดั เจน การแสดง แสดงท่าทาง พดู ด้วย พูดเหมือน พูดไดน้ อ้ ย ท่าทาง/ และพูดดว้ ย นำ้ เสียง อา่ น มาก น้ำเสยี งประกอบ นำ้ เสยี ง เหมาะสมกับ ไม่เปน็ การพดู เหมาะสมกบั บทบรรยาย ธรรมชาติ บทบรรยาย แต่ไมม่ ี ขาดความ ท่าทาง นา่ สนใจ ประกอบ รวม

แบบบันทึกการประเมนิ การฟัง ประเดน็ / ความเขา้ ใจ การจบั การรู้ ปฏิบัตติ าม รวม คะแนน ๔ ใจความ ความหมาย คำสงั่ คะแนน สำคญั เลขท่ี คำศพั ท์ ๔ ๒๐ ชื่อ - สกุล ๘ ๔ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 24 ลงช่อื .........................................................ผู้ประเมนิ (................................................................) วนั ที.่ .........เดือน............................พ.ศ. .................

เกณฑ์การใหค้ ะแนนการฟัง ระดบั เกณฑ์การใหค้ ะแนน น้ำหนัก/ คะแนน คะแนน ความสำคญั รวม ประเด็น ๔๓๓๑ ๔ การประเมิน ๑ ความเขา้ ใจ สามารถตอบ สามารถตอบ สามารถตอบ ตอบคำถาม ๘ ๒ การจบั ใจความ คำถาม คำถาม คำถาม หลงั จากที่ฟัง ๔ สำคัญ ๑ หลงั จาก หลังจากทฟ่ี ัง หลงั จากทีฟ่ งั ไดน้ อ้ ยมาก ๔ การรู้ ๑ ๒๐ ความหมาย ท่ฟี ังได้ ไดเ้ ป็นส่วน ไดเ้ ลก็ นอ้ ย ๕ คำศพั ท์ ทงั้ หมด ใหญ่ การปฏิบัตติ าม คำสง่ั จับใจความ จับใจความ จับใจความ จบั ใจความ สำคญั ของ สำคญั ของ สำคัญของ สำคญั ของ เน้ือหาได้ เนอื้ หาได้ เน้ือหาได้ เนือ้ หาได้ ท้ังหมด เกือบ เล็กนอ้ ย น้อยมาก ทงั้ หมด รู้ความหมาย รคู้ วามหมาย รคู้ วามหมาย รู้ความหมาย คำศพั ท์ คำศัพทโ์ ดย คำศพั ท์ คำศัพท์ ทงั้ หมด สว่ นใหญ่ ทง้ั หมด เล็กน้อย และ และไม่ ชดั เจน ชดั เจน ปฏิบตั ิตาม ปฏิบัตติ าม ปฏบิ ตั ติ าม ปฏบิ ัติตาม คำสง่ั คำสัง่ คำสงั่ คำส่ัง ได้ถกู ตอ้ งแต่ ไมค่ อ่ ย ได้ถกู ตอ้ ง ค่อนข้างชา้ ถกู ต้องและ ได้ถกู ตอ้ ง และ นอ้ ยมาก คล่องแคลว่ คอ่ นขา้ งช้า รวม

แผนการเรยี นรทู้ ่ี ๕ เร่ือง สอ่ื สารไดด้ ้วยประโยค เวลา ๑ ช่ัวโมง ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวช้วี ัด มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลัง ภาษาภมู ิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัตขิ องชาติ ตวั ชว้ี ัด ท 4.๑ ป.๔/๒ การระบุชนิดและหน้าท่ขี องคำในประโยคทำให้นำคำไปใชไ้ ด้ถกู ตอ้ ง ท 4.๑ ป.๔/๓ การใชพ้ จนานกุ รมค้นหาความหมายของคำ ทำให้ไดค้ วามหมายท่ีถกู ต้อง ท ๔.๑ ป.๔/๔ แตง่ ประโยคได้ถูกตอ้ งตามหลกั ภาษา ๒. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด ประโยคที่ใช้ในการส่อื สารให้เข้าใจตรงกนั มีหลายประเภท การแตง่ ประโยคได้ถกู ต้องต้องรู้หลกั ภาษา และประเภทหรือชนิดของประโยค จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑. แต่งประโยคไดถ้ ูกต้องตามหลกั ภาษา ๒. จำแนกส่วนประกอบของประโยคได้ ๓. สาระการเรียนรู้ 3.1 ประโยคสามญั 3.1.1 ส่วนประกอบของประโยค 3.1.2 ประโยค ๒ส่วน 3.1.3 ประโยค ๓ส่วน ๔. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน ๔.๑ ความสามารถในการส่อื สาร ๔.๒ ความสามารถในการคดิ ๔.๒ ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ ๕. ลักษณะอันพึงประสงค์/ค่านิยม ๕.๑ นกั เรียนมคี วามมงุ่ มน่ั ในการทำงาน ๕.๒ นักเรยี นมีวนิ ัย ใฝ่รูใ้ ฝเ่ รยี น ๕.๓ รกั ความเปน็ ไทย ๖. ชนิ้ งาน/ภาระงาน 6.1 การแต่งประโยค ๒ สว่ น 6.2 การแตง่ ประโยค ๓ ส่วน ๗. การวัดประเมินผล วิธกี าร เครื่องมือ เกณฑ์การผ่าน 1. ประเมนิ ผลงานการแตง่ ๑. แบบประเมนิ ผลงานนักเรยี น นกั เรียนจะต้องผ่านการประเมนิ ประโยค ๒ สว่ น ร้อยละ ๖๐ 2. ประเมินผลงานการแตง่ ประโยค ๓ สว่ น

๘. กิจกรรมการเรยี นรู้(กระบวนการสร้างความรู้) ขัน้ ที่ ๑ ข้นั แนะนำ 1. แจ้งจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 2. นกั เรยี นรว่ มกนั รอ้ งเพลงประโยคสามส่วน (ภาคผนวก) ขนั้ ท่ี ๒ ขัน้ ทบทวนความรเู้ ดิม 3. นกั เรียนรว่ มกนั ทบทวนความรู้เดมิ เกยี่ วกับประโยคเพ่ือเชื่อมโยงความร้เู ข้าสบู่ ทเรียน 4. นกั เรียนช่วยกนั เรยี งบตั รคำบนกระดานและครูสมุ่ เรียกตัวแทนนักเรียนออกมา 2-3 คน แล้วชว่ ยกันเรยี งบตั รคำให้เป็นประโยคใหไ้ ดม้ ากท่ีสุด บัตรคำทใ่ี ช้ไดแ้ ก่ ฉนั ใคร เพื่อน อยาก โรงเรียน นิด เลน่ และ ว่ายนำ้ ไป ลกู บอล ขัน้ ท่ี ๓ขัน้ ปรบั เปลยี่ นความคดิ 5. นกั เรยี นร่วมกนั อ่านประโยคทตี่ วั แทนนักเรยี นเรียงบัตรคำบนกระดาน 6. นักเรียนร่วมกนั สนทนาเรอื่ ง ประโยค แล้วศกึ ษาความรูเ้ ร่อื ง ประโยค จากหนงั สอื เรียน และครูอธบิ ายเพิ่มเตมิ ใหน้ กั เรียนเขา้ ใจมากย่ิงขนึ้ 7. นักเรียนรอ้ งเพลง รวมเงนิ เพื่อเข้ากลมุ่ ๆ ๕ คน (ภาคผนวก) 8. นักเรยี นแต่ละกล่มุ ทำใบงานเรอ่ื ง ประโยค โดยแต่ละกลุ่มแตง่ ประโยคจากคำทีก่ ำหนด จำนวน ๕ประโยค ๙. นักเรยี นแต่ละกลุม่ นำเสนอผลงานทห่ี น้าช้ันเรียน แลว้ ส่งให้ครูตรวจ 10. นกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ สาระสำคัญของเรื่อง ประโยค ข้นั ที่ ๔ ขัน้ ทบทวน 11. นักเรยี นอา่ นออกเสียงแถบประโยคบนกระดานพรอ้ มกนั แถบประโยคทใี่ ช้ ได้แก่ - น้ำตก - แม่ของฉันกนิ ขา้ วอย่างเอรด็ อร่อย - ลมพดั แรงมาก - เขากนิ ขนม - ผหู้ ญงิ คนน้ันพดู จาไพเราะ 12. นกั เรยี นชว่ ยกนั แยกส่วนประกอบของประโยคลงในตารางใหถ้ ูกตอ้ ง ดังนี้ ภาคประธาน ภาคแสดง ประธาน ขยายประธาน กรยิ า ขยายกรยิ า กรรม ขยายกรรม น้ำ - ตก - - - แม่ ของฉัน กิน อย่าง ขา้ ว - เอร็ดอร่อย ลม - พดั แรงมาก - - เขา - กิน - ขนม - 13. ครอู ธิบายวธิ กี ารแยกส่วนประกอบของประโยค และให้นักเรยี นศกึ ษาความรู้ เรือ่ ง ประโยคสองส่วน ประโยคสามสว่ น จากหนังสือเรียน จากนน้ั ครูอธิบายเพ่มิ เติมให้นกั เรียนเข้าใจมากย่ิงข้ึน

๙. สือ่ /แหลง่ เรียนรู้ ๙.๑ หนังสอื เรียน ภาษาไทย (หลักภาษาและการใชภ้ าษา) ป.๔ ๙.๒ แบบฝึกหัด ภาษาไทย ป.๔ ๙.๓ บตั รคำ ๙.๔ แถบประโยค ๙.๕ ใบงานเรื่อง ประโยค ๙.๖ ใบงานเรือ่ ง แต่งประโยค ๙.๗ ห้องสมุด ๙.๘ อินเทอรเ์ นต็ ๑๐.ขอ้ เสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

แบบประเมินการทำงานของนกั เรียนตามสภาพจริง ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน ๔๓๒ ๑ ๑ ความรู้ความเข้าใจในเน้ือหา ๒ กระบวนการคิดวิเคราะห์ ประเมินค่า ๓ การแสดงความคิดเห็น ๔ ความมนี ำ้ ใจกับเพือ่ นร่วมงาน ๕ ความรับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ทที่ ี่ไดร้ บั มอบหมาย รวม (ลงชื่อ) .....................................ผู้ประเมนิ (........................................................) ..../........................../....... เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ปฏบิ ัตสิ มบูรณช์ ัดเจน ให้ ๔ คะแนน ปฏบิ ตั ิยังมขี อ้ บกพร่องที่ไมส่ ำคัญ ให้ ๓ คะแนน ปฏิบตั ิยงั มขี ้อบกพร่องเปน็ ส่วนใหญ่ ให้ ๒ คะแนน ปฏบิ ตั ไิ มไ่ ด้เลย ให้ ๑ คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๗ – ๒๐ ๔ หมายถึง ดีมาก ๑๓ – ๑๖ ๓ หมายถงึ ดี ๙ – ๑๒ ๒ หมายถงึ พอใช้ ๕–๘ ๑ หมายถงึ ปรบั ปรงุ

แผนการเรียนร้ทู ี่ 6 เรอ่ื ง สะกดคำได้ความหมายกร็ ู้ เวลา ๑ ชั่วโมง ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวช้วี ัด มาตรฐาน ท.๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษาและรกั ษาวัฒนธรรมไทยไว้เปน็ สมบตั ิของชาติ ตวั ชี้วัด ท ๔.๑ ป.๔/๑ สะกดคำและบอกความหมายของคำในบริบทตา่ ง ๆ ท ๔.๑ ป.๔/๒ ระบชุ นดิ และหนา้ ทข่ี องประโยค ท ๔.๑ ป.๔/๓ ใช้พจนานุกรมค้นหาความหมายของคำ ๒. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การสะกดคำบอกความหมายรวมทั้งระบหุ นา้ ที่ของประโยคและใช้พจนานุกรมในการค้นหาคำศพั ทไ์ ด้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๑. นักเรียนสามารถสะกดคำศพั ทไ์ ด้ถกู ต้อง ๒. นักเรยี นสามารถใชพ้ จนานกุ รมหาความหมายของคำได้ ๓. สาระการเรยี นรู้ การสะกดและบอกความของคำในบรบิ ทต่างๆ ๔. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน ๔.๑ ความสามารถในการคิด ๔.๒ ความสามารถในการแกไ้ ขปญั หา ๕. ลกั ษณะอนั พึงประสงค์/ค่านิยม ๕.๑ มงุ่ มั่นในการทำงาน ๕.๒ ใฝร่ ู้ใฝเ่ รยี น ๕.๓ มวี นิ ยั ๖. ช้ินงาน/ภาระงาน การเขียนสะกดคำ ๗. การวัดประเมนิ ผล วิธกี าร เคร่อื งมือ เกณฑ์การผ่าน ๑. ประเมนิ การเขียนสะกดคำ ๑. แบบประเมนิ การเขียนสะกด นักเรยี นจะตอ้ งผา่ นการประเมนิ คำ ร้อยละ ๖๐

๘. กิจกรรมการเรยี นรู้ (ใช้กระบวนการสรา้ งความรู้) ขั้นที่ ๑ ข้นั แนะนำ ๑. นักเรยี นเล่นเกมส่งสารดงั น้ี ๑.๑ นักเรียนส่งซองสารทีค่ รูนำมาต่อ ๆ กนั ๑.๒ เมอื่ ครใู ห้สัญญาณ ซองสารอยทู่ ี่ใคร คนน้ันต้องปฏบิ ตั ติ ามคําสั่ง เช่น เขยี นคําท่ี สะกดดว้ ย บ ๒ คํา ใครปฏบิ ตั ติ ามคาํ สง่ั ไมไ่ ด้ ต้องถกู ลงโทษโดยการหกั คะแนนกลุ่มคร้งั ละ ๑ คะแนน ๑.๓ นักเรียนเข้ากลุ่ม๓ กลุ่ม (ใชเ้ พลง ดวงดาว) ส่งตัวแทนออกมาจับฉลากหัวข้อ ไดแ้ ก่ ดอกไมด้ อกมะลิ ดอกกุหลาบ ดอกชบา ๑.๔ แตล่ ะกลมุ่ รวบรวมคําตอบหวั ข้อท่ไี ด้รบั และนาํ มาจัดหมวดหมตู่ ามมาตราตัวสะกด ทัง้ ๙มาตรา โดยเขียนลงในกระดาษท่ีครแู จกให้ ๑.๕ ส่งตัวแทนออกมานําเสนอหน้าช้นั เรยี น ๑.๖ ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันตรวจสอบความถูกต้อง ข้นั ท่ี ๒ ขนั้ ทบทวนความรูเ้ ดิม ๒. นกั เรยี นช่วยกนั ทบทวนความรูเ้ รอ่ื งมาตราตัวสะกด โดยครูใชเ้ พลงมาตราตวั สะกดเปน็ การ ทบทวนความรู้ ( เพลงมาตราตวั สะกด) 3. นกั เรียนแต่ละกลุม่ แขง่ ขนั เขียนคาํ ตอบบนกระดานตามกติกาทคี่ รูกาํ หนด 4. เมอื่ ครูบอกมาตราตวั สะกด เช่นมาตราแม่กน มาตรา แม่กก แตล่ ะกลุม่ ตอ้ งชว่ ยกนั คิดคาํ ท่ีพยางค์แรกอยู่ในมาตรา แม่กน และพยางค์ทีส่ องอยูใ่ นมาตรา แม่กก เชน่ ฝนตก 5. นกั เรียนเขียนคาํ ตอบแตล่ ะข้อภายในเวลา ๓๐วนิ าที ใหไ้ ดม้ ากท่ีสดุ 6. เมื่อหมดเวลาร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง นับคะแนนคําท่ถี ูกตอ้ ง คําละ ๑ คะแนน แล้วครบู อกเง่ือนไขตอ่ ไป ขนั้ ท่ี ๓ ขนั้ ปรบั เปลีย่ นความคิด 7. นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มค้นหา คําท่สี ะกดด้วยมาตรา แมก่ ด กน กบ 8. นักเรียนแต่ละคนถือบัตรพยญั ชนะ กด กน กบ และให้ชูบัตรพยัญชนะมาตรา 9. ตัวแทนนกั เรียนอ่านคาํ พน้ื ฐาน ทลี่ ะคาํ นกั เรยี นคนใดชูบตั รไมถ่ กู ชว่ ยกนั ทบทวนเรื่อง การสังเกตคําในมาตราแม่กด กน กบท่ีตรงและไม่ตรงมาตราอกี คร้งั 10. นักเรยี นแขง่ ขันหาคาํ ท่สี ะกดในมาตรา แม่ กด กน กบ ในเวลาทกี่ าํ หนด กลมุ่ ใดหาได้ มากทสี่ ดุ ใหอ้ อกมาอา่ นคําท่หี าไดแ้ ละช่วยกันสรุปหลักเกณฑ์ 11. นำคำจากขอ้ ๓.๔ ไปหาความหมายจากพจนานุกรม โดยครูสาธิตการใชแ้ ละเปิด พจนานกุ รมให้นกั เรยี นดพู รอ้ มใหน้ ักเรียนศกึ ษาคน้ คว้าจากพจนานุกรม ข้ันที่ ๔ ขน้ั ทบทวน 12. คําสะกดในแม่กด มคี ําทส่ี ะกดดว้ ย จ ต ติ ฒ ตร ฒ ถ ท ธ ศ ษ ส เป็น คําสะกดทอี่ ่าน ออกเสียง เหมือน ด สะกด เป็นคาํ ในมาตราแมก่ ด 13. คาํ สะกดในแมก่ บ มีคาํ ที่สะกดดว้ ย บ ป พ ภ เป็นคาํ สะกดที่อา่ นออกเสยี ง เหมือน บ สะกด เป็นคําในมาตราแม่กบ 14. คําสะกดในแมก่ น มคี ําทสี่ ะกดดว้ ย ญ ณ ร ล เปน็ คําสะกดที่อา่ นออกเสยี ง เหมือน น สะกด เปน็ คําในมาตราแมก่ น นักเรยี นร่วมกันรอ้ งเพลงมาตราตัวสะกดเป็นการสรุปความรู้ (ภาคผนวก)

๙. สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้ 9.๑ พจนานกุ รม 9.๒ หนงั สอื หรือส่ือสารสนเทศอนื่ ๆ 9.๓ ห้องสมดุ โรงเรียนอนุบาลศรวี ไิ ล 9.๔ เพลงมาตราตวั สะกด ๑๐. ขอ้ เสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................

บบประเมนิ การเขียนสะกดคำ ประเดน็ การ ระดบั คุณภาพ ประเมนิ ระดบั ๔ (ดมี าก) ระดับ ๓ (ด)ี ระดับ ๒ (พอใช้) ระดับ ๑ (ควร ผ่านเกณฑ์ ปรบั ปรุง) ๑. การเขียน เขยี นได้ถูกมากกวา่ เขียนผิดหรือตก เขยี นผิดหรือตกหลน่ เขยี นผดิ หรอื ตกหลน่ สะกดคำ ร้อยละ ๙๐ หลน่ ไม่เกนิ ๒๐ % ไม่เกิน ๓๐ % มากกวา่ ๔๐ % ๒. การเปิด คน้ หาคำจาก ค้นหาคำจาก ค้นหาคำจาก ค้นหาคำจาก พจนานกุ รม พจนานกุ รมไดม้ ากกวา่ พจนานกุ รมได้ พจนานกุ รมไดม้ ากกว่า พจนานกุ รมได้ ค้นหา รอ้ ยละ๙๐ มากกว่าร้อยละ๙๐ ร้อยละ๙๐ มากกวา่ รอ้ ยละ๙๐ ความหมายคำ ๓. การบอก บอกไดถ้ กู หมดทกุ คำ บอกผดิ ไมเ่ กนิ บอกผดิ ไมเ่ กิน บอกผิดมากกว่า ความหมายของ ๒๐ % ๓๐ % ๔๐ % คำพน้ื บ้าน ล้านนาเป็น ภาษาไทย มาตรฐาน ๔. ลายมอื ตัวหนงั สือตรง ตวั หนังสอื ตรง ตวั หนงั สือตรง ไม่ เขียนโย้ไปโย้มา สวยงาม เปน็ ระเบยี บ ช่องไฟ เปน็ ระเบยี บ ค่อยเป็นระเบยี บ ช่องไฟไม่เหมาะสม พอเหมาะตลอด ชอ่ งไฟไมเ่ หมาะ ๑- ชอ่ งไฟไม่เหมาะ ๒ แห่ง ๓-๔ แห่ง ๕. การอา่ น คดิ อา่ นและเขยี นคำแลว้ อ่านคำแลว้ สามารถ อา่ นคำแล้วสามารถ อ่านคำแลว้ สามารถ วเิ คราะห์ สามารถวเิ คราะหไ์ ด้ วเิ คราะห์ไดว้ ่าเป็น วิเคราะห์ได้วา่ เป็นคำ วิเคราะห์ได้วา่ เป็น และเขียน วา่ เปน็ คำประเภทใด คำประเภทใด ประเภทใด ผิดไม่ คำประเภทใดผิด (การเขยี นผังมโน ถกู ตอ้ งมากกว่ารอ้ ยละ ผดิ ไมเ่ กิน ๒๐ % เกิน ๓๐ % มากกวา่ ๔๐ % ทัศน)์ ๙๐ ๖. กระบวนการ สมาชิกทกุ คนในกลุม่ สมาชกิ ส่วนใหญ่ สมาชิกบางคนใน สมาชิกบางคนใน กลุ่ม มีความสนใจ ในกล่มุ มีความสนใจ กลมุ่ ไมม่ ีความ กลมุ่ ไมม่ ีความ กระตือรือร้นและตงั้ ใจ กระตือรือรน้ และ สนใจ ไม่ค่อย สนใจ ไม่คอ่ ย รว่ มกจิ กรรม ต้ังใจรว่ มกจิ กรรม กระตือรอื ร้น ในการ กระตอื รอื ร้นและไม่ มกี ารปฏิบัติ ปฏิบัตกิ ิจกรรม ร่วมกจิ กรรม ตั้งใจในการรว่ ม กิจกรรมกลุ่มตามคำ กลมุ่ ตามคำ ปฏิบตั ติ ามกจิ กรรม กจิ กรรม และผลงาน ชแ้ี จงอย่าง ชี้แจง และเสรจ็ กลุม่ ตามคำชแ้ี จงและ ก็ไม่ดีไม่เสรจ็ ตาม คล่องแคลว่ และเสร็จ ตามเวลาท่กี ำหนด ผลงานกเ็ สร็จตาม กำหนดเวลา ตามเวลาทกี่ ำหนด กำหนดเวลา ๗. มนี สิ ัยรกั การ ตง้ั ใจเขยี น ผลงาน ตง้ั ใจเขียน ผลงาน ตัง้ ใจเขยี น ผลงาน ไม่ตง้ั ใจเขียน ผลงาน เขียนและมี สะอาดเรียบร้อย สกปรก ๑-๒ แหง่ สกปรก ๓-๔ แห่ง สกปรกมากกวา่ ๔ ความตั้งใจ ตลอดเสรจ็ ทันเวลา เสรจ็ ทนั เวลา แต่ก็เสร็จทันเวลา แห่งไมเ่ สรจ็ ทันเวลา ทำงาน ท:่ี https://www.gotoknow.org/posts/257034

แผนการเรียนร้ทู ่ี ๗ เร่ือง เขียนบนั ทึกไว้ดว้ ยเพ่ือช่วยในการจำ เวลา ๑ ช่วั โมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชว้ี ัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพอื่ นำไปใช้ตัดสนิ ใจแก้ปญั หาใน การดำเนนิ ชวี ิตและมนี สิ ยั รกั การอา่ น ตวั ชว้ี ดั ท ๑.๑ ป.๔/๑ อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ และ บทร้อยกรองได้ถกู ต้อง มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนส่อื สาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความและเขียนเร่ืองราวในรูปแบบ ต่างๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ตัวช้ีวัด ท ๒.๑ ป.๔/๓ เขยี นบนั ทกึ และเขยี นรายงานจากการศกึ ษาคน้ คว้า ๒. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด การบันทึกความรู้ เป็นการบันทกึ เรอ่ื งราวจากการอา่ น การฟัง หรือการดสู ่อื ตา่ ง ๆ เพือ่ เปน็ การเตอื น ความจำ ให้ความรู้แก่ผูท้ ่ีอ่าน หรอื นำมาใชอ้ า้ งอิงได้ การจดบันทึกควรจดเฉพาะสาระสำคญั ด้วยสำนวนภาษา ของตนเอง ซงึ่ เปน็ การฝกึ ทักษะการใชภ้ าษาและสร้างนสิ ัยรกั การเขียนใหก้ บั ตนเองดว้ ย จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ สามารถเขยี นบันทึกและเขยี นเขยี นเร่อื งราวและเขียนรายงานไดถ้ ูกต้อง ๓. สาระการเรยี นรู้ การบนั ทึกความรูจ้ ากการอา่ น การฟงั หรอื การดูสอ่ื ตา่ งๆ ๔. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน ๔.๑ ความสามารถในการคิด ๔.๒ ความสามารถในการแก้ปัญหา ๕. ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์/คา่ นิยม ๕.๑ มีวนิ ัย ๕.๒ ใฝร่ ใู้ ฝ่เรยี น ๕.๓ มงุ่ มนั่ ในการทำงาน ๖. ช้นิ งาน/ภาระงาน การเขยี นบนั ทึกเรอื่ งราว

๗. การวัดประเมนิ ผล เคร่อื งมือ เกณฑก์ ารผ่าน วธิ กี าร ๑. ประเมินพฤตกิ รรมในการ นักเรยี นจะตอ้ งผ่านเกณฑร์ อ้ ย ทำงานเปน็ รายบคุ คลในด้าน ละ ๖๐ ๑. สังเกตพฤตกิ รรมในการ ความสนใจและต้งั ใจเรยี น ความ ทำงาน รับผดิ ชอบในการทำกิจกรรม ๒. ตรวจผลการบนั ทึกเรอื่ งราว ความมีระเบยี บวนิ ัยในการ ทำงาน ฯลฯ ๒. แบบประเมนิ การบันทึก เร่ืองราว ๘. กจิ กรรมการเรียนรู้ (กระบวนการปฏบิ ตั ิ) ข้นั ท่ี ๑ ขัน้ ศกึ ษาวเิ คราะห์ภาระงาน ๑. นักเรียนร่วมกนั วิเคราะหถ์ ึงความสำคัญของการเขยี นบันทกึ ความรู้ เชน่ - ถา้ โลกนไ้ี มม่ กี ารบนั ทึกความรทู้ ่คี ิดขนึ้ มาใหม่ ไมม่ กี ารบันทกึ ความรู้ทไ่ี ด้จากการศึกษา คน้ ควา้ โลกจะเป็นอย่างไร - การเขียนบันทกึ ความรู้มีความจำเปน็ หรอื ไม่ เพยี งไร - ถ้าจะเขียนบนั ทกึ ความรู้จากการอา่ น เราควรปฏิบัตอิ ย่างไร ข้นั ท่ี ๒ ขน้ั วางแผนการปฏบิ ตั ิงาน ๒. นักเรยี นศกึ ษาความรู้เรือ่ งการเขียนบันทกึ ความรู้จากการอ่าน จากหนงั สือเรยี นภาษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ และรว่ มกนั สรปุ ประเด็นสำคัญ ๓. นกั เรียนทบทวนการบันทึกการอ่านด้วยแผนผังความคิด (mind mapping) การใช้ กระดาษ วธิ ีเขียนผังความคิด การใชเ้ สน้ สี ภาพ การสรปุ สาระสำคัญจากเร่อื งทอ่ี ่าน การสังเกตใจความหลกั ใจความรอง ๔. นักเรยี นอา่ นตัวอยา่ งเรื่อง เพลงพ้นื บา้ น ทีค่ รนู ำมาแล้วจับคูก่ นั สรุปเป็นผงั ความคดิ และ ตรวจคำตอบด้วยตนเอง ๕. นักเรยี นตรวจสอบความเขา้ ใจ การบนั ทกึ การอา่ นด้วยแผนผงั ความคดิ และแกไ้ ขงานให้ ถกู ตอ้ ง ขนั้ ที่ ๓ ขนั้ ลงมอื ปฏิบตั ิงาน ๖. นกั เรียนอา่ นบทความจากหนังสือพิมพร์ ายวัน จำนวน 1 เร่อื ง โดยจับค่กู ันวเิ คราะหส์ าระ ท่ไี ดจ้ ากการอ่าน ว่าสิง่ ใดเปน็ ประเด็นหลกั ส่ิงใดเปน็ ประเดน็ รอง แล้วรว่ มกันสรุปเปน็ ผังความคดิ ๗. ให้นกั เรยี นแลกเปล่ยี นงานกับกลมุ่ อน่ื เพ่ือตรวจสอบความถกู ต้อง หรือวิจารณ์แสดงความ คิดเหน็ ในการบันทึกสาระทไี่ ด้จากการอ่าน ๘. นกั เรียนนำผลงานส่งครู ครูพิจารณาเลอื กตัวอย่างผลงานมาใหน้ กั เรียนได้แสดงความ คิดเห็นเพอ่ื แกไ้ ขปรับปรุงผลงาน ๙. นักเรยี นเขยี นบันทกึ เรอ่ื งราวจากการอา่ นโดยสรปุ เปน็ ความเข้าใจเรอื่ งจากการอ่านลำดับ เรือ่ งราวและเหตกุ ารณ์สำคญั ของเรื่อง

ขนั้ ที่ ๔ ข้ันประเมนิ ผลงาน ๑๐. นักเรียนช่วยกันนำผลงานของเพ่ือนหลากหลายตัวอยา่ งท้งั ดีและไม่ดี มาชว่ ยกันวิจารณ์ และเสนอแนะการแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งชิน้ งานนนั้ ๆ โดยครชู ่วยแนะนำเพิ่มเติม เพื่อใหเ้ กิดความเขา้ ใจที่ถกู ต้อง และนกั เรียนไดเ้ รยี นรู้จากตัวอย่างท่หี ลากหลาย ช่วยย้ำความเข้าใจให้มัน่ คงยิ่งขึน้ ๑๑. นักเรยี นนำวิธกี ารบนั ทึกเรอ่ื งราวไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ๙. ส่อื /แหล่งการเรียนรู้ ๙๑. บทความเรอ่ื งเพลงพนื้ บ้านอีสาน ๙.๒. ส่อื การเรยี นรู้ ภาษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๔ ๙.๓. หนังสอื เรียน รายวิชาพนื้ ฐาน ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๔ ๙.๔. แบบฝกึ ทกั ษะ รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ ๑๐. ขอ้ เสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................

ใบความรู้ เพลงพ้นื บา้ นอีสาน เพลงพื้นบา้ น (Folk Song)คอื เพลงของทอ้ งถ่นิ ใดท้องถิน่ หน่ึงและเปน็ ท่ีรจู้ ักกันดเี ฉพาะถิ่นนนั้ ๆลีลาการ ขับร้องหรอื การฟอ้ นรำจึงมีอิสระทง้ั ในด้านรปู แบบและเนอ้ื หาจงึ เปน็ ทน่ี ยิ มของชาวบ้าน ดว้ ยสาเหตุท่เี พลง พนื้ บ้านใช้ภาษาถ่นิ ใช้ทำนองสนุก จงั หวะเร้าใจ เนอ้ื หาถ่ายทอดความรสู้ ึกนึกคดิ อดุ มการณค์ วามเปน็ อย่แู ละภมู ิ ปัญญาชาวบา้ นซง่ึ แบ่งออกไดเ้ ปน็ ดังนี้ กลมุ่ อีสานเหนือซึ่งสบื ทอดวัฒนธรรมมาจากกลุม่ วัฒนธรรมลุ่มแม่น้ำโขงที่เรยี กว่า กลมุ่ ไทยลาวหรือ กลมุ่ หมอลำหมอแคน ซงึ่ เป็นกลมุ่ คนท่มี จี ำนวนมากทสี่ ุดในภาคอีสาน เพลงพิธกี รรมกลุม่ ไทยลาวหรือกลมุ่ หมอลำหมอแคนในกลมุ่ ไทยลาวนี้มี \"ฮตี สบิ สองคองสิบสี่\" เปน็ บทบัญญัติในการควบคมุ สังคมอีสานเพอื่ ให้ประชาชนไดป้ ระพฤตปิ ฏิบัตติ ามเมอ่ื ถึงเวลาลักษณะของจารตี ประเพณีทีป่ รากฏอย่ใู นฮีตสบิ สองอันเป็นพธิ ีกรรมท่เี กยี่ วข้องกบั พระพุทธศาสนา เชน่ งานบุญตา่ งๆท่ีเกีย่ วเนือ่ ง กับเชอ่ื ทางจิตวิญญาณตง้ั แต่เกิดจนตาย แบ่งไดเ้ ป็น เพลงเซ้งิ ตา่ งๆเป็นเพลงทใี่ ช้ร้องประกอบพิธีตามความเชื่อ ของชาวอีสาน เชน่ เพลงเซง้ิ บ้ังไฟเซง้ิ นางแมว เซ้ิงนางดง้ เซง้ิ ผีโขนใชร้ อ้ งโดยมีจุดมงุ่ หมายในการร้องเพอื่ ให้ เกิดความสนุกสนานดงึ ดดู ใหค้ นไปร่วมพิธี และการร้องเพลงเซง้ิ ยังเป็นส่ือกลางในการขอความรว่ มมอื ในพธิ ีนน้ั เชน่ ขอเงิน ขอส่งิ ของ หรือขอความร่วมมืออื่นๆ ตามแตจ่ ะตอ้ งการการร้องเพลงเซิ้งจะประกอบดว้ ยคนขับกาพย์ นำและจะมีลกู คคู่ อยร้องรับลกั ษณะบทเพลงจะเป็นเพลงแบบด้นกลอนสดรายละเอียดเก่ยี วกับการเซงิ้ แบบ ต่างๆ เพลงร้องเพอื่ ความสนุกสนานเปน็ เพลงร้องเล่นสำหรับหนมุ่ สาวหรือผู้ใหญร่ ้องเพือ่ ความสนุกสนานใน งานเทศกาลหรือวาระพเิ ศษ เชน่ งานสงกรานต์ ผา้ ป่า กฐนิ งานบวชนาค ได้แกห่ มอลำหรอื การลำแบบตา่ งๆหมอ ลำพ้นื คือ หมอลำเปน็ ชายทลี่ ำเกี่ยวกับเร่ืองนิทานตา่ งๆหมอลำกลอนคือ หมอลำชายหญงิ ท่ลี ำเกี่ยวกับเร่ืองราว ของความรักโตต้ อบกนั หมอลำหมู่เปน็ กลุม่ ของหมอลำท่ีลำเป็นเร่ือง และใช้ทำนองเศรา้ หมอลำเพลินเปน็ คณะ หมอลำที่ลำเรื่องใช้ทำนองสนุกสนานหมอลำผฟี า้ คอื การลำรกั ษาคนเจ็บไข้ ซ่ึงเราจดั อยู่ในกลุ่มของเพลง พธิ กี รรม

แบบประเมินการทำงานของนกั เรียนตามสภาพจริง ลำดบั ที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน ๔๓๒ ๑ ๑ ความรูค้ วามเข้าใจในเน้อื หา ๒ กระบวนการคิดวเิ คราะห์ ประเมินค่า ๓ การแสดงความคิดเหน็ ๔ ความมีนำ้ ใจกบั เพอ่ื นร่วมงาน ๕ ความรับผดิ ชอบต่อหน้าที่ทไ่ี ด้รับมอบหมาย รวม (ลงชื่อ) .....................................ผปู้ ระเมนิ (........................................................) ..../........./....... เกณฑ์การใหค้ ะแนน ปฏิบัติสมบูรณ์ชดั เจน ให้ ๔ คะแนน ปฏิบัติยงั มขี ้อบกพรอ่ งทไ่ี ม่สำคญั ให้ ๓ คะแนน ปฏบิ ัตยิ ังมีขอ้ บกพร่องเปน็ สว่ นใหญ่ ให้ ๒ คะแนน ปฏิบตั ิไม่ได้เลย ให้ ๑ คะแนน ช่วงคะแนน เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ ๑๗ – ๒๐ ระดบั คุณภาพ ๑๓ – ๑๖ ๔ หมายถึง ดีมาก ๙ – ๑๒ ๓ หมายถึง ดี ๕–๘ ๒ หมายถึง พอใช้ ๑ หมายถึง ปรบั ปรงุ

ใบงานเรื่อง การบันทึกเรือ่ งราว คำช้ีแจง ใหน้ ักเรียนสรปุ ใจความสำคญั โดยลำดับเหตุการณ์และเหตกุ ารณส์ ำคญั ของเรื่องและเขยี นบนั ทึก สาระสำคญั และข้อคิดเหน็ ของเรอ่ื งทีอ่ ่าน สาระสำคญั .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ้ คิดท่ไี ดร้ ับ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................

แผนการเรียนร้ทู ี่ ๘ เรอ่ื ง เรยี งร้อยบทร้อยกรอง เวลา ๑ ชว่ั โมง ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวช้วี ัด มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและ พลังของภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัตขิ องชาติ ตัวชี้วดั ท ๔.๑ ป ๔/๕ แต่งบทร้อยกรองและคำขวัญ ๒. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด บทกลอน เปน็ ศิลปะในการใชภ้ าษาทร่ี ้จู กั รอ้ ยเรียงคำใหส้ ัมผัสคล้องจองกันจนเกิดความไพเราะ สือ่ ความหมายไดถ้ กู ตอ้ ง และสรา้ งสรรค์ การฝกึ ฝนแตง่ บทกลอนงา่ ย ๆ เป็นการฝึกฝนเพื่อพฒั นาไปส่กู ารแต่งบท ร้อยกรอง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรยี นสามารถแต่งบทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสี่ไดถ้ กู ต้อง ๓. สาระการเรียนรู้ การเขียนบทรอ้ ยกรอง ๔. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น ๔.๑ ความสามารถในการคิด ๔.๒ ความสามารถในการแกป้ ญั หา ๕. ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๕.๑ นกั เรยี นมีวนิ ัย ๕.๒ ใฝ่เรียนรู้ ๕.๓ มุง่ ม่นั รกั ความเป็นไทย ๖. ชน้ิ งาน/ภาระงาน การแต่งกลอนส่ี ๗.การวดั ประเมินผล เคร่อื งมือ เกณฑ์การผ่าน ๑. แบบประเมนิ การแต่งกลอนส่ี วธิ ีการ นักเรยี นจะตอ้ งผา่ นเกณฑร์ ้อย ๑. สังเกตการต่อคำคลอ้ งจอง ละ ๖๐ ๒. ตรวจผลงานการแต่งกลอนส่ี

๘. กิจกรรมการเรยี นรู้ (กระบวนการคิด) ขน้ั ที่ ๑ ขั้นส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหผ้ ู้เรียนคิด 1. นกั เรยี นอา่ นแถบประโยคบนกระดาน เราเป็นนกั เรียน รักการทำงาน เรียนรู้ตัง้ ใจ มคี รูนำพา 2. นักเรยี นชว่ ยกันตอ่ คำคล้องจองจากขอ้ ความในแถบประโยคใหส้ มั ผสั กนั ในแต่ละวรรค 3. นกั เรียนอา่ นแถบประโยคที่ชว่ ยกันแตง่ ขน้ั ท่ี ๒ ขั้นกระตนุ้ ใหเ้ กิดการคดิ 4. นกั เรียนสนทนาถึงเรื่องการสัมผสั ของคำแต่ละวรรคและโยงเขา้ เร่อื ง การแตง่ กลอนส่ี 5. นกั เรียนชว่ ยกนั แตง่ เปน็ บทกลอนจากประโยควา่ “ฉนั รกั คุณครู”โดยช่วยกันแต่งจนจบ ความ ขน้ั ท่ี ๓ ขน้ั ฝึกทักษะการคดิ 6. นกั เรียนศกึ ษาเร่ืองการแต่งกลอนส่ีในหนังสอื เรยี น/ส่ือการเรยี นรู้ภาษาไทย ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็น 7. นักเรยี นสงั เกตแผน่ ป้ายบทกลอนง่าย ๆ บนกระดาน ฉนั เปน็ เด็กดี จึงมคี วามสุข ไม่เคยมที ุกข์ สนกุ สขุ ใจ ฉันตัง้ ใจเรียน พากเพียรเรียนไป แสนสุขหวั ใจ ได้ไปโรงเรียน ไม่เคยห่างไกล ห่วงใยดแู ล ขน้ั ที่ ๔ ขนั้ แสดงความคดิ 8. นักเรียนชว่ ยกนั เขียนแผนผงั บังคับบทกลอนบนกระดาน 9. นักเรียนนึกถงึ ครอบครวั ของตนเองและ แตง่ กลอนสี่ แล้วอา่ นบทกลอนท่แี ตง่ ใหเ้ พือ่ นใน ชน้ั เรยี นและครูฟงั แล้วรวบรวมผลงานนกั เรยี นในหอ้ งทำเป็นสมดุ รวบรวมคำกลอน ขน้ั ที่ ๕ ข้ันสรปุ 10. นกั เรยี นและครรู ว่ มกันสนทนาสรุปเรือ่ ง การแตง่ กลอนสี่ ๙. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ ๙.๑ แถบประโยค ๙.๒ แผ่นป้ายบทกลอน ๙.๓ หนังสอื เรยี น รายวชิ าพ้นื ฐาน ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๔ ๙.๔ แบบฝกึ ทักษะ รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๔

๑๐. ข้อเสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

แบบประเมนิ การแตง่ คำประพันธ์ ชอ่ื .......................................................................ข้นั ................................ ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ๓๒ ๑ ๑ ๒ การแตง่ คำประพันธ์ ๓ การโยงเส้นสัมผสั การทอ่ งจำบทประพนั ธ์ รวม ลงช่อื …………………………………….ผู้ประเมิน ...................../............................./......................... เกณฑ์การใหค้ ะแนน ๓ ดี = ๒ พอใช้ = ๑ ปรับปรุง= เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ ๗-๙ ดี ๔-๖ ๑-๓ พอใช้ ปรบั ปรงุ

ภาคผนวก

แบบทดสอบก่อนเรยี น – หลังเรียน หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๑ เรื่อง เลน่ สนกุ กับพวกเรา คำช้แี จง ให้นักเรียนทำเครือ่ งหมาย x ทบั ตัวอกั ษร ก ข ค ง ทถ่ี ูกทส่ี ุดเพียงขอ้ เดียว ๑. ข้อใดอ่านได้ถูกต้อง ก. พสิ ดาร อา่ นว่า พิด– สะ -ดาน ข. ประณีต อ่านวา่ ปรา–นดี ค. จักจน่ั อ่านวา่ จัก – จ่นั ง. ทโมน อา่ นวา่ ทา – โมน ๒. ข้อใดอ่านได้ถูกตอ้ ง อา่ นวา่ สบั – ดา – หนึ่ง – หนง่ึ ก. สัปดาหด์ าหนง่ึ อ่านวา่ ที – น้อย – น้อย ข. ทีละนอ้ ยๆ ค. กรงุ เทพฯ อา่ นวา่ กรงุ –เทบ–มะ –หา – นะ - คอน ง. โปรดเกล้าฯ อ่านว่า โปรด – เกลา้ ๓. ข้อใดเปน็ จงั หวะในการอ่านกลอนสท่ี ่ถี กู ต้อง ก. เด็กเอย๋ /เด็กไทย// ต้งั ใจ/ศึกษา// ข. เติบใหญ่ภาย/หนา้ // วชิ า/เลีย้ งตน// ค. แสง/แห่งปัญญา// มีค่า/มากล้น// ง. ส่องทางให้/คน// พน้ ความ/ลำเค็ญ// ๔. ข้อใดคือประโยชนข์ องการเขยี นชือ่ ท่ีอยูผ่ สู้ ง่ ในการจา่ หน้าซอง ก. เพอ่ื ความสวยงามในการจ่าหนา้ ซอง ข. เพื่อผ้รู ับจะไดร้ ู้ว่าใครเป็นผสู้ ่ง ค. ทำให้จดหมายไปถงึ ผรู้ บั เร็วข้ึน ง. จดหมายจะถูกสง่ กลับไปถงึ ผูส้ ่ง ถ้าไม่มีผูร้ บั จดหมายน้ัน ๕. ข้อใดใชส้ รรพนามแทนตนเองในจดหมายถึงคุณปูไ่ ด้ถูกต้อง ก. เดี้ยน ข. ผม ค. ขา้ ง. ข้าพเจา้ ๖. “นมสั การ” เป็นคำขึน้ ตน้ จดหมายถงึ ใคร ข. พระสงฆ์ ก. พอ่ แม่ ง. บุคคลท่ัวไป ค. ครู ๗. จดหมายท่จี ำเปน็ ตอ้ งใช้ภาษาให้ถกู ตอ้ งคือข้อใด ก. จดหมายราชการ ข. จดหมายถงึ เพอ่ื น ค. จดหมายถึงพี่ ง. จดหมายถงึ พ่อแม่

๘. ข้อใดคือคำลงทา้ ยของจดหมายลาครู ข. ด้วยความเคารพอยา่ งสงู ก. ด้วยความรักย่ิง ง. เคารพท่สี ุด ค. ด้วยรกั ละเคารพ ๙. ข้อใดไมค่ วรปฏบิ ัติในการเขียนจดหมายลาครู ก. บอกเหตุผลการลา ข. ใช้ภาษาเหมาะสม ค. รกั ษาความสะอาด ง. ลงชือ่ แทนผู้ปกครอง ๑๐. ข้อใดคอื คำข้นึ ตน้ ของจดหมายถงึ คุณย่า ก. กราบแทบเท้าคณุ ย่าทเ่ี คารพยง่ิ ข. กราบเรยี นคณุ ย่าท่เี คารพย่ิงของหลาน ค. กราบเทา้ คุณยา่ ที่เคารพอย่างสงู ง. กราบเรียนคุณย่าท่ีเคารพท่ีสุด

มีการวางแผน แบบสงั เกตพฤติกรรม ทำตามแผน ีมความค ่ลองแค ่ลวหน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ……………. เร่อื ง …………………………………………………. ทำงานร่วมกับ ู้ผอ่ืนไ ้ด ทำงานเสร็จตามกำหนดช่ือช้ินงาน/ภาระงาน การทำงานเป็นกระบวนการกลุ่ม................................................................................ สนใจและ ้ัตงใจทำงาน รักความสะอาดเ ็ปนระเ ีบยบ___________________________________________________________________________ ข ัยนอดทนคำชแ้ี จง ๑. เขยี นเครือ่ งหมาย  ในช่องรายการประเมนิ ท่ตี รงกับพฤติกรรมนักเรียน ีมความรับ ิผดชอบ มีความ ิคดริเร่ิมสร้างสรร ์ค๒. เขียนเครือ่ งหมาย  ในช่องรายการประเมนิ ท่นี ักเรียนไมแ่ สดงพฤติกรรม สรุปผลเกณฑ์การประเมิน การผา่ นการประเมินตอ้ งผา่ นทกุ รายการ แล้วใช้อกั ษร ผ (ผ่าน) มผ (ไมผ่ ่าน) รายการประเมิน เลข ท่ี ช่อื – สกุล ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕

แบบประเมินสมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน หน่วยการเรียนรทู้ ่ี …………………………. เรื่อง ……………………………………………….. คำชี้แจง ๑. เขียนเคร่อื งหมาย  ในชอ่ งรายการประเมนิ สมรรถนะทีผ่ ่านการประเมิน ๒. เขยี นเครอ่ื งหมาย  ในช่องรายการประเมินทน่ี กั เรยี นไม่ผา่ นการประเมนิ ๓. ช่องสรุปทำเครื่องหมาย ✓ ลงในชอ่ ง ผ่าน เมื่อนักเรียนผา่ นการประเมนิ สมรรถนะครบทกุ ข้อ ทำเครอ่ื งหมาย ✓ ในช่อง ไม่ผา่ น กรณนี ักเรียนไม่ผ่านการประเมินข้อใดขอ้ หนึ่ง สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน สรุป เลขที่ ชื่อ - สกลุ ๑. ความสามารถ ผ่าน ไมผ่ า่ น ในการ ื่สอสาร ๒. ความสามารถ ในการ ิคด ๓. ความสามารถ ในการแก้ ัปญหา ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕

แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ …………………….. เร่ือง ………………………………………… คำช้ีแจง ๑. ทำเคร่ืองหมาย ✓ ในช่องรายการคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ในช่องรายการให้ตรงกับระดับ คุณภาพ ท่ีประเมนิ ๒. ช่องสรปุ ทำเครอ่ื งหมาย ✓ ลงในชอ่ ง (ผ่าน) เมือ่ นักเรยี นมีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะระดบั ผา่ น ขนึ้ ไปทกุ ข้อ ทำเครื่องหมาย ✓ ในช่อง (ไม่ผา่ น) กรณีนักเรยี นไม่ผา่ นการประเมนิ ข้อใดข้อหนงึ่ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ สรุป ๑.ใฝ่ ๒.มงุ่ มน่ั ใน ๓.รกั ความ เลข เรียนรู้ การทำงาน เปน็ ไทย ่ผาน ไ ่ม ่ผาน ที่ ระดับ ระดับ ระดับ ระดับ ระดับ ระดับ ระดับ ระดบั คุณภาพ คุณภาพ คณุ ภาพ คุณภาพ คณุ ภาพ คุณภาพ คณุ ภาพ คุณภาพ ๐๑๒๓๐๑๒๓๐๑๒๓๐๑๒๓๐๑๒๓๐๑๒๓๐๑๒๓๐๑๒๓ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ คำอธบิ าย ระดับ ๓ = ดีเย่ียม , ระดับ ๒ = ดี , ระดบั ๑ = ผ่าน , ระดบั ๐ = ไมผ่ ่าน หมายเหตุ ให้ศึกษาแนวทางการวัดและประเมินผลคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ประกอบการประเมิน

แบบสรปุ คะแนนตามตวั ชวี้ ดั ประจำหนว่ ย หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ………………. เรอื่ ง ……………………………………………. มฐ. ท ๑.๑ มฐ. ท ๒.๑ มฐ. ท ๓.๑ มฐ. ท ๔.๑ มฐ. ท ๕.๑ เลขท่ี ตชว. ที่ 3 ตชว. ท่ี 5,6 ตชว. ที่ ……….. ตชว. ท่ี 1,2,3 ตชว. ท่ี 2,3 คะแนน สรุป คะแนน สรปุ คะแนน สรุป คะแนน สรุป คะแนน สรปุ ผ/มผ. ผ/มผ. ผ/มผ. ผ/มผ. ผ/มผ. ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ หมายเหตุ ใหน้ ำผลคะแนนตามตัวช้วี ัดที่ไดร้ บั การประเมนิ จากชิน้ งานและภาระงานประจำหนว่ ยการเรยี นรู้มากรอก เพอ่ื นำไปเป็นขอ้ มูลสรุปการประเมินแต่ละตัวชี้วดั ปลายปี สรปุ ลงใน ปพ.๕ ต่อไป

แบบสรุปคะแนนประจำหนว่ ย หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ……………….. เรอ่ื ง ………………………………… คะแนนชน้ิ งาน/ภาระงาน/ทดสอบก่อนเรยี น – หลงั เรียน ประกอบแผนการเรียนรู้ คะแนน แผนการเรียน ู้รที่ ๑ ทดสอบ ่กอนเ ีรยน แผนการเรียน ู้รที่ ๒ ทดสอบหลังเ ีรยน แผนการเรียน ู้รท่ี ๓ แผนการเ ีรยน ู้รที่ ๔ รวมคะแนน แผนการเ ีรยน ู้รที่ ๕ สรุปน้ำหนักคะแนน แผนการเรียน ู้รท่ี ๖ แผนการเรียน ู้รที่ ๗ แผนการเ ีรยน ู้รท่ี ๘ เลข ท่ี ๔๐ ๑๐ ๔๐ ๑๐ ชื่อ-สกลุ๔๐ 340 ๔๐ ๑๔๔๐ ๔๐ ๑ ๔๐ ๒ ๔๐ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ หมายเหตุ การคดิ ค่านำ้ หนกั คะแนนประจำหนว่ ยการเรียนรู้ คะแนนรวมของนกั เรียนรายบุคคล × น้ำหนักคะแนน คะแนนเต็ม

แบบกรอกคะแนนการวดั ผลก่อนเรียน - หลังเรียน หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๖ เร่ือง มีงานทำทห่ี ้องสมุด เลขท่ี ชอื่ - สกลุ คะแนน คะแนน ผลความก้าวหนา้ กอ่ นเรียน หลังเรียน + หรือ - ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ คะแนนเฉล่ีย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook