Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Maslow Th 4.0 Innovation

Maslow Th 4.0 Innovation

Published by sirinya0560, 2022-03-03 18:31:09

Description: นายชญานนท์ แสงสว่าง

Search

Read the Text Version

ทฤษฎมี าสโลว์ ทฤษฎีมาสโลว์ หรือ ลาดบั ขนั้ ความต้องการ (Maslow’s Hierarchy of Needs) เป็นทฤษฎีจติ วิทยาท่ี อบั ราฮมั เอช. มาสโลว์ คิดขนึ ้ เม่อื ปี ค.ศ. 1943 ในเอกสารชื่อ “A Theory of Human Motivation” Maslow ระบวุ ่า มนุษย์มีความ ต้องการทงั้ หมด 5 ขนั้ ด้วยกัน ความต้องการทงั้ 5 ขนั้ มเี รียงลาดบั จากขนั้ ตา่ สดุ ไปหาสงู สดุ มนุษย์จะมคี วามต้องการในขนั้ ต่าสดุ กอ่ น เมอ่ื ได้รบั การตอบสนองจนพอใจแล้วก็จะเกิดความต้องการขนั้ สงู ตอ่ ไป ความต้องการของบุคคลจะเกดิ ขึน้ 5 ขนั้ เป็นลาดบั ดงั นี ้ 1. ความต้องการพนื ้ ฐานทางด้านร่างกาย (Physiological Needs) เป็นความต้องการลาดบั ตา่ สดุ และเป็น พนื ้ ฐานของชีวิต ได้แก่ ความต้องการเพอ่ื ตอบสนองความหิว ความกระหาย ความต้องการเพ่ือความอยรู่ อดของ ชีวติ เรียกง่ายๆ ก็คอื ปัจจยั ส่ี อาหาร เคร่ืองน่งุ หม่ ยารักษาโรค ทพี่ กั อาศยั รวมถึงสิง่ ทีท่ าให้การดารงชีวติ สะดวกสบาย น่ันเอง ในขนั้ นสี ้ ิ่งทีล่ กู ค้าต้องการ หนไี มพ่ ้น สนิ ค้าและบริการ อุปโภค บริโภค ทว่ั ไปๆ เช่น ร้านอาหาร ร้านขายยา บ้าน รถยนต์ มือถือ 2. ความต้องการความมนั่ คงปลอดภยั (Safety Needs) เป็นความต้องการท่ีจะเกดิ ขนึ ้ หลงั จากท่คี วามต้องการทาง ร่างกายได้รับการตอบสนองจนเป็นทพ่ี อใจแล้ว ความต้องการขนั้ นถี ้ งึ จะเกิดขนึ ้ ได้แก่ ความต้องการความ ปลอดภยั มีทยี่ ึดเหนยี่ วทางจติ ใจ ปราศจากความกลวั การสญู เสียและภยั อนั ตราย เช่น สภาพส่ิงแวดล้อมบ้าน ปลอดภยั การมงี านที่มนั่ คง การมีเงนิ เก็บออม ความต้องการความมน่ั คงปลอดภยั รวมถึง ความมนั่ คงปลอดภยั สว่ นบุคคล สขุ ภาพและความเป็นอยู่ ระบบรบั ประกัน-ช่วยเหลอื ในกรณีของอุบตั เิ หต/ุ ความเจ็บป่วย

ในขนั้ นสี ้ งิ่ ท่ลี กู ค้าต้องการ ก็คอื สินค้าและบริการทต่ี อบโจทยใ์ นด้านการสร้างความปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพยส์ ิน เช่น กล้องวงจรปิด การลงทุน การออม การทาประกนั ชีวิต หรือ การย้ายบ้านท่ีอยู่อาศยั ปรบั เปล่ียนสิ่งแวดล้อมทมี่ ีการดูแล รักษาความปลอดภยั เป็นอยา่ งดี 3. ความต้องการความรักและสงั คม (Belonging and Love Needs) เม่อื มีความปลอดภยั ในชีวติ และมน่ั คงใน การงานแล้ว คนเราจะต้องการความรัก ความสมั พนั ธ์กบั ผ้อู ืน่ มีความต้องการเป็นเจ้าของและมเี จ้าของ ความรกั ในรูปแบบต่างกัน เช่น ความรักระหว่าง คู่รัก พอ่ แม่ ลกู เพอ่ื น สามี ภรรยา ได้รบั การยอมรับเป็นสมาชกิ ในกลมุ่ ใดกล่มุ หนึ่งหรือหลายกลมุ่ ในขนั้ นสี ้ ิ่งท่ลี กู ค้าต้องการ ก็คอื สินค้าและบริการท่ีสามารถตอบสนองอารมณ์ ความรู้สกึ ของเขาได้ เชน่ บริการจดั หาคู่ บริการจดั งานแตง่ งาน บริการทวั ร์ทอ่ งเที่ยว หรือหากเป็นสนิ ค้า ตัวอย่างง่ายๆทที่ าให้เหน็ ภาพชดั เจน เชน่ ความต้องการ เป็นเจ้าของรถยนต์ BENZ BMW เพอื่ ให้เพ่ือนหรือคนรอบข้าง ช่นื ชม ยอมรบั เป็นสมาชิกในกลมุ่ 4. ความต้องการการได้รบั การยกย่องนบั ถอื ในตนเอง (Esteem Needs) เม่อื ความต้องการความรักและการ ยอมรบั ได้รับการตอบสนองแล้ว คนเราจะต้องการสร้างสถานภาพของตวั เองให้สงู ขนึ ้ เด่นขนึ ้ มคี วามภูมิใจและ สร้างความนับถอื ตนเอง ช่นื ชมในความสาเร็จของงานทที่ า ความรู้สึกมน่ั ใจในตนเองและมีเกยี รติ ความต้องการ เหล่านี ้เช่น ยศ ตาแหนง่ ระดบั เงินเดือนท่ีสงู งานทที่ ้าทาย ได้รบั การยกยอ่ งจากผ้อู ืน่ มสี ว่ นร่วมในการตดั สินใจ ในงาน โอกาสแห่งความก้าวหน้าในงานอาชีพ ฯลฯ ในขนั้ นสี ้ ิ่งทล่ี กู ค้าต้องการ กค็ อื สินค้าและบริการทส่ี ง่ เสริมความภาคภมู ใิ จในตนเอง เช่น อสงั หาริมทรัพย์ เครื่องเพชร ราคาแพง บริการระดบั พรีเม่ียม เคร่ืองบินส่วนตวั โรงแรม 5 ดาว 5. ความต้องการพฒั นาศักยภาพของตน (Self-actualization) เป็นความต้องการขนั้ สงู สดุ ของมนุษย์และความ ต้องการนีย้ ากต่อการบอกได้ว่าคืออะไร เราเพียงสามารถกล่าวได้ว่า ความต้องการพฒั นาศกั ยภาพของตนเป็น ความต้องการทมี่ นุษย์ต้องการจะเป็น ต้องการท่จี ะได้รบั ผลสาเร็จในเป้าหมายชีวิตของตนเอง และต้องการความ สมบรู ณ์ของชีวิต

Thailand 4.0 “Thailand 4.0” เป็นวสิ ยั ทัศนเ์ ชงิ นโยบายการพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศไทย หรือ โมเดลพฒั นาเศรษฐกจิ ของรัฐบาล ภายใต้การนาของพลเอกประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหวั หน้าคณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ (คสช.) ที่เข้ามา บริหารประเทศบนวิสยั ทัศนท์ ่ี ว่า “มน่ั คง มงั่ คงั่ และยง่ั ยืน” ท่ีมภี ารกิจสาคญั ในการขบั เคล่ือนปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ เพอ่ื ปรบั แก้ จัดระบบ ปรบั ทิศทาง และสร้างหนทางพฒั นาประเทศให้เจริญ สามารถรบั มือกบั โอกาสและภยั คุกคามแบบ ใหม่ ๆทเี่ ปลยี่ นแปลงอย่างเร็วและ รุนแรงในศตวรรษท่ี 21 ได้ “Thailand 4.0” เป็นวิสยั ทศั น์เชงิ นโยบาย ทีเ่ ปลี่ยนเศรษฐกิจแบบเดมิ ไปสเู่ ศรษฐกจิ ทข่ี บั เคลอื่ นด้วยนวตั กรรม เศรษฐกิจที่ขบั เคล่ือนด้วยนวตั กรรม ได้แก่ 1.เปล่ียนจากการผลกั ดนั สนิ ค้าโภคภณั ฑไ์ ปส่สู ินค้าเชิงนวตั กรรม 2.เปลี่ยนจากการขบั เคล่ือนประเทศด้วยภาคอตุ สาหกรรมไปส่กู ารขบั เคลื่อนด้วยเทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ 3 .เปลี่ยนจากการเน้นภาคการผลิตสนิ ค้าไปสกู่ ารเน้น ภาคบริการมากขนึ ้

ประเภทของนวตั กรรม Innovation หรือ นวตั กรรม คือ กระบวนการสร้างมลู คา่ ด้วยการตอบโจทย์ความต้องการของตลาดจากวิธีการใหม่ๆ นวตั กรรมเป็นสงิ่ ท่ีนามาปรบั ใช้กับสินค้า บริการ เทคโนโลยี และโมเดลธุรกจิ เพ่อื สร้างความเปลี่ยนแปลง ความ สร้างสรรรค์ และมลู ค่าทสี่ ามารถผลกั ดนั การเตบิ โตของสงั คมและเศรษฐกจิ ของประเทศได้ นวตั กรรม (Innovation) สามารถแบ่งได้ออกเป็น 4 ประเภท แต่ละประเภทก็จะแตกตา่ งกันออกไปตามความแปลกใหม่ ของเทคโนโลยีและผ้ใู ช้งาน ซึ่งแต่ละประเภทส่งผลกระทบแตกต่างกับตลาดและกลยทุ ธ์ขององค์กร ประกอบด้วย 4 ประเภทตาม Innovation Matrix ดงั นี ้ นวตั กรรมแบบกอ่ กวนทาลาย (Disruptive Innovation) คือ นวตั กรรมทเ่ี กิดขนึ ้ จากเทคโนโลยใี หม่และมผี ลกระทบสงู ตอ่ ผ้ใู ช้งาน นิยมใช้สร้างตลาดใหม่อยา่ งทไี่ มเ่ คยมีมากอ่ น เป็นนวตั กรรมทเ่ี กิดขนึ ้ เพ่อื ทดแทนของเก่าโดยสนิ ้ เชงิ ตวั อย่างการนวัตกรรมแบบนเี ้ ช่น การเข้ามาของ Google Maps ทาให้ผ้คู นหนั มาใช้แทนแผนที่แบบกระดาษ, การใช้แอป พลเิ คชนั ในการเรียกแท็กซ่ีแทนการโบก เพอ่ื ลดการปฎเิ สธการเดินทาง, การเข้ามาของ Netflix ซึง่ ทดแทนร้านเช่าแผ่น ภาพยนตร์ นวตั กรรมแบบสนิ ้ เชงิ (Radical Innovation) คือ นวัตกรรมที่เกดิ ขนึ ้ จากเทคโนโลยีใหม่ แตย่ งั ไมไ่ ด้สร้างผลกระทบตอ่ ผ้ใู ช้งาน โดยมากมกั เป็นเทคโนโลยีทยี่ งั ไมส่ ามารถหาตลาดหรือช่องทางทากาไรได้ ตวั อย่างเชน่ เทคโนโลยหี ้นุ ยนต์ (Robotics), ปัญญาประดษิ ฐ์ (AI), บลอ็ คเชน, การตัดต่อพนั ธกุ รรม เป็นต้น นวตั กรรมแบบยงั่ ยนื (Sustaining Innovation) คอื นวัตกรรมที่เกิดขนึ ้ จากเทคโนโลยีทไ่ี มไ่ ด้ใหมม่ าก แต่มีผลกระทบสงู ตอ่ ผ้ใู ช้งาน มกั ใช้ทาให้ตลาดเตบิ โตขนึ ้ เพอ่ื กอบโกยกาไรโดยไม่มีการหาตลาดใหม่ โดยมากมกั เป็นนวัตกรรมท่คี ่อย ๆ พฒั นาไปทีละเลก็ ทีละน้อย แต่จะเป็นนวตั กรรมที่ดกี ว่า เร็วกวา่ ถูกกวา่ เน้นความต้องการของผ้ใู ช้งานและธรุ กจิ มากกว่า เทคโนโลยี ตวั อย่างเชน่ การออกโทรศพั ทร์ ุ่นใหม่ของ Apple, Samsung นวตั กรรมแบบต่อยอด (Incremental Innovation) คอื นวตั กรรมท่ีเกดิ ขนึ ้ จากเทคโนโลยีทไ่ี มไ่ ด้ใหม่มาก และมี ผลกระทบสงู ต่อผ้ใู ช้งานต่า โดยมากนิยมใช้กับสินค้าที่มีอยใู่ นตลาดอย่แู ล้ว เช่นการปรบั หน้าเว็บไซตใ์ ห้ใช้งานงา่ ยขนึ ้ , การเพ่ิมฟังค์ชนั่ ใหม่ของแอปโทรศพั ท์มอื ถอื เป็นต้น คล้ายกบั นวัตกรรมแบบยงั่ ยืนตรงทมี่ กี ารพฒั นาทีละเล็กทลี ะน้อย และเป็นนวตั กรรมที่ดกี วา่ ถกู ใจกว่า เน้นความต้องการของผ้ใู ช้งานและธุรกจิ มากกว่าเทคโนโลยี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook