Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E.Book สมุนไพรพื้นบ้าน (1) (3)

E.Book สมุนไพรพื้นบ้าน (1) (3)

Published by Rattida Sriprom, 2021-01-28 08:47:24

Description: E.Book สมุนไพรพื้นบ้าน (1) (3)

Search

Read the Text Version

~1~

~2~ คำนำ งานเล่มนเ้ี ปน็ การให้ความร้เู กีย่ วกบั สมุนไพรพ้ืนบ้าน ใหค้ วามรู้เก่ียวกับชนิดของสมุนไพรต่างๆ ทำใหค้ นทอี่ า่ นไดค้ วามรู้ และเข้าใจเก่ียวกับสมนุ ไพรมากข้ึน สุดทา้ ยนห้ี ากผจู้ ดั ทำ ทำผิดพลาดประการใดกข็ ออภัยไว้ ณ ทนี่ ้ดี ้วย

~3~ สมนุ ไพรพ้นื บา้ น ประวตั ิความเปน็ มา สมนุ ไพรคอื อะไร คำว่า สมนุ ไพร ตามพระราชบัญญัตหิ มายความถึง ยาท่ไี ด้จากพชื สัตว์ และแร่ ซ่ึงยังมิได้มี การผสมปรุงหรือแปรสภาพ (ยกเว้นการทำให้แห้ง) เช่น พืชก็ยังคงเป็นส่วนของราก ลำต้น ใบ ดอก ผล ฯลฯ ยังไม่ได้ผ่านขั้นตอนการแปรรูปใดๆ เช่น การห่ัน การบด การกล่ัน การสกัดแยก รวมทั้งการผสมกับสารอ่ืนๆ แต่ในทางการคา้ สมนุ ไพรมักจะถูกดดั แปลงในรูปแบบ ต่างๆ เช่น ถูก หั่นเป็นช้ินเล็กลง บดให้เป็นผง อัดให้เป็นแท่ง หรือปอกเปลือกออก เป็นต้น เม่ือพูดถึงสมุนไพร คนท่ัวๆ ไปมักจะนึกถึงเฉพาะพืชที่นำมาใช้ประโยชน์ในทางยา ทั้งน้ีเพราะ สัตว์ และแร่มีการใช้ น้อย จะใชเ้ ฉพาะในโรคบางชนิดเท่านน้ั ประวตั ิของการใชส้ มุนไพร สมุนไพร คือ ของขวัญท่ีธรรมชาติมอบให้กับมวลมนุษยชาติ มนุษย์เรารู้จักใช้สมุนไพรใน ดา้ นการบำบัดรกั ษาโรค นับแตย่ ุคนแี อนเดอรท์ ลั ในประเทศอิรักปัจจุบันท่ีหลุมฝังศพพบว่ามีการใช้ สมุนไพรหลายพันปีมาแล้วท่ีชาวอินเดียแดงในเม็กซิโก ใช้ต้นตะบองเพชร(Peyate) เป็นยาฆ่าเช้ือ และรักษาบาดแผล ปัจจุบันพบว่า ตะบองเพชรมีฤทธ์ิกล่อมประสาทประมาณ 4,000 ปีมาแล้ว ท่ี ชาวสุเมเรียนได้เข้ามาตั้ งรกราก ณ บริเวณแม่น้ำไทกริสและยูเฟรติสปัจจุบัน คือ ประเทศอิรัก ใช้ สมุนไพร เช่น ฝิ่น ชะเอม ไทม์ และมัสตาร์ด และต่อมาชาวบาบิโลเนียน ใช้สมุนไพรเพิ่มเติมจาก ชาวสเุ มเรยี น ได้แกใ่ บมะขามแขก หญา้ ฝร่ัน ลกู ผกั ชี อบเชย และกระเทียม ในยุคต่อมาอียิปต์โบราณมี อิมโฮเทป แพทย์ผู้มีช่ือเสียงซ่ึงต่อมาได้รับการยกย่องให้เป็น เทพเจ้าแห่งการรักษาโรค ของอียิปต์ มีตำราสมุนไพรท่ีเก่าแก่ คือ Papytus Ebers ซึ่งเขียน เมื่อ 1,600 ปี ก่อนคริสตศักราช ซึ่งค้นพบโดยนักอียิปต์วิทยาชาวเยอรมันนี ชื่อ Georg Ebers ใน ตำรานี้ได้กล่าวถึงตำราสมุนไพรมากกว่า 800 ตำรับ และสมุนไพรมากกว่า 700 ชนิด เช่น ว่าน หางจระเข้ เวอร์มวูด(warmwood) เปปเปอร์มินต์ เฮนเบน(henbane) มดยอบ, hemp dagbane ละหุ่ง mandrake เป็นต้น รูปแบบในการเตรียมยาในสมยั นน้ั ได้แก่ การต้ม การชง ทำ เป็นผง กลน่ั เป็นเมด็ ทำเปน็ ยาพอก เป็นขผี้ ้ึง นอกจากน้ียังพบว่าชาติต่างๆ ในแถบยุโรปและแอฟริกา มีหลักฐานการใช้สมุนไพร ตามลำดับก่อนหลังของการเรมิ่ ใชส้ มุนไพร คือ หลังจากสมุนไพรได้เจริญรุ่งเรืองในอียิปต์แล้ว กไ็ ด้ มีการสืบทอดกันมา เช่น กรีก โรมัน อาหรับ อิรกั เยอรมัน โปรตุเกส สวีเดน และโปแลนด์ส่วนใน แถบเอเซีย ตามบันทึกประวตั ิศาสตร์พบว่ามีการใช้สมุนไพรท่อี ินเดียก่อน แล้วสบื ทอดมาที่จีน มะ ละกา และประเทศไทย

~4~ ประโยชนข์ องพชื สมนุ ไพร 1. สามารถรักษาโรคบางชนิดได้ โดยไมต่ อ้ งใช้ยาแผนปัจจบุ ัน ซึง่ บางชนิดอาจมีราคาแพง และต้องเสียค่าใช้จา่ ยมาก อีกทัง้ อาจหาซือ้ ไดย้ ากในท้องถนิ่ นั้น 2. ให้ผลการรักษาไดด้ ีใกลเ้ คียงกบั ยาแผนปจั จบุ ัน และให้ความปลอดภยั แกผ่ ู้ใชม้ ากกวา่ แผน ปจั จุบนั 3. สามารถหาได้ง่ายในทอ้ งถน่ิ เพราะส่วนใหญไ่ ดจ้ ากพชื ซงึ่ มีอยทู่ ั่วไปทงั้ ในเมอื งและ ชนบท มีราคาถกู สามารถประหยดั ค่าใช้จา่ ยในการซอ้ื ยาแผนปจั จุบัน ท่ตี ้องสง่ั ซ้อื จากต่าง ประเทศเป็นการลดการขาดดุลทางการค้า 4. ใช้เป็นยาบำรงุ รกั ษาให้ร่างกายมสี ขุ ภาพแข็งแรง 5. ใช้เป็นอาหารและปลกู เปน็ พืชผักสวนครัวได้ เช่น กะเพรา โหระพา ขิง ข่า ตำลึง 6. ใช้ในการถนอมอาหารเชน่ ลกู จันทร์ ดอกจนั ทร์และกานพลู 7. ใช้ปรงุ แตง่ กล่ิน สี รส ของอาหาร เชน่ ลูกจนั ทร์ ใช้ปรุงแตง่ กลนิ่ อาหารพวก ขนมปงั เนย ไสก้ รอก แฮม เบคอน 8. สามารถปลูกเปน็ ไมป้ ระดบั อาคารสถานทตี่ ่าง ๆ ให้สวยงาม เช่น คูน ชุมเหด็ เทศ 9. ใช้ปรงุ เป็นเครอ่ื งสำอางเพ่ือเสริมความงาม เช่น วา่ นหางจระเข้ ประคำดีควาย 10. ใช้เป็นยาฆา่ แมลงในสวนผัก, ผลไม้ เชน่ สะเดา ตะไคร้ หอม ยาสูบ 11. เป็นพชื ทีส่ ามารถส่งออกทำรายได้ให้กับประเทศ เช่น กระวาน ขมิ้นชัน เรว่ 12. เป็นการอนุรกั ษ์มรดกไทยใหป้ ระชาชนในแต่ละทอ้ งถนิ่ รู้จักช่วยตนเองในการ นำพืช สมนุ ไพรในทอ้ งถนิ่ ของตนมาใช้ให้เกิดประโยชนต์ ามแบบแผนโบราณ 13. ทำให้คนเหน็ คุณค่าและกลับมาดำเนินชวี ิตใกลช้ ิดธรรมชาติยิ่งขึ้น 14. ทำให้เกิดความภูมใิ จในวฒั นธรรม และคุณค่าของความเป็นไทย

~5~ สรรพคุณสมนุ ไพรพน้ื บา้ น ตะไคร้ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ Cymbopogon citratus Stapf. วงศ์ GRAMINEAE ชอ่ื อ่ืนๆ ภาคเหนือ : จะไค (Cha-khai) จะไค้ (Cha-khai) ภาคใต้ : ไคร (Khrai) ชวา : ซเี ร (Sere) ถ่นิ กำเนิด อินโดนีเซีย ศรีลังกา พม่า อินเดยี อเมริกาใต้ ไทย รูปลักษณะ : ไม้ล้มลุกทีมีอายไุ ดห้ ลายปี ชอบดนิ ร่วนซยุ ปลูกได้ ตลอดปี ใบสีเขียวยาวแหลม ดอก ฟสู ขี าว หัวโตขน้ึ จากดนิ เปน็ กอๆ กลิ่นหอมฉนุ ค่อนขา้ งรอ้ น การปลูก : ไถพรวนดินและตากดนิ ไวป้ ระมาณ 7 - 10 วัน ยอ่ ยดนิ ใหล้ ะเอยี ด ใสป่ ุ๋ยคอกหรอื ปุย๋ หมักคลุกเคลา้ ให้เข้ากับดินขดุ หลมุ ปลุกระยะ 30 x 30 เซนติเมตร ก่อนนำตะไคร้ไปปลูก นำพันธุ์ ที่เตรยี มไวต้ ัดใบออก ให้เหลือต้นยาว ประมาณ 30 - 40 เซนติเมตร มาแช่นำ้ ประมาณ 5 - 7 วัน เพอื่ ใหร้ ากงอก รากทแ่ี กเ่ ตม็ ที่จะมีสีเหลืองเขม้ นำไปปลกุ ในแปลงวางต้นพนั ธุ์ ให้เอียง 45 องศา ไปด้านใดด้านหน่งึ แล้วกลบดนิ จากนั้นรดนำ้ ใหช้ ุม่ หลงั ปลูกไดป้ ระมาณ 30 วัน กค็ วรใส่ปุ๋ย สูตร 15 - 15 - 15 หรอื 46 - 0 - 0 อตั รา 50 กิโลกรมั /ไร่ สรรพคุณและสว่ นที่นำมาใช้เปน็ ยา น้ำมันจากใบและต้น – แตง่ กล่นิ อาหาร เคร่ืองดมื่ สบู่ ลำตน้ แกห่ รอื เหง้า – แก้อาการท้องอดื ท้องเฟ้อ ขบั ปัสสาวะ แกน้ ิ่ว ขับประจำเดือน

~6~ ขงิ ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Zingiber officinale Roscoe. ชือ่ วงศ์ : ZINGIBERACEAE ชือ่ พืน้ เมือง: ขิงแกลง, ขิงแดง (จนั ทรบุรี) ขงิ เผือก (เชยี งใหม)่ สะเอ (แม่ฮอ่ งสอน) ขิงบ้าน ขงิ แครง ขงิ ป่า ขงิ เขา ขิงดอกเดียว (ภาคกลาง) เกีย (จนี แต้จิ๋ว) ลักษณะทั่วไป : ไมล้ ม้ ลกุ สงู 0.3-1 เมตร มีเหง้าใตด้ ิน เปลอื กนอกสีน้ำตาลแกมเหลือง เนอ้ื ในสี นวลแกมเขียว มีกลนิ่ เฉพาะ แตกสาขา คล้ายน้วิ มือ ใบเดี่ยว เรียงสลบั รปู ขอบขนาน แกมใบหอก กวา้ ง 1.5-2 ซม. ยาว 15-20 ซม. ดอกช่อแทงออกจากเหงา้ กลบี ดอกสเี หลืองแกมเขียว ใบ ประดับสีเขยี วอ่อน ผลแหง้ มี 3 พสู รรพคุณเหง้าแกท่ ง้ั สดและแห้งใช้เปน็ ยาขับลม ช่วยให้เจริญ อาหาร แก้อาเจยี น แกไ้ อ ขับเสมหะและขับเหงอ่ื ผงขงิ แหง้ มฤี ทธข์ิ ับนำ้ ดี ช่วยยอ่ ยไขมนั ลดการ บบี ตัวของลำไส้ บรรเทาอาการปวดท้องเกรง

~7~ บวั บก ช่ือวิทยาศาสตร์ : Centella asiatica Urban วงศ์ : Umbelliferae ช่อื สามญั : Asiatic Pennywort/Tiger Herbalชือ่ อน่ื : ผกั แวน่ ผักหนอก รูปลักษณะ : ไมล้ ้มลุก อายหุ ลายปี เลือ้ ยแผ่ไปตามพื้นดิน ชอบท่ีช้ืนแฉะ แตกรากฝอยตามข้อ ไหล ทแ่ี ผไ่ ปจะงอกใบจากขอ้ ชขู ้ึน 3-5 ใบ ใบเด่ียว เรียงสลบั รปู ไต เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 2-5 ซม. ขอบใบ หยกั ก้านใบยาว ดอกช่อ ออกท่ซี อกใบ ขนาดเลก็ 2-3 ดอก กลีบดอกสมี ่วง ผลแห้ง แตกได้ สรรพคณุ และส่วนทีน่ ำมาใช้เป็นยาใบสด - ใช้เป็นยาภายนอกรักษาแผลเปื่อย แผลไฟไหม้นำ้ รอ้ น ลวก โดยใช้ใบสด 1 กำมือ ล้างให้สะอาด ตำละเอยี ด คนั้ เอาน้ำทาบริเวณแผลบ่อย ๆ ใชก้ ากพอก ดว้ ยก็ได้ แผลจะสนทิ และเกดิ แผลเป็นชนดิ นูน (keloid) นอ้ ยลง สารทอ่ี อกฤทธค์ิ อื กรด madecassic, กรด asiatic และ asiaticoside ซึ่งช่วยสมานแผลและเรง่ การสร้างเน้ือเยื่อ ระงบั การเจริญเตบิ โตของเช้ือแบคทีเรีย ท่ีทำให้เกิดหนองและลดการอกั เสบ มรี ายงานการค้นพบ ฤทธิฆ์ า่ เชื้อรา อันเปน็ สาเหตุของโรคกลาก ปจั จุบัน มีการพฒั นายาเตรยี มชนดิ ครมี ใหท้ ารกั ษา แผลอักเสบจากการผา่ ตดั นำ้ ตม้ ใบสด - ดื่มลดไข้ รักษาโรคปากเป่อื ย ปากเหม็น เจ็บคอ รอ้ นใน กระหายนำ้ ขบั ปัสสาวะ แกท้ ้องเสยี

~8~ ข่า ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Languas galaga (Linn). Stuntz ชอ่ื วงศ:์ ZINGIBERACEAE ชอ่ื พื้นเมอื ง: ข่า ข่าใหญ่ ข่าหลวง ขา่ หยวก (ภาคเหนือ) กุฎกกโรหนิ ี เสะเออเคย (แมฮ่ ่องสอน) สะเชย (กะเหรีย่ ง-แมฮ่ อ่ งสอน) ลกั ษณะทั่วไป : ไมล้ ม้ ลุก สงู 1.5-2 เมตร เหง้ามขี ้อและปลอ้ งชดั เจน ใบเดี่ย ใบสีเขยี วออ่ นสลับกัน รูปร่างรียาว ปลายแหลม ดอกออกเป็นช่อท่นี อ ดอกยอ่ ยขนาดเลก็ กลีบดอกสีขาว โคนตดิ กนั เป็น หลอดสั้นๆ ปลายแยกเปน็ 3 กลบี กลีบใหญท่ ่สี ดุ มีร้ิวสีแดง ใบประดบั รปู ไข่ ผลแหง้ แตกได้ รปู กลมสรรพคุณเหงา้ สดตำผสมกับเหล้าโรง ใช้ทารกั ษาโรคผวิ หนังที่เกิดจากเชือ้ รา เช่น กลาก เกลอ้ื น เหง้าออ่ นตม้ เอาน้ำด่ืม บรรเทาอาการทอ้ งอืด ท้องเฟอ้ และขบั ลม ขา่ ไมม่ ีฤทธิก์ ่อกลาย พนั ธ์ุและไม่เป็นพษิ

~9~ กระชาย ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Boesenbergia rotunda (Linn.) Mansf. ชอ่ื วงศ์ : ZINGIBERACEAE ชื่อพ้ืนเมือง: ขิง กระชาย กะชาย ว่านพระอาทิตย์ (กรุงเทพฯ) กระแอม ระแอน (ภาคเหนือ) ขิง ทราย (มหาสารคาม) จ๊ีปู ซีฟู (ฉาน-แม่ฮ่องสอน) เป๊าะสี่ เป๊าซอเร้าะ (กะเหร่ียง-แม่ฮ่องสอน) ลักษณะทัว่ ไป : ไม้ลม้ ลุก ไม่มีลำตน้ บนดิน มีเหง้าใต้ดิน ซ่งึ แตกรากออกไป เปน็ กระจุกจำนวนมาก อวบน้ำ ตรงกลางพองกว้างกว่าส่วนหัวและท้าย ใบเด่ียว เรียงสลับในระนาบเดียวกัน รูปขอบ ขนานแกมรปู ไข่ ตรงกลางด้านในของก้านใบมีรองลึก ดอกช่อ ออกแทรกอยู่ระหว่างกาบใบท่ีโคน ต้น กลีบดอกสีขาวหรอื ชมพูอ่อน ใบประดับรปู ใบหอก สีม่วงแดง ดอกย่อยบานครั้งละ 1 ดอก ผล ของกระชายเปน็ ผลแห้งสรรพคณุ เหงา้ ใชแ้ กโ้ รคในปาก ขับปัสสาวะ รกั ษาโรคบดิ แก้ปวดมวนทอ้ ง ขบั ระดูขาว

~ 10 ~ มะกรูด ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus hystrix DC. ชอ่ื วงศ์ Rutaceac ช่อื สามญั Leech Lime, Mauritius Papeda, Kaffir Lime, Porcupine Orange ชื่อท้องถ่นิ ภาคเหนอื เรียก มะขูด, มะขนุ ภาคใต้ เรียก สม้ กรดู , สม้ มั่วผี เขมร เรียก โกร้ยเขยี ด กะเหรยี่ ง-แม่ฮ่องสอน เรียก มะขู ลักษณะท่วั ไป : มะกรดู เป็นไมย้ นื ตน้ ขนาดเล็ก แตกก่งิ กา้ น ลำต้นและก่ิงมหี นามแข็ง ใบ เปน็ ใบ ประกอบทมี่ ใี บย่อยใบเดียว สเี ขยี วหนา มีลักษณะคอดก่ิวทกี่ ลางใบเปน็ ตอนๆ มีก้านแผ่ออกใหญ่ เท่ากับแผ่นใบ ทำให้เห็นใบเป็น 2 ตอน ใบสีเขียวแก่ค่อนข้างหนา มีกลิน่ หอมมากเพราะมีต่อม น้ำมนั อยู่ ดอก ออกเปน็ กระจกุ 3–5 ดอก กลีบดอกสขี าว รว่ งง่าย ผล มีหลายแบบแล้วแตพ่ นั ธุ์ผล เล็กเทา่ มะนาว ผิวขรขุ ระน้อยกว่าและไมม่ จี กุ ทห่ี ัว การปลกู มะกรดู ปลูกได้ดีในดนิ ทกุ ชนดิ ขยายพันธุโ์ ดยการเพาะเมล็ด สรรพคุณทางยา :ผวิ ผลสดและผลแหง้ รสปร่า หอมร้อน สรรพคุณแกล้ มหนา้ มืด แก้วงิ เวยี น บำรุง หวั ใจ ขับลมลำไส้ ขับระดูผล รสเปรีย้ ว มีสรรพคณุ เปน็ ยาขับเสมหะ แก้ไอ แก้นำ้ ลายเหนยี ว ฟอก โลหิต ใชส้ ระผมทำใหผ้ มดกดำ ขจดั รังแค ราก รสเยน็ จืด แกพ้ ิษฝีภายใน แก้เสมหะ แกล้ มจกุ เสยี ด น้ำมะกรูด รสเปรย้ี ว กัดเสมหะ ใช้ดองยามีสรรพคุณเป็นยาฟอกโลหติ สำหรับสตรี ใบ รสปรา่ หอม แกไ้ อ แก้อาเจยี นเป็นโลหติ แก้ชำ้ ใน และดบั กลน่ิ คาว

~ 11 ~ ว่านหา่ งจระเข้ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Aloe barbadensis Mill. ช่ือวงศ์: ALOACEAE ชอ่ื พน้ื เมือง: วา่ นไฟไหม้ (ภาคเหนอื ) หางตะเข้ (ภาคกลาง) ลกั ษณะทั่วไป : ไมล้ ้มลกุ อายหุ ลายปี สูง 0.5-1 เมตร ขอ้ และปล้องส้ัน ใบเดยี่ ว เรยี งรอบต้น กว้าง 5-12 ซม. ยาว 0.3-0.8 เมตร อวบน้ำมาก สเี ขียวออ่ นหรือสีเขยี วเขม้ ภายในมีว้นุ ใส ใต้ผวิ สี เขียวมนี ้ำยางสีเหลอื ง ใบอ่อนมีประสขี าว ดอกช่อออกจากกลางต้น ดอกยอ่ ย เป็นหลอดห้อยลง สี สม้ บานจากล่างข้นึ บน ผลแหง้ แตกไดส้ รรพคุณวนุ้ สดภายในใบทีฝ่ านออกใช้ปิดพอกรกั ษาแผลสด แผลเร้ือรงั แผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก แผลไหมเ้ กรียม กนิ รักษาแผลในกระเพาะอาหาร และใช้เปน็ สว่ นผสมในเครื่องสำอาง นำ้ ยางสีเหลอื งจากใบเคี่ยวให้แหง้ เรียกว่า ยาดำ เป็นยาระบายชนดิ เพิ่ม การบีบตัวของลำไสใ้ หญ่

~ 12 ~ กานพลู ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Eugenia caryophyllum Bullock & Harrison วงศ์ : Myrtaceae ชื่อสามญั : Clove ลักษณะ : ไมย้ ืนต้น สงู 5-10 เมตร ใบเด่ียว เรียงตรงข้าม รูปวงรีหรือรูปใบหอก กว้าง 2.5-4 ซม. ยาว 6-10 ซม. ขอบเป็นคลื่น ใบอ่อนสีแดงหรือน้ำตาลแดง เน้อื ใบบางคอ่ นข้างเหนยี ว ผิวมนั ดอก ชอ่ ออกที่ซอกใบ กลบี ดอกสขี าวและร่วงง่าย กลบี เลีย้ งและฐานดอกสแี ดงหนาแขง็ ผลเป็นผลสด รปู ไข่ ประโยชน์ทางสมุนไพร : ตำรายาไทย ใช้ดอกตมู แหง้ แก้ปวดฟนั โดยใชด้ อกแช่เหลา้ เอาสำลีชุบอุด รฟู นั และใชข้ นาด 5-8 ดอก ชงนำ้ เดือด ดืม่ เฉพาะสว่ นน้ำหรอื ใช้เคย้ี วแกท้ ้องเสีย ขับลม แก้ ท้องอดื เฟ้อ นอกจากนี้ใช้ผสมในยาอมบ้วนปากดบั กลน่ิ ปาก พบว่าในน้ำมันหอมรเหยท่กี ล่นั จาก ดอกมีสาร eugenol ซง่ึ มฤี ทธิ์เปน็ ยาชาเฉพาะท่ี จึงใชแ้ กป้ วดฟัน และมฤี ทธลิ์ ดการบีบตัวของ ลำไส้ ทำให้เกิดอาการปวดทอ้ งลดลง ชว่ ยขบั น้ำดี ลดอาการจกุ เสยี ดทเ่ี กิดจากการย่อยไม่สมบูรณ์ และสามารถฆา่ เชอื้ แบคทีเรียหลายชนิดเชน่ เชือ้ โรคไทฟอยด์ บดิ ชนดิ ไมม่ ีตวั เชือ้ หนองเปน็ ต้น นอกจากน้ยี ังกระตุ้นให้มีการหลั่งเมือก และลดการเป็นกรดในกระเพาะอาหารดว้ ย

~ 13 ~ กล้วยนำ้ ว้า ช่อื วิทยาศาสตร์ : Musa sapientum L. ]วงศ์ : Musaceae ชอื่ สามญั ; Banana ลักษณะ : ไม้ล้มลกุ สงู 2-4.5 เมตร มีลำต้นใต้ดิน ลำต้นเหนอื ดินเกดิ จากกาบใบหุ้มซอ้ นกัน ใบ เดยี่ ว เรยี งสลับซ้อนกนั รอบต้นท่ีปลายยอด รปู ขอบขนาน กว้าง 25-40 ซม. ยาว 1-2 เมตร ผิวใบ เรยี บมัน ท้องใบสอี ่อนกว่า มนี วล ดอก ช่อเรยี กว่า หัวปลอี อกที่ปลายยอด ใบประดับหุ้มชอ่ ดอกสี แดงหรือมว่ ง กลีบดอกสีขาว บาง ผล เปน็ ผลสด ประโยชนท์ างสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใช้ผลดิบซ่ึงมีสารแทนนินมาก รักษาอาการท้องเสยี และบดิ โดยกินครัง้ ละคร่ึงหรือหนง่ึ ผล มรี ายงานว่า มฤี ทธ์ปิ ้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารของหนู ขาวทีถ่ ูกกระตนุ้ ด้วยยาแอสไพรนิ เชอื่ ว่าฤทธิ์ดงั กลา่ วเกิดจากการถกู กระตุ้นผนังกระเพาะอาหาร ใหห้ ลัง่ สารเมอื กออกมามากขึน้ จงึ นำมาทดลองรกั ษาโรคกระเพาะอาหารของคน โดยใชก้ ล้วยดิบ หนั่ เปน็ แวน่ ตากแห้งบดเป็นผง กินวันละ 4 ครัง้ ๆ ละ 1-2 ช้อนแกง ก่อนอาหารและกอ่ นนอน อาจทำใหเ้ กิดอาการท้องอืด ซึ่งปอ้ งกันไดโ้ ดยกินร่วมกับยาขบั ลม เช่น ขิง

~ 14 ~ กระเทียม ช่ือวทิ ยาศาสตร์ : Allium sativum L. วงศ์ : Alliaceae ชื่อสามัญ : Common Garlic , Allium ,Garlic , ช่อื อืน่ : กระเทยี ม (ภาคกลาง) หอมเทยี ม (ภาคเหนือ) หอมขาว (ภาคอีสาน) เทยี ม, หอมเทียม (ภาคใต)้ ลกั ษณะ : ไม่พมุ่ สูง 2-4 เมตร กิง่ อ่อนมีหนาม ใบประกอบชนิดมีใบย่อยใบเดียว เรียงสลบั รปู ไข่ รปู วงรีหรือรปู ไขแ่ กมขอบขนานกวา้ ง 3-5 ซม. ยาว 4-8 ซม. เนอ้ื ใบมจี ดุ นำ้ มันกระจาย กา้ นใบมี ครีบเล็ก ๆ ดอกเดย่ี วหรอื ชอ่ ออกทปี่ ลายกง่ิ และทซ่ี อกใบ กลบี ดอกสขี าว กล่ินหอม ร่วงง่าย ผล เปน็ ผลสด กลมเกลยี้ ง ฉำ่ น้ำ ประโยชนท์ างสมุนไพร : ตำรายาไทยใช้นำ้ มะนาวและผลดองแหง้ เปน็ ยาขับเสมหะแกไ้ อ แกโ้ รค เลอื ดออกตามไรฟัน เพราะมีวติ ามนิ ซี นำ้ มะนาวเป็นกระสายยาสำหรบั สมนุ ไพรทใ่ี ช้ขบั เสมหะเชน่ ดีปลกี ินรว่ มกบั ยาขับลม เช่น ขิง

~ 15 ~ ขีเ้ หลก็ ช่ือวทิ ยาศาสตร์ : Cassia siamea Britt. วงศ์ : Leguminosae ช่ือสามญั : Cassod Tree / Thai Copper Pod ชอื่ อื่น ข้ีเหล็กแกน่ ขเ้ี หล็กบาน ขี้เหลก็ หลวง ขีเ้ หลก็ ใหญล่ ักษณะ : ไมย้ ืนตน้ สงู 10-15 เมตร ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลบั ใบยอ่ ยรูปขอบ ขนาน กวา้ งประมาณ 1.5 ซม. ยาว 4 ซม. ใบอ่อนมขี นสนี ำ้ ตาลแกมเขียว ดอกช่อ ออกท่ีปลายก่ิง กลบี ดอกสเี หลอื ง ผลเป็นฝกั แบนยาวและหนา ประโยชนท์ างสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใช้ดอกเปน็ ยานอนหลบั ลดความดนั โลหิตดอกตมู และใบอ่อน เปน็ ยาระบาย ใบแกร้ ะดขู าว แกน้ ่ิว ขับปสั สาวะ แก่นแก้ไข้ ทำให้นอนหลบั รักษากามโรค ใบอ่อน และแก่นมสี ารกลุ่มแอนทราควโิ นนหลายชนดิ จึงมีฤทธเ์ิ ปน็ ยาระบายใช้ใบออ่ นครัง้ ละ 2-3 กำมือ ต้มกบั นำ้ 1-1.5 ถ้วย เตมิ เกลอื เลก็ น้อย ด่มื กอ่ นอาหารเช้าครั้งเดียว นอกจากนี้ในใบอ่อนและดอก ตูมยงั พบสารซ่งึ มีฤทธ์ิกดประสาทสว่ นกลางทำให้นอนหลบั โดยใชว้ ิธดี องเหล้าดมื่ ก่อนนอน

~ 16 ~ คูณ ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Cassia fistula L. วงศ์ : Leguminosae ช่ือสามญั : Golden Shower Tree/ Purging Cassia ชื่ออ่นื : ราชพฤกษ์ ลมแล้ง ลกั ษณะ : ไม้ยืนต้น สงู 5-15 เมตร ใบประกอบแบบขนนกเรยี งสลบั ใบยอ่ ยรูปไขห่ รอื รูปวงรี กวา้ ง 4-8 ซม. ยาว 7-12 ซม. ดอกช่อออกทปี่ ลายกง่ิ ห้อยเปน็ โคมระย้า กลบี ดอกสีเหลือง ผลเป็น ฝักกลม สนี ้ำตาลเขม้ หรือดำ เปลอื กแขง็ ผวิ เรยี บ ภายในมีผนงั กน้ั เปน็ หอ้ ง แต่ละหอ้ งมี เมล็ด 1 เมล็ด หุ้มดว้ ยเนอื้ สีดำเหนยี ว ประโยชน์ทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใช้เนื้อหุ้มเมล็ดแกท้ ้องผกู ขบั เสมหะ ดอกแก้ไข้ เป็นยา ระบาย แกน่ ขบั พยาธไิ ส้เดือน พบว่าเนอื้ หมุ้ เมลด็ มีสารกล่มุ แอนทราควโิ นน จึงมสี รรพคณุ เปน็ ยา ระบาย โดยนำเนอ้ื หุม้ เมล็ดซง่ึ มสี ีดำเหนียว ขนาดกอ้ นเทา่ หัวแม่มือ (ประมาณ 4 กรมั ) ต้มกบั นำ้ ใส่เกลือเล็กน้อย ดมื่ ก่อนน้ำ ดื่มก่อนนอน มีข้อควรระวังเชน่ เดียวกบั ชุมเห็ดเทศ

~ 17 ~ ชุมเหด็ เทศ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Senna alata L. วงศ์ : Leguminosae ชื่อสามัญ Ringworm Bush ชอ่ื อนื่ : ขคี้ าก ลบั มีนหลวง หมากกะลงิ เทศ ชมุ เห็ดใหญ่ ลกั ษณะ : ไม้พุ่ม สูง 1 - 3 เมตร แตกกงิ่ ออกด้สนข้าง ในแนวขนานกบั พ้ืน ใบประกอบ แบบขนนก เรยี งสลับ ใบยอ่ ยรูปขอบขนาน รูปวงรีแกมขอบขนาน หรอื รูปไขก่ ลบั กว้าง 3-7 ซม. ยาว 6- 15 ซม. หูใบเปน็ รปู สามเหล่ียม ดอกช่อ ออกทซี่ อกใบตอนปลายกง่ิ กลีบดอกสีเหลอื งทอง ใบ ประดับ สีนำ้ ตาลแกมเหลืองหุม้ ดอกยอ่ ยเห็นชัดเจน ผลเปน็ ฝกั มีครบี 4 ครบี เมลด็ แบน รูป สามเหลย่ี ม ประโยชนท์ างสมนุ ไพร : รสเบ่ือเอียน ใบตำทาแกก้ ลากเกลอื้ น โรคผิวหนัง ดอกและใบตม้ รับประทานแกอ้ าการท้องผูก มีสาร แอนทราควโิ นน กลัยโคซายด์ หลายชนดิ ไดแ้ ก่ emodin, aloe - emodin และ rhein ใช้เป็นยาระบายกระตนุ้ ลำไสใ้ หญ่ใหบ้ ีบตวั การทดลองในสัตว์ และ คน พบวา่ ใบแกม่ ฤี ทธ์ิ นอ้ ยกว่าใบอ่อน นอกจากนี้น้ำจากใบ ยังมีฤทธิฆ์ า่ เช้ือแบคทีเรยี ดว้ ย

~ 18 ~ มะขาม ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Tamarindus indica L. วงศ์ : Leguminosae ช่ือสามญั : Tamarind ช่ืออนื่ : Tamarind ลกั ษณะ : มะขามเป็นไมย้ ืนต้นขนาดกลางจนถึงขนาดใหญแ่ ตกกิง่ ก้านสาขามาก เปลือกตน้ ขรขุ ระ และหนา สีนำ้ ตาลออ่ น ใบ เปน็ ใบประกอบ ใบเล็กออกตามกงิ่ กา้ นใบเป็นคู่ ใบย่อยเป็นรปู ขอบ ขนาน ปลายไบและโคนใบมน ดอก ออกเปน็ ชอ่ เลก็ ๆ ตามปลายกิง่ หนง่ึ ชอ่ มี 10-15 ดอก ดอก ย่อยขนาดเล็ก กลีบดอกสีเหลืองและมีจุดประสีแดงอยกู่ ลางดอก ผล เปน็ ฝักยาว รูปร่างยาวหรือ โคง้ ยาว 3-20 ซม. ฝกั ออ่ นมเี ปลือกสเี ขียวอมเทา สีน้ำตาลเกรียม เน้อื ในติดกับเปลือก เม่อื แกฝ่ กั เปลยี่ นเปน็ เปลือกแข็งกรอบหกั ง่าย สีน้ำตาล เน้อื ในกลายเปน็ สนี ำ้ ตาลหมุ้ เมล็ด เน้อื มีรสเปรยี้ ว และหวาน ประโยชนท์ างสมุนไพร : สรรพคุณทางยา · ยาระบาย แก้อาการทอ้ งผกู ใช้มะขามเปียกรสเปรี้ยว 10–20 ฝกั (หนัก 70–150 กรัม) จ้มิ เกลอื รับประทาน แล้วดมื่ นำ้ ตามมากๆ หรือต้มนำ้ ใสเ่ กลอื เลก็ นอ้ ยดื่มเป็นน้ำมะขาม · ขบั พยาธิไส้เดือน นำเอาเมลด็ แกม่ าควั่ แลว้ กะเทาะเปลือกออก เอาเน้อื ในเมล็ดไปแช่น้ำเกลือจน น่มุ รับประทานครั้งละ 20-30 เมด็ · ขบั เสมหะ ใช้เน้ือในฝักแก่หรือมะขามเปียกจม้ิ เกลือรบั ประทานพอสมควร คณุ คา่ ทางโภชนาการ ยอดออ่ นและฝกั ออ่ นมีวิตามิน เอ มาก มะขามเปียกรสเปรย้ี ว ทำให้ช่มุ คอ ลดความรอ้ นของร่างกายไดด้ ี เน้ือในฝักมะขามท่ีแกจ่ ดั เรียกว่า \"มะขามเปยี ก\" ประกอบด้วยกรด อินทรยี ห์ ลายตวั เช่น กรดทารท์ ทารร์ คิ กรดซิตริค เป็นตน้ ทำให้ออกฤทธ์ิ ระบายและลดความ รอ้ นของรา่ งกายลงได้ แพทย์ไทยเชื่อวา่ รสเปร้ียวน้ีจะกัดเสมหะใหล้ ะลายไดด้ ว้ ย

~ 19 ~ แมงลัก ช่อื วิทยาศาสตร์ : Ocimum basilicum L.f. var. citratum Back. วงศ์ : Labiatae ชื่อสามญั : Hairy Basil ชอ่ื อื่น : กอ้ มก้อขาว มังลกั ลักษณะ : แมงลักมลี กั ษณะทรงต้น ใบ ดอก และผลคลา้ ยโหระพา ต่างกนั ท่กี ลิ่น ใบสีเขียวอ่อน กว่า กลบี ดอกสขี าวและใบประดับสีเขยี ว ประโยชนท์ างสมนุ ไพร : ตำรายาไทยมกั เรยี กผลแมงลกั วา่ เมด็ แมงลกั ใช้เปน็ ยาระบายชนิดเพ่ิม กาก เพราะเปลอื กผลมีสารเมอื กซงึ่ สามารถพองตวั ในน้ำได้ 45 เทา่ เหมาะสำหรบั ผูท้ ไ่ี มช่ อบกิน อาหารที่มีกากเช่น ผกั ผลไม้ ใชผ้ ลแมงลกั 1-2 ช้อนชา แช่นำ้ 1 แก้ว จนพองตัวเต็มท่ี กนิ ก่อน นอน ถ้าผลแมงลักพองตัวไมเ่ ต็มที่จะทำให้ท้องอดื และอจุ จาระแขง็ จากการทดลองพบว่าแมงลกั ทำให้จำนวนครง้ั ในการถ่ายและปริมาณอจุ จาระเพ่มิ ข้ึน รวมทั้งทำใหอ้ จุ จาระอ่อนตัวกวา่ ปกติ นอกจากนใี้ บและตน้ สดมฤี ทธ์ขิ ับลม เนอื่ งจากมนี ำ้ มนั หอมระเหย

~ 20 ~ ไพล ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Zingiber purpureum Roscoe วงศ์ : Zingiberaceae ชอ่ื อ่นื : ปูลอย ปูเลย ว่านไฟ ลักษณะ : ไมล้ ม้ ลกุ สูง 0.7-1.5 เมตร มเี หง้าใต้ดนิ เปลือกนอกสีนำ้ ตาลแกมเหลอื ง เน้ือในสีเหลือง แกมเขียว มีกล่ินเฉพาะ แทงหนอ่ หรือลำต้นเทียมข้ึนเป็นกอประกอบดว้ ยกาบหรอื โคน ใบหมุ้ ซ้อน กนั ใบ เดย่ี ว เรยี งสลบั รปู ขอบขนานแกมใบหอก กว้าง 3.5-5.5 ซม. ยาว 18-35 ซม. ดอก ช่อ แทงจากเหง้าใตด้ ิน กลบี ดอกสนี วล ใบประดบั สมี ว่ ง ผล เป็นผลแห้ง รปู กลม ประโยชน์ทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชเ้ หง้าเปน็ ยาขบั ลม ขบั ประจำเดือน มฤี ทธิร์ ะบายออ่ น ๆ แกบ้ ิด สมานลำไส้ ยาภายนอกใชเ้ หงา้ สดฝนทาแก้เคลด็ ยอก ฟกบวม เสน้ ตึง เม่ือยขบ เหนบ็ ชา สมานแผล จากการวจิ ัยพบว่าในเหง้ามนี ้ำมันหอมระเหยซงึ่ มีคุณสมบัตลิ ดอาการอกั เสบและบวม จงึ มกี ารผลติ ยาขผ้ี ึ้งผสมน้ำมันไพล เพอ่ื ใช้เป็นยาทาแกอ้ าการเคลด็ ขัดยอก น้ำมันไพลผสม แอลกอฮอลส์ ามารถทากันยุงได้ นอกจากนีพ้ บว่าในเหงา้ มีสาร 4-(4-hydroxy-1-butenyl) veratrole ซึ่งมฤี ทธิ์ขยายหลอดลม ไดท้ ดลองใช้ผงไพล กบั ผู้ปว่ ยเดก็ ที่เป็นหดื สรุปว่าใหผ้ ลดีทัง้ ในรายที่มอี าการหอบหดื เฉียบพลนั และเร้ือรัง

~ 21 ~ เทียนบ้าน ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Impatiens balsamina L. วงศ์ : Balsaminaceae ชอ่ื สามัญ : Garden Balsam ชื่ออน่ื : เทยี นดอก เทยี นสวน ลกั ษณะ : พรรณไม้พวกคลมุ ดิน ลำตน้ จะอุ้มน้ำ ลำต้นจะไม่ต้งั ตรงขึน้ ไป จะเอยี งเล็กนอ้ ย เปราะ ง่าย ใบมีลักษณะมนรี ปลายแหลม ดอกน้นั จะมีหลายสี เข่น สีชมพู สีแดง สม้ และขาว เป็นดอก เดยี่ ว จะออกติดกันชอ่ หน่ึง อาจะจะมี 2-3 ดอก กลีบดอกจะซ้อน ๆ กนั เปน็ วงกลม มีกลีบ เลี้ยง 3 กลีบ กลบี ดอก 5 กลีบ กลบี ดา้ นล่างงอเปราะ มจี ะงอยยืน่ ออกมาเปน็ หลอดเลก็ -ยาว ปลายโค้งขนึ้ ขนาดดอก 3-6 ซม. ประโยชนท์ างสมุนไพร : ใชร้ ักษาฝี แผลพพุ อง ใช้ใบสดและดอกสดประมาณ 1 กำมอื ตำละเอียด พอกฝี หรอื คนั้ น้ำทาบริเวณท่เี ปน็ ฝแี ละแผลพุพองวันละ 3 คร้ัง (สจี ากน้ำคัน้ จะติดอยนู่ าน จงึ ควร ระวงั การเปรอะเป้อื นเสือ้ ผ้าและรา่ งกายส่วนอ่ืน ๆ )

~ 22 ~ กะเพรา ช่ือวิทยาศาสตร์ : Ocimum sanctum L. วงศ์ : Labiatae ชอ่ื อ่ืน : กอมกอ้ กอมกอ้ ดง กะเพราขาว กะเพราแดง ลกั ษณะ : กะเพรามี 3 พนั ธ์ุ คือ กะเพราแดง กะเพราขาวและกะเพราลูกผสมระหวา่ งกะเพราแดง และกะเพราขาว มลี ักษณะทว่ั ไปคลา้ ยโหระพา ตา่ งกนั ท่กี ลน่ิ และกิง่ ก้านซึ่งมขี นปกคลุมมากกว่า ใบกะเพราขาวสีเขยี วอ่อน ส่วนใบกะเพราแดงสีเขยี วแกมม่วงแดง ดอกย่อยสชี มพแู กมมว่ ง ดอก กะเพราแดงสเี ข้มกว่ากะเพราขาว ประโยชนท์ างสมุนไพร : ตำรายาไทยใชใ้ บหรือท้ังตน้ เป็นยาขับลมแกป้ วดท้อง ทอ้ งเสีย และ คล่นื ไส้อาเจยี น นิยมใช้กะเพราแดงมากกวา่ กะเพราขาว โดยใช้ยอดสด 1 กำมือ ต้มพอเดือด ดมื่ เฉพาะสว่ นนำ้ พบวา่ ฤทธ์ิขับลมเกิดจากน้ำมันหอมระเหย การทดลองในสัตว์ แสดงว่าน้ำสกัดทัง้ ต้นมีฤทธิ์ลดการบบี ตัวของลำไส้ สารสกดั แอลกอฮอล์สามารถรกั ษาแผลในกระเพาะอาหาร สาร eugenol ในใบมีฤทธิ์ขับน้ำดี ชว่ ยยอ่ ยไขมันและลดอาการจกุ เสียด

~ 23 ~ ยอ ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Morinda citrifolia L. วงศ์ : Rubiaceae ช่ือสามญั : Indian Mulberry ชื่ออ่ืน : มะตาเสอื ยอบ้าน ลกั ษณะ : ไม้ยืนตน้ สงู 2-6 เมตร ใบเด่ยี ว เรียงตรงข้าม รูปวงรี กว้าง 8-15 ซม. ยาว 10-20 ซม. หใู บอยรู่ ะหว่างโคนกา้ นใบ ดอกช่อ ออกทซี่ อกใบ ฐานดอกอัดกันแน่นเป็นรูปทรงกลม กลบี ดอกสี ขาว ผลเปน็ ผลสด เชือ่ มตดิ กันเป็นผลรวม ผวิ เปน็ ต่มุ พอง ประโยชนท์ างสมุนไพร : ตำรายาไทยใชผ้ ลสดดิบหรือหา่ ม ฝานเป็นชิ้นบาง ย่างหรอื คัว่ ไฟออ่ น ๆ ใหเ้ หลือง ต้มหรอื ชงกบั นำ้ ด่มื แก้คลน่ื ไสอ้ าเจียน

~ 24 ~ ฟักทอง ช่ือวิทยาศาสตร์ : Cucurbita moschata Decne. วงศ์ : Cucurbitaceae ชื่อสามญั : Pumpkin ชอื่ อื่น : หมากอึ (ภาคอสี าน) มะฟักแก้ว ฟักแก้ว (ภาคเหนอื ) มะน้ำแก้ว หมกั อ้ือ (เลย) หมากฟัก เหลอื ง (แมฮ่ ่องสอน) นำ้ เตา้ ภาคใต้ ลกั ษณะ : เปน็ พืชล้มลกุ มีเถายาวเลื้อยปกคลุมดนิ ลำตน้ มลี กั ษณะกลมหรือเป็นเหลย่ี มมน ผิวเป็น ร่องตามความยาว มขี นอ่อน ๆ มหี นวดสำหรบั ยดึ เกาะยึดบริเวณข้อ ใบเป็นใบเดย่ี ว มีขนาดใหญ่ ออกเรียงสลับกัน โคนใบเวา้ คลา้ ยรปู หวั ใจ ขอบใบหยักเปน็ เหลี่ยม 5 เหลี่ยม มีขนทงั้ 2 ดา้ นของ ตัวใบดอกเป็นดอกเดี่ยวสีเหลืองมีขนาดใหญ่ ลกั ษณะคล้ายระฆังหรือกระดงิ่ ออกบริเวณงา่ มใบผล มขี นาดใหญ่ มีลักษณะเป็นพูเลก็ ๆ โดยรอบเปลือกนอกขรขุ ระและแขง็ มีสเี ขยี วและจะ เปลย่ี นเป็นสีเขียวอ่อนและ สีเหลอื งเข้ม และสีเหลืองตามลำดบั เนื้อภายในมีสีเหลืองอมเขียว สี เหลอื ง และสสี ม้ เมล็ดมีจำนวนมากซึง่ อยู่ตรงกลางผลระหวา่ งเน้อื ฟู ๆ มรี ูปรา่ งคล้ายไข่ แบน มี ขอบนูนอยู่โดยรอบ ประโยชน์ทางสมุนไพร : เนอ้ื ฟักทองประกอบด้วยแปง้ โปรตีน ไขมัน ฟอสฟอรัส แคลเซียม เหล็ก และ สารเบต้า - แคโรทีน ซึ่งเป็นสารท่ีรา่ งกายนำไปสร้างวิตามิน เอ เมล็ดมฟี อสฟอรสั ในปรมิ าณ สูง รวมท้งั แปง้ โปรตนี และนำ้ ประมาณรอ้ ยละ 40 ส่วนเมลด็ แห้งมสี ารควิ เคอร์บทิ นี (Cucurbitine) เป็นสารสำคัญ ซ่ึงมฤี ทธิฆ์ า่ พยาธิไดผ้ ลดี นอกจากนนั้ ฟักทองสามารถกระตนุ้ การ หล่งั อินซูลิน ซ่งึ ช่วยป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหติ ควบคุมระดับน้ำตาลในเลอื ด บำรุง นยั น์ตา ตบั และไต เมล็ดใช้เปน็ ยาขบั พยาธิตัวตืด ป้องกนั การเกิดนว่ิ ในกระเพาะปัสสาวะ และช่วย ดบั พิษปอดบวม รากช่วยแก้พษิ แมลงสัตว์กัดตอ่ ย ยางช่วยแกพ้ ิษผนื่ คนั เริม และงสู วัด ออกฤทธ์ิ คือ asperuloside

~ 25 ~ มะเกลือ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Diospyros mollis Griff. วงศ์ : Ebenaceae ชื่อสามัญ : Ebony tree ชอ่ื อน่ื : ผีเผา (ฉาน-ภาคเหนอื ) มักเกลือ (เขมร-ตราด) ลกั ษณะ : ไม้ต้นขนาดกลางถงึ ขนาดใหญ่ สงู 10-30 เมตร เรอื นยอดเป็นพ่มุ กลม ผิวเปลือกเป็น รอยแตกสะเก็ดเลก็ ๆ สดี ำ เปลอื กในสเี หลอื ง กระพ้ีสีขาว กิ่งอ่อนมขี นน่มุ ขนึ้ ประปราย ใบ เปน็ ใบ เดยี่ วขนาดเลก็ รูปไข่หรอื รีเรยี งตวั แบบสลบั ดอก ออกเปน็ ชอ่ ตามซอกใบ ดอกแยกเพศต่างตน้ ดอกตวั ผู้มขี นาดเล็ก สีเหลืองอ่อน หน่ึงช่อมี 3 ดอก ผวิ เกลีย้ ง ผลอ่อนสีเขยี ว ผลแก่สดี ำ ผลแก่จัด จะแห้ง มีกลบี เลย้ี งติดบนผล 4 กลีบ ผลแก่ราวเดอื นมถิ ุนายน-สิงหาคม เมลด็ แบน สเี หลือง 4- 5 เมลด็ ขนาดกว้าง 0.5-0.7 ซม. ยาว 1-2 ซม. ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมลด็ ประโยชนท์ างสมนุ ไพร : ผลดบิ สด-ใชเ้ ปน็ ยาถา่ ยพยาธิได้หลายชนดิ ถา่ ยพยาธิปากขอไดด้ ีที่สดุ เด็กอายุ 10 ปีใช้ 10 ผล ผู้ทอี่ ายุมากกวา่ 10 ปี ให้เพ่ิมจำนวนข้นึ 1 ผลตอ่ 1 ปี แต่สูงสุดไม่ เกนิ 25 ผล คือผ้ทู ี่อายุ 25 ปขี ้ึนไปกนิ 25 ผลเท่านัน้ ล้างให้สะอาด ตำพอแหลก กรองเอาเฉพาะ นำ้ ผสมหัวกะทิ 2 ช้อนชาต่อมะเกลือ 1 ผล กินครั้งเดยี วใหห้ มดตอนเชา้ มดื ก่อนอาหาร 3 ชั่วโมง หลังจากนี้ 3 ชั่วโมง ถ้าไม่ถ่ายใหก้ ินยาระบายดีเกลอื โดยใช้ผงดีเกลอื 2 ช้อนโต๊ะ ละลายนำ้ ประมาณครงึ่ แกว้ เพ่อื ถา่ ยพยาธิ และตวั ยาท่ีเหลือออกมา สารท่มี ีฤทธิ์คอื diospyrol diglucosideขอ้ ควรระวัง 1: ผ้ทู ห่ี ้ามใช้มะเกลือได้แก่ เด็กอายตุ ่ำกว่า 10 ปี หญิงมคี รรภ์ หรือหลงั คลอดไม่เกนิ 6 สปั ดาห์ ผู้ทเ่ี ปน็ โรคกระเพาะอาหาร หรอื มีอาการปวดท้อง ถ่ายอจุ จาระผิดปกติ บอ่ ยๆ และผู้ทีก่ ำลังเป็นไข้ ในการเตรียมยาตอ้ งใช้ผลดิบสด เตรียมแลว้ กนิ ทันที ไม่ควรเตรยี มยา ครงั้ ละมากๆ ใชเ้ คร่อื งบดไฟฟา้ จะทำใหล้ ะเอยี ดมาก มีตวั ยาออกมามากเกินไปขอ้ ควรระวงั 2 : เคยมีรายงานว่าถ้ากินยามะเกลือขนาดสงู กวา่ ที่ระบไุ ว้ หรือเตรียมไวน้ าน สารสำคญั จะ เปล่ียนเป็นสารพษิ ช่อื diospyrol ทำให้จอรบั ภาพ และประสาทตาอักเสบ อาจตาบอดได้ ประโยชน์ด้านอนื่ ๆ เนอื้ ไมใ้ ชท้ ำเฟอร์นิเจอรป์ ระดับมุก ผล ให้สดี ำ ใช้ย้อมผ้าและแพรได้

~ 26 ~ เล็บมือนาง ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Quisqualis indica L. วงศ์ : Combretaceae ชอ่ื สามญั : Rangoon Creeper ช่อื อื่น : จะมง่ั จ๊ามั่ง มะจีมัง่ ลักษณะ : ไมเ้ ถาเนื้อแข็ง ต้นแก่มกั มีกลนิ่ ที่เปลี่ยนเป็นหนาม ใบเด่ยี ว เรียงตรงข้าม รปู วงรี หรอื รปู ไข่แกมขอบขนาน กว้าง 5-8 ซม. ยาว 10-16 ซม. ดอกชอ่ ออกที่ปลายกิง่ และซอกใบบริเวณปลาย กงิ่ กลีบดอกสแี ดงโคนกลบี เล้ียงเป็นหลอดเรียวยาว สเี ขียว ผลเป็นผลแหง้ รูปกระสวย มเี ปลอื ก แข็งสีนำ้ ตาลเขม้ มสี ันตามยาว 5 สัน ประโยชน์ทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใช้เน้ือในเมล็ดแหง้ เป็นยาขบั พยาธิไส้เดือน สำหรับเดก็ กนิ ครั้งละ 2-3 เมลด็ และผใู้ หญ่ครง้ั ละ 4-5 เมล็ด โดยนำมาปน่ เป็นผง ผสมกบั น้ำผึง้ ปั้นเป็นยา ลูกกลอน หรือต้มเอาน้ำดื่ม หรือทอดกบั ไขก่ นิ ก็ได้ สารทมี่ ฤี ทธ์ขิ ับพยาธไิ ดแ้ กก่ รด quisqualic ซ่งึ เป็นกรดอะมโิ นชนดิ หน่ึง

~ 27 ~ ฟ้าทะลายโจร ชื่อวิทยาศาสตร์ : Andrographis paniculata (Burm.) Wall. ex Nees วงศ์ : Acanthaceae ช่อื อนื่ : คีปังฮี (จีน) ฟา้ ทะลายโจร หญา้ กันงู นำ้ ลายพงั พอน ลักษณะ : ไม้ลม้ ลุก สูง30-60 ซม.ทง้ั ตน้ มรี สขม ลำต้นเป็นสเ่ี หลี่ยม แตกกง่ิ ออกเป็นพมุ่ เล็ก ใบ เดีย่ ว เรยี งตรงข้าม รูปไข่หรือรูปใบหอก กว้าง 2-3 ซม. ยาว4-8 ซม. สีเขยี วเข้มเปน็ มนั ดอกช่อ ออกท่ปี ลายกงิ่ และซอกใบ ดอกย่อยขนาดเลก็ กลีบดอกสขี าว โคนกลีบดอกติดกนั ปลายแยก ออกเปน็ 2 ปาก ปากบนมี 3 กลบี มีเสน้ สีแดงเขม้ พาดตามยาว ปากล่างมี 2 กลีบ ผลเปน็ ฝกั สี เขยี วอมนำ้ ตาล ปลายแหลม เมอ่ื ผลแก่จะแตกเป็นสองซีก ดดี เมล็ดออกมา ประโยชนท์ างสมนุ ไพร : ชาวจนี ใช้ฟา้ ทะลายเปน็ ยามาแตโ่ บราณ และมาเปน็ ท่ีนยิ มใช้ในปะเทศ ไทยเม่อื ไมน่ านมานี้ โดยใช้เฉพาะใบหรือท้งั ตน้ บนดินซึง่ เกบ็ ก่อนทจี่ ะมีดอกเป็นยาแก้เจ็บคอ แก้ ทอ้ งเสยี แกไ้ ข้ เป็นยาขมเจรญิ อาหาร การศกึ ษาฤทธ์ิลดไขใ้ นสัตว์ทดลองพบว่าสารสกัด แอลกอฮอลม์ แี นวโน้มลดไขไ้ ด้ รายงานการใชร้ กั ษาโรคอจุ จาระร่วงและบดิ ไม่มตี ัว แสดงว่าฟ้า ทะลายมปี ระสิทธภิ าพในการรกั ษาเทา่ กับเตตราซัยคลนิ แตใ่ นการรักษาอาการเจ็บคอน้นั มรี ายงาน ท้งั ท่ไี ดผ้ ลและไมไ่ ด้ผลขนาดท่ีใช้คอื พชื สด 1-3 กำมือ ตม้ น้ำดืม่ ก่อนอาหารวันละ 3 คร้งั หรอื ใช้ พืชแหง้ บดเป็นผงละเอียดปน้ั เปน็ ยาลูกกลอนขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลางประมาณ 0.8 ซม. กินครั้ง ละ 3-6 เม็ด วันละ 3-4 ครง้ั กอ่ นอาหารและก่อนนอน สำหรับผงฟ้าทะลายที่บรรจแุ คปซูล ๆ ละ 500 มิลลิกรมั ให้กินครงั้ ละ 2 เม็ด วนั ละ 2 คร้งั กอ่ นอาหารเช้าและเย็น อาการข้างเคยี งที่ อาจพบคือ คล่นื ไส้

~ 28 ~ กระเจย๊ี บแดง ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Hibiscus sabdariffa L. วงศ์ : Malvaceae ชื่อสามญั : Roselle ชื่ออ่ืน : กระเจ๊ียบ กระเจ๊ียบเปรี้ย ผกั เกง็ เค็ง ส้มเก็งเค็ง สม้ ตะเลงเครง ลักษณะ : ไม้พุ่ม สูง 50-180 ซม. มีหลายพันธุ์ ลำต้นสีมว่ งแดง ใบเดี่ยว รูปฝ่ามือ 3 หรอื 5 แฉก กว้างและยาวใกล้เคียงกัน 8-15 ซม. ดอกเดี่ยว ออกที่ซอกใบ กลบี ดอกสชี มพหู รอื เหลืองบริเวณ กลางดอกสมี ่วงแดง เกสรตวั ผูเ้ ชือ่ มกนั เป็นหลอด ผลเปน็ ผลแหง้ แตกได้ มีกลีบเลีย้ งสีแดงฉ่ำนำ้ หุ้มไว้ ประโยชน์ทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใช้ใบและยอดออ่ นซง่ึ มรี สเปรี้ยวแก้ไอ เมล็ดบำรงุ ธาตุ ขับ ปัสสาวะ มรี ายงานการทดลองในผ้ปู ่วยโรคนิ่วในทอ่ ไต ซึง่ ดมื่ ยาชงกลีบเล้ียงแห้งของผล 3 กรัมใน น้ำ 300ซีซี วันละ 3 ครงั้ ทำให้ถ่ายปสั สาวะสะดวกขึ้น บางรายน่ิวหลุดไดเ้ อง นอกจากนี้ทำให้ ผูป้ ่วยกระเพาะปัสสาวะอักเสบมอี าการปวดแสบเวลาปสั สาวะนอ้ ยลง

~ 29 ~ หญา้ หนวดแมว ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Orthosiphon grandiflorus Bolding วงศ์ : Labiatae ชื่อสามัญ : Cat's Whisker ชื่ออื่น : พยบั เมฆ ลักษณะ : ไม้พุ่ม สูง 0.5-1 เมตร กิง่ และก้านส่ีเหลย่ี มสมี ว่ งแดง ใบ เด่ยี ว เรยี งตรงข้าม รปู ไข่แกม สี่เหลี่ยมข้าวหลามตดั กวา้ ง 2-4 ซม. ยาว 4-7 ซม. ขอบใบหยักฟนั เลอื่ ย ดอก ชอ่ ออกทป่ี ลายก่ิง มี 2 พันธค์ุ ือพนั ธุด์ อกสขี าวและพนั ธุ์ดอกสมี ่วงนำ้ เงิน เกสรตัวผู้ยืน่ พ้นกลบี ดอกออกมายาวมาก ผล เปน็ ผลแหง้ ไมแ่ ตก รปู รขี นาดเลก็ ประโยชนท์ างสมุนไพร : ตำรายาไทยใชท้ ้ังตน้ เปน็ ยาขบั ปัสสาวะ แก้โรคปวดตามสนั หลังและบนั้ เอว ใบเปน็ ยารกั ษาโรคเบาหวานและลดความดันโลหิต มกี ารทดลองใช้ใบแหง้ เป็นยาขับปัสสาวะ ขับกรดยรู ิคซง่ึ เป็นสาเหตุของโรคเกาด์และรักษาโรคน่ิวในไตกบั ผปู้ ว่ ยโรงพยาบาลรามาธบิ ดี โดย ใชใ้ บแหง้ ประมาณ 4 กรัม ชงกับนำ้ เดือด 750 ซีซี ดืม่ ต่างน้ำตลอดวนั ได้ผลเป็นท่นี า่ พอใจของ แพทย์ พบวา่ ในใบมีเกลือโปแตสเซยี มสูง ผ้ปู ว่ ยโรคหัวใจไมค่ วรใช้

~ 30 ~ หญา้ คา ช่ือวิทยาศาสตร์ : Imperata cylindrica Beauv. วงศ์ : Gramineae ช่อื สามญั : ลกั ษณะ : ไมล้ ม้ ลกุ สูง 0.3-0.9 เมตร มเี หง้าใตด้ ิน รูปร่างยาวและแขง็ ใบ เดี่ยว แทงออกจาก เหงา้ กวา้ ง 1-2 ซม. ยาวไดถ้ ึง 1 เมตรขอบใบคม ดอก ช่อ แทงออกจากเหงา้ ดอกยอ่ ยอยู่รวมกนั แนน่ สีเงินอมเทาจาง ผล เป็นผลแหง้ ไมแ่ ตก ประโยชนท์ างสมุนไพร : ตำรายาไทยใช้รากและเหงา้ เปน็ ยาขบั ปัสสาวะ แก้อาการกระเพาะ ปสั สาวะอกั เสบ ปสั สาวะแดง บำรงุ ไต ขับระดูขาว มีการศกึ ษาฤทธิ์ขบั ปสั สาวะในสตั วท์ ดลอง พบวา่ ไดผ้ ลเฉพาะนำ้ ต้มส่วนราก

~ 31 ~ อ้อยแดง ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Saccharum officinarum L. วงศ์ : Gramineae ชอื่ สามญั : Sugar-cane ช่ืออน่ื : อ้อย ออ้ ยขม ออ้ ยดำ ลกั ษณะ : ไม้ลม้ ลุก สงู 2-5 เมตร ลำต้นสีม่วงแดง มีไขสีขาวปกคลมุ ไม่แตกกิง่ กา้ น ใบเดี่ยว เรียงสลับ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 0.5-1 เมตร ดอกชอ่ ออกทีป่ ลายยอด สขี าว ผลเปน็ ผลแหง้ ขนาดเล็ก ออ้ ย มหี ลายพันธุ์ แตกต่างกนั ทค่ี วามสูงความยาวของขอ้ และสขี องลำตน้ ประโยชน์ทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใช้ลำตน้ เป็นยาขบั ปสั สาวะ โดยใชล้ ำตน้ สด 70-90 กรมั หรือ แหง้ 30-40 กรัม ห่นั เป็นช้ิน ตม้ นำ้ แบ่งดมื่ วนั ละ 2 ครง้ั ก่อนอาหาร แก้ไตพิการ หนองในและขับ นิว่ แพทย์พื้นบ้านใช้ขับเสมหะ มรี ายงานว่าอ้อยแดงมีฤทธ์ขิ ับปสั สาวะในสัตว์ทดลอง

~ 32 ~ ขลู่ ช่ือวิทยาศาสตร์ : Pluchea indica Less วงศ์ : Compositae ช่ือสามัญ : Indian Marsh Fleabane ชอ่ื อน่ื : ขลู่ หนวดง่ัว หนงดงวิ้ หนวดงวั หนวดวัว ลกั ษณะ : ไม้พุ่ม สูง 1-2.5 เมตร ชอบขึ้นในท่ีชืน้ แฉะ ใบเด่ียว เรยี งสลับ รูปไขก่ ลับ กว้าง 1-5 ซม. ยาว 2.5-10 ซม. ขอบใบหยักซ่ฟี ันหา่ ง ๆ ดอกช่อ ออกท่ียอดและซอกฟนั กลบี ดอกสีม่วง ผลเป็น ผลแหง้ ไมแ่ ตก ประโยชน์ทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชท้ ้ังตน้ ต้มกนิ เปน็ ยาขบั ปสั สาวะ แกเ้ บาหวาน ต้มน้ำอาบแก้ ผ่ืนคนั นำ้ คน้ั ใบสดรักษาริดสีดวงทวาร การทดลองในสตั วแ์ ละคนปกติ พบวา่ ยาชงทงั้ ต้นมีฤทธ์ขิ ับ ปสั สาวะมากว่ายาขบั ปัสสาวะแผนปัจจบุ ัน (hydrochlorothiazide) และมขี ้อดีคอื สูญเสยี เกลอื แร่ นอ้ ยกว่า

~ 33 ~ สบั ปะรด ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Ananas comosus Merr. วงศ์ : Bromeliaceae ชื่อสามัญ : Pineapple ชื่ออื่น : ขนุนทอง ยานดั ย่านนดั บ่อนัด มะขะนัด มะนดั ลิงทอง หมากเกง็ ลักษณะ : ไม้ลม้ ลุกอายหุ ลายปี สูง 90-100 ซม. มลี ำตน้ อยใู่ ตด้ ิน ใบ เดย่ี ว เรยี งสลับซ้อนกันถม่ี า กรอบต้น กว้าง 6.5 ซม. ยาวไดถ้ งึ 1 เมตร ไมม่ กี า้ นใบ ดอก ช่อ ออกจากกลางต้น มดี อกยอ่ ย จำนวนมาก ผล เปน็ ผลรวม รูปทรงกระบอก มใี บเป็นกระจกุ ที่ปลายผล ประโยชน์ทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชเ้ น้ือผลเป็นยาแกไ้ อขบั เสมหะ เหงา้ เปน็ ยาขบั ปัสสาวะ แก้ นิ่ว พบว่าลำต้น และผลมีเอนไซม์ยอ่ ยโปรตีน ช่ือ bromelain ใชเ้ ป็นยาลดการอักเสบและบวม จากการถูกกระแทกบาดแผล หรือการผ่าตัด โดยผลิตเปน็ ยาเมด็ ช่อื Ananase Forte Tablet

~ 34 ~ สะแก ชือ่ วิทยาศาสตร์ : Combretum quadrangulare Kurz วงศ์ : Combretaceae ชื่อสามัญ : ชอ่ื อนื่ : แก ขอนแข้ จองแข้ แพ่ง สะแก ลกั ษณะ : ไมย้ นื ตน้ สูง 5-10 เมตร กงิ่ ออ่ นเปน็ รปู เหลี่ยม ใบเดย่ี ว เรยี งตรงขา้ ม รปู วงรี หรอื รปู ไข่ กลบั กว้าง 3-8 ซม. ยาว 6-15 ซม. ดอกช่อ ออกทีซ่ อกใบ และปลาดยอด ดอกยอ่ ยมีขนาดเลก็ กลีบดอกสขี าว ผลแหง้ มี 4 ครีบ เมลด็ สนี ำ้ ตาลแดง รูปกระสวย มี 4 สันตามยาว ประโยชน์ทางสมนุ ไพร : เมลด็ แก่-ใช้ขบั พยาธิไส้เดือน และพยาธเิ ส้นดา้ ยในเด็ก โดยใช้ ขนาด 1 ช้อนคาว หรือ 3 กรัม ตำผสมกบั ไขท่ อดกนิ คร้งั เดยี ว ขณะท้องวา่ ง

~ 35 ~ พลู ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Piper betle L. วงศ์ : Piperaceae ช่ือสามญั : Betel Vine ลกั ษณะ : ไม้เถาเนอื้ แข็ง รากฝอยออกบรเิ วณข้อใชย้ ดึ เกาะ ข้อโปง่ นนู ใบ เดยี่ ว เรียงสลบั รูปหวั ใจ กว้าง 8- 12 ซม. ยาว 12-16 ซม. มีกล่นิ เฉพาะและมีรสเผด็ ดอก ช่อ ออกที่ซอกใบ ดอกยอ่ ยขนาดเลก็ อดั แนน่ เปน็ รูปทรงกระบอก แยกเพศ สขี าว ผล เป็นผลสด กลมเล็กเบียดอยู่บนแกน พลูมหี ลายพนั ธุ์ เช่นพลูเหลือง พลูทองหลาง ประโยชนท์ างสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใช้นำ้ คั้นใบสดกนิ เปน็ ยาขบั ลมและทาแก้ลมพิษ โดยใช้ 3-4 ใบ ขยี้หรอื ตำใหล้ ะเอยี ด ผสมเหลา้ โรงเล็กนอ้ ย ทาบริเวณที่เป็น ใบมีน้ำมันหอมระเหย ประกอบดว้ ย สาร chavicol และ eugenol ซง่ึ มฤี ทธท์ิ ำให้ชาเฉพาะท่ี สามารถบรรเทาอาการคันและฆ่าเชือ้ โรค บางชนดิ ดว้ ย จงึ มกี ารพัฒนาตำรับยาขผ้ี ้งึ ผสมสารสกดั ใบพลขู ึน้ เพอ่ื ใช้เป็นยาทารกั ษาโรคผวิ หนงั บางชนดิ

~ 36 ~ ทองพันชงั่ ช่ือวิทยาศาสตร์ : Rhinacanthus nasutus Kurz วงศ์ : Acanthaceae ชือ่ อนื่ : ทองคนั ชั่ง หญ้ามันไก่ ลกั ษณะ : ไม้พมุ่ สูง 1-2 เมตร กง่ิ อ่อนมักเปน็ สนั ส่ีเหลย่ี ม ใบเดี่ยวเรียงตรงข้ามรูปไขห่ รือรูปวงรี กว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. ดอกชอ่ ออกท่ีซอกใบกลีบดอกสขี าว โดคนกลีบติดกนั เป็นหลอด ปลายแยกเปน็ 2 ปาก ปากลา่ งมีจุดประสีมว่ งแดง ผลเปน็ ผลแหง้ แตกได้ ประโยชน์ทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใช้ใบสดและรากโขลกละเอยี ด แช่เหล้าโรง 1 สัปดาหเ์ อาน้ำ ทาแกก้ ลากเกล้ือน สารสำคัญคอื rhinacanthin และ oxymethylanthraquinone

~ 37 ~ มะหาด ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ : Artocarpus lakoocha Roxb. วงศ์ : Moraceae ช่ืออนื่ : หาด ขุนป่า มะหาดใบใหญ่ ลักษณะ : ไม้ยนื ต้น สงู ประมาณ 30 เมตร ทรงพุม่ แผก่ วา้ ง ใบ ดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานหรือ รปู วงรี กว้าง 8-10 ซม. ยาว 10-20 ซม. หลงั ใบเปน็ มนั สีเขยี วเข้ม ทอ้ งใบสาก ดอก ช่อ ออกท่ี ซอกใบ คอ่ นขา้ งกลม ก้านสั้น แยกเพศ อยู่บนต้นเดียวกนั ผล เป็นผลรวม สีเหลือง ผิวขรขุ ระ มี ขนนมุ่ ประโยชน์ทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชป้ วกหาดเปน็ ยาถา่ ยพยาธเิ สน้ ด้าย พยาธิไส้เดือนและพยาธิ ตัวตดื สำหรับเด็ก สารทีอ่ อกฤทธ์คิ อื 2, 4, 3, 5- tetrahydroxystillbene จากการศกึ ษาไม่พบ ความเปน็ พษิ ขนาดทีใ่ ชค้ อื ผงปวกหาด 3 กรัม ละลายนำ้ เยน็ ดม่ื ตอนเชา้ มดื หลงั จากนนั้ ประมาณ 2 ช่วั โมงให้กนิ ยาถา่ ย (ดเี กลอื ) นอกจากนี้ยงั ใช้ละลายน้ำทาแกค้ นั “ปวกหาด” เตรยี ม โดยการเค่ียวเน้ือไม้กบั น้ำ กรองเนอื้ ไม้ออก บีบน้ำออกใหแ้ ห้ง จะไดผ้ งสนี วลจบั กันเป็นก้อน ย่าง ไฟจนเหลอื ง เรียกก้อนน้ีไดว้ ่า ปวกหาด

~ 38 ~ พญาปลอ้ งทอง ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Clinacantus nutans (Burm.) Lindau วงศ์ : Acanthaceae ชื่ออืน่ : ผกั มันไก่ ผกั ลิ้นเขียด พญาปลอ้ งคำ พญาปล้องดำ พญายอ เสลดพังพอน เสลดพังพอนตัว เมีย ลักษณะ : ไมพ้ มุ่ รอเลื้อย สูง 1-3 เมตร ใบเดีย่ ว เรียงตรงขา้ ม รูปใบหอก กว้าง 1-3 ซม. ยาว 4- 12 ซม. สีเขียวเข้ม ดอกชอ่ ออกเป็นกะจุกท่ปี ลายกิ่ง กลบี ดอกสแี ดงสม้ โคนกลบี สีเขียว ติดกนั เป็นหลอดยาว ปลายแยกเปน็ 2 ปาก ไมค่ ่อยออกดอก ผลเปน็ ผลแหง้ แตกได้ ประโยชนท์ างสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใช้ใบสดรกั ษาแผลไฟไหมน้ ้ำรอ้ นลวก แมลงกัดต่อย ผน่ื คนั โดยนำใบสด 5-10 ใบ ตำหรอื ขย้ีทา การทดลองในสัตวพ์ บวา่ สารสกัดใบสดด้วย n- butanol สามารถลดการอักเสบได้ มกี ารเตรียมเป็นทงิ เจอร์เพ่อื ใชท้ ารักษาอาการอกั เสบจากเรมิ ในปาก โดยใชใ้ บสด 1 กก. ปัน่ ละเอียด เตมิ แอลกอฮอล์ 70% 1 ลติ ร หมัก 7 วัน กรอง ระเหยบน เครื่ององั ไอนำ้ ให้ปรมิ าตรลดลงคร่งึ หนึง่ เตมิ กลีเซอรนี เท่าตวั

~ 39 ~ มะนาว ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Citrus aurantifolia Swing. วงศ์ : Rutaceae ชอ่ื สามญั : Common Lime ช่ืออืน่ : สม้ มะนาว มะลวิ (ภาคเหนือ) ลักษณะ : ไมพ่ มุ่ สงู 2-4 เมตร กง่ิ อ่อนมหี นาม ใบประกอบชนดิ มใี บย่อยใบเดียว เรียงสลับ รปู ไข่ รูปวงรหี รือรูปไขแ่ กมขอบขนานกว้าง 3-5 ซม. ยาว 4-8 ซม. เนอ้ื ใบมีจดุ น้ำมันกระจาย กา้ นใบมี ครีบเล็ก ๆ ดอกเด่ียวหรือชอ่ ออกทป่ี ลายก่ิงและที่ซอกใบ กลีบดอกสขี าว กล่ินหอม ร่วงง่าย ผล เป็นผลสด กลมเกลีย้ ง ฉำ่ นำ้ ประโยชน์ทางสมนุ ไพร : รายาไทยใชน้ ำ้ มะนาวและผลดองแหง้ เป็นยาขับเสมหะแก้ไอ แกโ้ รค เลือดออกตามไรฟนั เพราะมีวติ ามินซี นำ้ มะนาวเป็นกระสายยาสำหรบั สมนุ ไพรทีใ่ ช้ขบั เสมหะเชน่ ดปี ลี

~ 40 ~ มะแวง้ เครอื ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Solanum trilobatum L. วงศ์ : Solanaceae ชือ่ อ่นื : แขวง้ เคยี ลักษณะ : ไม้เลื้อย มหี นามตามกิ่งก้าน ใบเดย่ี ว เรียงสลับ รูปไขก่ วา้ ง 4-5 ซม. ยาว 5-8 ซม. ขอบ ใบเว้า มหี นามตามเส้นใบ ดอกช่อ ออกทป่ี ลายกงิ่ และซอกใบ กลบี ดอกสีม่วง ผลเปน็ ผลสด รปู กลม ผลดิบสเี ขยี วมีลายตามยาว เมื่อสกุ สแี ดง ประโยชน์ทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใช้ผลสดแก้ไอขบั เสมหะ โดยใช้ขนาด 4-10 ผล โขลกพอ แหลกคั้นเอาน้ำใส่เกลอื เล็กนอ้ ย จบิ บอ่ ยๆ หรือเค้ียวกลืนเฉพาะนำ้ จนหมดรสขมเฝือ่ น มะแวง้ เครือเป็นส่วนผสมหลกั ในยาประสะมะแวง้ เช่นกัน นอกจากนีใ้ ชข้ ับปัสสาวะแก้ไขแ้ ละเปน็ ยาขม เจริญอาหารด้วย

~ 41 ~ มะแวง้ ต้น ชื่อวิทยาศาสตร์ : Solanum indicum L. วงศ์ : Solanaceae ชื่ออน่ื : ลกั ษณะ : ไม้พุ่ม สงู 1-1.5 เมตร ลำตน้ มีขนน่มุ ใบเดย่ี ว เรียงสลับรูปไขห่ รือรูปขอบขนาน กวา้ ง 4-10 ซม. ยาว 6-12 ซม. ขอบใบเว้า ผิวใบมีขนนุ่มทง้ั สองด้าน ดอกช่อ ออกตามกิ่งหรือที่ ซอกใบ กลบี ดอกสมี ว่ ง ผลเปน็ ผลสด รูปกลม ผลดบิ สเี ขยี วออ่ น ไมม่ ลี าย เมอ่ื สุกสีสม้ ประโยชนท์ างสมุนไพร : ตำรายาไทยใชผ้ ลสดแก้ไอขบั เสมหะ รกั ษาเบาหวาน ขับปสั สาวะ มีการ ทดลองในสัตว์ พบว่าน้ำสกัดผลมฤี ทธิ์ลดนำ้ ตาลในเลอื ด แต่มฤี ทธนิ์ อ้ ยและระยะเวลาการออกฤทธ์ิ สนั้ พบสเตดรอยดป์ ริมาณค่อนข้างสูง จึงไม่ควรใชต้ ิดต่อกันเปน็ เวลานาน มะแว้งต้นเปน็ สว่ นผสม หลกั ในยาประสะมะแว้ง ซง่ึ องค์การเภสชั กรรมผลติ ขึ้นตามตำรับยาสามญั ประจำบา้ นแผนโบราณ

~ 42 ~ แหว้ หมู ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Cyperus rotundus L. วงศ์ : Cyperacear ชื่อสามญั : Nutgrass ชอ่ื อ่ืน : หญ้าขนหมู ลกั ษณะ : ไม้ล้มลุก อายหุ ลายปี สูง 20-40 ซม. มีลำตน้ ใต้ดินเปน็ หวั คล้ายหวั แห้วไทย แตกแขนง ลำตน้ เปน็ เส้นแขง็ เหนียวอยใู่ ตด้ ินและงอกเป็นหวั ใหม่ได้ ใบเดยี่ ว จำนวนมาก แทงออกจากหัว กว้าง 2-6 มม. ยาว 5-20 ซม. ดอกชอ่ คลา้ ยดอกหญา้ สนี ้ำตาลแดง แตกแขนงเป็น 4-10 กิ่ง ก้าน ช่อดอกเป็นสามเหลี่ยมตรง ผลเปน็ ผลแหง้ ประโยชนท์ างสมุนไพร : ตำรายาไทยใช้หวั ใตด้ นิ เป็นยาบำรงุ หวั ใจ ขับเหง่ือและขับปัสสาวะ การ ทดลองในสัตวพ์ บฤทธขิ์ ับปัสสาวะ ลดไข้ ลดความดันโลหติ และลดการอักเสบ ซ่งึ เช่อื ว่าเกดิ จาก a- cyperone นอกจากน้ีพบฤทธิ์ยบั ย้ังการเจริญเติบโตของเช้อื มาลาเรียชนดิ ฟัลซิพารมั ในหลอด ทดลองดว้ ย

~ 43 ~ เรว่ ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Amomum xanthioides Wall. วงศ์ : Zingiberaceae ชอ่ื สามัญ : Bustard cardamom, Tavoy cardamom ชื่ออืน่ : หมากแหนง่ (สระบุร)ี หมากเนงิ (อสี าน) มะอี้ หมากอ้ี มะหมากอี้ (เชยี งใหม)่ หน่อเนง (ชยั ภมู )ิ ลกั ษณะ : เร่วเปน็ พืชล้มลุก มีเหงา้ หรือลำต้นอยูใ่ นดนิ จดั เปน็ พชื สกลุ เดียวกบั กระวาน ขา่ ขงิ ใบมีลกั ษณะ ยาวเรยี ว ปลายใบแหลมและหอ้ ยโคง้ ลง ก้านใบมีขนาดส้ัน ออกดอกเป็นช่อจากยอดที่แทงข้ึนมา จากเหง้า ดอกมีสีขาวก้านช่อดอกส้นั ผลมขี นสแี ดงปกคลุม เมล็ดมีสีน้ำตาล เร่วมหี ลายชนดิ เชน่ เร่วหอม เร่วชา้ ง เรว่ กอ ซ่ึงเร่วเหล่านม้ี ีลกั ษณะต้นแตกตา่ งกันไป ประโยชนท์ างสมุนไพร : นำ้ มนั หอมระเหยในเมล็ดเร่วมีฤทธเิ์ ปน็ ยาขบั ลม ชว่ ยแก้อาการทอ้ งอืดทอ้ งเฟ้อ แนน่ จกุ เสยี ด โดย ใชเ้ มล็ดประมาณ 3 กรมั บดให้เป็นผงรับประทานวันละ 3 ครงั้ และชว่ ยขับเสมหะ แก้คล่นื เหยี น อาเจียนได้ดอี กี ดว้ ย

~ 44 ~ ดีปลี ชื่อวทิ ยาศาสตร์ : Piper chaba Hunt วงศ์ : Piperaceae ช่อื สามัญ : Long Pepper ลกั ษณะ : ไมเ้ ถารากฝอยออกบรเิ วณข้อเพ่ือใชย้ ดึ เกาะ ใบ เดย่ี วรูปไขแ่ กมขอบขนาน กวา้ ง 3- 5 ซม. ยาว 7-10 ซม. สเี ขียวเข้มเปน็ มนั ดอก ช่อ ออกท่ีซอกใบ ดอกยอ่ ยอดั กนั แนน่ แยกเพศ ผล เปน็ ผลสด มสี ีเขียว เมอ่ื สุกจะเปลยี่ นเป็นสีแดง รสเผ็ดรอ้ น ประโยชน์ทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชผ้ ลแก่จดั แต่ยงั ไม่สกุ ตากแหง้ เป็นยาขบั ลม บำรุงธาตุ แก้ ทอ้ งเสีย ขับรกหลงั คลอด โดยใช้ผล 1 กำมือ (ประมาณ 10-15 ผล) ต้มเอาน้ำดมื่ นอกจากนีใ้ ช้ เปน็ ยาแก้ไอ โดยเอาผลแห้งครง่ึ ผลฝนกับมะนาวแทรกเกลอื ใชก้ วาดคอหรือจิบบ่อยๆ ฤทธิข์ ับลม และแกไ้ อ เกดิ จากน้ำมันหอมระเหยและสาร piperine พบว่าสารสกัดเมทานอลมผี ลยบั ย้งั การบบี ตัวของลำไสเ้ ล็กและสารสกดั ปิโตรเลยี มอเี ธอร์ ทำให้สัตวท์ ดลองแท้ง จึงควรระวังการใช้ในสตรีมี ครรภ์

~ 45 ~ น้อยหน่า ชอื่ วิทยาศาสตร์ : Annona squamosa L. วงศ์ : Annonaceae ชือ่ สามญั : Sugar Apple ช่อื อนื่ : นอ้ ยแน่ นะนอแน่ หมักเขยี บ ลักษณะ : ไมย้ ืนต้น สงู 3-5 เมตร ใบเด่ียว เรยี งสลับ รปู ใบหอกหรือรูปใบหอกแกมขอบขนาน กว้าง 3-6 ซม. ยาว 7-13 ซม. ดอกเดีย่ ว ออกที่ซอกใบ ห้อยลง กลีบดอกสีเหลืองแกมเขียว 6 กลีบ เรียง 2 ช้นั ๆ ละ 3 กลีบ หนาอวบน้ำ มเี กสรตวั ผู้และรงั ไข่จำนวนมาก ผลเปน็ ผลกลุ่ม คอ่ นข้าง กลม ประโยชนท์ างสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชใ้ บสดและเมลด็ ฆา่ เหา โดยใช้เมล็ดประมาณ 10 เมล็ด หรอื ใบสดประมาณ 1 กำมือ (15 กรัม) ตำให้ละเอียด ผสมกับน้ำมันมะพร้าวพอแฉะ ขยใ้ี ห้ท่วั ศรี ษะ ใชผ้ ้าคลมุ โพกไว้ประมาณ 10 นาทีถึงคร่งึ ช่ัวโมง ใชห้ วีสางเหาออก สระผมให้สะอาด (ระวงั อย่าให้เข้าตา เพราะจะทำให้ตาอักเสบและแสบได้) มรี ายงานยนื ยันว่านำ้ ยาท่ีคน้ั จากเมลด็ บดกบั นำ้ มันมะพร้าวในอัตราส่วน 1:2 สามารถฆา่ เหาไดด้ ีทีส่ ุด คือฆ่าได้ถึง 98% ใน 2 ช่วั โมง ใช้รักษา หดิ กลากและเกลอื้ นด้วย

~ 46 ~ ย่านาง ช่อื วทิ ยาศาสตร์ : Tiliacora triandra Diels วงศ์ : Menisspermaceae ลกั ษณะ : ไม้เถา ใบเด่ียว เรยี งสลับ รูปไขแ่ กมใบหอก กว้าง 2-4 ซม. ยาว 5-12 ซม. ดอกช่อ ออก ตามเถาและที่ซอกใบ แยกเพศอยคู่ นละต้น ไม่มกี ลีบดอก ผลเป็นผลกลมุ่ ผลย่อย รปู วงรีประโยชน์ ทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใช้รากตม้ กับนำ้ ดมื่ เปน็ ยาแก้ไข้ทุกชนิด การทดลองพบว่าสารสกดั รากมีฤทธ์ติ า้ นเชื้อ มาลาเรียชนิดฟัลซิพารมั ในหลอดทดลอง

~ 47 ~ ปลาไหลเผือก ชื่อวิทยาศาสตร์ : Eurycoma longifolia Jack วงศ์ : Simaroubaceae ชอ่ื อน่ื : กรุงบาดาล คะนาง ชะนาง ตรึงบาดาล ตงุ สอ แฮพันช้นั เพยี ก หยกิ บ่อถอง หยิกไมถ่ งึ เอยี นดอน ไหลเผือกลกั ษณะ : ไมย้ ืนค้น สูง 4-6 เมตร ลำตน้ ตรง ไมค่ ่อยแตกก่ิงก้าน ใบประกอบ แบบขนนก เรียงสลับ ออกเปน็ กระจุกบรเิ วณปลายกิ่ง ใบยอ่ ยรปู ไข่แกมวงรี กว้าง 2-3 ซม. ยาว 5-7 ซม. สีเขียวเข้ม ยอดและใบอ่อนมขี นสีนำ้ ตาลแดง ดอกชอ่ ออกท่ซี อกใบ ดอกย่อยขนาด เลก็ กลบี ดอกสีม่วงแดง ผลเปน็ ผลสด รปู ยาวรีประโยชนท์ างสมุนไพร : ตำรายาไทยใชร้ ากเปน็ ยา แก้ไขท้ กุ ชนิดรวมทั้งไข้จับสน่ั พบว่าสารทอ่ี อกฤทธเิ์ ปน็ สารท่ีมีรสขมได้แก่ eurycomalactone eurycomanol และ eurycomanone สารทั้งสามมฤี ทธิย์ บั ยั้งการเจรญิ เตบิ โตของเชอื้ มาเลเรีย ชนดิ ฟลั ซพิ ารมั ในหลอดทดลองได้ จัดเป็นสมุนไพรที่มศี ักยภาพ ควรศึกษาวิจัยต่อไป

~ 48 ~ บอระเพด็ ชอ่ื วทิ ยาศาสตร์ : Tinospora crispa ( L.) Miers ex Hook.f. & Thoms วงศ์ : Menisspermaceae ช่อื อน่ื : เครอื เขาฮอ จุ่งจิง เจตมลู หนาม เจตมูลยาน เถาหัวด้วน หางหนู ลกั ษณะ : ไม้เถาเลอ้ื ยพนั มลี กั ษณะคลา้ ยชิงชา้ มาก ต่างกันที่เถามีขนาดใหญ่กว่า มปี มุ่ ปมมากกวา่ มรี สขมกวา่ และไมม่ ปี มุ่ ใกล้ฐานใบ ประโยชนท์ างสมุนไพร : ตำรายาไทยใช้เถาเปน็ ยาแก้ไข้ ขับเหง่อื แก้กระหายน้ำ แก้รอ้ นใน โดยนำ เถาสดขนาดยาว 2 คบื คร่ึง (30-40 กรมั ) ตม้ ค้ันเอานำ้ ด่มื หรือต้มเคย่ี วกับนำ้ 3 สว่ นจน เหลอื 1 ส่วน ดมื่ ก่อนอาหารวนั ละ 2 คร้ังเชา้ เย็น หรือเมื่อมไี ข้ นอกจากน้ีใชเ้ ป็นยาขมเจริญอาหาร ด้วย ปัจจุบนั องค์การเภสัชกรรมผลิตทิงเจอรบ์ อระเพ็ด เพื่อใชแ้ ทน Tincture Gentian ซ่งึ เป็น สว่ นผสมของยาธาตทุ ี่ต้องนำเข้าจากตา่ งประเทศ การทดลองในสตั วพ์ บว่าน้ำสกดั เถาสามารถลด ไข้ได้

~ 49 ~ มงั คดุ ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ : Garcinia mangostana L. วงศ์ : Guttiferae ชือ่ สามัญ : Mangosteen ลกั ษณะ : ไมย้ นื ตน้ สงู 10-12 เมตร ทุกส่วนมียางสเี หลือง ใบเด่ยี ว เรยี งตรงข้าม รปู ไข่หรือรูปวงรี แกมขอบขนาน กวา้ ง 6-11 ซม. ยาว 15-25 ซม. เนื้อใบหนาและค่อนขา้ งเหนียวคล้ายหนงั หลงั ใบสเี ขียวเขม้ เป็นมนั ทอ้ งใบสีออ่ นกว่า ดอกเดย่ี วหรือเปน็ คู่ออกท่ซี อกใบใกล้ปลายก่งิ สมบรู ณ์เพศ หรือแยกเพศ กลบี เล้ียงสีเขียวอมเหลือง กลีบดอกสีแดง ฉำ่ น้ำ ผลเป็นผลสด คอ่ นขา้ งกลม ประโยชน์ทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใช้เปลอื กผลแห้งซ่งึ มสี ารแทนนนิ เป็นยาฝาดสมาน แก้โรค ท้องร่วง ทอ้ งเสียเรอื้ รงั และโรคเกี่ยวกบั ลำไส้ พบสาร xanthone ในเปลือกผลมฤี ทธฆ์ิ า่ เชือ้ แบคทีเรียซ่งึ ทำใหเ้ กิดหนอง โดยสามารถฆ่าไดท้ ัง้ สายพันธ์ปุ กตแิ ละสายพนั ธทุ์ ่ีดื้อต่อยาเพนนซิ ิลนิ มีฤทธ์ติ ้านเชอื้ ราท่เี ป็นสาเหตขุ องโรคผวิ หนังหลายชนิดและลดอาการอักเสบด้วย จึงมีการพัฒนา ยาในรปู ครมี ผสมสารบริสุทธ์ิที่แยกไดจ้ ากเปลือกผล เพอื่ ใชร้ ักษาแผลที่เป็นหนองและสิวซึ่งเกิด จากการติดเชอ้ื ตลอดจนใช้ชว่ ยลดร่องรอยด่างดำบนใบหนา้ ดว้ ย

~ 50 ~ กระวาน ชอ่ื วิทยาศาสตร์ : Amomum krervanh Pierre วงศ์ : Zingiberaceae ช่ือสามัญ : Siam Cardamom, Camphor Seed ชือ่ อ่ืน : กระวานดำ กระวานแดง กระวานขาว (ภาคกลาง, ภาคตะวันออก) กระวานจนั ทร์ กระวานโพธสิ ตั ว์ ลักษณะ : ไมล้ ม้ ลุกสงู 1-3 เมตร ขนึ้ ในป่าชื้น บรเิ วณไหล่เขาสูง มีเหง้าใต้ดนิ ใบเดย่ี ว เรียงสลับ รปู ขอบขนาน กว้าง 8-15 ซม. ยาว 40-50 ซม. ไมม่ ีก้านใบ ดอกชอ่ แทงจากเหงา้ กลีบดอกสีขาว เปน็ หลอดและพองเป็นกระเปาะ ออกดอกเม่ือต้นอายุ 2-3 ปี ผลกลมเกลีย้ ง ขนาด 6-15 มม. เม่อื แก่เปลอื กผลจะแหง้ และแขง็ เมลด็ ขนาดเล็ก 12-18 เมลด็ รวมกลมุ่ เป็น 3 กลุ่ม โดยมีเยอื่ บาง ๆ กน้ั มกี ล่ินหอมและรสเผ็ดประโยชน์ทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชผ้ ลเปน็ ยาขับลม รักษาโรค ท้องอืดเฟ้อแน่นจกุ เสยี ด โดยใชข้ นาด 1-2 กรัม ชงน้ำดืม่ และใช้เปน็ เคร่ืองเทศแต่งกลิน่ อาหาร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook