Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักเรียน2565

คู่มือนักเรียน2565

Description: คู่มือนักเรียน2565

Search

Read the Text Version

46 หมวด ๕ การอนมุ ตั ิการจบหลักสตู ร ขอ้ ๑๗ ผูเ้ รยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ๓ จะไดร้ ับการพจิ ารณาให้จบหลกั สตู รได้จะต้อง มคี ณุ สมบัติดงั น้ี ๑๗.๑ เรยี นรายวชิ าพืน้ ฐานและเพ่ิมเติม ไมเ่ กิน ๘๑ หน่วยกิต โดยเป็นรายวชิ าพ้นื ฐาน ๖๓ หนว่ ยกติ และรายวิชาเพิ่มเติมตามหลักสตู รสถานศึกษา ๑๗.๒ ผู้เรยี นต้องได้หนว่ ยกติ ตลอดหลกั สตู รไมน่ อ้ ยกวา่ ๗๗ หนว่ ยกิต โดยเปน็ รายวชิ าพ้นื ฐาน ๖๓ หน่วยกติ และรายวิชาเพ่ิมเติมไมน่ ้อยกวา่ ๑๔ หน่วยกิต (ได้ระดับผลการเรียน ๑ , ๑.๕, ๒ , ๒.๕, ๓ , ๓.๕ และ ๔) ๑๗.๓ ไดผ้ ลการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียนสื่อความ “ผ่านเกณฑ์ ข้ันตำ่ ” (ได้ระดับผลการประเมนิ ๑, ๒ และ ๓) ๑๗.๔ ไดผ้ ลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ “ผ่านเกณฑ์ขน้ั ต่ำ”(ได้ระดบั ผลการประเมิน ๑, ๒ และ ๓) ๑๗.๕ ได้ผลการประเมินกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน “ผา่ น” ทุกกจิ กรรม ให้ถอื วา่ เปน็ ผู้ท่ีได้รับการตดั สินใหผ้ า่ นชว่ งช้ันท่ี ๓ และเปน็ ผ้จู บหลกั สูตรการศกึ ษาภาคบงั คบั ข้อ ๑๘ ผู้เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔ – ๖ จะได้รับการพจิ ารณาให้จบหลกั สูตรได้ จะตอ้ งมีคณุ สมบัตดิ ังน้ี ๑๘.๑ ผเู้ รยี นเรยี นรายวชิ าพื้นฐานและเพิ่มเติม ไม่เกิน ๘๑ หนว่ ยกติ โดยเปน็ รายวิชาพ้นื ฐาน ๓๙ หนว่ ย กิต และรายวิชาเพ่ิมเตมิ ตามหลักสตู รสถานศึกษา ๑๘.๒ ผเู้ รยี นตอ้ งได้หนว่ ยกติ ตลอดหลกั สูตรไมน่ อ้ ยกว่า ๗๗ หน่วยกติ โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน ๓๙ หนว่ ยกิต และรายวชิ าเพ่ิมเติมไม่น้อยกวา่ ๓๘ หน่วยกติ (ไดร้ ะดับผลการเรยี น ๑ , ๑.๕, ๒ , ๒.๕, ๓ , ๓.๕ และ ๔) ๑๘.๓ ไดผ้ ลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน “ผา่ นเกณฑ์ขั้นต่ำ” (ไดร้ ะดับผลการ ประเมนิ ๑, ๒ และ ๓) ๑๘.๔ ไดผ้ ลการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ “ผา่ นเกณฑ์ขั้นต่ำ”(ไดร้ ะดบั ผลการประเมิน ๑, ๒ และ ๓) ๑๘.๕ ไดผ้ ลการประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน “ผ่าน” ทุกกจิ กรรมใหถ้ ือว่าเป็นผูท้ ี่ได้รับการตดั สินให้ผ่านช่วง ชนั้ ท่ี ๔ และเปน็ ผูจ้ บหลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ขอ้ ๑๙ ใหผ้ ู้อำนวยการสถานศกึ ษา โรงเรียนหนองไผ่ เปน็ ผู้อนุมตั ิผลการเรยี นและการจบหลกั สตู ร

47 หมวด ๖ การเทยี บโอนผลการเรยี น ขอ้ ๒๐ ผขู้ อเทียบความรูแ้ ละประสบการณ์ต้องเป็นผู้ท่กี ำลังเรยี นอยตู่ ามโครงสรา้ งหลักสูตรของโรงเรียน/ สถานศกึ ษาน้ันหรอื กำลังปฏบิ ัติประสบการณ์นั้นอย่หู รือผูท้ ่ีสอบเทยี บความรู้การศึกษานอกระบบผา่ นมาแล้วอย่างน้อย ๑ ปี ขอ้ ๒๑ ผขู้ อเทยี บความรูแ้ ละประสบการณ์ ต้องมีความรู้ ประสบการณ์ ทกั ษะตรงและครอบคลุมกับสาระ และมาตรฐานการเรยี นรู้ของกลุ่มวชิ ารายภาค ซงึ่ โรงเรียนได้จัดเปน็ หลักสตู รของโรงเรียนไว้แลว้ และตรงกับชน้ั ปีท่กี ำลงั จะ เปดิ เรียน ข้อ ๒๒ คณะกรรมการบริหารหลักสตู รเปน็ ผูพ้ ิจารณาการขอเทยี บโอนความรแู้ ละประสบการณโ์ ดยใหเ้ ป็นไปตาม ระเบยี บของกระทรวงศึกษาธิการ หมวด ๗ การย้ายสถานศึกษา ขอ้ ๒๓ ผู้เรยี นคนใดต้องยา้ ยที่เรียนใหน้ ำหลกั ฐานจากโรงเรียนเดมิ ไปใหโ้ รงเรยี นใหม่ ข้อ ๒๔ โรงเรยี นพจิ ารณาหลกั ฐานการศึกษาของผู้เรยี น แล้วจดั การเรยี นการสอนสาระและมาตรฐานการ เรียนรู้กล่มุ วิชารายปี ให้ตอ่ เนื่องครบถว้ นตามโครงสร้างของหลกั สูตร ข้อ ๒๕ กลุ่มสาระและมาตรฐานการเรยี นรูร้ ายภาคใด ท่ีผู้ขอยา้ ยไมไ่ ด้ศึกษาตามแผนการจัดการเรียนการสอน ของโรงเรยี นเดิม ให้โรงเรยี นจัดสอนเพ่ิมใหค้ รบ แต่ถ้าผขู้ อยา้ ยไดศ้ ึกษามาแลว้ ใหอ้ ยู่ในดุลยพินิจของโรงเรยี นใหม่วา่ จะให้ เรยี นใหม่ท้ังหมดหรือเรยี นใหม่ เฉพาะบางส่วนหรอื ยกเวน้ ไม่ต้องเรยี นในกรณีท่ีให้เรยี นใหมเ่ ฉพาะบางส่วน ผลการเรยี นทไ่ี ด้ไมม่ ีผลต่อการเปลย่ี นแปลง ผลการเรยี นจากโรงเรยี นเดิม ข้อ ๒๖ ผเู้ รียนที่ทำการยา้ ยสถานศกึ ษา ต้องผ่านการทดสอบความพร้อมด้วยวธิ ีการและเคร่ืองมือทห่ี ลากหลาย โดยครอบคลุมทุกกล่มุ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ และผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ของโรงเรียนที่กำหนดไว้ โดยมีคณะ กรรมการบรหิ ารหลักสูตรเป็นผู้ดแู ล

48 เกณฑก์ ารเลื่อนชัน้ /จบการศกึ ษา แนวทางการประเมินผลการเรยี น ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 พ.ศ. 2561 โรงเรยี นหนองไผ่ อำเภอหนองไผ่ จังหวดั เพชรบูรณ์ การประเมินความสามารถในการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น น้ำหนักคะแนน การอา่ น , คดิ วเิ คราะห์ , เขยี นสื่อความ (100 คะแนน) กลุม่ สาระการเรยี นรู้ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ เขียน 35 ภาษาไทย 30 35 30 30 ภาษาตา่ งประเทศ 40 30 30 30 วทิ ยาศาสตร์ 20 50 30 30 คณิตศาสตร์ 20 50 20 สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม 40 30 ศิลปะ 30 40 สขุ ศกึ ษาและพลานามยั 30 40 การงานและพ้ืนฐานอาชพี และเทคโนโลยี 20 60 การอา่ น - สรุปใจความสำคญั จากเรื่องท่ีอ่านได้ การคิดวิเคราะห์ - เลอื กใช้ขอ้ มลู ได้อยา่ งถูกต้อง และนำเสนอเป็นสาระสนเทศได้ การเขยี น - เขยี นสื่อความหมายได้ชัดเจนถูกต้อง เกณฑ์การตัดสินผลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น ให้ตดั สนิ เปน็ รายปี (ม.1-3) และตดั สินเป็นรายภาค (ม.4-6) และรายช่วงชั้นเป็น 4 กลมุ่ ดงั น้ี 0 = ไม่ผา่ นเกณฑ์ คะแนน 0 - 49 คะแนน 1 = ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน คะแนน 50 - 69 คะแนน 2 = ดี คะแนน 70 - 79 คะแนน 3 = ดีเยี่ยม คะแนน 80 - 100 คะแนน

49 แนวปฏบิ ัตกิ ารซอ่ มเสรมิ ทกั ษะการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น ในกรณนี ักเรยี นไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมินใหค้ ณะกรรมการกล่มุ สาระดำเนินการซ่อมเสริม โดยการสอน ทดสอบ หรอื มอบหมายงานในทักษะท่ีไมผ่ า่ นเกณฑ์ตามความเหน็ ชอบของคณะกรรมการการซ่อมเสริม ทักษะการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน การประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของสถานศกึ ษา การประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผเู้ รียน เป็นเง่ือนไขหนึ่งทีผ่ ู้เรยี นทุกคนจะต้องได้รบั การประเมนิ ผ่าน เกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากำหนด จึงจะไดร้ ับการตัดสินให้ผ่านการประเมนิ ตามเกณฑ์การผา่ นชว่ งชั้น การประเมนิ ดงั กล่าว เป็นการพัฒนาผู้เรียนเพม่ิ เติมจากคุณลักษณะที่กำหนดในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ทุกกลุ่ม เพือ่ สรา้ งเอกลักษณเ์ ก่ียวกับ คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และวัฒนธรรมในการดำรงชีวติ สามารถประกอบร่วมกบั ผู้อ่นื อยา่ งมคี วามสุข ทั้งน้ี การประเมินดงั กล่าวจะตอ้ งกำหนดมาตรฐานคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ท่สี อดคล้องกบั วสิ ยั ทศั นข์ อง สถานศกึ ษา และแจง้ ให้ผู้เกย่ี วขอ้ งทุกฝา่ ยทราบและมสี ่วนรว่ มในการประเมนิ ด้วย การประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของผเู้ รียนมีแนวทางในการดำเนินการประเมนิ และตัดสนิ ดังน้ี บุคลากรท้ังหมดของสถานศกึ ษาและผูเ้ ก่ียวขอ้ งทุกฝา่ ย ดำเนนิ การประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งต่อเน่อื ง ซึ่งมีวิธีการให้ หลากหลาย เชน่ การสังเกตและรายงานพฤติกรรมจากผทู้ ี่เก่ยี วขอ้ ง การดูผลงาน การบันทกึ ความดี การรายงานตนเอง ของผเู้ รียน ฯลฯ การประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ของผูเ้ รยี นเปน็ รายภาคให้ประเมนิ เพื่อวนิ ิจฉยั โดย แบ่งพฤติกรรมของผูเ้ รยี นเปน็ 4 กลุ่ม พรอ้ มท้ังบันทึกรายละเอยี ดเกีย่ วกบั พฤติกรรม เพ่ือการสง่ ตอ่ ในการพัฒนาผเู้ รียน ต่อไป 3. การจัดกลมุ่ คุณลักษณะที่พึงประสงคข์ องผู้เรยี นเปน็ 4 กล่มุ ดังนี้ 3 = “ดีเย่ยี ม” มีพฤติกรรมสงู กวา่ เกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากำหนดมาก 2 = “ด”ี มพี ฤตกิ รรมสูงกวา่ เกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษากำหนด 1 = “ผา่ นเกณฑ์การประเมิน” มีพฤติกรรมตามเกณฑข์ น้ั ต่ำทส่ี ถานศึกษากำหนด 0 = “ควรปรับปรุง” มีพฤติกรรมบางประการที่ต้องปรับปรุง 4. ผ้เู รียนทีไ่ ม่ผ่านเกณฑ์การประเมนิ คุณลักษณะท่พี ึงประสงคข์ องโรงเรยี นจะต้องปฏิบัติ กิจกรรมคุณความดีชดเชยตามท่ีโรงเรยี นกำหนดจึงจะให้ผ่านชว่ งช้นั หากผู้เรียนยงั ไม่สามารถปฏิบตั ิตามเงอื่ นไขทก่ี ำหนด ให้ผู้เรียนขยายเวลาเรียนออกไปอีกอยา่ งน้อย 1 ปี/ภาคเรียน หรอื จนกวา่ จะมีคณุ สมบัติตามเกณฑ์การผ่านช่วงช้ัน คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องโรงเรยี นหนองไผ่ มีเกณฑ์ ดังน้ี คอื คะแนน 0 - 49 คะแนน 0 = ไมผ่ ่านเกณฑ์ คะแนน 50 - 69 คะแนน 1 = ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน 70 - 79 คะแนน 2 = ดี คะแนน 80 - 100 คะแนน 3 = ดีเยย่ี ม

50 ในกรณี “ไมผ่ ่าน” แนวปฏบิ ัติการปรับปรงุ 1. ทำคณุ ความดีชดเชยตามที่โรงเรยี นกำหนด 2. ผเู้ รียนท่ีไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะท่พี ึงประสงคข์ องโรงเรยี นจะต้องปฏิบัติ กิจกรรมคุณความดชี ดเชยตามท่โี รงเรยี นกำหนดจึงจะใหผ้ ่านช่วงช้ัน จนกวา่ จะมีคณุ สมบตั ติ ามเกณฑ์การผา่ นชว่ งชั้น ตาราง การกำหนดเกณฑ์อัตราสว่ นคะแนน การประเมินผล ระหว่างภาคเรยี น/ปี และ ปลายภาคเรยี น/ปี กลุ่มสาระการเรยี นรู้ทุกระดบั ชัน้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิชาพ้ืนฐาน วิชาเพ่มิ เติม ภาษาไทย 70 - 30 60 - 40 คณติ ศาสตร์ 70 - 30 70 - 30 วทิ ยาศาสตร์ 70 - 30 70 - 30 สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 70 - 30 70 - 30 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 80 - 20 80 - 20 ศิลปะ 80 - 20 80 - 20 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 80 - 20 80 - 20 ภาษาตา่ งประเทศ 70 - 30 70 - 30 แนวปฏิบัตกิ ารลงทะเบียนและการเรยี นซ้ำ ปีการศึกษา 2564 คณุ สมบตั ินักเรยี นที่เรยี นซ้ำ 1. สถานภาพเปน็ นักเรยี นโรงเรียนหนองไผ่ 2. ผ่านการสอบแก้ตัวตามระเบยี บวดั และประเมินผลโรงเรียนหนองไผ่ 3. ยังมีผลการสอบแกต้ ัว ระดบั ผลการเรียนเรยี น 0 ตงั้ แต่ 1 รายวิชาข้นึ ไป 4. มผี ลการเรียนเฉลีย่ ของปีที่ผ่านมาตำ่ กว่า 1.00 การลงทะเบียนเรียนซ้ำ 1. ติดตอ่ ขอรับแบบคำรอ้ งเรียนซำ้ ทีห่ อ้ งวัดและประเมนิ ผล 2. ยืน่ แบบคำรอ้ งทห่ี อ้ งวัดและประเมินผลภายในระยะเวลาทก่ี ำหนดในแตล่ ะภาคเรยี น/รายปี 3. ผปู้ กครองและนกั เรยี นต้องเข้ารว่ มประชมุ รับทราบแนวปฏิบัติ จำนวน 1 วัน

51 การเรยี นซ้ำ 1. นกั เรยี นตดิ ต่อครผู สู้ อน หรือครทู ่ีหัวหนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้มอบหมายในรายวิชาน้นั ๆ เพอ่ื รบั มอบหมาย งานและแนวปฏิบตั ิในการเรยี นซำ้ 2. นักเรียนปฏบิ ตั ติ ามท่ีครมู อบหมายงานและหรือเข้าเรียนตามทค่ี รผู สู้ อนกำหนด 3. นักเรยี นเขา้ รว่ มกิจกรรมตามทคี่ รูผู้กำหนดตลอดรายภาค / รายปี การตัดสินผลการเรียน เม่ือนกั เรียนเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรยี นการสอนตลอดภาคเรียน/รายปี ครผู สู้ อนจะตดั สินผลการเรยี นนักเรียนตาม ระเบียบการวัดและประเมินผล มีเวลาเรยี นไมต่ ่ำกว่าร้อยละ 80 1 ผลการเรียนขน้ั ตำ่ คะแนน 50-54 ผ ผ่านเกณฑ์การประเมิน โดยมีเวลาเรียนเข้ารว่ มกจิ กรรม รอ้ ยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด และผา่ นทุก จุดประสงคข์ องการจัดกิจกรรม การแต่งกายนกั เรียน นกั เรยี นแต่งกายตามแบบฟอร์มของโรงเรียนและยึดถือปฏิบตั ิตามกฎระเบียบของทางโรงเรยี นหนองไผ่ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ครผู ู้สอน ผ้ปู กครองนักเรยี น และนกั เรียน ร่วมกำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนและแนวปฏิบตั ิร่วมกนั โดยจัด กิจกรรมในการจัดกิจกรรมตลอดภาคเรียน/รายปี ท่ีมีการลงทะเบยี นเรียนซ้ำ ดังนี้ 1. กำหนดวันเวลา สถานที่ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2. กำหนดภาระงาน 3. นดั หมายการสง่ งานทม่ี อบหมาย 4. ดำเนนิ การเรยี นซ้ำตลอดภาคเรียน/รายปี การสง่ เอกสารแบบบนั ทกึ ฯ ส่งท่หี ้องวัดและประเมินผล ม.ต้น ภาคเรียนที่ 1 1-6 ตุลาคม ของทกุ ปี ภาคเรยี นท่ี 2 1-4 มีนาคม ของทุกปี ม.ปลาย ภาคเรยี นท่ี 1 1-6 ตลุ าคม ของทุกปี ภาคเรียนที่ 2 1-4 มีนาคม ของทุกปี

52 ขอ้ ปฏบิ ัตใิ นการขอเอกสารหลกั ฐานทางการศกึ ษา ระเบียบการขอเอกสาร งานทะเบยี นนักเรียนโรงเรียนหนองไผ่ 1. การออกใบรบั รองผลการเรียนและการเปน็ นักเรียน (ปพ.7) 1.1 ขอแบบคำร้องทห่ี ้องทะเบยี น - กรอกรายละเอยี ดในคำร้องใหค้ รบและถูกต้อง - เขียนรายละเอยี ดให้ชดั เจนและอา่ นง่าย - แนบรปู ถา่ ยสี (ไม่อดั รปู ถ่ายดว้ ยระบบโพลารอยด์ หรือเคลือบกนั นำ้ ) ขนาด 1.5 นวิ้ จำนวน 1 รปู ตอ่ เอกสาร 1 ฉบบั 1.2 ยื่นคำร้องท่ีงานทะเบียนนกั เรียน 1.3 ตอ้ งย่นื คำร้องล่วงหนา้ อย่างน้อย 3 วัน (ไม่นับวนั หยุดราชการ) 2. การออกใบระเบียนแสดงผลการเรยี น (ปพ.1 ฉบับสำเนา) 2.1 ขอแบบคำรอ้ งทห่ี ้องทะเบยี น - กรอกรายละเอยี ดในคำร้องให้ครบและถูกต้อง - เขยี นรายละเอยี ดใหช้ ดั เจนและอา่ นง่าย - ไมต่ ้องแนบรูปถ่าย 2.2 ยน่ื คำรอ้ งทงี่ านทะเบยี นนักเรยี น 2.3 ต้องยน่ื คำร้องล่วงหน้าอย่างน้อย 3 วนั (ไม่นบั วันหยดุ ราชการ) 3. การย้ายออกจากสถานศึกษา 3.1 ย่นื คำร้องขอระเบยี นแสดงผลการเรยี น (ปพ.1 ฉบบั สำเนา) 3.2 ติดตอ่ โรงเรยี นที่ต้องการยา้ ยเขา้ และโรงเรยี นที่ต้องการยา้ ยเข้ายืนยันรับยา้ ยเข้าเรยี น 3.3 ผปู้ กครองและนักเรียนขอแบบคำร้องลาออกทีห่ ้องทะเบียน - กรอกรายละเอียดในคำร้องใหค้ รบและถูกต้อง - เขียนรายละเอียดใหช้ ัดเจนและอา่ นงา่ ย (ผูป้ กครองลงนาม/ตรวจสอบการชำระค่าบำรุง การศึกษาทหี่ ้องการเงนิ /ครูทป่ี รกึ ษาลงนาม/ตรวจสอบการคา้ งสง่ หนงั สอื ห้องสมดุ ) - แนบรปู ถ่ายสี (ไม่อดั รปู ถ่ายดว้ ยระบบโพลารอยด์ หรือเคลอื บกนั นำ้ ) ขนาด 1.5 นิว้ จำนวน 2 รูป และเขยี นช่ือ-นามสกลุ ไว้ดา้ นหลงั รปู ถา่ ย 3.4 ยน่ื คำรอ้ งทีง่ านทะเบยี นนกั เรียน 3.5 ต้องยื่นคำร้องลว่ งหนา้ อย่างนอ้ ย 3 วนั (ไม่นับวนั หยดุ ราชการ)

53 4. การขอมบี ัตรประจำตัวนักเรียน (กรณชี ำรดุ หรือหาย) 4.1 ขอแบบคำร้องท่หี ้องทะเบียน - กรอกรายละเอียดในคำร้องให้ครบและถูกต้อง - เขยี นรายละเอยี ดใหช้ ดั เจนและอ่านง่าย - แนบรปู ถา่ ยสี (ไม่อัดรูปถ่ายด้วยระบบโพลารอยด์ หรือเคลอื บกนั น้ำ) ขนาด 1 น้ิว จำนวน 1 รูป 4.2 ยื่นคำร้องทงี่ านทะเบียนนักเรียน 4.3 ต้องยนื่ คำร้องล่วงหน้าอย่างน้อย 3 วัน (ไม่นบั วันหยุดราชการ) 5. การขอวุฒิการศึกษา ฉบับท่ี 2 สำหรบั ผู้ทส่ี ำเร็จการศึกษาแลว้ (กรณชี ำรดุ หรอื สูญหาย) 5.1 แจ้งความวฒุ กิ ารศึกษาหายต่อเจ้าหนา้ ที่ตำรวจ 5.2 ขอแบบคำร้องทห่ี ้องทะเบยี น - กรอกรายละเอยี ดในคำร้องให้ครบและถูกต้อง - เขยี นรายละเอียดใหช้ ัดเจนและอา่ นงา่ ย - แนบรูปถา่ ยสี สวมเสอ้ื เชิต้ สขี าว ไมป่ ักขอ้ ความใดๆ (ไมอ่ ัดรูปถา่ ยด้วยระบบโพลารอยด์ หรอื เคลือบกันน้ำ) 1) กรณีจบการศึกษากอ่ นปี 2547 ใชร้ ปู ถ่ายขนาด 2 น้วิ จำนวน 2 รปู 2) กรณีจบการศึกษาตั้งแต่ปี 2547 ใชร้ ปู ถ่ายขนาด 1.5 น้ิว จำนวน 2 รูป 5.3 ชำระเงนิ ค่าธรรมเนยี ม 50 บาท ท่หี ้องการเงนิ 5.4 ยืน่ คำร้องท่งี านทะเบียน พร้อมแนบใบเสรจ็ รับเงนิ และหลกั ฐานแจง้ ความ 5.5 ตอ้ งยน่ื คำร้องล่วงหน้าอย่างน้อย 5 วนั (ไม่นบั วันหยดุ ราชการ)



54 ระเบยี บโรงเรยี นหนองไผว่ า่ ด้วยการปกครองนักเรียน พ.ศ. ๒๕๕๓ (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๖๓) ***************************************** อาศัยอำนาจตามระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ ารวา่ ด้วยการลงโทษนักเรยี นและนกั ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๘ และความในมาตรา ๖ และมาตรา ๖๕ แห่งพระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองเดก็ พ.ศ. ๒๕๔๖ โรงเรียนหนองไผ่ จงึ วางระเบียบการปกครองนักเรยี นขึ้น เพ่อื ใหน้ ักเรียนถอื ปฏิบัติ ดงั ต่อไปนี้ ขอ้ ๑ ระเบยี บนี้เรยี กวา่ “ระเบยี บโรงเรียนหนองไผ่” วา่ ดว้ ยการปกครองนกั เรยี น พ.ศ. ๒๕๕๓ (แกไ้ ขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๖๓) ขอ้ ๒ ให้ใชร้ ะเบียบนบี้ ังคบั ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ เปน็ ตน้ ไป ข้อ ๓ ใหย้ กเลกิ ระเบียบโรงเรียนหนองไผว่ า่ ดว้ ยการปกครองนกั เรียน พ.ศ. ๒๕๕๓ (แกไ้ ขเพม่ิ เติม พ.ศ.๒๕๖๓) และยกเลิกระเบียบทรงผมนักเรยี น พ.ศ. ๒๕๕๖ ข้อ ๔ ใหร้ องผู้อำนวยการกลมุ่ บริหารงานกจิ การนกั เรียน รักษาการใหเ้ ปน็ ไปตามระเบียบนี้ ข้อ ๕ “ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา” หมายความว่า ผอู้ ำนวยการโรงเรียนหนองไผ่ “คร”ู หมายความว่า ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา โรงเรยี นหนองไผ่ “ผปู้ กครอง” หมายความว่า บิดา – มารดา ผู้ปกครองตามกฎหมายหรือบคุ คลทร่ี ับนักเรยี นไว้ใน ความปกครอง หรือผู้อุปการะเล้ียงดู “นกั เรยี น” หมายความว่า บุคคลซึ่งกำลังศกึ ษาอย่ใู นโรงเรยี นหนองไผ่ “การกระทำความผิด” หมายความวา่ การทน่ี ักเรียนประพฤตฝิ ่าฝนื ระเบียบข้อบังคับของ โรงเรยี นหนองไผ่ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการหรอื กฎกระทรวงวา่ ดว้ ยการส่งเสริมความประพฤติ ของนักเรียนนักศกึ ษา “การลงโทษ” หมายความว่า การลงโทษนักเรียนที่กระทำผิดระเบียบ ข้อบังคับ โดยมีความมุ่งหมาย เพ่อื การอบรมส่งั สอนให้เปน็ คนดี

55 หมวดที่ ๑ การแต่งกายของนักเรยี น ข้อ ๖ การแต่งกายของนักเรียนชาย ระดับชั้นมธั ยมศึกษาตอนต้น ๑. เสอื้ ๑.๑ ใช้เสือ้ เชิ้ตสขี าวแขนสนั้ คอปกไม่มกี ระดุมหรือรงั ดมุ ไม่มีจีบหลัง ๑.๒ มีสาบหน้าอกกวา้ งประมาณ ๓-๕ เซนตเิ มตร กระดุมขาวกลมมเี สน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง ๑ เซนติเมตร ๑.๓ มีกระเปา๋ หนา้ อกด้านซ้ายขนาดกว้าง ๘ - ๑๒ เซนติเมตรลึกประมาณ ๑๐ – ๑๕ เซนติเมตร ๑.๔ ที่หนา้ อกดา้ นขวา ปกั น.ผ. ขนาด ๑.๕ เซนติเมตร ใต้ น.ผ. ปักเลขประจำตวั ดว้ ยเลขไทย ขนาด ๐.๘ เซนตเิ มตร เหนอื กระเป๋าด้านซา้ ยให้ปักชอ่ื และชอื่ สกุลดว้ ยไหมสนี ำ้ เงนิ ตวั อักษรขนาด ๐.๘ เซนติเมตร และปกั จดุ บอกระดบั ชัน้ ด้วยไหมสีชมพูเหนอื ช่ือ – ชือ่ สกลุ ถ้าช้นั ม. ๑ ปกั ๑ จุด , ม. ๒ ปัก ๒ จดุ , และ ม. ๓ ปกั ๓ จุด ๒. กางเกง ๒.๑ ใชก้ างเกงขาส้นั สกี ากมี ีจีบไมเ่ ยบ็ ตาย ไมห่ ลวมหรือคบั จนเกนิ ไป ๒.๒ มหี กู างเกงขนาด ๔ – ๕ เซนตเิ มตร จำนวน ๗ หู สาบหนา้ มีซบิ ยาวเกือบถงึ กระเป๋า ไม่มีกระเปา๋ หลัง ๒.๓ เม่อื ยนื ตรง ขอบล่างของขากางเกงยาวเหนือสะบา้ ไม่เกนิ ๕ เซนติเมตร ๒.๔ ปลายขาพับเข้าข้างใน ยาว ๕ เซนติเมตร ๒.๕ ปลายขากว้างเมอ่ื สวมใส่ ดงึ วัดเหลอื ประมาณ ๘ – ๑๒ เซนตเิ มตร ๒.๖ เมือ่ สวมกางเกง เอวอยู่ในแนวสะดือและสวมทับเส้ือ ๓. เข็มขดั ๓.๑ เข็มขดั หนังสนี ้ำตาลหรือเขม็ ขัดลูกเสือกว้างประมาณ ๓ – ๔ เซนตเิ มตร ไมม่ ลี วดลายหรอื ประดับส่ิงตา่ งๆ ๓.๒ หวั เข็มขัด เปน็ หวั ทองเหลอื งส่เี หล่ยี มผนื ผ้าชนิดหวั กลัดปลายบนเจาะรู ๑ แถว

56 มคี วามยาวพอประมาณ ควรใสห่ ูกางเกงหทู ่ี ๒ ได้และไมต่ ัดปลาย ๓.๓ คาดเขม็ ขัดพอตึงมองเห็นชดั ๔. รองเท้า ๔.๑ รองเท้าหนงั หรือผา้ ใบสีนำ้ ตาลลว้ น หมุ้ สน้ ชนิดมีเชอื กร้อย มรี ปู ระมาณ ๕ รู และใช้เชือกสีเดยี วกับรองเทา้ หา้ มใชร้ องเทา้ ชนิดมีขอบสขี าวหรือสอี ืน่ ๆ ๔.๒ รองเท้ามีสน้ สูงไม่เกิน ๓ เซนติเมตร ไม่หมุ้ ข้อ ๕. ถงุ เทา้ ๕.๑ ถงุ เท้าสนี ำ้ ตาล ทำด้วยด้ายหรอื สกั หลาด ไม่มีลวดลาย มีความยาวถงึ คร่ึงน่อง ไมม่ ้วนหรือพบั ๖. ทรงผม กำหนดทรงผมนักเรยี นชาย ดงั น้ี ๖.๑ กรณไี ว้ผมสนั้ ผมเกรียนรอบศีรษะ ด้านหน้ายาวไม่เกิน 4 เซนติเมตร ๖๒ กรณไี ว้ผมยาว รองทรงสูง โดยตัดเกรยี นติดหนังศรี ษะต้ังแต่ตนี ผมไล่ระดับจนถึงสว่ นบน ของศีรษะ ผมด้านบนและดา้ นหน้ายาวไม่เกนิ 4 เซนตเิ มตร เหมาะสมกับสภาพนักเรียน ๖๓ ไม่อนุญาตใหไ้ ว้หนวดเครา ๖๔ ไมอ่ นญุ าตให้ยอ้ มหรอื เปลย่ี นสีผมหรอื ใช้นำ้ มันใสผ่ ม เจลหรอื อปุ กรณ์อนื่ ๆ ๖.๕ หา้ มไวจ้ อนหรือกันจอน ๖.๖ ห้ามตดั แตง่ ทรงผมเปน็ รูปทรงสญั ลักษณ์หรอื เปน็ ลวดลาย ๗. การแตง่ กายชดุ พลศกึ ษา ๗.๑ ให้แตง่ ในวนั ท่ีมีการเรยี นการสอนวิชาพลศึกษาหรือตามวนั ท่ที างโรงเรียนนดั หมาย ๗.๒ ให้ใช้ถงุ เทา้ และรองเทา้ นักเรยี นเท่านน้ั ๗.๓ กางเกงและเสื้อพลศกึ ษาตามทีโ่ รงเรียนกำหนด

57 ๘. หา้ มใสเ่ ครื่องประดับใด ๆ ทัง้ สนิ้ เช่น แหวน สรอ้ ยคอทองคำ สร้อยข้อมอื ยกเวน้ นาฬิกา ๙. กระเป๋านกั เรยี น ให้ใช้กระเปา๋ นกั เรยี นมีตราและชอื่ ของโรงเรยี น ห้ามใชถ้ งุ กระดาษ พลาสติก หรือกระเปา๋ สอี น่ื เป็นเดด็ ขาด ข้อ ๗ การแต่งกายของนกั เรียนหญงิ ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาตอนตน้ ๑. เสอ้ื ๑.๑ ใช้ผา้ สขี าว ไม่บางจนเกินควร แบบคอพบั คอกะลาสเี รอื พับในตัว สาบเข้าข้างใน สว่ นบนสาบใหใ้ หญ่ พอ แบะคอแลว้ ไม่เหน็ ตะเขบ็ ข้างใน ปกขนาด ๑๐ เซนติเมตร ๑.๒ ปลายแขนเสื้อจีบขา้ งละ ๓ จีบ ประกอบดว้ ยผา้ ๒ ชิ้น กว้าง ๓ เซนติเมตร แขนยาวเหนือข้อศอกพอประมาณ ชายเสอื้ ด้านลา่ งพบั ไมเ่ กิน ๓ เซนตเิ มตร มีกระเปา๋ ด้านขวา กว้าง ๕ - ๙ เซนตเิ มตร ยาว ๗ - ๑๐ เซนติเมตร ๑.๓ ใช้คอซองสกี รมทา่ หรือสนี ้ำเงนิ ผกู เงือ่ นกะลาสี กว้าง ๗ เซนตเิ มตร ยาว ๕๐ - ๘๐ เซนตเิ มตร (อย่รู ะดับ เมด็ กระดมุ เม็ดแรก) ท่หี น้าอกดา้ นขวาปกั น.ผ. ขนาด ๑.๕ เซนติเมตร ใต้ น.ผ. ปกั เลขประจำตัวด้วยเลขไทย ขนาด ๐.๘ เซนตเิ มตร เหนือกระเป๋าด้านซา้ ยให้ปกั ช่ือและช่อื สกลุ ด้วยไหมสีนำ้ เงนิ ตวั อักษรภาษาไทยขนาด ๐.๘ เซนติเมตร และปักจดุ บอกระดบั ชน้ั ด้วยไหมสชี มพูเหนอื ช่ือ –ชื่อสกลุ ถ้าชน้ั ม. ๑ ปกั ๑ จดุ , ม. ๒ ปกั ๒ จุด และ ม. ๓ ปัก ๓ จุด ๑.๔ ใหใ้ ส่เสอื้ ซับด้านในสีขาว ๒. กระโปรง ๒.๑ ใช้กระโปรงสกี รมทา่ ไม่มีลวดลาย ดา้ นหน้าและดา้ นหลงั พับเป็นกลบี ดา้ นละ ๓ กลีบ ดา้ นนอกพบั ตีเกลด็ ลงมา ประมาณ ๖ - ๑๒ เซนตเิ มตร เว้นระยะความกว้างตรงกลางพอประมาณ ๒.๒ ปลายกระโปรงพับเขา้ ข้างในยาว ๕ เซนติเมตร เมือ่ สวมใสแ่ ล้วยืนตรง ยาวใต้เข่าลงไปยาวประมาณ ๑๐ เซนตเิ มตร ๓. รองเทา้ ให้ใช้รองเท้าหนงั สีดำ มีสายรัดหลังเท้า ไมม่ ีลวดลาย ไมป่ ระดบั ตกแต่ง ปลายเทา้ ชนิดหนา สน้ เทา้ สูงไม่ เกิน ๓ เซนตเิ มตร ๔. ถงุ เท้า ให้ใชถ้ ุงเทา้ สีขาวทำด้วยดา้ ยหรือสักหลาด ไม่มลี วดลาย ใหพ้ ับเหนือขอ้ เท้าประมาณ ๔-๕ เซนติเมตร ๕. ทรงผม กำหนดทรงผมนักเรยี นหญงิ ดังน้ี 5.1 กรณไี วผ้ มส้ัน ผมยาวเสมอกันรอบศีรษะโดยให้ความยาวเสมอริมฝปี ากลา่ งหรือต่ำกวา่ รมิ ฝปี ากลา่ ง ลงมา 1 เซนติเมตร ติดกิ๊บสดี ำแบบลวด ไม่รวบหรอื มดั ไม่ไวผ้ มหน้ามา้ ไมถ่ กั เปีย

58 ๕.๒ กรณไี ว้ผมยาว ใหร้ วบมัดตรงึ กลางศรี ษะ ใชย้ างมดั ผมสีดำและผกู ดว้ ยรบิ บ้นิ แพรสีกรมทา่ ขนาด 1 นว้ิ ผกู เปน็ โบว์ โดยหางของริบบิน้ ยาวไมเ่ กนิ คร่งึ หนง่ึ ของผม หา้ มใชก้ บ๊ิ โบวส์ ำเรจ็ รูป ความยาวผมด้านหลังวัดจาก ขอบบนปกเสอื้ ยาวไม่เกนิ 15 เซนติเมตร ไม่ไว้ผมหนา้ ม้า ๕.๓ ห้ามดัดผม ๕.๔ หา้ มซอยผม ๕.๕ หา้ มยอ้ มหรอื เปลี่ยนสีผมหรอื ใช้น้ำมนั ใส่ผม เจล หรอื อุปกรณ์อ่นื ๆ ๕.๖ ไมอ่ นุญาตใหถ้ ักเปีย ๖. ห้ามใสเ่ คร่อื งประดับใด ๆ ท้ังส้นิ เช่น แหวน สร้อยคอทองคำ สร้อยข้อมอื ยกเวน้ นาฬกิ า ๗. การแต่งกายชดุ พลศึกษา ๗.๑ ใหแ้ ต่งในวนั ท่ีมกี ารเรียนการสอนวิชาพลศึกษาหรือตามวนั ที่ทางโรงเรยี นนดั หมาย ๗.๒ ใหใ้ ช้ถุงเทา้ และรองเทา้ สีขาวเท่านน้ั ๗.๓ กางเกงและเส้ือพลศกึ ษาใชต้ ามท่โี รงเรียนกำหนด ๘. กระเปา๋ นักเรยี น ใหใ้ ชก้ ระเปา๋ นักเรยี นมตี ราและชอื่ ของโรงเรยี น หา้ มใชถ้ ุงกระดาษ พลาสติกหรือกระเป๋าสีอนื่ เป็น เดด็ ขาด

59 ขอ้ ๘ การแต่งกายของนกั เรยี นชาย ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๑. กางเกง ให้ใชก้ างเกงขาส้ันสดี ำ ไมห่ ลวมหรอื คบั จนเกนิ ไป มจี ีบข้างหน้าข้างละ ๒ จีบ ไมเ่ ย็บตาย มีหูขนาด ๐.๘ เซนตเิ มตร ขอบลา่ งยาวเหนอื สะบ้าหัวเข่าไม่เกิน ๕ เซนตเิ มตร เม่ือยนื ตรงปลายขากางเกงกวา้ งเมอ่ื สวมใส่ตงึ วัด เหลือประมาณ ๘ – ๑๒ เซนตเิ มตร ปลายขาพบั เขา้ ข้างใน ๕ เซนตเิ มตร ไม่มีกระเปา๋ หลัง มีกระเป๋าตรงตามตะเข็บขา้ ง ๆ ละ ๑ กระเปา๋ เม่ือสวมขอบกางเกงอยู่ในแนวระดบั สะดือและสวมทบั เสื้อ สาบหน้ามีซิบ สาบยาวถงึ เป้า ๒. เสื้อให้ใช้เสอื้ เช้ติ สขี าวแขนสั้น มีสาบหน้าอกกวา้ งประมาณ ๓ - ๕ เซนตเิ มตร กระดมุ สีขาวกลมแบน เสน้ ผา่ ศนู ย์กลางยาว ๑ เซนติเมตร คอปกไมม่ ีกระดุม แขนพบั เดนิ ตะเข็บเดียว แขนไม่ผ่า แขนสน้ั เหนือข้อศอกพองาม มี กระเป๋าทางอกดา้ นซา้ ย ๑ กระเปา๋ ขนาดกวา้ ง ๘ - ๑๒ เซนตเิ มตร ลกึ ขนาด ๑๐ - ๑๕ เซนตเิ มตร ไม่มจี ีบหลงั ท่ีหน้าอก ด้านขวา ปกั น.ผ.ขนาด ๑.๕ เซนติเมตร ให้อยรู่ ะดับเดียวกันกับช่อื – สกุล ใตน้ .ผ. ปักเลขประจำตัวดว้ ยเลขไทยขนาด ๐.๘ เซนตเิ มตร เหนอื กระเป๋าดา้ นซา้ ยใหป้ ักชอื่ และช่อื สกุลดว้ ยไหมสีน้ำเงนิ ตัวอักษรภาษาไทยขนาด ๐.๘ เซนตเิ มตร และปัก จดุ บอกระดบั ช้ันดว้ ยไหมสีน้ำเงนิ เหนือชือ่ -ชือ่ สกุล ชนั้ ม. ๔ ปกั ๑ จุด , ม.๕ ปัก ๒ จดุ และ ม.๖ ปัก ๓ จุด ๓. เขม็ ขัด ใหใ้ ชเ้ ข็มขัดหนงั สีดำ กวา้ งประมาณ ๓ - ๔ เซนตเิ มตร ไม่มลี วดลายขดี เขียนหรือประทบั ส่งิ ใด ๆ เจาะรู ๑ แถว ไม่ตดั ปลายเข็มขดั หัวเข็มขดั เป็นโลหะสีเงินสเี่ หล่ียมผนื ผา้ ชนิดหัวกลัด ความยาวพอสอดใส่หกู างเกงที่ ๒ ได้ ๔. รองเท้า ใหใ้ ชร้ องเทา้ หนังหรือรองเท้าผา้ ใบสีดำหุม้ ส้นมีเชือกร้อยประมาณ ๕ รู เชอื กรอ้ ยสีเดียวกบั รองเทา้ สน้ สงู ไมเ่ กิน ๓ เซนตเิ มตร ๕. ถงุ เท้า ให้ใช้ถุงเท้าสีขาวล้วน ทำด้วยด้ายหรอื สกั หลาด ยาวครึง่ นอ่ งไมม่ ีลวดลาย ไม่ม้วนหรอื พบั ๖. ทรงผม กำหนดทรงผมนกั เรียนชาย ดงั น้ี ๖.๑ กรณไี ว้ผมส้นั ผมเกรียนรอบศีรษะ ด้านหน้ายาวไม่เกิน 4 เซนติเมตร ๖.๒ กรณีไว้ผมยาว รองทรงสูง โดยตดั เกรียนตดิ หนงั ศีรษะต้ังแต่ตีนผมไลร่ ะดบั จนถึงส่วนบน ของศีรษะผมดา้ นบนและดา้ นหน้ายาวไม่เกิน 4 เซนติเมตร เหมาะสมกบั สภาพนักเรยี น ๖.๓ ไม่อนญุ าตให้ไวห้ นวดเครา ๖.๔ ไมอ่ นญุ าตให้ย้อมหรือเปลี่ยนสผี มหรอื ใชน้ ำ้ มันใสผ่ ม เจล หรืออปุ กรณ์อนื่ ๆ ๖.๕ หา้ มไวจ้ อนหรอื กนั จอน ๖.๖ ห้ามตัดแต่งทรงผมเปน็ รูปทรงสัญลกั ษณ์หรือเป็นลวดลาย ๗. หา้ มใสเ่ ครอ่ื งประดับใด ๆ ทั้งสน้ิ เชน่ แหวน สรอ้ ยคอทองคำ สรอ้ ยขอ้ มือ ยกเว้นนาฬกิ า ๘. กระเป๋านักเรียน ให้ใช้กระเป๋านักเรยี นมตี ราและชอื่ ของโรงเรยี น หา้ มใชถ้ ุงกระดาษ พลาสติกหรือกระเป๋าสีอื่น เปน็ เด็ดขาด ๙. การแตง่ กายชดุ พลศกึ ษา ๙.๑ ให้แตง่ ในวนั ที่มีการเรยี นการสอนวชิ าพลศึกษา หรือตามวนั ทท่ี างโรงเรียนนดั หมาย ๙.๒ ให้ใชถ้ งุ เทา้ สขี าวและรองเทา้ สดี ำเท่านัน้ ๙.๓ กางเกงและเส้ือพลศกึ ษาใช้ตามที่โรงเรียนกำหนด

60 ขอ้ ๙ การแตง่ กายของนกั เรียนหญงิ ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๑. เสื้อ ๑.๑ เปน็ เสือ้ คอเชิ้ตสขี าว ไม่บางจนเกนิ ไป ผ่าคอตลอด ท่ีอกมสี าบตลบเข้าข้างในกว้าง ๓ เซนติเมตร ๑.๒ มกี ระดุมกลมแบนสีขาว จำนวน ๕ เม็ด มีเสน้ ผ่าศูนย์กลางยาว ๑ เซนติเมตร แขนเสื้อยาวเหนือศอกทป่ี ลาย แขนมีจีบกวา้ งประมาณ ๓ เซนตเิ มตร สอดชายเสอ้ื ไว้ในกระโปรง ต้องใสเ่ ส้ือซับข้างในสีขาว ๑.๓ ทีห่ นา้ อกด้านขวาปัก น.ผ.ขนาด ๑.๕ เซนติเมตร ให้อยู่ระดับเดียวกนั กับชอื่ - ช่อื สกลุ ใต้ น.ผ. ปกั เลข ประจำตัวด้วยเลขไทย ขนาด ๐.๘ เซนติเมตร เหนือกระเป๋าด้านซ้าย ใหป้ กั ช่ือและชื่อสกุลดว้ ยไหมสีนำ้ เงิน ตวั อกั ษร ภาษาไทยขนาด ๐.๘ เซนตเิ มตรและปกั จดุ บอกระดบั ช้นั ด้วยไหมสนี ำ้ เงินเหนือชือ่ -ชอ่ื สกุล ชน้ั ม. ๔ ปัก ๑ จดุ , ม.๕ ปกั ๒ จุด และ ม.๖ ปัก ๓ จดุ ๒. กระโปรง ๒.๑ ใชก้ ระโปรงสีกรมทา่ ไม่มีลวดลาย ยาวจากเข่าลงไปประมาณ ๑๐ เซนติเมตร ๒.๒ ด้านหนา้ และดา้ นหลังพับเป็นกลีบ ด้านละ ๓ กลีบ หักกลบี ออกดา้ นนอกเยบ็ ทบั ขอบล่าง ลงมาระหวา่ ง ๖ - ๑๒ เซนตเิ มตร เวน้ ระยะกว้างตรงกลางพอควร ๓. เขม็ ขดั ใชเ้ ข็มขดั หนังสีดำ ไมม่ ีลวดลาย กวา้ งประมาณ ๓ - ๔ เซนตเิ มตร หัวเข็มขดั เปน็ รปู สเ่ี หลย่ี มผนื ผ้า ใชห้ นังสดี ำ หรือผ้าห้มุ แบบชนิดเกลด็ ใช้คาดทบั ขอบกระโปรง และไม่ตดั ปลายอนญุ าตให้ใช้คลิปหนีบกระดาษสีดำยดึ เข็มขัดติดกับ กระโปรงได้ ๔. รองเท้า ใหใ้ ชร้ องเท้าหนังสีดำหุ้มสน้ ปลายรองเทา้ มน มสี ายรดั หลงั เท้า ส้นสูงไมเ่ กนิ ๓ เซนติเมตร ไม่มลี วดลาย ๕. ถงุ เท้า ใช้ถุงเท้าสีขาวล้วน ทำด้วยดา้ ยหรือสกั หลาด พับลงเหนือข้อเท้า ประมาณ ๔ - ๕ เซนติเมตร ๖. ทรงผม กำหนดทรงผมนักเรียนหญิง ดังน้ี ๖.๑ กรณไี วผ้ มส้ัน ผมยาวเสมอกันรอบศีรษะโดยให้ความยาวเสมอรมิ ฝีปากล่างหรือต่ำกว่า ริมฝีปากล่างลงมา 1 เซนติเมตร ติดก๊ิบสีดำแบบลวด ไม่รวบหรือมัด ไม่ไวผ้ มหนา้ มา้ ไม่ถักเปยี ๖.๒ กรณีไว้ผมยาว ใหร้ วบมดั ตรงึ กลางศีรษะ ใช้ยางมัดผมสีดำและผูกด้วยรบิ บ้นิ แพรสีกรมทา่ ขนาด 1 นวิ้ ผกู เป็นโบว์ โดยหางของริบบิน้ ยาวไม่เกินคร่ึงหน่ึงของผม ห้ามใช้กบิ๊ โบวส์ ำเรจ็ รูป ความยาวผมด้านหลงั วัดจาก ขอบบนปกเส้ือยาวไม่เกนิ 15 เซนตเิ มตร ไม่ไวผ้ มหน้ามา้ ๖.๓ หา้ มดัดผม ๖.๔ ห้ามซอยผม ๖.๕ ห้ามยอ้ มหรอื เปลีย่ นสผี มหรือใช้นำ้ มันใส่ผม เจล หรอื อุปกรณ์อน่ื ๆ ๖.๖ ไม่อนญุ าตให้ถกั เปยี ๗. ห้ามใสเ่ ครื่องประดับใด ๆ ทง้ั สน้ิ เช่น แหวน สรอ้ ยคอทองคำ สร้อยข้อมอื ยกเว้นนาฬกิ า ๘. ห้ามแต่งหนา้

61 ๙. กระเปา๋ นกั เรียน ให้ใชก้ ระเปา๋ นกั เรยี นมีตราและช่อื ของโรงเรียน หา้ มใชถ้ งุ กระดาษ พลาสติกหรือกระเป๋าสีอื่นเป็น เดด็ ขาด ๑๐. การแต่งกายชุดพลศกึ ษา ๑๐.๑ ให้แตง่ ในวนั ท่ีมกี ารเรียนการสอนวชิ าพลศึกษาหรือตามวันท่ีทางโรงเรยี นนัดหมาย ๑๐.๒ ใหใ้ ชถ้ งุ เท้าและรองเท้าสขี าวเทา่ นน้ั ๑๐.๓ กางเกงและเสื้อพลศึกษาใช้ตามทีโ่ รงเรยี นกำหนด ข้อ ๑๐ เครือ่ งแบบลูกเสอื สามัญร่นุ ใหญ่ ๑. หมวกทางอ่อน สเี ลือดหมู มีตราคณะลกู เสือแหง่ ชาติกำหนด ตดิ อยู่ด้านหนา้ หมวก ทำดว้ ยโลหะสที อง เวลา สวมหมวก ตราลกู เสอื จะอยู่เหนือคว้ิ ซ้าย ๒. เส้อื ลูกเสอื เปน็ เส้ือคอพับสีกากี แขนสั้นเหนือศอก ผา่ อกตลอด อกเส้ือทำเปน็ สาบกว้าง ๓.๕ เซนติเมตร มดี มุ เหนือเขม็ ขัด ๔ ดมุ อกมีกระเป๋าปะข้างละ ๑ กระเป๋า มแี ถบตรงกึง่ กลางตามทางดงิ่ ปกรูปมน ชายกลางแหลม เจาะรังดุม กึ่งกลางประเป๋า ๑ ดมุ มีอนิ ทรธนูสเี ดยี วกับเส้อื อยเู่ หนือบ่าท้ังสองข้าง ด้านไหล่กว้าง ๓.๕ เซนตเิ มตร เย็บติดกับตะเข็บ ไหล่เส้อื ดา้ นคอกว้าง ๒.๕ เซนตเิ มตร ปลายมน มดี ุมตดิ ปลายอนิ ทรธนูทางด้านคอด้านละ ๑ ดมุ ดมุ ลักษณะกลมแบน ทำด้วยวัตถสุ นี ้ำตาลแก่ ให้สอดชายเสอ้ื อยใู่ นกางเกง ๓. ผ้าผูกคอสามเหล่ียมหนา้ จั่วสมี ว่ ง ดา้ นฐาน ๑๐๐ เซนตเิ มตร ด้านตัง้ ๗๕ เซนติเมตร ด้านหน้าจัว่ มตี ราประจำ จงั หวดั เพชรบรู ณ์ และมีห่วงซ่ึงไมใ่ ช่หว่ งกิลเวลล์สวมผ้าผกู คอ ๔. กางเกงสีกากี ขาสน้ั เหนอื เขา่ ประมาณ ๕ เซนตเิ มตร ส่วนกว้างของขากางเกงเมื่อยืนตรงหา่ งจากขาตงั้ แต่ ๘ – ๑๒ เซนตเิ มตร ปลายขาพบั เข้ากว้าง ๕ เซนติเมตร ผ่าตรงส่วนหนา้ ใชด้ ุมขนาดย่อมซอ่ นไว้ด้านใน มีกระเปา๋ ตามแนว ตะเขบ็ ข้างละ ๑ กระเป๋า และมหี รู อ้ ยเขม็ ขัดยาวไม่เกิน ๖ เซนตเิ มตร กว้าง ๑ เซนตเิ มตร ๕. อินทรธนูสีเลือดหมู ปลายอนิ ทรธนมู อี ักษรว่า ล.ญ. สเี หลือง ๖. เข็มขดั หนังสีนำ้ ตาล กวา้ งไม่เกนิ ๓ เซนตเิ มตร หวั ชนิดหวั ขดั ทำด้วยโลหะสีทอง มีดุนลายตราคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ ภายในกรอบช่อชัยพฤกษ์ ๗. ถงุ เท้าสีกากี ยาวถึงใต้เข่า ตดิ พ่สู เี ลือดหมูขา้ งละ ๑ พู่ พับปลายถุงเท้า พู่ยาวลงมา ๑ เซนตเิ มตร ๘. รองเท้าหนงั หรอื ผ้าใบสนี ำ้ ตาลแก่ ไม่มีลวดลาย หมุ้ ส้นชนิดผูก

62 ข้อ ๑๑ เคร่อื งแบบเนตรนารี ๑. เคร่ืองแบบเนตรนารีสามัญรุ่นใหญ่ ประกอบด้วย ๑.๑ หมวกปีกแคบ สเี ขยี วแก่ มตี ราหนา้ หมวกรปู เคร่อื งหมายเนตรนารีทำด้วยโลหะสีทอง ปีกหมวก ด้านหลังพบั ขน้ึ ๑.๒ เสื้อสีเขียวแก่เช่นเดียวกบั เสื้อเคร่ืองแบบเนตรนารีสามัญแต่มีอนิ ทรธนูสีเลอื ดหมู ปลายอนิ ทรธนู มีรูปเครื่องหมายเนตรนารีสีเหลือง ๑.๓ กระโปรง สีเขยี วแกเ่ ชน่ เดียวกบั กระโปรงเนตรนารสี ามัญ ๑.๔ ผา้ ผกู คอ เชน่ เดยี วกบั ผ้าผูกคอเนตรนารสี ามญั ๑.๕ เข็มขัด หนังสีดำถงุ เท้า รองเทา้ เช่นเดียวกับเคร่ืองแบบเนตรนารีสามญั ๒. เคร่ืองหมายประกอบเครื่องแบบเนตรนารีสามัญร่นุ ใหญ่ ประกอบด้วย ๒.๑ เคร่อื งหมายจงั หวดั เชน่ เดียวกับเนตรนารีสามัญ ๒.๒ เครื่องหมายเนตรนารีสามัญรุน่ ใหญ่ ทำด้วยโลหะสที องประกอบแถบโบวอ์ ยู่สว่ นล่าง มคี ำวา่ “สามัญรุ่นใหญ่” ใชก้ ลดั ติดท่ีอกเส้ือข้างซ้าย มขี นาดกว้าง ๓ เซนติเมตร ยาว ๓ เซนตเิ มตร ๒.๓ เครื่องหมายหมู่ ทำด้วยผา้ รปู ส่เี หล่ียมจัตรุ ัส ยาวดา้ นละ ๓.๕ เซนติเมตร สีขาว ตรงกลางมรี ูปนก สเี ขยี วชนดิ ตา่ ง ๆ ตามที่กำหนดไว้ ตดิ ทไ่ี หลเ่ ส้ือข้างซ้าย ใตต้ ะเขบ็ ประมาณ ๑ เซนตเิ มตร ๒.๔ เครอ่ื งหมายประจำการ เชน่ เดียวกับเครอื่ งหมายประจำการของเนตรนารสี ามัญ ๒.๕ เครอ่ื งหมายสงั กัด เชน่ เดียวกบั เคร่ืองหมายสงั กัดของเนตรนารสี ามัญ ๒.๖ เครอ่ื งหมายภาษาต่างประเทศ ใช้ประกอบเครื่องหมายวชิ าล่าม ทำดว้ ยผ้าสีกากี รปู ส่เี หล่ียมผนื ผ้า ยาว ๖ เซนติเมตร กวา้ ง ๑.๕ เซนตเิ มตร มีอกั ษรไทยบอกชื่อ ภาษาต่างประเทศที่เนตรนารีพูดได้ดี สีขาว ตดิ ท่อี กเสือ้ ข้าง ขวาเหนอื กระเปา๋ ๒.๗ สายยงยศ ทำดว้ ยไหมสเี ลอื ดหมถู ักเป็นหว่ งคล้องตน้ แขนขวาใต้อินทรธนู ใช้ไดเ้ ฉพาะ เนตรนารสี ามญั รนุ่ ใหญ่ ทส่ี อบไดว้ ชิ าเนตรนารีเอก กับสอบได้วชิ าพิเศษตามทก่ี ำหนดในหลกั สูตร ๒.๘ เคร่อื งหมายเพชราวธุ ทำด้วยผา้ รูปหกเหล่ียมสีแดง ตรงกลางมเี คร่ืองหมายวชิระสีเหลือง ขนาดยาว ๔ เซนตเิ มตร กวา้ ง ๓ เซนติเมตร ตดิ ทอี่ กเสื้อด้านขวาเหนือกระเป๋าใช้ได้เฉพาะ เนตรนารีสามญั รนุ่ ใหญ่ทม่ี ีสทิ ธ์ิ ใช้สายยงยศและสอบได้วชิ าพิเศษตามท่กี ำหนดในหลกั สูตร ๒.๙ เคร่อื งหมายผูฝ้ ึกสอน ทำดว้ ยผ้ารปู วงรี สแี ดง ตรงกลางมรี ูปเคร่ืองหมายเนตรนารแี ละมีคำว่า ผ้ฝู ึกสอนสีเหลือง ขนาดยาว ๔.๕ เซนตเิ มตร กว้าง ๔ เซนติเมตร ตดิ ที่อกเสื้อด้านซา้ ยเหนือกระเป๋าใชไ้ ด้เฉพาะเนตรนารี สามัญรุ่นใหญ่ ทีส่ อบไดว้ ชิ าเนตรนารเี อก กับสอบได้วิชาพิเศษตามทีก่ ำหนดในหลักสูตร ๒.๑๐ เคร่ืองหมายวชิ าพเิ ศษ ทำด้วยผ้าสีเลอื ดหมู รปู สีเ่ หลีย่ มจัตรุ ัส ยาวด้านละ ๔ เซนติเมตร มกี รอบอกั ษร “น.ญ.” สเี ขยี ว ภายในกรอบมรี ปู ตามท่ีกำหนด

63 หมายเหตุ : ถ้าสอบได้ไม่เกิน ๙ วิชา ให้ติดทแี่ ขนเสอ้ื ข้างขวากง่ึ กลางระหว่างไหล่กับศอกเรียงกันเปน็ แถวตามแนวนอน แถวใดเกนิ ๓ วิชา ให้ข้นึ แถวใหม่ เว้นระยะระหว่างเคร่อื งหมายและระหว่างแถว ๑ เซนติเมตร ถ้าสอบไดเ้ กนิ ๙ วชิ า ใหม้ ี สายสะพายจากบ่าซา้ ยไปประจบกันที่ใตเ้ อวขวา ทำด้วยตว่ นหรือสกั หลาด สีเหลืองกว้าง ๑๐ เซนตเิ มตร ขลิบริมสขี าบข้าง ละ ๑ เซนติเมตร และปักเคร่ืองหมายวิชาพิเศษ ๒.๑๑ เครือ่ งหมายหัวหนา้ หมแู่ ละรองหวั หน้าหม่เู ชน่ เดยี วกบั หัวหนา้ หมู่และรองหัวหนา้ หมู่ เนตรนารีสามัญ แต่แถบผ้าสีเลอื ดหมู่ ๒.๑๒ สายนกหวดี เช่นเดยี วกับหวั หน้าหมู่และรองหวั หนา้ หมเู่ นตรนารีสามญั ข้อ ๑๒ เครื่องแบบยุวกาชาด ๑. หมวก ทำดว้ ยผา้ สีกรมท่า มีรูปทรงท่คี งที่ แบบมีแกป๊ ด้านหน้า ตลบปีกดา้ นหลงั และด้านขา้ งทั้งสองดา้ น ๒. เส้อื สีฟา้ อมเทาแบบเช้ติ แขนสน้ั ปลายแขนพบั ตลบออกด้านนอก ขนาดความกว้าง ประมาณ ๓ เซนติเมตร ตัวเสอ้ื ผ่าอกตลอด มสี าบกวา้ ง ๓ เซนตเิ มตร และขดั ดุมตลอด ๕ ดุม ทีอ่ กมี กระเป๋าสองขา้ งตรงก่งึ กลางกระเปา๋ พับ จบี เปน็ แถบกวา้ งเทา่ กบั สาบเส้ือ มใี บปกรูปมนกลางแหลมและขัดดมุ ที่ไหล่เสอ้ื มีสาบอนิ ทรธนูขดั ดมุ ข้างละหน่ึงดุม ดุมทั้งสิน้ ดังกลา่ วน้ี มีลกั ษณะกลมแบนขนาดเส้นผ่าศูนยก์ ลาง ๑ เซนติเมตร ทำดว้ ยวสั ดุสเี ดียวกบั เสือ้ ทีอ่ กเสือ้ ด้านขวาตดิ เข็ม เครอื่ งหมายสมาชกิ ยุวกาชาด ทีต่ น้ แขนขวาต่ำลงมา ๑ เซนตเิ มตร ตดิ แถบชื่อโรงเรยี น ขนาด ๒ x ๗ เซนติเมตร ตามแนว ตะเขบ็ เสื้อทำด้วยผ้าสแี ดง กรอบและอกั ษรชอ่ื โรงเรยี นเป็นสขี าว (ไมต่ ้องมีคำว่าโรงเรยี น) และติดเคร่ืองหมายบอกชั้นกลุ่ม และหน่วยใตแ้ ถบชื่อโรงเรียน ห่างจากจดุ ก่ึงกลางปา้ ยช่ือโรงเรียนลงมา ๑ เซนตเิ มตร ท่แี ขนซ้ายติดเครื่องหมายกจิ กรรม ต่าง ๆ (ถ้ามี) ที่อินทรธนูติดตัวเลขบอกระดับเป็นโลหะ ๓. ผ้าผกู คอ ใชส้ ีกรมท่ามีลักษณะเป็นสามเหลยี่ มมุมฉาก ด้านประกอบมุมฉากยาวดา้ นละ ๗๕- ๙๐ เซนตเิ มตร เยบ็ รมิ ทง้ั ๓ ด้าน ๔. กระโปรง ใช้ผา้ และสีชนดิ เดียวกนั กบั เสอื้ ยาวคลุมเข่ามีจบี รอบตัว ๑๒ จีบ ระยะหา่ งจบี เท่ากนั ๕. เข็มขัด หัวเขม็ ขดั ทำด้วยโลหะสีเงินรูปส่เี หลีย่ มผนื ผา้ กวา้ ง ๓.๕ เซนติเมตร ยาว ๔.๕ เซนตเิ มตร ตรงกลางมี ลายดนุ เปน็ เคร่อื งหมายอย่างเดยี วกับเขม็ เครอื่ งหมายหนา้ หมวกสายเข็มขดั ทำด้วยหนงั สีดำขนาดพอดีกบั หัวเข็มขัดคาดทบั ขอบกระโปรง ๖. ถงุ เทา้ ชนดิ สนั้ สขี าวไมม่ ลี วดลาย ๗. รองเทา้ หนงั สีดำแบบนักเรียน ขอ้ ๑๓ การแตง่ กายตามศาสนา หากนกั เรยี นมีความจำเปน็ ต้องแตง่ กายต่างจากทีก่ ำหนดไว้ เนอื่ งจากความจำเป็นทางศาสนา ประเพณหี รอื ความจำเปน็ อื่นใดใหอ้ ยู่ในอำนาจของผู้อำนวยการโรงเรียนหนองไผ่เปน็ ผพู้ ิจารณา

64 หมวดที่ ๒ วนิ ยั และการรกั ษาวินัย ข้อ ๑๔ การเข้าแถวและการเคารพธงชาติ ๑๔.๑ นักเรยี นตอ้ งเตรยี มตวั ไปเข้าแถวทันที เมื่อได้ยนิ เสียงเพลงมาร์ชชมพูฟา้ เวลา ๐๘.๐๐ น. ทกุ คนต้องเข้าแถวใหเ้ ป็นระเบยี บเรยี บร้อย เคารพธงชาตแิ ละธงโรงเรียน ๑๔.๒ ทกุ คนตอ้ งรว่ มกันสวดมนต์แปลและรว่ มกันทำกิจกรรมหน้าเสาธง ๑๔.๓ เดนิ เขา้ หอ้ งเรยี นดว้ ยความเปน็ ระเบียบ หลังจากครูเวรประจำวนั อบรมแลว้ ไม่หยอกล้อ ในระหวา่ งเดนิ เข้าชัน้ เรียนและไมแ่ ยกออกจากแถว ขอ้ ๑๕ การทำความเคารพ ๑๕.๑ นักเรยี นต้องทำความเคารพครูทุกคน ในโรงเรียนขณะที่อยู่ในโรงเรยี นและนอกโรงเรยี น ด้วยการไหว้ ๑๕.๒ เม่ือครูเขา้ สอนทุกช่ัวโมงให้หวั หนา้ ชัน้ บอกวา่ “นักเรยี นทง้ั หมดทำความเคารพ” นักเรยี น ยืนตรงแล้วไหว้ พร้อมกล่าวคำวา่ “สวสั ดีครบั สวัสดคี ะ่ ” ๑๕.๓ เม่อื หมดชั่วโมงครูจะออกจากช้ันเรยี น ใหห้ วั หน้าชัน้ เรยี นบอก “นักเรียนทัง้ หมดทำความเคารพ” นักเรยี นยืนตรงแล้วไหว้พรอ้ มกล่าวคำวา่ “ขอบคุณครับ ขอบคณุ ค่ะ” ๑๕.๔ เม่อื ครถู ามนักเรียนคนใดคนหน่ึงในขณะท่นี ่งั ทำงานอยู่ ใหล้ กุ ขึ้นยืนพดู กับครใู นท่าตรง หรือเมื่อครเู รยี กพบ จะเข้าพบครู ให้ยกมือไหวท้ ัง้ ไปและกลับ ๑๕.๕ การทำความเคารพ ในภาวะต่างๆ ใหป้ ฏบิ ัตดิ ังนี้ ๑๕.๕.๑ ขณะท่ีนักเรียนขบั ข่ีรถจกั รยานยนต์ รถจักรยาน เม่ือสวนทางกับครใู ห้กม้ ศีรษะ พองามเป็นการแสดงความเคารพ ๑๕.๕.๒ เม่ือนกั เรียนอยู่กับท่ีและแต่งเครือ่ งแบบลกู เสือหรือเนตรนารีหรือยุวกาชาดหรอื นกั ศกึ ษาวิชาทหาร ถ้ามีครูหรือผู้ท่คี วรทำความเคารพผา่ นมา ใหน้ ักเรยี นยืนตรง หันหน้าไปทางผู้ท่คี วรทำความ เคารพ และทำวนั ทยาหัตถ์ ถ้าอยใู่ นเคร่ืองแบบ นักเรียนให้ยืนตรง ถา้ อยนู่ อกบริเวณโรงเรยี นในชดุ นกั เรียน ใหน้ ักเรียนทำ ความเคารพโดยการยกมือไหว้ พร้อมกบั กลา่ วคำว่า “สวสั ดีครับ สวัสดีคะ่ ” ข้อ ๑๖ การมาโรงเรยี นและเวลาเรียน ๑๖.๑ นักเรยี นทุกคนตอ้ งมาถึงโรงเรียนก่อนเชิญธงชาตขิ นึ้ สู่ยอดเสา (โรงเรียนเข้าเรียน เวลา ๐๘.๐๐ น. เลกิ เวลา ๑๕.๓๐ น) ๑๖.๒ นักเรียนทมี่ าถงึ โรงเรยี นไม่ทันเคารพธงชาติ (ร้องเพลงชาติจบ) ถอื ว่ามาสายและจะถกู ลงโทษ ๑๖.๓ นกั เรียนทีม่ าสายสามครัง้ ขนึ้ ไป จะเชิญผปู้ กครองมารบั ทราบความประพฤติ

65 ๑๖.๔ การขาดเรยี น ถา้ นักเรียนคนใดขาดเรยี น โดยไม่ทราบสาเหตุเกนิ ๓ วนั หรือขาดสะสมเกนิ ๕ วนั ครทู ี่ ปรกึ ษาต้องแจง้ ใหผ้ ูป้ กครองทราบ ถ้านกั เรียนยังมพี ฤตกิ รรมเหมือนเดิมทางโรงเรียนจะเชญิ ผปู้ กครองมารบั ทราบเพื่อ รว่ มกนั แกป้ ญั หา ถ้าโรงเรยี นไมไ่ ด้รับความร่วมมือจากผูป้ กครอง โรงเรียนจะพิจารณาโทษสงู สดุ ข้อ ๑๗ การขออนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรยี น เข้าห้องเรียนและหยดุ เรยี น ๑๗.๑ การขออนญุ าตออกนอกโรงเรียนในเวลาเรียน (บางชวั่ โมงแลว้ กลับมาเขา้ เรยี นอีก) ให้ถอื ปฏิบตั ิ ดังนี้ (ก) ให้ขอบตั รอนุญาตจากครูในกลมุ่ บริหารงานกจิ การนกั เรียน กรอกรายละเอยี ด พร้อมท้ัง ชี้แจงเหตผุ ลเพ่ือประกอบการพจิ ารณาอนุญาต (ข) ใหค้ รูทป่ี รกึ ษาหรอื ครปู ระจำวชิ าทีน่ กั เรยี นกำลังเรยี น หรือวิชาที่จะเรยี นในช่ัวโมงต่อไป ลงช่อื ในบัตรอนญุ าต ในช่องครปู ระจำวิชาหรือครูทปี่ รึกษา (ค) ครูกลมุ่ บรหิ ารงานกจิ การนกั เรียน เขยี นชอ่ื นักเรียนลงในหนงั สือขออนุญาตแลว้ ฉีก ตอนท่ี ๒ ไว้ตอนที่ ๑ ใหน้ ักเรียนถือไปลงลายมือช่ือทส่ี มดุ ลงนามของนักเรียนทยี่ ามรักษาการณ์ (ง) ใหน้ ักเรียนแสดงบตั รประจำตัวแลว้ ลงชื่อในสมดุ ขออนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียน ที่ยามรกั ษาการณ์ ๑๗.๒ การลาป่วยหรอื ขอลากลบั บา้ น (นกั เรียนจะไม่กลบั มาเรยี นอีก) ให้ถือปฏบิ ตั ิ ดังน้ี (ก) ผปู้ กครองมารับกลบั บา้ น ให้ขอบัตรอนญุ าตจากครูในกลมุ่ บรหิ ารงานกจิ การนักเรยี น กรอกรายละเอยี ด พร้อมท้งั ชี้แจงเหตุผลเพอ่ื ประกอบการพิจารณาอนุญาต (ข) ใหค้ รูทป่ี รกึ ษาหรือครูประจำวิชาทนี่ ักเรยี นกำลังเรียน หรอื วิชาทีจ่ ะเรยี นในชว่ั โมงตอ่ ไป ลงช่อื ในบัตรอนุญาต ในช่องครปู ระจำวิชาหรอื ครูทปี่ รกึ ษา (ค) ครูกลมุ่ บริหารงานกิจการนักเรยี น เขียนชือ่ นักเรยี นลงในหนงั สอื ขออนุญาตแล้วฉกี ตอนท่ี ๒ ไว้ ตอนท่ี ๑ ใหน้ ักเรยี นถอื ไปลงลายมอื ช่ือท่สี มุดลงนามของนกั เรยี นท่ยี ามรักษาการณ์ (ง) ให้นักเรยี นแสดงบัตรประจำตัวแล้วลงชอ่ื ในสมดุ ขออนุญาตออกนอกบรเิ วณโรงเรียน ท่ียามรกั ษาการณ์ (จ) ไม่อนญุ าตใหน้ กั เรยี นขออนญุ าตออกนอกบรเิ วณโรงเรียนในกรณีท่ลี ืมอปุ กรณ์การเรยี น ๑๗.๓ การขออนญุ าตหยุดเรียน ในกรณจี ำเปน็ ท่ีนักเรียนต้องลาหยุดการเรียน นักเรยี นต้องเขยี น ใบลาขออนุญาตหยุดเรียนสง่ ท่คี รูทป่ี รึกษาหรือจะส่งก่อนวนั ลาหยุดก็ได้ โดยใหป้ ฏิบัตดิ ังนี้ (ก) ใหผ้ ู้ปกครองเปน็ ผลู้ งลายมือช่อื ขออนญุ าต (ข) ให้นักเรยี นนำใบลาสง่ ครูทปี่ รึกษา

66 ข้อ ๑๘ การจัดห้องเรียนและการรกั ษาความสะอาด ๑๘.๑ ให้นักเรียนนั่งตามผังที่ครทู ีป่ รึกษากำหนด ๑๘.๒ การจัดโตะ๊ เกา้ อี้ นง่ั ใหเ้ ป็นระเบียบ เป็นไปตามท่ีครูทป่ี รึกษากำหนด ๑๘.๓ ใหม้ ีเวรทำความสะอาดประจำหอ้ งเรยี น เวรต้องทำความสะอาดห้องเรียนตลอดวัน ควรทำความสะอาดทั้งภาคเช้า - เยน็ ๑๘.๔ ถ้าเวรไม่ปฏิบตั ิหน้าท่ีถอื ว่ามีความผิดร้ายแรง ให้หัวหน้าชน้ั รายงานครูที่ปรึกษาทราบ ๑๘.๕ หา้ มทำส่ิงใดส่งิ หนึ่งของโรงเรียนหรือห้องเรียนชำรุดหรอื สกปรกเปรอะเป้ือน ๑๘.๖ หา้ มนักเรียนเข้าหอ้ งเรียนอน่ื ทีไ่ มม่ ีใครอยู่ หา้ มเข้าห้องพักครู หอ้ งปฏิบัติงานก่อนได้รับ อนุญาตโดยเดด็ ขาด ข้อ ๑๙ ข้อปฏิบตั ิในโรงเรียน ๑๙.๑ ขณะท่ีเรียนวิชาใดวชิ าหนง่ึ อยู่ ห้ามนำวิชาอืน่ มาทำหรอื ดูโดยผู้สอนไม่อนญุ าต ๑๙.๒ หา้ มนักเรยี นนำสงิ่ ของเหลา่ นเี้ ขา้ มาในโรงเรยี นก่อนได้รับอนญุ าต ดงั นี้ (ก) สงิ่ ของมีคา่ เครื่องประดับ อาวุธ ส่งิ เทียมอาวธุ หรอื วสั ดอุ ่ืนใดท่ีไม่เก่ยี วข้องกบั การเรียน หากนำมาจะพจิ ารณาลงโทษตามระเบียบของโรงเรียน ในหมวดท่ี ๔ การลงโทษ และการ พจิ ารณาโทษนักเรียน ตามสมควรแก่ความผิด (ข) โรงเรยี นอนุญาตใหน้ ักเรยี นนำคอมพวิ เตอรเ์ คล่อื นที่ (Laptop) โทรศัพทม์ ือถือ แท็บเล็ต สมาร์ทโฟน หรอื เคร่ืองมือส่อื สารทส่ี ามารถเชื่อมตอ่ กับระบบอนิ เตอร์เน็ต เขา้ มาในโรงเรียนได้ และอนญุ าตให้ใช้ ๓ ชว่ งเวลา คือ ช่วงเชา้ ตง้ั แตม่ าโรงเรียน ถึงเวลา ๐๘.๐๐ น. ชว่ งพักกลางวนั ตง้ั แตเ่ วลา ๑๒.๐๐ น. ถงึ เวลา ๑๓.๐๐ น. ชว่ งเยน็ ตัง้ แต่เวลา ๑๕.๓๐ น. เปน็ ต้นไปหรือใหใ้ ชใ้ นเวลาเรียนทค่ี รปู ระจำวชิ าอนญุ าตใหใ้ ชเ้ พื่อ สบื ค้นขอ้ มูลประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ท้งั น้ใี ห้อยู่ในความดแู ลของครู ประจำวชิ าน้ันๆ หากพบนักเรียนใชใ้ นเวลาเรยี นและครูประจำวชิ าไม่อนุญาตให้ใช้

67 โรงเรียนจะยดึ ไว้ และคืนใหห้ ลงั จากพ้น ๑๕ วันนบั แต่วนั ถกู ยึด หากกระทำเปน็ ครงั้ ทส่ี องโรงเรียนจะคืนให้เม่อื สิน้ ภาคเรยี นนั้น ๆ ความผดิ ในทกุ กรณีให้ผู้ปกครองเปน็ ผมู้ า ตดิ ต่อรบั คืนและรับทราบ ความผดิ เท่าน้นั (ค) ส่ิงของที่นักเรียนนำมา ตามขอ้ (ก) และ (ข) ทอ่ี ยู่ในความดแู ลของนักเรยี นหากสญู หาย โรงเรียนจะไม่รบั ผิดชอบไมว่ า่ กรณีใด ๆ ทั้งส้ิน ๑๙.๓ นกั เรียนต้องต้งั ใจเรยี น ฟงั คำอธบิ ายของครูด้วยความสงบเรยี บรอ้ ย โดยไม่ลุกจากทีน่ ่ัง หากไมไ่ ดร้ ับอนุญาตจากครูผ้สู อน ๑๙.๔ หากมขี อ้ สงสัยจะถามครูต้องยกมอื ข้ึนขออนุญาต เมื่อได้รบั อนญุ าตแล้ว ใหย้ นื ข้ึนถามหรอื แสดงความคิดเหน็ ๑๙.๕ ห้ามส่งเสียงดงั เดินพลกุ พล่านในห้องเรียนโดยพลการ นั่งหนั หลังให้ครู หรือหลบั ในหอ้ งเรียน ถือวา่ ไม่สนใจการเรยี นจะได้รับการพจิ ารณาโทษตามควร ๑๙.๖ ห้ามลุกออกจากห้องเรียนก่อนได้รบั อนุญาต ๑๙.๗ ถา้ ครูประจำวิชาไม่เข้าสอนภายใน ๑๐ นาที ให้หัวหน้าห้องไปแจ้งครปู ระจำวิชาถ้าไม่พบใหไ้ ปแจง้ หัวหน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้ของครผู สู้ อนในรายวชิ าน้นั หรือรองผูอ้ ำนวยการ กลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ ๑๙.๘ ห้ามเล่นการพนนั ทกุ ชนิดและนำสื่อลามกเขา้ มาในโรงเรยี น ๑๙.๙ หา้ มทำลายอปุ กรณ์ เครือ่ งใชใ้ นอาคารเรียน เช่น โตะ๊ เกา้ อ้ี กระจก ประตู หนา้ ต่าง หรือขีดเขยี นให้สกปรก ถือว่าเป็นความผิด จะต้องชดใช้และซ่อมแซมตามท่โี รงเรียนกำหนด ข้อ ๒๐ การเรียน การใช้หอ้ งเรียน และหอ้ งพักครู ๒๐.๑ ในระหวา่ งเวลาเรยี นนกั เรียนต้องอยู่ในห้องเรยี น จะออกจากห้องเรียนไปอยู่ทีอ่ ่นื ไมไ่ ด้ เวน้ แตไ่ ด้รับอนุญาตจากครผู ู้สอน ๒๐.๒ ขณะทคี่ รปู ระจำวิชายังไม่เขา้ สอน ห้ามออกนอกห้องเรยี น ถ้ามีความจำเป็นให้ขออนญุ าต หวั หนา้ ห้อง เพ่อื แจ้งชอื่ ครูท่ปี รกึ ษาหรือครูประจำวิชา

68 ๒๐.๓ ผู้ทไี่ มเ่ ข้าเรียน หรอื หนีเรยี นในช่ัวโมงใดช่วั โมงหนึ่ง ถือวา่ มคี วามผดิ อยา่ งรา้ ยแรงจะตอ้ ง ได้รับ การพจิ ารณาโทษ ๒๐.๔ ขณะทคี่ รปู ระจำวชิ าสอนอยู่ ถ้ามีความจำเป็นท่ีจะต้องออกนอกหอ้ งเรียนต้องขออนญุ าต ครูผสู้ อนประจำวชิ า ๒๐.๕ ถา้ นักเรยี นขาดเรยี นติดตอ่ เปน็ เวลา ๓ วนั โดยไม่ลา ให้ครูที่ปรึกษาแจ้งใหผ้ ้ปู กครองทราบ ๒๐.๖ ถ้านกั เรียนมคี วามจำเป็นท่ีจะเข้าหอ้ งพกั ครู ต้องขออนุญาตกอ่ น หา้ มเข้าโดยพลการ ๒๐.๗ หา้ มเลน่ กีฬาบางชนิดในหอ้ งเรียนและบนอาคารเรียน เชน่ ฟุตบอล บาสเก็ตบอล วอลเลยบ์ อล ฯลฯ หรือกีฬาท่ีเกิดความรนุ แรงอนั จะส่งผลใหเ้ กิดความเสยี หายแกห่ อ้ งเรียนและอาคารเรียน ๒๐.๘ ห้ามจำหนา่ ยหรือเสพสารเสพติดทุกชนิดท้งั ในและนอกสถานศึกษา ขอ้ ๒๑ การลา ๒๑.๑ การหยดุ โรงเรยี นทกุ คร้ังตอ้ งส่งใบลาและมีคำรบั รองจากผูป้ กครองทุกคร้งั ๒๑.๒ การยน่ื ใบลาป่วย ใหย้ ่ืนในวันแรกที่มาโรงเรียน ถ้าป่วยหนกั จะต้องมใี บรับรองแพทย์ มฉิ ะน้ันทางโรงเรียนจะออกหนงั สือแจง้ ผปู้ กครอง และเมื่อผูป้ กครองไดร้ บั หนังสือ จากทางโรงเรียนจะต้องติดต่อกลบั ๒๑.๓ การลาเป็นสิทธสิ ว่ นบุคคลจะทำแทนกันไม่ได้ เวน้ แต่จะฝากใบลามากับคนอ่ืนกไ็ ด้ ๒๑.๔ นักเรียนขาดโรงเรียนเกิน ๑๕ วันทำการ เม่ือโรงเรยี นตดิ ต่อกับผู้ปกครองแลว้ ผปู้ กครองไม่มาแจง้ เหตผุ ลในการขาดเรยี นให้ทางโรงเรียนทราบ ทางโรงเรยี น จะคัดชื่อออกจากทะเบยี นโรงเรยี น

69 หมวดท่ี ๓ การดำเนินการทางวนิ ัย ขอ้ ๒๒ นกั เรียนประพฤติตนเส่อื มเสยี ชอื่ เสียงของโรงเรียน เป็นความผิดวินัยอยา่ งรา้ ยแรง ข้อ ๒๓ นักเรยี นขัดขืนหลกี เลี่ยง ไม่ปฏบิ ตั ิตามคำสง่ั ครู หรือคำสัง่ โรงเรยี น จนเกดิ ความเสยี หายแกโ่ รงเรยี น เปน็ ความผิดวนิ ัยอยา่ งร้ายแรง ขอ้ ๒๔ นกั เรยี นแจง้ ความเท็จต่อครูหรือผบู้ ริหาร ทำใหเ้ กิดความเสยี หายแก่ส่วนรวมเป็นความผิดวินัยอย่างรา้ ยแรง ขอ้ ๒๕ นักเรียนแตง่ กายเครอื่ งแบบนกั เรียนไม่เรียบร้อย หรอื ประพฤติตนไม่เหมาะสมขณะอย่ใู นเครอ่ื งแบบนักเรียน ใหป้ รากฏในทส่ี าธารณะจนเกิดความเสื่อมเสยี เกยี รตคิ ุณของโรงเรยี น เป็นความผิดวินัยอยา่ งรา้ ยแรง ขอ้ ๒๖ นกั เรยี นทำลายทรัพย์สนิ หรือทรพั ย์สมบัติของโรงเรยี นเสียหาย เปน็ ความผดิ วนิ ัยอย่างรา้ ยแรง ขอ้ ๒๗ นกั เรียนประพฤตติ นตอ่ บิดา มารดา ผู้ปกครองหรือครูอย่างใด อยา่ งหนง่ึ ดังต่อไปนถ้ี อื เป็น ความผดิ วินัยอย่างร้ายแรง (๑) กลา่ วคำหยามหมิ่นประมาทกา้ วรา้ วตอ่ บดิ า มารดา ครู ผปู้ กครอง (๒) ทำรา้ ยร่างกาย หรอื แสดงท่าทางจะทำร้ายร่างกายบดิ า มารดา ผ้ปู กครองหรือครู (๓) หลบหลกี ขดั ขืน เม่ือครูลงโทษตามระเบยี บของโรงเรียน (๔) นกั เรยี นทะเลาะวิวาท ชกตอ่ ยกนั โดยใชอ้ าวุธหรือไม่กต็ ามเปน็ ความผิดวินยั อย่างรา้ ยแรง (๕) นักเรยี นร่วมกนั ก่อเหตุทะเลาะวิวาททำรา้ ยบคุ คลอน่ื ใหไ้ ดร้ ับบาดเจบ็ เป็นความผิดวินัย อย่างร้ายแรง ข้อ ๒๘ นักเรยี นประพฤตอิ ย่างใดอย่างหนึง่ ต่อไปน้ถี ือเป็นความผิดวนิ ยั อย่างรา้ ยแรง (๑) จำหน่าย ซื้อ แลกเปลี่ยน ยาเสพตดิ เสพสุรา บุหรห่ี รือมีไว้ในครอบครอง (๒) เล่นการพนนั หรือจัดใหม้ กี ารเลน่ การพนันทุกชนิด (๓) ลกั ทรพั ย์ ข่มขู่ หรือรีดไถเงนิ สิง่ ของจากผอู้ ื่น (๔) กระทำการใด ๆ ทกี่ ่อใหเ้ กิดการแตกแยกในหมู่คณะทงั้ ในสถานศึกษาหรอื นอกสถานศึกษา

70 (๕) พกพาอาวธุ หรือวัตถเุ ทียมอาวุธ วัตถรุ ะเบิด มาโรงเรยี นหรือนอกโรงเรียน (๖) คา้ หรอื เป็นธรุ ะจดั หาเกยี่ วกับการค้าประเวณี (๗) แสดงพฤตกิ รรมทางชสู้ าว (๘) ขดั คำส่ัง หรอื หลีกเลีย่ งไมป่ ฏิบัติตามคำสงั่ ของครู ผู้บรหิ าร ซ่งึ สงั่ ดว้ ยชอบตามระเบียบแบบแผนของโรงเรยี น (๙) นักเรียนกระทำความผดิ อาญาจนมีคดีความ หมวดท่ี ๔ การลงโทษและการพจิ ารณาโทษนกั เรียน เพอื่ ใหเ้ กิดความสงบเรยี บร้อยภายในโรงเรยี น รวมทงั้ ปอ้ งกันเหตรุ า้ ยทีจ่ ะเกิดขึ้น โรงเรยี นหนองไผจ่ ึงได้กำหนด บทลงโทษนักเรยี นทกี่ ระทำความผดิ ตามระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการว่าดว้ ยการลงโทษนักเรียนนกั ศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ ดงั ต่อไปนี้ ข้อ ๒๙ การลงโทษนักเรียนท่ีกระทำความผิดมโี ทษ ๔ สถาน ดงั นี้ (๑) ว่ากล่าวตกั เตือน (๒) ทำทณั ฑบ์ น (๓) ตดั คะแนนความประพฤติและบันทึกข้อมูล (๔) ทำกิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การลงโทษนักเรียนใหเ้ ป็นไปเพ่ือเจตนาทีจ่ ะแก้นิสยั และความประพฤติไมด่ ีของนักเรยี นใหร้ ูส้ ำนึกใน ความผิดและกลับประพฤตติ นในทางทดี่ ีตอ่ ไป ข้อ ๓๐ เมอื่ นักเรียนกระทำความผิดระเบียบ ข้อบงั คับของโรงเรียนใหม้ กี ระบวนการพิจารณาโทษนักเรยี น ดังนี้ (๑) การกระทำผดิ คร้ังแรกไม่ร้ายแรง ใหค้ รทู ่ีพบเหน็ ว่ากลา่ วตักเตือนหรือทำโทษตามควรแกก่ รณี และรายงานใหค้ รูทป่ี รึกษาทราบเพอ่ื บนั ทกึ เป็นข้อมลู (๒) กระทำผดิ ซ้ำอีกและไมร่ ้ายแรง ครูท่ปี รึกษาลงโทษ และทำทัณฑบ์ นไว้ทกี่ ลุม่ บรหิ ารงาน กจิ การนักเรยี น เพอ่ื ตัดคะแนนความประพฤติ แล้วแจ้งให้ผู้ปกครองทราบ

71 (๓) กระทำความผิดรา้ ยแรง ครูที่ปรึกษา หวั หนา้ ระดบั ลงโทษ ทำทณั ฑบ์ น ตัดคะแนน ความประพฤติและทำกจิ กรรมตามท่ีกำหนด แล้วแจ้งผู้ปกครองทราบ (๔) นักเรยี นกระทำความผดิ ซ้ำอีก ในการกระทำกรณีเดียวกัน หรือหลายกรณีร้ายแรง หรอื ไม่รา้ ยแรงกต็ าม ครูทปี่ รึกษา หัวหน้าระดบั ชัน้ ลงโทษทำทณั ฑ์บน ตดั คะแนนความประพฤติ ทำกจิ กรรมและแจง้ ผปู้ กครอง (๕) เมอื่ ดำเนนิ ตามข้อ ๓ และข้อ ๔ นักเรยี นยังกระทำผดิ อีก ครทู ีป่ รึกษาหรือหวั หนา้ ระดบั รายงาน หวั หน้ากลมุ่ บริหารงานกจิ การนักเรยี น เพ่ือทางกลุม่ บรหิ ารงานกจิ การนักเรียน จะไดด้ ำเนนิ การ ตอ่ ไป หรือสง่ ต่อให้ผู้อำนวยการโรงเรียนพจิ ารณาโทษสูงสดุ ตามความเหมาะสม ขอ้ ๓๑ เมือ่ นักเรยี นกระทำผิดวนิ ยั อยา่ งร้ายแรง ให้คณะกรรมการกลุ่มบรหิ ารงานกจิ การนักเรียนสืบหา ข้อเท็จจรงิ หาก ผลการสบื สวนปรากฏชดั เจนวา่ ผิดจรงิ คณะกรรมการกลุม่ บรหิ ารงานกิจการนักเรยี น ประชมุ เพ่ือพจิ ารณาโทษแลว้ เสนอ ผูอ้ ำนวยการสถานศึกษาทราบเพ่ือพิจารณาสั่งการ ขอ้ ๓๒ ผ้มู อี ำนาจในการลงโทษ ๑. รองผูอ้ ำนวยการทกุ กล่มุ หัวหน้าระดับชัน้ ทุกระดบั และครูที่ทำการสอนทุกคน ลงโทษ ตามข้อ ๒๙ (๑ - ๔) ๒. คณะกรรมการกลุ่มบริหารงานกิจการนักเรียน รองผูอ้ ำนวยการกลมุ่ บริหารงานกิจการนักเรยี นลงโทษตามขอ้ ๒๙ (๑) - (๔) ขอ้ ๓๐ (๑) - (๕) ๓. ผอู้ ำนวยการสถานศึกษาลงโทษไดท้ ุกกรณแี ละพจิ ารณาโทษสงู สุดตามความเหมาะสม ๔. การลงโทษนกั เรยี นทกุ คร้ังให้บนั ทึกตามแบบฟอร์มที่กลุ่มบรหิ ารงานกิจการนักเรียนกำหนด พร้อมท้ังรายงานให้ผ้อู ำนวยการสถานศกึ ษาทราบ ขอ้ ๓๓ คะแนนและการลงโทษตดั คะแนนความประพฤติของนักเรยี น นกั เรยี นทุกคนท่ศี ึกษาอย่ใู นโรงเรยี นหนองไผ่ มีคะแนนความประพฤติ ๑๐๐ คะแนน และหากนกั เรยี นกระทำผิด ระเบยี บข้อบงั คับของโรงเรยี นจะต้องถกู ลงโทษ ตดั คะแนนความประพฤติตามตารางท่ีกำหนด ซึง่ มีเกณฑก์ ารพจิ ารณาตาม ความผดิ แล้วแต่กรณี ดงั นี้

72 ๑. นักเรยี นทถี่ ูกตัดคะแนนความประพฤติ ๒๐ คะแนนหรืออยู่ในดุลยพนิ ิจของโรงเรยี น จะเชิญผู้ปกครองมาพบ พรอ้ มบนั ทึกข้อมูลและร่วมกันแก้ไขความประพฤติของนักเรียน ๒. นกั เรียนทถี่ ูกตดั คะแนนความประพฤติ ๓๐ คะแนนขน้ึ ไป โรงเรยี นจะเชิญผูป้ กครองมาพบ เพอื่ ทำทัณฑบ์ น ทำกจิ กรรมเพือ่ ปรับเปลีย่ นพฤติกรรมพร้อมบนั ทึกข้อมลู ไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน ๓. นกั เรยี นทถ่ี ูกตดั คะแนนความประพฤติตง้ั แต่ ๔๐ คะแนนขน้ึ ไป หากปรากฏวา่ นักเรียน ประพฤติเส่อื มเสียช่อื เสยี งของโรงเรียนจะแจ้งให้ผปู้ กครองทราบและอาจให้ยา้ ยสถานศึกษา ๔. นักเรยี นที่ถูกตัดคะแนนความประพฤติ ๕๐ คะแนนขึน้ หากปรากฏวา่ นักเรยี นประพฤติ เสื่อมเสียชอ่ื เสียง และผดิ วนิ ัยอยา่ งรา้ ยแรง โรงเรยี นจะแจง้ ให้ผปู้ กครองทราบและ ใหผ้ ูอ้ ำนวยการสถานศกึ ษาพจิ ารณาโทษสงู สดุ ตามความเหมาะสม การลงโทษโดยใช้วธิ กี ารทำกิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของโรงเรยี นหนองไผ่ การทำกิจกรรม คือ การทำกิจกรรมเพ่ือให้ปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมของนกั เรียน ตอ้ งทำทุกกิจกรรมทก่ี ำหนดในแต่ละ ระดบั ชั้น หรือตามความเหมาะสมของความผิด กิจกรรมท่ี ๑ หมายถงึ กจิ กรรมพฒั นาโรงเรียนรอบๆ อาคารต่าง ๆ การพัฒนาบคุ ลกิ ภาพเป็นกิจกรรมทีค่ รสู ามารถให้ นกั เรียนปฏิบตั ิไดท้ ันทีและถกู ตัดคะแนน ๑ – ๑๐ คะแนน ไดแ้ ก่ ๑. เกบ็ ขยะภายในโรงเรยี น หรือรอบ ๆ อาคารตา่ ง ๆ ๒. ทำความสะอาดห้องเรียน อาคารเรยี นหรอื บริเวณภายในโรงเรียน ๓. ว่ิงรอบสนาม ดนั พน้ื หรือวง่ิ อย่กู บั ที่ตามความเหมาะสม กจิ กรรมท่ี ๒ หมายถึงกิจกรรมการพฒั นาบรเิ วณโรงเรียน การพฒั นาบคุ ลิกภาพ และสตปิ ญั ญาเป็นกจิ กรรมที่ครอู าจจะนดั หมายให้นักเรียนมาปฏิบตั ติ ามเวลาทกี่ ำหนด เนื่องจากเปน็ การกระทำความผดิ ระดับกลางและถูกตดั คะแนน ๑๑ – ๑๙ คะแนน ได้แก่ ๑. พฒั นา ทำความสะอาดภายในอาคารเรียนตามที่ครกู ำหนดในเวลา ๕ วนั ทำการ ๒. เกบ็ เศษขยะ เศษวัสดุอน่ื ๆ ภายในโรงเรยี นตามที่ครกู ำหนดในเวลาหลังเลกิ เรียนเปน็ เวลา ๕ วัน ทำการ

73 ๓. ทำรายงานตามหัวข้อที่ครูกำหนดเพ่อื พัฒนาสตปิ ัญญา ความยาว ๑ - ๒ หนา้ กระดาษหรอื รายงานข่าววนั ละ ๑ - ๒ ข่าว บรเิ วณหน้าเสาธงเปน็ เวลา ๕ วันทำการ กิจกรรมท่ี ๓ หมายถึงกจิ กรรมพฒั นาบรเิ วณโรงเรียน พัฒนาบุคลิกภาพและสตปิ ัญญาเป็นกจิ กรรม ท่ีครอู าจจะ นดั หมายให้นักเรียนปฏิบตั ิตามกำหนดเวลาที่กำหนด เนอื่ งจากเปน็ การกระทำความผิดร้ายแรงและถกู ตดั คะแนน ๒๐ คะแนนขึน้ ไป ไดแ้ ก่ ๑. ลา้ งหอ้ งนำ้ ครู - นักเรยี น จำนวน ๕ – ๑๐ ห้อง เป็นเวลา ๕ วนั ทำการ ๒. พฒั นาโรงเรยี นหรอื สาธารณะสมบัตติ ามที่กำหนดในวนั หยุดราชการ (เสาร์ – อาทติ ย์) เป็นเวลา ๖ วัน ๓. เก็บเศษขยะหรือเศษวสั ดุอนื่ ภายในโรงเรียนตามท่ีครกู ำหนด ในเวลาหลังเลกิ เรียนเปน็ เวลา ๑๐ วนั ทำการ

74 ตารางกำหนดการลงโทษ และตดั คะแนนความประพฤติของนักเรียน โรงเรียนหนองไผ่ อำเภอหนองไผ่ จงั หวัดเพชรบูรณ์ สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษาเพชรบูรณ์ ประเภทความผดิ วินัยนกั เรียนไม่รา้ ยแรง ลำดั ครงั้ ท่ี ๑ ครง้ั ที่ ๒ ครง้ั ที่ ๓ หมายเหตุ บท่ี ประเภทความผิด คะแน ทำ คะแน ทำ คะแน ทำกิจกรรม น กจิ กรรม น กจิ กรรม น ๑ มาโรงเรยี นสาย เตอื น - ๒๑ ๔๒ ๒ แต่งกายผิดระเบยี บ เตือน - ๓๑ ๕๒ ๓ ไวผ้ มยาว/ทรงผมผิดระเบยี บ เตอื น - ๓๑ ๕๒ ๔ หนเี รียน ๕๑ ๗๒ ๒๐ ๔ ๕ หนีการเข้าแถว/ไม่ร่วม ๕๒ ๑๐ ๓ ๑๕ ๔ กจิ กรรม ๖ ใชโ้ ทรศัพท์โดยไมไ่ ดร้ บั ๑๐ ๒ ๒๐ ๔ ๓๐ ๕ อนญุ าต ๗ ขับข่ียานพาหนะในบรเิ วณ ๕ ๒ ๑๐ ๓ ๒๐ ๕ โรงเรยี นหรือพ้ืนทหี่ ้ามนกั เรยี น ขบั ขเ่ี วลาทำการ

75 ประเภทความผดิ วนิ ัยนักเรยี นร้ายแรง ลำดั ครง้ั ที่ ๑ ครั้งท่ี ๒ ครง้ั ที่ ๓ หมายเหตุ บท่ี ประเภทความผิด คะแน ทำ คะแน ทำ คะแน ทำกิจกรรม น น กจิ กรรม น กิจกรรม ๑ สบู บุหร่/ี เท่ียวกลางคืน ๑๐ ๒ ๑๕ ๔ ๒๐ ๖ ๒ ดืม่ สรุ า ๒๐ ๓ ๒๕ ๒ ๓๐ ๖ ๓ ก่อการทะเลาะวิวาททัง้ ใน ๒๐ ๔ ๒๕ ๖ ๓๐ ๖ และนอกโรงเรียน ๑๐ ๓ ๑๕ ๔ ๒๐ ๕ ๔ ขาดโรงเรียนโดยไม่มีเหตผุ ล ๕๓ ๑๕ ๔ ๒๐ ๕ ๕ ขดั คำสั่งครูที่สั่งโดยชอบด้วย ๕๒ ๑๐ ๓ ๑๕ ๔ ระเบยี บแบบแผนข้อบังคับ ๑๐ ๔ ๒๐ ๕ ๓๐ ๖ ของโรงเรียน ๕๒ ๑๐ ๔ ๒๐ ๕ ๖ ไม่ใหค้ วามเคารพครู ๒๐ ๔ ๓๐ ๕ ๕๐ ๖ ๒๐ ๔ ๔๐ ๖ ส่งต่อให้ผอู้ ำนวยการ ๗ หนอี อกจากบริเวณโรงเรียน โรงเรียนพจิ ารณาโทษ ในเวลาเรยี น ๒๐ ๔ ๔๐ ๖ สงู สุด ๘ ชสู้ าว ส่งต่อให้ผอู้ ำนวยการ โรงเรียนพจิ ารณาโทษ ๙ ทำลายชื่อเสียงของโรงเรียน สูงสุด ๑๐ พูดจาหยาบคายทำตนเป็น อนั ธพาล กระทำ อนาจาร ๑๑ พาพาอาวธุ หรือวัตถเุ ทียม อาวุธมาโรงเรยี น

76 ลำดั ครงั้ ท่ี ๑ ครั้งท่ี ๒ ครง้ั ที่ ๓ หมายเหตุ บที่ คะแน ทำ ประเภทความผดิ คะแน ทำ น กิจกรรม คะแน ทำกิจกรรม น กิจกรรม ๔๐ ๖ น ๑๒ ดูหมน่ิ ก้าวร้าวตอ่ ครู ๒๐ ๔ ๔๐ ๖ ส่งต่อให้ผู้อำนวยการ โรงเรียนพจิ ารณาโทษ ๔๐ ๖ สงู สุด ๑๓ ทำลายทรัพยส์ นิ ของโรงเรียน ๒๐ ๔ ส่งต่อให้ผอู้ ำนวยการ ครู นักการฯและนกั เรยี น โรงเรยี นพจิ ารณาโทษ สงู สุด ๑๔ ขโมยทรัพยส์ ินหรือรดี ไถผ้อู ื่น ๒๐ ๔ สง่ ต่อให้ผู้อำนวยการ โรงเรยี นพจิ ารณาโทษ สูงสุด ๑๕ เล่นพนนั ทกุ ชนดิ ๒๐ ๔ ๔๐ ๖ ส่งตอ่ ให้ผู้อำนวยการ โรงเรียนพจิ ารณาโทษ สงู สดุ ๑๖ นำบคุ คลภายนอกเขา้ มามั่วสุม ๒๐ ๔ ๔๐ ๖ สง่ ตอ่ ให้ผู้อำนวยการ ในโรงเรยี น โรงเรียนพจิ ารณาโทษ สงู สดุ ๑๗ เสพยาหรอื ตดิ ยาเสพตดิ ๓๐ ๔ ๕๐ ๖ สง่ ต่อให้ผู้อำนวยการ โรงเรยี นพจิ ารณาโทษ สงู สุด ให้เข้ารบั การพักฟนื้ (รักษา) ๑๘ มยี าเสพติดไวใ้ นครอบครอง สง่ ต่อให้ผู้อำนวยการโรงเรียนพิจารณาโทษสูงสดุ เพ่ือจำหนา่ ย

77 ลำดั ครัง้ ที่ ๑ คร้ังที่ ๒ ครั้งท่ี ๓ หมายเหตุ บท่ี ประเภทความผดิ คะแน ทำ คะแน ทำ คะแน ทำกจิ กรรม น กจิ กรรม น กิจกรรม น ๑๙ ประพฤติผิดรา้ ยแรงในทางชู้ สง่ ตอ่ ให้ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นพิจารณาโทษสงู สดุ สาว ประกาศ ณ วนั ที่ ๑ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ ลงชื่อ ( นายพัชรนิ ภ่ชู ยั ) ผู้อำนวยการโรงเรยี นหนองไผ่ แนวปฏิบตั ิในการขอหนังสือรับรองความประพฤตนิ ักเรยี น โรงเรียนหนองไผ่ สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษาเพชรบูรณ์

78 หลักฐานท่ใี ช้ 1. แบบคำรอ้ งขอหนังสือรับรองความประพฤตินักเรยี น 2. รูปถา่ ยนักเรยี นทีถ่ ่ายไว้ไม่เกนิ 6 เดือนขนาด 1.5 นว้ิ จำนวน 1 รปู /หนังสอื 1 ฉบับ 3. รา่ งตัวอย่างหนังสอื รับรองความประพฤติ (กรณีทไี่ ม่ใช่รูปแบบทโ่ี รงเรียนกำหนด) ขั้นตอนการดำเนนิ การ 1. รับใบคำรอ้ งขอหนังสือรับรองความประพฤติท่ีงานวินัยนกั เรยี น กลุม่ บริหารงานกจิ การนักเรยี นและเขยี นคำร้อง ให้ครบตามรายการที่กำหนด ลงชอื่ ผยู้ น่ื คำร้องพร้อมระบุเหตุผลท่ขี อหนังสือรบั รองความประพฤตินกั เรียน ทั้งนตี้ ้องให้ครูที่ ปรึกษาลงนามในแบบคำร้องขอหนังสือรับรองความประพฤติดว้ ย 2. ย่นื คำรอ้ งท่ีกรอกข้อมลู แล้ว พรอ้ มรปู ถ่าย ใหเ้ จ้าหนา้ ทงี่ านวนิ ยั นกั เรียน กลุ่มบริหารงานกิจการนักเรยี น ตรวจสอบความถูกตอ้ ง สง่ คำร้องลว่ งหนา้ อย่างน้อย 5 วนั ทำการ (ไม่นับวันหยุดราชการ) กอ่ นรับใบรบั รอง โดยรูปถ่ายทีใ่ ช้ ทำใบรบั รองความประพฤตติ ้องถูกต้องตามระเบียบ ดังนี้ 2.1 กรณีนกั เรยี นกำลังศึกษาอยู่ รูปถ่ายที่ใช้จดั ทำใบรบั รองความประพฤติต้องเป็นรปู ถา่ ยชุดนกั เรียน ไม่ สวมหมวก ไมส่ วมแว่นตา และเครื่องประดับ ทรงผมถูกต้องตามระเบยี บของโรงเรียนพ้นื หลังรูปสีฟา้ ขนาด 1.5 นว้ิ หรอื 3 x 4 เซนตเิ มตร รปู ถ่ายมอี ายไุ ม่เกนิ 6 เดือน โดยมขี ้อควรระวงั ดงั นี้ 3. รับหนงั สอื รบั รองความประพฤติท่ยี ่ืนคำรอ้ งขอไวโ้ ดยลงช่ือรบั ทกุ ครั้ง ในเลม่ บันทึกการรับใบรับรอง ความประพฤตนิ ักเรยี นต้องรับด้วยตัวเอง ไม่อนญุ าตใหเ้ พื่อนรบั แทน ยกเวน้ ผู้ปกครองตดิ ตอ่ รับใบรบั รอง ความประพฤติแทนนกั เรียน ขอให้แสดงบตั รประชาชน แก่เจ้าหน้าท่ีงานวนิ ยั นกั เรียน กลุ่มบรหิ ารงานกจิ การนกั เรียน **หมายเหตุ** 1. ให้กรอกรายละเอียดในแบบคำรอ้ งขอหนังสือรับรองความประพฤติดว้ ยตัวบรรจงเพื่อป้องกัน ข้อมลู ผดิ พลาดและกรอกหมายเลขโทรศพั ท์สำหรับตดิ ต่อกลับ 2. กรณงี านวินยั นักเรียน กลุม่ บริหารงานกจิ การนักเรยี น ไม่สามารถดำเนินการจัดทำเอกสาร ใหท้ นั ตามกำหนดเวลา นักเรียนอาจได้รบั ใบรบั รองความประพฤตชิ า้ กวา่ กำหนดเลก็ น้อย

แผนผงั ขัน้ ตอนการขอหนังสือรบั รองความประพฤตนิ ักเรียน 79 โรงเรยี นหนองไผ่ สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาเพชรบรู ณ์ กรณีเอกสารไม่เรยี บร้อย นักเรียนหรอื ผ้ปู กครองส่งใบคำร้อง จะถกู ส่งกลับ ขอหนงั สอื รับรองความประพฤติ นกั เรียนพรอ้ มรปู ถ่าย เจ้าหน้าทีต่ รวจสอบความถกู ตอ้ งของ ข้อมูลท่ีกรอกในใบคำร้องฯและ ตรวจสอบรูปถา่ ย จดั ทำหนงั สือรับรองความประพฤติ นักเรียนพรอ้ มติดรปู ถ่ายและ เสนอผ้บู ริหารลงนาม ประทบั ตราโรงเรยี น นักเรียน/ผ้ปู กครองติดตอ่ รับเอกสาร หมายเหตุ พร้อมลงช่ือรับ - หนังสอื รบั รองความประพฤติจะใช้เวลาดำเนินการประมาณ 3-5 วนั ทำการ - กรณเี อกสารเร่งดว่ น สามารถติดต่อเจ้าหน้าที่ไดโ้ ดยตรง จะพิจารณาเป็นกรณี

80 ระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น งานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน โรงเรยี นหนองไผ่ งานระบบการดูแลช่วยเหลือนกั เรียนโรงเรยี นหนองไผ่ ได้ ดำเนนิ การพัฒนาระบบการดูแลชว่ ยเหลือ นกั เรียนให้มปี ระสิทธิภาพ พฒั นาให้เปน็ ผู้รู้ มีความถนดั ความสามารถ ความ สนใจของตนเอง รู้จดุ เด่นจดุ ด้อย กลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสมและสรา้ งสรรค์ สามารถวิเคราะห์ ตดั สนิ ใจ ชว่ ยเหลือและ แก้ปัญหาตา่ งๆได้ดว้ ย ตนเอง อกี ทงั้ มที ักษะชวี ิตสามารถอยู่ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุขและปลอดภัย โดยมกี ระบวนการ ขนั้ ตอนการ ดำเนินงาน ดังนี้

81 1. จัดครูท่ีปรกึ ษาตามคุณสมบัติของครทู ปี่ รึกษา ใหส้ อดคลอ้ งกบั แผนการเรยี นของนกั เรียนแตล่ ะกลุ่ม 2. ครทู ป่ี รกึ ษาปฏบิ ตั ิหน้าที่กรอบงานตามแผนภมู ิ โดยดูแลนกั เรียนด้วยความรัก ความเอาใจใส่ ประสาน ความสมั พนั ธ์กับผ้ปู กครองนกั เรียนอยูเ่ สมอ เพื่อพฒั นาสง่ เสรมิ นักเรียนและช่วยเหลอื ป้องกันแก้ไข ปญั หาต่างๆทีเ่ กดิ ขึน้ 3. มกี จิ กรรมต่างๆ เพื่อดูแลช่วยเหลอื นักเรียนใหม้ ีสวัสดภิ าพ ความปลอดภัยและมีทักษะการดำรงชีวิต สามารถ ดแู ลตนเองได้ ใช้ชวี ิตอย่ใู นสังคมอยา่ งมีความสขุ ดังน้ี 3.1 กิจกรรมเยยี่ มบา้ นนักเรียน เพ่ือรจู้ ักนักเรียนเปน็ รายบุคคลใหม้ ากยิ่งขึน้ อกี ทัง้ ยงั สร้างความสัมพนั ธ์ท่ี ดีระหว่างบา้ นกับทางโรงเรยี นอกี ด้วย โดยครทู ่ีปรึกษาลงพน้ื ที่เย่ียมบ้านนกั เรียนครบ ๑๐๐% สรุปเป็นรูปเล่มส่งงานระบบฯ 3.2 กิจกรรมทุนการศึกษา เพื่อสรา้ งโอกาสทางการศกึ ษาท่ีดีใหก้ ับนกั เรยี น โดยงานระบบฯ มี ทุนการศึกษาท่ีหลากหลายตามความต้องการของนกั เรยี น เชน่ - ทนุ กยศ. สำหรบั นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 - ทนุ เรยี น ฟรีตลอดหลักสตู ร - ทนุ เรยี นดี ขาดแคลนทนุ ทรพั ย์ - ทุนนักเรียนประพฤติดี มีคณุ ธรรมและมีจิตอาสา - โครงการอาหาร กลางวัน 4. กำกบั ตดิ ตามนกั เรียนผา่ น NP-School App เพื่อตรวจสอบนกั เรยี นเขา้ โฮมรูม และสามารถติดตาม นกั เรยี นใน กรณไี ม่พึงประสงค์ตา่ งๆ 5. ใหค้ ำปรกึ ษานักเรียนในทุกด้านจากครูที่ปรกึ ษา หวั หนา้ ระดบั ครนู กั จิตวทิ ยาประจำโรงเรียน ในกรณที ี่ พฤติกรรมนกั เรียนไมด่ ีข้นึ งานระบบฯจะส่งต่อไปยังหนว่ ยงานภายนอกทีเ่ กย่ี วข้องกับพฤตกิ รรม นกั เรยี นเพ่ือดแู ลชว่ ยเหลอื และแก้ไขปัญหาต่อไป 6. ประสานความรว่ มมือในการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนกบั กลุ่มบริหารงานท้งั 6 กลมุ่ งาน

82 งานสวสั ดกิ ารนักเรียน(ประกนั ชีวิต) 1. งานประกันอุบตั ิเหตุ 1.1 ประชาสมั พันธก์ ารประกันอบุ ัตเิ หตุกบั บรษิ ัทประกันภัย ทใ่ี หค้ วามคุ้มครองและสิทธปิ ระโยชนส์ งู สุดแก่ โรงเรียนนักเรยี นและบคุ ลากรในโรงเรียน 1.2 ประสานงานกับบริษทั ประกันภยั จัดทำแบบฟอรม์ ตา่ ง ๆ เกีย่ วกับการรบั ค่าสนิ ไหมทดแทนของนกั เรียน ตลอดจนบุคลากรในโรงเรียน เพ่ือเปน็ หลักฐานในการใหบ้ ริการและการรายงานผล 1.3 ประชาสมั พนั ธใ์ ห้ผู้ปกครอง นกั เรยี น บคุ ลากรในโรงเรียนทราบเก่ียวกับเงือ่ นไขและแนวปฏิบตั ใิ นการบรกิ าร ทง้ั ทโ่ี รงพยาบาล/โรงเรียน รวมทัง้ การรับเงินคา่ สนิ ไหมกรณีมอี บุ ัตเิ หตุ 1.4 ประสานงานกับผ้ปู กครองและบรษิ ัทประกนั ภยั เปน็ กรณีพเิ ศษ เพ่ือรบั เงินคา่ สินไหมทดแทนในกรณีเสียชีวติ และเจ็บป่วย 1.5 ประสานงานกับบริษัทประกนั ภัยหรอื วทิ ยากรใหค้ วามรู้เกี่ยวกับการประกันอบุ ัตเิ หตุแกน่ ักเรยี นและบุคลากร ในโรงเรยี น 1.6 ประเมินผลและสรปุ รายงานผลประจำปี 2. สวัสดิการเสริมสรา้ งขวญั และกำลังใจแกน่ กั เรยี น 2.1 จัดบรกิ ารเยย่ี มแก่นักเรียนทีป่ ระสบอบุ ัตเิ หตุหรือเจ็บป่วย โดยครูที่ปรกึ ษาเปน็ ผ้รู ับดำเนนิ การ รายละ 200 บาท 2.2 จดั ทำรา่ งระเบียบสวสั ดิการโรงเรียนเสนอคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี นเพ่อื ประกาศใชแ้ ละเป็นหลักปฏิบัติ 2.3 ประเมิน สรปุ รายงานผลการดำเนนิ งานต่อผู้เกย่ี วข้อง

83 งานสภานักเรยี น ระเบยี บโรงเรยี นหนองไผ่ วา่ ด้วยการบริหารสภานักเรยี นโรงเรยี นหนองไผ่ พ.ศ. ๒๕๖๓ **************************** เพือ่ ให้การดำเนินการบริหารสภานักเรยี นของโรงเรียนหนองไผ่ เป็นไปตามกฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คับของทางราชการ ฉะนน้ั อาศยั อำนาจตามความในมาตร 39 (1) แหง่ พระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2546 ให้ไว้ ณ วันที่ 3 กรกฎาคม 2546 จงึ วางระเบียบว่าด้วยการบรหิ ารสภานกั เรียนโรงเรยี นหนองไผ่ ไว้ดงั น้ี ขอ้ 1 ระเบียบนเ้ี รียกว่า “ระเบยี บโรงเรยี นหนองไผว่ ่าด้วยการบรหิ ารสภานักเรยี นโรงเรียนหนองไผ่ พ.ศ. 2563” ขอ้ 2 ระเบียบนใี้ ห้ใชบ้ งั คับต้ังแต่ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 เป็นตน้ ไป ขอ้ 3 ให้ผอู้ ำนวยการโรงเรียนหนองไผ่ รองผู้อำนวยการกลมุ่ บริหารงานกจิ การนกั เรยี นและผ้ชู ่วยผ้อู ำนวยการกล บริหารงานกจิ การนักเรยี น รักษาการตามระเบยี บ ข้อ 4 ในระเบียบนี้ “โรงเรียน” หมายถึง โรงเรยี นหนองไผ่ สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 “นักเรียน” หมายถึง นกั เรยี นโรงเรยี นหนองไผ่ สำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 40 “สภานกั เรียน” หมายถึง สภานกั เรียนโรงเรยี นหนองไผ่ สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 40 “ครูทป่ี รึกษาสภานักเรียน” หมายถึง ครูที่ไดร้ บั การแต่งต้ังให้ปฏิบัตหิ น้าทคี่ ณะกรรมการงานส่งเสรมิ ประชาธิปไตย กลุม่ บรหิ ารงานกจิ การนกั เรียน โรงเรียนหนองไผ่ “ผอู้ ำนวยการโรงเรียน” หมายถึง ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนหนองไผ่ “พรรค” หมายถึง การรวมกล่มุ ของนักเรียนตงั้ แต่สองคนขึ้นไปเพ่ือสมัครเขา้ รับการเลอื กต้ังเปน็ สมาชิกสภาผแู้ ทน นกั เรยี น คณะกรรมการสภานักเรียน “ผ้สู มัครรบั เลือกต้งั ” หมายถึง ผสู้ มคั รรบั เลอื กตัง้ สมาชิกสภาผแู้ ทนนักเรียน “ผูม้ ีสิทธเิ ลอื กตงั้ ” หมายถึง นกั เรยี นโรงเรยี นหนองไผ่ สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 “การประชมุ ” หมายถึง การประชมุ สภานกั เรยี นซ่ึงประกอบไปดว้ ยสองสว่ นคือ การประชมุ สมาชิกสภาผ้แู ทน นักเรียนและการประชมุ คณะกรรมการสภานกั เรยี น โดยจะมีการประชุมร่วมกนั หรอื แยกกนั ประชุมก็ได้ทั้งนี้เป็นไปตามท่ี ระเบียบกำหนดไว้

84 “ท่ีประชุม” หมายถงึ สถานที่ท่ีกำหนดให้พจิ ารณาและให้ความเหน็ ชอบในญัตติตา่ ง ๆ “ประกาศโรงเรยี น” หมายถึง ประกาศโรงเรียนหนองไผ่ ข้อ 5 ใหม้ สี ภานกั เรยี น โดยมีวัตถปุ ระสงค์ ดงั น้ี (1) เพ่ือส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุขในโรงเรยี น (2) เพื่อใหน้ กั เรยี นได้มีสว่ นร่วมในการบรหิ ารกจิ กรรมของนกั เรยี น (3) เพื่อใหน้ ักเรยี นได้แสดงออกตามความสามารถอย่างสร้างสรรค์ (4) เพื่อให้นกั เรยี นไดเ้ รียนรูการทำงานร่วมกนั ตามวิถที างในระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตรษิ ท์ รงเป็น ประมขุ ขอ้ 6 สภานักเรียนประกอบด้วยสภาผแู้ ทนนกั เรยี นและคณะกรรมการสภานกั เรยี น สภานกั เรยี นจะประชุมรว่ มกัน หรอื แยกกนั ย่อมเปน็ ไปตามบทบญั ญตั ขิ องระเบียบต่าง ๆ ทีเ่ ก่ียวขอ้ ง ขอ้ 7 สภาผูแ้ ทนนกั เรยี นประกอบด้วยสมาชกิ จำนวนเจ็ดสิบหกคน ดงั นี้ (๑) สมาชิกซ่งึ มาจากการเลอื กต้ังแบบแบง่ เขตเลือกต้ังจำนวนหา้ สิบเอ็ดคน (๒) สมาชกิ ซง่ึ มาจากบัญชีรายช่อื ของพรรคจำนวนยสี่ บิ หา้ คน ในกรณีที่ตำแหนง่ สมาชิกสภาผู้แทนนักเรียนวา่ งลงไม่วา่ ดว้ ยเหตใุ ด และยังไมม่ ีการเลือกตงั้ หรอื ประกาศช่ือ สมาชิกสภาผู้แทนนักเรยี นขน้ึ แทนตำแหนง่ ท่ีว่าง ให้สภาผูแ้ ทนนักเรยี นประกอบดว้ ยสมาชกิ สภาผแู้ ทนนกั เรยี นเทา่ ทม่ี ีอยู่ ในกรณมี ีเหตใุ ด ๆ ท่ที ำใหส้ มาชิกสภาผู้แทนนกั เรียนแบบบัญชรี ายชอื่ มจี ำนวนไม่ถงึ ยี่สบิ หา้ คน ให้ สมาชกิ สภาผแู้ ทนนกั เรยี นแบบบัญชีรายชอ่ื ประกอบดว้ ยสมาชกิ เทา่ ท่ีมอี ยู่ ข้อ 8 ในการเลือกต้ังทัว่ ไป เมื่อมสี มาชกิ สภาผแู้ ทนนักเรียนไดร้ บั เลอื กตงั้ ถึงร้อยละเกา้ สิบหา้ ของจำนวน สมาชิกสภาผู้แทนนกั เรียนท้งั หมดแลว้ หากมีความจำเปน็ จะตอ้ งเรียกประชุมสภานกั เรียนก็ให้ดำเนินการเรียกประชุมสภา นักเรยี นได้ โดยใหถ้ ือวา่ สภาผแู้ ทนนกั เรยี นประกอบด้วยสมาชิกเท่าที่มีอยู่แตต่ อ้ งดำเนินการใหม้ สี มาชกิ สภาผูแ้ ทนนักเรียน ใหค้ รบตามจำนวนตามข้อ 7 โดยเรว็ ในกรณเี ชน่ นีใ้ ห้สมาชิกสภาผแู้ ทนนักเรยี นดงั กล่าวอยู่ในตำแหน่งได้เพยี งเท่าอายุของ สภาผูแ้ ทนนกั เรียนทเี หลอื อยู่ ข้อ 9 สมาชิกสภาผูแ้ ทนนักเรียนซงึ่ มาจากการเลือกตัง้ แบบแบง่ เขตเลือกตงั้ ให้ใช้วิธอี อกเสียงลงคะแนนโดยตรง และลับ โดยใหแ้ ต่ละเขตเลือกตงั้ มีสมาชิกสภาผู้แทนนักเรียนได้เขตละหน่งึ คนและผ้มู ีสิทธเิ ลอื กต้ังมีสิทธิออกเสยี งลงคะแนน เลอื กตัง้ ได้คนละหนงึ่ คะแนน โดยจะลงคะแนนเลอื กผู้สมัครรับเลอื กต้งั ผู้ใด หรือจะลงคะแนนไมเ่ ลือกผใู้ ดเลยก็ได้ให้ผสู้ มคั ร รบั เลอื กตั้งซ่ึงไดร้ บั คะแนนสูงสุดและมีคะแนนสงู กว่าคะแนนเสยี งท่ีไมเ่ ลือกผูใ้ ดเป็นผูไ้ ด้รับเลือกตัง้ หลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเง่ือนไขในการสมัครรับเลือกต้งั การออกเสียงลงคะแนน การนบั คะแนน การรวมคะแนน การประกาศผลการเลือกตั้ง และการอน่ื ที่เกยี่ วขอ้ ง ให้เปน็ ไปตามประกาศโรงเรยี นหนองไผ่วา่ ดว้ ยการเลอื กต้ัง สมาชิกสภาผู้แทนนกั เรยี น ให้คณะกรรมการการเลือกต้ังประกาศผลการเลอื กตงั้ เม่ือตรวจสอบเบอ้ื งต้นแลว้ มีเหตุอันควรเช่อื ว่าผลการ เลอื กตั้งเป็นไปโดยสจุ ริตและเทยี่ งธรรม และมจี ำนวนไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละเก้าสิบหา้ ของเขตเลือกต้ังท้ังหมด ซึ่งคณะกรรมการ การเลือกตั้งต้องตรวจสอบเบื้องต้นและประกาศผลการเลือกตงั้ ใหแ้ ล้วเสรจ็ โดยเร็ว

85 ขอ้ 10 พรรคใดสง่ ผู้สมัครรับเลือกตง้ั แบบแบ่งเขตเลอื กตงั้ แล้ว ให้มสี ทิ ธิส่งผ้สู มคั รรบั เลอื กต้ังแบบบัญชรี ายชอื่ ได้ การสง่ ผู้สมัครรบั เลอื กต้งั แบบบญั ชีรายช่อื ให้พรรคจัดทำบัญชรี ายชอื่ พรรคละหน่ึงบญั ชี โดยผูส้ มัครรบั เลอื กตั้งของแต่ละพรรคต้องไมซ่ ำ้ และไมซ่ ำ้ กบั รายชอ่ื ผสู้ มัครรับเลอื กตั้งแบบแบ่งเขตเลือกต้ัง โดยส่งบัญชีรายชอ่ื ดังกลา่ ว ใหค้ ณะกรรมการการเลือกต้ังกอ่ นปิดการรบั สมัครรับเลือกตง้ั สมาชกิ สภาผู้แทนนักเรยี นแบบแบง่ เขตเลอื กต้ัง การคํานวณหาสมาชิกสภาผแู้ ทนนกั เรียนแบบบัญชีรายชอ่ื ของแตล่ ะพรรคใหเ้ ป็นไปตามประกาศโรงเรียนหนองไผ่ ว่าดว้ ยการคำนวณหาสมาชกิ สภาผ้แู ทนนักเรยี นแบบบัญชีรายชอ่ื ในการเลือกต้งั ทั่วไป ใหพ้ รรคทสี่ ่งผสู้ มัครรับเลือกตัง้ แจ้งรายชอื่ บุคคลซ่ึงพรรคนั้นมีมตวิ า่ จะเสนอให้ดำรงตำแหนง่ ประธานคณะกรรมการสภานักเรยี นและรองประธานคณะกรรมการสภานกั เรยี น ขอ้ 11 อายุของสภานักเรียนมีกำหนดคราวละหน่ึงปีการศึกษา นบั แตว่ ันเลือกต้งั ในระหว่างอายขุ องสภาผแู้ ทน นักเรยี น จะมีการควบรวมพรรคท่ีมีสมาชิกเปน็ สมาชิกสภาผ้แู ทนนกั เรยี นมิได้ ข้อ 12 สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผ้แู ทนนกั เรียนเรมิ่ ต้ังแตว่ นั เลอื กตง้ั ขอ้ 13 สมาชกิ ภาพของสมาชิกสภาผู้แทนนักเรียนส้นิ สุดลง เมือ่ (1) ถงึ คราวออกตามอายุของสภานกั เรยี น (2) ตาย (3) ลาออก (4) สภาผแู้ ทนนกั เรยี นมีมตใิ ห้ออกดว้ ยคะแนนเสยี งมากกว่าสองในสาม (5) ขาดคุณสมบัติการเปน็ สมาชิกสภาผูแ้ ทนนักเรยี น (6) ย้ายสถานศึกษา (7) ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นหนองไผ่มีคำส่งั ให้หยุดปฏบิ ตั ิหน้าท่ี (8) ขาดจากการเปน็ สมาชกิ ของพรรคหรอื ลาออกจากพรรคท่ีตนเปน็ สมาชกิ (9) ขาดประชุมเกินร้อยละยี่สิบของจำนวนวันประชมุ ทั้งหมด (10) ประพฤตติ นไม่เหมาะสมกบั สถานภาพการเป็นนักเรียนโรงเรยี นหนองไผ่หรือ (11) ถกู ลงโทษทางวินัยนกั เรียนตามระเบียบโรงเรียนหนองไผ่ว่าด้วยการปกครองนักเรยี น พ.ศ. 2553 (แก้ไขเพ่มิ เติม พ.ศ. 2563) ดังน้ี - ตดั คะแนนความประพฤติต้ังแต่ ๓๐ คะแนนขน้ึ ไป - ทำทัณฑบ์ น - ทำกิจกรรมเพือ่ ปรับเปล่ยี นพฤติกรรม ขอ้ 14 ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองไผโ่ ดยความเห็นชอบของครูท่ีปรึกษาสภานักเรยี นมีอำนาจในการยบุ สภา นกั เรียนและสง่ั ให้มกี ารเลือกตง้ั สภานกั เรยี นใหม่ไดเ้ มื่อเห็นว่าการเลอื กต้ังนนั้ มิไดเ้ ปน็ ไปโดยสุจริต โปรง่ ใสและเปน็ ธรรม หรือเห็นว่าการดำเนนิ งานของสภานกั เรียนมกี ารขัดกนั แห่งผลประโยชน์หรอื ก่อให้เกดิ ความเสียหายต่อภาพลักษณ์ของ โรงเรยี นหรือไมเ่ ปน็ ไปตามครรลองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข

86 การดำเนินการตามวรรคหนึง่ ให้จัดทำเป็นประกาศโรงเรยี นโดยให้ดำเนนิ การเสรจ็ ส้ินภายในสบิ ห้าวันนบั แต่วันท่ี ผู้อำนวยการโรงเรยี นมีคำสงั่ และให้นำความในข้อ 9 และ 10 มาบังคับใชโ้ ดยอนุโลม ขอ้ 15 เมือ่ ตำแหน่งสมาชิกสภาผแู้ ทนนกั เรยี นว่างลงเพราะเหตุอนื่ ใด นอกจากถงึ คราวออกตามอายุของสภา นกั เรียน ให้ดำเนินการดังต่อไปน้ี (1) กรณีเป็นสมาชกิ สภาผูแ้ ทนนกั เรยี นในระบบแบง่ เขตเลอื กตัง้ ให้ผู้อำนวยการโรงเรียนโดยความ เหน็ ชอบของครูทปี่ รึกษาสภานกั เรยี นมคี ำส่งั แตง่ ตัง้ คณะกรรมการการเลือกตั้งสมาชกิ สภาผแู้ ทนนักเรียนและใหด้ ำเนนิ การ จดั ทำประกาศโรงเรยี นเพอ่ื จดั ใหม้ กี ารเลือกตั้งสมาชิกสภาผ้แู ทนนกั เรียนแทนตำแหน่งที่วา่ งลงภายในสามสบิ วันนับแตว่ นั ที่ ตำแหน่งว่างลงเวน้ แตอ่ ายุของสภานกั เรยี นเหลืออยู่ไม่ถึงเก้าสิบวัน (2) ในกรณเี ปน็ สมาชกิ สภาผูแ้ ทนนักเรยี นในระบบบญั ชีรายช่อื ใหป้ ระธานคณะกรรมการสภานักเรียน โดยความเหน็ ชอบของครูที่ปรึกษาสภานักเรียนดำเนินการประกาศรายชื่อให้ผูม้ ชี ื่ออยู่ในลำดับถดั ไปของบัญชรี ายช่ือพรรค นน้ั เล่อื นขึ้นมาแทนสมาชิกสภาผแู้ ทนนักเรียนในตำแหนง่ ที่วา่ งลง โดยตอ้ งทำเป็นประกาศโรงเรยี นภายในเจ็ดวนั นบั แต่วันท่ี ตำแหน่งน้นั วา่ งลง หากไม่มีรายชอื่ เหลืออยู่ในบญั ชที จี่ ะเลอื่ นขึ้นมาแทนตำแหน่งที่ว่าง ให้สมาชกิ สภาผู้แทนนกั เรยี นแบบ บญั ชรี ายชื่อประกอบด้วยสมาชิกเท่าท่ีมีอยู่ สมาชกิ ภาพของสมาชกิ สภาผู้แทนนักเรียนผเู้ ข้ามาแทนตาม (๑) ใหเ้ ริม่ นับแตว่ ันเลือกตง้ั แทนตำแหนง่ ท่ีวา่ ง สว่ น สมาชิกภาพของสมาชกิ สภาผู้แทนนักเรยี นผ้เู ข้ามาแทนตาม (๒) ให้เร่ิมนบั แต่วันถดั จากวนั ประกาศช่ือในประกาศโรงเรยี น และให้สมาชิกสภาผแู้ ทนนักเรยี นผูเ้ ขา้ มาแทนตำแหน่งที่วา่ งนน้ั อยใู่ นตำแหนง่ ได้เพยี งเท่าอายุของสภานักเรียนที่เหลืออยู่ การคาํ นวณสัดสว่ นคะแนนของพรรคสำหรับสมาชิกสภาผู้แทนนักเรียนแบบบัญชรี ายช่อื เมอ่ื มีการเลอื กต้งั แทน ตำแหนง่ ทว่ี ่าง ให้นำความในขอ้ 10 วรรคสองมาบังคบั ใช้โดยอนโุ ลม ข้อ 16 บุคคลผู้มีคุณสมบตั ิต่อไปนี้ในวันสมัครรับเลือกตัง้ เปน็ ผู้มีสิทธสิ มัครรบั เลอื กต้ังเปน็ สมาชิกสภาผแู้ ทน นักเรยี นตามระเบยี บฉบับนี้ (1) เป็นนักเรยี นโรงเรียนหนองไผ่อย่างถูกต้องตามกฎหมาย (2) มีผลการเรียนเฉล่ยี สะสมทกุ ภาคเรยี นไมต่ ่ำกวา่ 2.50 (3) ไมเ่ คยถูกลงโทษทางวินัยนักเรยี นมากกว่าการว่ากลา่ วตกั เตอื น (4) เป็นผ้ทู มี่ คี วามเล่อื มใสและยดึ ม่ันในการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข (5) เปน็ ผทู้ ี่รกั และเทดิ ทูนในเกยี รตขิ องโรงเรียนอย่างแท้จริง

87 (6) มีภาวะความเปน็ ผู้นำ เสียสละ มนี ้ำใจ มีความสามคั คีและซือ่ สัตย์ สุจริต (7) มีความประพฤติเรียบร้อย ไมเ่ คยมีประวตั เิ สือ่ มเสยี ด้านคุณธรรม จริยธรรมอย่างรา้ ยแรง (8) เปน็ ผูม้ คี วามรบั ผดิ ชอบสูง มคี วามหนกั แนน่ มเี หตผุ ลและมีความยตุ ธิ รรม ข้อ 17 ใหม้ คี ณะกรรมการสภานักเรียน ประกอบด้วย (1) ประธานคณะกรรมการสภานักเรยี น และรองประธานคณะกรรมการสภานกั เรยี นจำนวนสองคนซ่ึงมา จากพรรคทีม่ จี ำนวนสมาชกิ สภาผ้แู ทนนกั เรยี นในระบบบัญชรี ายช่ือสงู ที่สุดตามท่ีแจ้งรายช่ือไว้ ในกรณที ่ีพรรคใดมีจำนวน สมาชิกสภาผ้แู ทนนกั เรยี นในระบบบญั ชีรายชื่อเท่ากันใหใ้ ช้วิธีการจับสลาก (2) กรรมการ ต้องเปน็ สมาชิกสภาผแู้ ทนนกั เรียนแบบแบ่งเขตหรือแบบบญั ชีรายช่อื ซึง่ มาจากการคัดเลือก โดยประธานคณะกรรมการสภานกั เรยี นจำนวนไม่เกินยส่ี บิ สองคน (3) คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญประจำสภานักเรยี น มาจากการคัดเลอื กนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 โดย ครทู ปี่ รึกษาสภานักเรียน จำนวนไม่เกินสบิ คน เพื่อชว่ ยเหลือการปฏบิ ตั งิ านของสภานกั เรียนอกี ท้ังสามารถเสนอแนะ เสนอ ความเหน็ ต่อการดำเนินกจิ กรรมของนักเรียนและกิจการสภานักเรยี นได้แต่ไมม่ สี ทิ ธิลงคะแนนเสียงซ่งึ ผทู้ ีไ่ ดร้ บั การคัดเลือก ตอ้ งไม่ดำรงตำแหน่งสมาชกิ สภาผ้แู ทนนกั เรยี น หลักเกณฑ์ วิธกี ารและเง่ือนไขในการคัดเลอื กคณะกรรมการสภานักเรียนและคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญประจำสภา นกั เรียนใหเ้ ปน็ ไปตามประกาศโรงเรียน ข้อ 18 สมาชิกภาพของคณะกรรมการสภานักเรียนเร่ิมตง้ั แต่วนั ทผ่ี อู้ ำนวยการโรงเรียนมคี ำสง่ั แต่งตงั้ โดยมวี าระในการดำรงตำแหน่งหนึ่งปีการศึกษา ข้อ 19 สมาชิกภาพของคณะกรรมการสภานกั เรียนสิ้นสดุ ลง เมื่อ (1) ถึงคราวออกตามวาระการดำรงตำแหน่ง (2) ตาย (3) ลาออก (4) สภาผู้แทนนักเรยี นมีมตใิ หอ้ อกด้วยคะแนนเสียงมากกวา่ สองในสาม (5) ขาดคุณสมบตั ิการเป็นคณะกรรมการสภานักเรียน (6) ยา้ ยสถานศึกษา

88 (7) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นหนองไผ่มีคำสง่ั ใหห้ ยุดปฏบิ ัตหิ น้าที่ (8) ขาดประชมุ เกินร้อยละยีส่ ิบของจำนวนวันประชุมทง้ั หมด (9) ประพฤติตนไมเ่ หมาะสมกับสถานภาพการเปน็ นกั เรยี นโรงเรยี นหนองไผ่หรือ (10) ถกู ลงโทษทางวินยั นักเรียนตามระเบยี บโรงเรยี นหนองไผ่ว่าด้วยการปกครองนักเรียน พ.ศ. 2553 (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2563) ดังน้ี - ตดั คะแนนความประพฤติตัง้ แต่ 30 คะแนนขึ้นไป - ทำทณั ฑบ์ น - ทำกิจกรรมเพ่อื ปรับเปลีย่ นพฤติกรรม เมอื่ คณะกรรมการสภานักเรียนพน้ จากตำแหน่งเนื่องด้วยขาดคุณสมบตั ิตาม (2) - (10) ใหด้ ำเนินการคัดเลือกและ แตง่ ต้ังบุคคลผ้มู ีคุณสมบตั ิเหมาะสมแทนตำแหน่งทวี่ า่ งลง โดยผ้ทู ่ีไดร้ บั การแตง่ ต้งั อยใู่ นตำแหนง่ ตามวาระของผ้ทู ี่ตนแทน เท่านั้น ขอ้ 20 ใหผ้ อู้ ำนวยการโรงเรียน แต่งต้ังคณะกรรมการสภานักเรียน ตามมติที่ประชมุ คณะกรรมการสภานกั เรียน ประกอบดว้ ยตำแหนง่ ดังต่อไปนี้ (1) ประธานคณะกรรมการสภานักเรียน จำนวน 1 คน (2) รองประธานสภานกั เรียน จำนวน 2 คน (3) เลขานุการ จำนวน 1 คน (4) คณะกรรมการฝา่ ยวิชาการ จำนวน 2 คน (5) คณะกรรมการโสตทศั นอุปกรณ์ จำนวน 2 คน (6) คณะกรรมการฝา่ ยสถานท่ี จำนวน 4 คน (7) คณะกรรมการฝา่ ยกจิ กรรมพเิ ศษ จำนวน 3 คน (8) คณะกรรมการฝ่ายกีฬาและนนั ทนาการ จำนวน 2 คน (9) คณะกรรมการฝา่ ยประสานงาน จำนวน 2 คน (10) คณะกรรมการฝ่ายประชาสมั พนั ธ์ จำนวน 2 คน

89 (11) คณะกรรมการฝ่ายปฏิคมและสวัสดิการ จำนวน 2 คน (12) คณะกรรมการฝา่ ยอนามัยและสิ่งแวดล้อม จำนวน 3 คน การมอบหมายการปฏบิ ตั ิหน้าที่ของคณะกรรมการนักเรียนฝา่ ยต่าง ๆ ตามวรรคหนง่ึ ให้เปน็ ไป ตามประกาศโรงเรยี นทีเ่ กี่ยวข้องโดยต้องสอดคล้องกับนโยบายของโรงเรยี นและหน่วยงานตน้ สงั กดั ในปกี ารศึกษานัน้ ข้อ 21 ให้ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองไผ่ แต่งตัง้ ครูทปี่ รึกษาสภานกั เรยี น ข้อ 22 ประธานคณะกรรมการสภานักเรียน รองประธานคณะกรรมการสภานักเรียนและ คณะกรรมการสภานกั เรียนต้อง (1) มสี ถานภาพการเป็นนักเรียนโรงเรยี นหนองไผอ่ ย่างถูกต้องตามกฎหมาย (2) มีผลการเรยี นเฉล่ยี สะสมไมต่ ่ำกว่า 2.75 (3) ดำรงตำแหนง่ เป็นสมาชกิ สภาผแู้ ทนนกั เรียน (4) ไมเ่ คยถูกลงโทษทางวินัยนกั เรียนมากกว่าการวา่ กลา่ วตกั เตือน (5) เปน็ ผทู้ ีม่ คี วามเลือ่ มใสและยดึ มั่นในการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (6) เป็นผูท้ ่ีรักและเทดิ ทูนในเกียรติของโรงเรยี นอยา่ งแทจ้ ริง (7) มภี าวะความเปน็ ผู้นำ เสยี สละ มีน้ำใจ มีความสามัคคีและซอื่ สัตย์ สจุ รติ (8) มีความประพฤติเรียบร้อย ไม่เคยมีประวตั เิ สอ่ื มเสียดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรมอยา่ งรา้ ยแรง (9) เปน็ ผมู้ คี วามรับผิดชอบสูง มคี วามหนกั แนน่ มเี หตุผลและมีความยุติธรรม ขอ้ 23 คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ประจำสภานกั เรียนต้อง (1) มีสถานภาพการเป็นนักเรียนโรงเรยี นหนองไผอ่ ย่างถูกต้องตามกฎหมาย (2) มผี ลการเรยี นเฉล่ยี สะสมไม่ตำ่ กว่า 2.75 (3) ไม่เคยถูกลงโทษทางวินยั นกั เรยี นมากกว่าการว่ากล่าวตักเตือน

90 (4) เป็นผทู้ ีม่ ีความเลอื่ มใสและยึดมน่ั ในการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ (5) เปน็ ผทู้ ีร่ กั และเทิดทูนในเกียรติของโรงเรยี นอยา่ งแทจ้ ริง (6) มภี าวะความเปน็ ผนู้ ำ เสยี สละ มนี ำ้ ใจ มีความสามคั คีและซ่ือสตั ย์ สจุ รติ (7) มคี วามประพฤตเิ รียบร้อย ไม่เคยมีประวัตเิ สอื่ มเสียดา้ นคุณธรรม จริยธรรมอย่างร้ายแรง (8) เปน็ ผมู้ คี วามรบั ผิดชอบสูง มีความหนักแนน่ มเี หตุผลและมคี วามยตุ ธิ รรม ขอ้ 24 ให้สภานกั เรยี นดำเนินการเปิดประชุมสภานักเรียนครั้งแรกภายในสิบหา้ วันนับตั้งแต่วนั ทีค่ ณะกรรมการ การเลอื กตัง้ ประกาศรบั รองผลการเลือกตั้ง โดยให้ผอู้ ำนวยการโรงเรียนหนองไผ่หรือผูท้ ี่ไดร้ บั มอบหมายเปน็ ประธานในการ ประชมุ การประชุมตามวรรคหนึ่งให้พิจารณาและชี้แจงบทบัญญตั ติ ่าง ๆ ตามระเบยี บฉบับน้ีพรอ้ มทัง้ ให้สมาชิกสภาผูแ้ ทน นกั เรียน คณะกรรมการสภานักเรยี น และคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ประจำสภานักเรยี นดำเนนิ การถวายสตั ย์ปฏิญาณตนตอ่ หนา้ พระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรสี นิ -ทรมหาวชริ าลงกรณพระวชริ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ด้วยคำ กลา่ วดงั น้ี “ข้าพเจา้ (ช่อื ผปู้ ฏญิ าณ) ขอปฏญิ าณว่า ข้าพเจ้าจะปฏบิ ัติหน้าท่ีดว้ ยความซ่ือสตั ยส์ จุ ริตเพ่อื ประโยชน์ของนักเรียน และโรงเรียน ทง้ั จะรักษาไว้และปฏบิ ัตติ ามซ่ึงกฎระเบียบของโรงเรียนทกุ ประการ” ขอ้ 25 สมาชกิ สภาผแู้ ทนนกั เรยี นและคณะกรรมการสภานักเรียนย่อมเป็นผ้แู ทนของนักเรียนโรงเรียนหนองไผท่ กุ คน ไม่อยู่ในความผูกมดั แหง่ อาณตั มิ อบหมาย หรอื ความครอบงำใด ๆ และต้องปฏบิ ตั ิหน้าท่ีด้วยความซ่ือสัตย์สจุ ริตเพื่อ ประโยชน์สว่ นรวมของโรงเรียน ข้อ 26 คุณลกั ษณะท่ีพงึ ปฏบิ ัตขิ องคณะกรรมการสภานักเรียน มดี ังนี้ (1) เป็นผู้มีความจงรักภกั ดตี ่อชาติ ศาสนาและพระมหากษัตรยิ ์และเคารพในเกยี รติของโรงเรียนหนองไผ่ อยา่ งจริงใจ (2) ประพฤติตนเปน็ แบบอย่างท่ดี ีแก่ผู้อืน่ ตลอดเวลา (3) บำเพ็ญตนใหเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม (4) ยดึ มน่ั ในการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความเปน็ ผ้นู ำ ทีด่ แี ละผตู้ ามที่ดี

91 (5) เป็นผูม้ ีคุณธรรม จรยิ ธรรมและประพฤติตนตามหลักศาสนาทต่ี นนับถือ (6) เป็นผู้อนุรักษแ์ ละเผยแพร่ ขนบธรรมเนยี ม จารตี ประเพณแี ละวฒั นธรรมอนั ดีงาม ข้อ 27 การบรหิ ารงานของสภานกั เรยี น ใหแ้ บ่งความรบั ผิดชอบ ดังนี้ (1) การวางระเบียบหรือข้อบังคับและการบริหารกจิ กรรมนักเรียน ให้เป็นอำนาจและหน้าท่ีของสภา นกั เรียน (2) ครูทป่ี รึกษาสภานักเรียนใหค้ ำปรกึ ษาในการวางแผนหรือการเขยี นโครงการและมีอำนาจหนา้ ทใี่ นการ ควบคุมดูแลการปฏบิ ัตงิ านของสภานักเรยี นใหเ้ ปน็ ไปด้วยความเรยี บร้อยตามวตั ถปุ ระสงคใ์ นข้อ 5 (3) การปฏบิ ัติงานในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของนักเรียนใหส้ ภานกั เรียนเป็นผเู้ สนอโครงการโดยไดร้ ับความ เห็นชอบจากครูทีป่ รกึ ษาสภานักเรียนใหผ้ ู้อำนวยการโรงเรียนพิจารณาอนุมตั ิ ขอ้ 28 การปฏิบตั งิ านตามหนา้ ที่ของสภานักเรยี นจะขดั หรือแยง้ กับระเบียบหรือข้อบังคับอนื่ ใดของทางราชการท่ี โรงเรียนถือปฏิบัติอยู่มไิ ด้ กบั ทัง้ ต้องรักษาไว้ซ่ึงศลี ธรรม วัฒนธรรมและขนบธรรมเนยี มประเพณีอันดีงาม ท้งั นี้ เว้นแตก่ รณี ท่จี ำเป็นใหข้ อความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารโรงเรียนก่อน ข้อ 29 สภานักเรียนให้มีอำนาจหน้าทีด่ ังนี้ (1) จัดการประชมุ สภานกั เรยี น (2) จัดทำโครงการกจิ กรรมนักเรยี นท้งั ภายในและภายนอกโรงเรยี นเสนอครทู ป่ี รึกษาสภา-นักเรยี น พจิ ารณาเห็นชอบตามขั้นตอนของโรงเรียน (3) เปน็ ตวั แทนของนักเรยี นในการกระทำใด ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน (4) ปฏบิ ัติหนา้ ทท่ี ี่ได้รบั มอบหมายจากโรงเรยี น (5) เผยแพร่ความรู้เรอื่ งประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ แก่นกั เรยี นและดำเนินการ เลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผู้แทนนักเรียน (6) ปฏบิ ตั หิ น้าทอ่ี ื่น ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมาย ข้อ 30 ภาคเรยี นหนึ่ง ๆ ใหม้ ีการประชมุ สามัญสภานักเรียนอย่างน้อยเดอื นละ 1 ครั้ง โดยอาจมีการประชมุ วิสามัญในกรณรี บี ด่วนก็ได้ ซงึ่ การประชุมแตล่ ะคร้ังตอ้ งประกอบดว้ ยองคป์ ระชมุ ดังนี้ (1) สมาชกิ สภาผู้แทนนกั เรยี น คณะกรรมการสภานักเรียนและครทู ่ีปรึกษาสภานกั เรยี น

92 (2) ใหป้ ระธานคณะกรรมการสภานักเรียนปฏบิ ัตหิ น้าทเ่ี ป็นประธานในการประชุม ให้เลขานกุ ารเปน็ ผู้ออกหนังสือเชญิ ประชมุ และจดบนั ทึกการประชุม (3) ในการประชุมต้องมีผเู้ ขา้ ประชมุ ไมน่ ้อยกว่ากึ่งหน่ึงของจำนวนสมาชิกสภานกั เรยี น จงึ จะครบองคป์ ระชุม (4) ในการประชุมใหแ้ ถลงผลงานอ่นื ๆ ทป่ี ระชมุ มีสทิ ธ์ิในการซกั ถาม (5) ถา้ ประธานไม่อยใู่ นที่ประชุมให้รองประธานเป็นประธานในท่ปี ระชมุ หรือเลอื กสมาชิกสภาผแู้ ทน นกั เรียนหรอื คณะกรรมการสภานกั เรียนเป็นประธานในการประชุม (6) การวินจิ ฉยั ชข้ี าดของท่ีประชุมใหใ้ ชเ้ สียงข้างมาก (7) ผู้เขา้ ประชมุ คนหน่งึ ใหม้ ีเสียงหนึง่ ในการลงคะแนน ถ้าคะแนนเสียงเท่ากนั ใหป้ ระธาน ในทป่ี ระชุมออกเสยี งเพ่มิ ข้ึนเสียงหนึ่งเปน็ เสยี งชีข้ าด (8) การประชมุ แตล่ ะครง้ั ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น ผชู้ ว่ ยผูอ้ ำนวยการที่ปรึกษา สภานักเรียนและคณะกรรมาธิการวิสามญั ประจำสภานักเรียนมสี ิทธิท่ีจะเข้าร่วมประชมุ แสดงความคดิ เห็น ใหข้ ้อเสนอแนะ แตไ่ ม่มสี ทิ ธใิ นการลงมติทป่ี ระชุม ขอ้ 31 ในการประชุมใหม้ ีวาระการประชมุ ดงั น้ี (1) เรอ่ื งท่ีประธานแจ้งท่ีประชมุ ทราบ (2) รับรองรายงานการประชุม (3) เรื่องที่เสนอให้ทีป่ ระชมุ ทราบ (4) เร่ืองที่เสนอให้ที่ประชมุ พิจารณา (5) เรื่องอืน่ ๆ ขอ้ 32 ในทีป่ ระชุมสภาผูแ้ ทนนักเรียน คณะกรรมการสภานักเรียนและที่ประชุมร่วมกนั ของทัง้ สองสภาสมาชกิ ผู้ใดจะกลา่ วถ้อยคำใดในทางแถลงข้อเท็จจรงิ แสดงความคิดเห็นหรอื ออกเสยี งลงคะแนน ยอ่ มเป็นเอกสทิ ธโ์ิ ดยเด็ดขาด ผใู้ ด จะนำไปเป็นเหตุฟ้องร้องวา่ กล่าวสมาชกิ ผ้นู ้นั ในทางใด ๆ มิได้

93 ข้อ 33 บทเฉพาะกาล ในวาระเรม่ิ แรก (1) สมาชิกสภาผูแ้ ทนนกั เรยี น คณะกรรมการสภานักเรียนและคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญประจำสภา นักเรยี นทดี่ ำรงตำแหนง่ ก่อนระเบียบน้ปี ระกาศบังคับใช้ให้ถือว่าสมาชิกสภาผู้แทนนกั เรียน คณะกรรมการสภานักเรียนและ คณะกรรมาธิการวสิ ามัญประจำสภานักเรียนนั้นเป็นสภานกั เรยี นตามระเบียบนีแ้ ละให้ปฏิบัตหิ น้าท่ีตอ่ ไปจนกวา่ จะมกี าร เลอื กตั้งสมาชิกสภานกั เรียนในปกี ารศึกษา 2563 (2) ในปีการศกึ ษา 2563 ให้มจี ำนวนสมาชกิ สภาผแู้ ทนนกั เรียนท้งั สิ้นเจ็ดสบิ สคี่ นโดยแบ่งเป็น สมาชกิ สภาผแู้ ทนนกั เรยี นในระบบแบง่ เขตเลอื กตัง้ จำนวนส่ีสบิ เกา้ คนและสมาชกิ สภาผ้แู ทนนกั เรยี นในระบบบัญชรี ายชือ่ จำนวนย่สี บิ หา้ คน (3) ในปกี ารศึกษา 2564 ให้มจี ำนวนสมาชิกสภาผแู้ ทนนกั เรียนท้ังสิ้นเจด็ สิบห้าคนโดยแบ่งเป็น สมาชกิ สภาผู้แทนนกั เรยี นในระบบแบ่งเขตเลอื กต้ังจำนวนห้าสิบคนและสมาชกิ สภาผแู้ ทนนักเรียน ในระบบ บญั ชีรายชอ่ื จำนวนย่สี บิ ห้าคน (4) ในปกี ารศึกษา 2565 ให้มจี ำนวนสมาชกิ สภาผูแ้ ทนนกั เรียนตามข้อ 7 (5) ภายหลงั จากระเบียบน้ีมผี ลบงั คับใชใ้ หผ้ ู้อำนวยการโรงเรียนหนองไผ่โดยความเห็นชอบของครูท่ี ปรกึ ษาสภานกั เรยี นกำหนดให้มกี ารจัดการเลือกตัง้ สมาชกิ สภาผ้แู ทนนักเรยี นเป็นการทั่วไปตามระเบียบน้ที นั ทภี ายในหนึง่ รอ้ ยแปดสบิ วัน ประกาศ ณ วันท่ี ๙ กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ลงชอ่ื (นายพชั รนิ ภู่ชยั ) ผ้อู ำนวยการโรงเรียนหนองไผ่

94 ระเบียบโรงเรยี นหนองไผ่ วา่ ด้วยการบริหารสภานักเรียนโรงเรยี นหนองไผ่ เพ่อื ให้การดำเนินการบรหิ ารสภานักเรียนของโรงเรียนหนองไผ่ เปน็ ไปตามกฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คับของทางราชการ ฉะนัน้ อาศยั อำนาจตามความในมาตร 39 (1) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. 2546 ให้ ไว้ ณ วนั ท่ี 3 กรกฎาคม 2546 จงึ วางระเบียบวา่ ด้วยการบรหิ าร สภานกั เรียนโรงเรียนหนองไผ่ ไว้ดงั น้ี ข้อ 1 ระเบยี บน้ีเรียกว่า “ระเบยี บโรงเรียนหนองไผว่ ่าดว้ ยการบริหารสภานกั เรียนโรงเรยี นหนองไผ่ พ.ศ. 2563” ข้อ 2 ระเบียบน้ใี ห้ใช้บังคบั ตั้งแต่ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 เปน็ ตน้ ไป ขอ้ 3 ใหผ้ ู้อำนวยการโรงเรียนหนองไผ่ รองผู้อำนวยการกล่มุ บริหารงานกิจการนักเรียนและผชู้ ว่ ยผอู้ ำนวยการกลุม่ บรหิ ารงานกจิ การนักเรยี น รกั ษาการตามระเบยี บ ข้อ 4 ในระเบยี บนี้ “โรงเรยี น” หมายถงึ โรงเรยี นหนองไผ่ สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 40 “นักเรยี น” หมายถงึ นกั เรยี นโรงเรยี นหนองไผ่ สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 40 “สภานักเรยี น” หมายถึง สภานกั เรียนโรงเรยี นหนองไผ่ สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 “ครูท่ีปรกึ ษาสภานกั เรยี น” หมายถึง ครูท่ไี ด้รบั การแตง่ ตั้งให้ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่คี ณะกรรมการงานสง่ เสรมิ ประชาธปิ ไตย กลมุ่ บริหารงานกจิ การนักเรยี น โรงเรยี นหนองไผ่ “ผู้อำนวยการโรงเรยี น” หมายถงึ ผู้อำนวยการโรงเรยี นหนองไผ่ “พรรค” หมายถงึ การรวมกลมุ่ ของนักเรยี นต้งั แตส่ องคนขึ้นไปเพื่อสมคั รเขา้ รบั การเลอื กตง้ั เป็น สมาชกิ สภาผแู้ ทนนกั เรยี น คณะกรรมการสภานักเรยี น “ผ้สู มคั รรบั เลือกตงั้ ” หมายถึง ผ้สู มัครรับเลอื กตั้งสมาชิกสภาผู้แทนนักเรียน “ผมู้ สี ิทธิเลอื กตั้ง” หมายถึง นักเรยี นโรงเรียนหนองไผ่ สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 40 “การประชมุ ” หมายถึง การประชุมสภานักเรยี นซงึ่ ประกอบไปด้วยสองสว่ นคอื การประชมุ สมาชกิ สภาผแู้ ทนนกั เรียนและการประชมุ คณะกรรมการสภานกั เรยี น โดยจะมีการประชุมร่วมกันหรือแยกกนั ประชมุ กไ็ ด้ ทง้ั นีเ้ ป็นไปตามทรี่ ะเบยี บกำหนดไว้ “ท่ีประชมุ ” หมายถึง สถานท่ีท่ีกำหนดให้พิจารณาและให้ความเหน็ ชอบในญตั ตติ ่าง ๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook