Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักเรียน2565

คู่มือนักเรียน2565

Description: คู่มือนักเรียน2565

Search

Read the Text Version

คูมือนักเรียน ปการศึกษา2565 โรงเรยีนหนองไผ สำนกังานเขตพืน้ที่การศกึษามธัยมศกึษาเพชรบรูณ สำนกังานคณะกรรมการการศกึษาขั้นพน้ืฐาน

สารบัญ หน้า เร่อื ง 1 1 ประวตั โิ รงเรยี น 2 ข้อมูลโรงเรยี น 2 ทศิ ทางการพฒั นาสถานศึกษา 3 เอกลกั ษณ์โรงเรียน 5 โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน ขอ้ มลู จำนวนนกั เรียน 7 ข้อมูลบุคลากร 8 คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษากลุม่ สาระการเรยี นรู้ 16 ขอ้ มูลงานวิชาการ 26 32 หลักสูตรสถานศึกษา 35 โครงสรา้ งหลักสูตร 48 กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น 52 การวัดและประเมนิ ผล เกณฑ์การเล่ือนชน้ั /จบการศึกษา 54 ข้อปฏบิ ตั ิในการขอเอกสารหลักฐานทางการศกึ ษา 80 ขอ้ มลู งานกจิ การนักเรียน 82 ระเบยี บโรงเรียนหนองไผ่ 87 ระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน 88 งานทนุ การศึกษา 115 สวัสดิการนกั เรียน กิจกรรมนักเรยี น 113 ขอใบรบั รองความประพฤติ 116 ขอ้ มูลงานงบประมาณ หลักเกณฑ์การเกบ็ เงนิ คา่ บำรงุ การศึกษา 117 แนวทางการดำเนินงานตามโครงการสนับสนนุ คา่ ใช้จา่ ยในการจดั การศกึ ษาฯ 118 ขอ้ มลู งานบริหารทวั่ ไป 119 สภาพแวดลอ้ ม อาคารสถานที่ หอ้ งเรียน และแหล่งเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ งานอนามยั โรงเรียน 120 งานโภชนาการ 147 ข้อมลู งานอำนวยการ 148 ปฏิทินวชิ าการและกิจการนักเรยี น การติดต่อ ประสานงานโรงเรยี น เกียรตปิ ระวัติหรอื ผลงานนกั เรยี น



1 ประวัตโิ รงเรียนหนองไผ่ โรงเรียนหนองไผ่ ได้รับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการ ให้เปิดทำการสอนเมื่อปีการศึกษา 2507 เป็นโรงเรียนสหศึกษา ทั้งนี้มสี าเหตุเนื่องจากในปีการศกึ ษา 2506 นักเรยี นที่จบการศกึ ษาชั้นประถมศึกษาปีท่ี 7 ของอำเภอหนองไผไ่ ม่มโี รงเรียนระดับมัธยมศึกษาที่จะศึกษาต่อภายในอำเภอ การเดินทางไปศึกษาต่อ ที่อำเภอ เมืองมรี ะยะทางไกลมาก การคมนาคมไม่สะดวก ผู้ปกครองนักเรยี นจำนวนหนึ่งได้ทำหนังสอื ไปทีอ่ ำเภอหนองไผ่ ขอให้อำเภอทำเรื่องขออนุญาตเปิดโรงเรียนมัธยมศึกษาในปีการศึกษา 2507 โดยมีเงือนไขว่าอำเภอหนองไผ่ จะต้องจัดหาทด่ี ินจำนวนไมน่ อ้ ยกว่า 35 ไร่ และจะต้องมีอาคารเรียนชัว่ คราว ซึง่ อำเภอหนองไผไ่ ด้ดำเนินการตาม เงื่อนไขทงั้ 2 ประการได้สำเร็จ ได้จดั สรรท่ีดนิ สำหรบั ต้งั โรงเรยี น เนอื้ ท่ี 80 ไร่ ซ่ึงเปน็ ทสี่ งวนของกระทรวงมหาดไทย สงวนไว้สำหรบั ตั้งสถานทร่ี าชการของอำเภอหนองไผ่ สำหรับอาคารเรียน พ่อค้า ประชาชน และขา้ ราชการ ร่วมกันจัดงานวันครู (15-17 มกราคม 2507) เพ่ือหารายได้ เป็นคา่ ใชจ้ า่ ยในการกอ่ สร้าง และดำเนินการกอ่ สร้างอาคารไม้ช้ันเดยี ว 4 หอ้ งเรยี น กรมสามัญศกึ ษา (กรมวสิ ามญั เดิม) แต่งตัง้ ให้นายชนนิ ทร์ สุพลพิชิต ครูโรงเรียนเพชรพิทยาคม อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ ดำรง ตำแหน่งครูใหญ่โรงเรียนหนองไผ่ และบรรจุแต่งต้ัง นายธรี รตั น์ กจิ จารักษ์ วฒุ ิ กศ.ษ. ดำรงตำแหนง่ ครูตรีโรงเรียน หนองไผ่ อีก 1 คน ปกี ารศึกษา 2507 เปิดทำการเรียนการสอนช้นั ม.ศ.1 คร้ังแรกมีนักเรยี น 19 คน ชาย 16 คน หญิง 3 คน นายธรี รตั น์ กจิ จารกั ษ์ เปน็ ครูประจำชั้น โรงเรียนหนองไผ่ ได้ขยายเปน็ โรงเรียนมธั ยมศึกษาขนาดกลาง และขนาด ใหญ่เป็นลำดับ นายชนินทร์ สุพลพิชิต ครูใหญ่นั้น ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์ใหญ่และเป็นผู้อำนวยการ โรงเรยี นหนองไผ่ ในปีการศึกษา 2525 และปีการศึกษา 2527 ตามลำดับ เมื่อโรงเรียนหนองไผ่มีอายุการก่อตั้งครบ 20 ปี คณะศษิ ยเ์ กา่ และครู-อาจารย์ โรงเรียนหนองไผ่ ไดจ้ ัดหาทนุ ต้ังมลู นิธิ “อาจารยช์ นินทร์ สุพลพชิ ติ ” เพ่อื นำดอกผล เปน็ การศกึ ษาแกน่ ักเรียนโรงเรยี นหนองไผ่สืบไป

2 ตราประจำโรงเรียน สัญลักษณ์โรงเรียนหนองไผ่ลกั ษณะเป็นวงกลม 3 ช้ัน บรรจตวั อักษร น.ผ. ซึ่งเปน็ อกั ษรย่อชอ่ื โรงเรยี นหนองไผอ่ ยู่ ภายใตฉ้ ตั ร 3 ช้ัน หมายถึง สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก ทรงเมตตารบั โรงเรยี นหนองไผ่ไวใ้ นพระอุปถมั ภ์ ตอนลา่ งวงกลมมขี ้อความวา่ \"โรงเรียนหนองไผ\"่ และ \"ในพระ สงั ฆราชูปถมั ภ\"์ โค้งตามลกั ษณะวงกลม สีประจำโรงเรยี น • สีชมพู ██ หมายถึง ผมู้ คี วามรกั ในเพ่อื นมนษุ ย์ รกั ความกา้ วหนา้ รกั ความสามคั คี • สีฟา้ ██ หมายถึง ความสดช่นื แจม่ ใส ใฝด่ ี มคี ณุ ธรรม มีใจบริสุทธ์ิ เพลงประจำโรงเรียน • เพลง มารช์ ชมพูฟา้ (ทำนอง, คำร้อง: ประเสริฐ สร้อยอินทร)์ • เพลง ดอกฟา้ สชี มพู (ทำนอง, คำรอ้ ง: ประเสรฐิ สร้อยอนิ ทร)์ ตน้ ไม้ประจำโรงเรยี น • ตน้ ชยั พฤกษ์ จัดเปน็ พรรณไม้มงคล เปน็ ตน้ ไมแ้ หง่ ชัยชนะ ชนะศตั รู ชนะอปุ สรรคตา่ ง ๆ ขอ้ มูลโรงเรียน ข้อมูลทั่วไป : โรงเรียนหนองไผ่เปน็ โรงเรยี นสหศกึ ษา เปดิ สอนระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ถึงระดับชน้ั มัธยศกึ ษาปที ี่ 6 วสิ ัยทศั น์และปรัชญา (Vision) : โรงเรยี นมาตรฐานสากล มวี นิ ยั ใฝ่คุณธรรม นำความรู้ อยอู่ ย่างพอเพียง อัตลกั ษณ์ : กองพันชมพฟู ้า เอกลกั ษณ์ : ความมีวนิ ัย

โครงสร้างการบรหิ า ผอู้ านวยก คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน มลู นธิ ิอาจารยช์ นนิ ทร์ สพุ ลพิชติ สพม.พช. คณ ศนู ยพ์ ฒั นาศกั ยภาพบคุ คลเพือ่ ความเป็นเลศิ (Human Capital Excellence Center : HCEC) กลมุ่ บริหารงานกิจการนกั เรยี น กลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล กลมุ่ บรหิ ารงานวชิ าการ นางดวงตะวนั นามา นางดวงตะวนั นามา ผชู้ ว่ ยผอู้ านวยการโรงเรียน ผชู้ ่วยผอู้ านวยการโรงเรยี น นายสมปอง ตาลเพชร ผชู้ ่วยผอู้ านวยการโรงเรียน นายยทุ ธนา นาอดุ ม นายนิมติ ร ตนั ติวโรดม งานวางแผน งานวางแผน งานสานกั งานกล่มุ งานวางแผน งานสานกั งานกล่มุ งานสานกั งานกลมุ่ งานวนิ ยั นกั เรยี น งานวางแผนอตั รากาลงั งานพฒั นาหลกั สตู ร งานสรรหาและบรรจแุ ตง่ ตงั้ งานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนนกั เรยี น งานวจิ ัยและโรงเรียนมาตรฐานสากลมาตรฐานส งานส่งเสรมิ ประชาธิปไตย งานยา้ ยขา้ ราชครูและบคุ ลากร งานทะเบียนนกั เรียน ทางการศึกษา งานป้องกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพติดยาเสพติด งานวดั และประเมินผล งานประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน งานแหลง่ เรียนรู้ งานคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ คา่ นิยมไทย งานสง่ เสริมวนิ ยั คุณธรรมและจริยธรรมสาหรบั ครู งานส่ือและเทคโนโลยี งานกองพนั ชมพ-ู ฟา้ และบุคลากรบคุ ลากร งานนิเทศการสอน งานกจิ กรรมนกั เรยี น งานจดั ระบบและจดั ทาทะเบยี น งานประสานองคก์ รภายนอก ประวตั ิ งานสวสั ดิการนกั เรียน งานเสนอขอพระราชทาน งานรบั นกั เรยี น เครอื่ งราชอิสริยาภรณ์ งานส่งเสริมการเรียนรู้ งานทศั นศึกษา งานธนาคารโรงเรียน งานพฒั นาครูและบคุ ลากร งานเศรษฐกิจพอเพยี ง งานอาเซียนศึกษา งานรกั ษาความปลอดภยั ในสถานท่ี ราชการ งานแนะแนว งานโครงการพเิ ศษ งานกลมุ่ สาระการเรยี นรู้และกจิ กรรมพฒั

ารโรงเรยี นหนองไผ่ สหวทิ ยาเขตไผส่ ามพนั สมาคมครู ผปู้ กครองและศิษยเ์ กา่ การโรงเรียนหนองไผ่ ณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียน ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศและหนุ่ ยนต์ ศนู ยก์ จิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น กล่มุ อานวยการ กลมุ่ บรหิ ารงานงบประมาณ กล่มุ บริหารงานท่วั ไป นางทารกิ า วงศแ์ กว้ ผชู้ ว่ ยผอู้ านวยการโรงเรียน ผชู้ ว่ ยผอู้ านวยการโรงเรยี น นางโรจณา มาคาน ผชู้ ว่ ยผอู้ านวยการโรงเรยี น นายพรี ศษิ ย์ สิงหโ์ สภา นางวนิดา สารสทิ ธิ์ งานวางแผน งานวางแผน งานสานกั งานกลมุ่ งานวางแผน งานสานกั งานกล่มุ งานสานกั งานกล่มุ งานเลขานุการ งานนโยบายและแผน งานควบคมุ ภายใน งานตรวจสอบติดตามและรายงานการ งานพฒั นาระบบเครือขา่ ยและเทคโนโลยี สากล ใชง้ บประมาณ งานระบบขอ้ มลู สารสนเทศ งานตรวจสอบภายใน งานระดมทรพั ยากรและการลงทนุ เพื่อ งานอาคารสถานทีแ่ ละสาธารณูปโภค งานธรุ การ การศกึ ษา งานบรกิ ารชุมชน งานประชาสมั พนั ธ์ งานพสั ดุ งานคณะกรรมการถานศกึ ษา งานการเงนิ งานประสานราชการกับสว่ นภูมภิ าคและ งานชุมชนและองคก์ รภาคเี ครอื ข่าย ส่วนทอ้ งถ่ิน งานบญั ชี งานสวสั ดิการ งานอนามยั โรงเรยี น งานสหกรณร์ า้ นคา้ งานบาเหน็จบานาญขา้ ราชการ งานโภชนาการ ฒนาผู้เรยี น งานพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพ การศึกษา งานสง่ เสริมศิลปวฒั นธรรม นักเรยี น และภูมปิ ัญญาไทย งานเบกิ จา่ ยสวสั ดกิ าร งานโสตทศั นปู กรณ์ งานยานพาหนะ งานสง่ เสริมการจดั ระบบหอ้ งเรียน อาคาร เรียนและสถานท่ี 3 หมายเหตุ 3 สายการประสานงาน สายการบงั คับบัญชา

4 ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษากลุม่ สาระการเรียนรู้ ลำดบั ที่ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ เพศ ชาย หญิง 1 ภาษาไทย 36 รวม 2 คณิตศาสตร์ 67 9 3 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 8 17 13 4 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 48 25 5 ภาษาตา่ งประเทศ 2 10 12 6 ศิลปะ 51 12 7 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 21 6 8 การงานอาชีพ 36 3 9 การศกึ ษาอิสระ (is) 00 9 10 กิจกรรมพฒั นาผู้เรียน 00 0 11 อนื่ ๆ 11 0 2 รวม 34 57 91

สรุปจานวนนักเรียนแยกตามห้อง ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565 โรงเรียนหนองไผ่ สพม.เพชรบูรณ์ 5 ช้ัน ชาย (คน) หญิง(คน) รวม ชั้น ชาย (คน) หญิง(คน) รวม 1/1 14 26 40 4/1 4 35 39 1/2 17 23 40 4/2 6 34 40 1/3 16 23 39 4/3 23 17 40 1/4 17 23 40 ม.4 วิทย์ 33 86 119 1/5 16 23 39 4/4 15 24 39 1/6 17 23 40 4/5 16 24 40 1/7 17 23 40 4/6 13 27 40 1/8 17 23 40 4/7 4 36 40 1/9 17 23 40 ม.4 ศลิ ป์ 48 111 159 1/10 17 23 40 รวม ม.1 165 233 398 รวม ม.4 81 197 278 2/1 15 24 39 5/1 13 27 40 2/2 17 22 39 5/2 9 30 39 2/3 17 23 40 5/3 18 22 40 2/4 16 22 38 ม.5 วิทย์ 40 79 119 2/5 16 23 39 5/4 15 23 38 2/6 17 23 40 5/5 15 24 39 2/7 17 22 39 5/6 12 26 38 2/8 18 22 40 5/7 9 30 39 2/9 15 23 38 ม.5 ศลิ ป์ 51 103 154 2/10 16 22 38 รวม ม.2 164 226 390 รวม ม.5 91 182 273 3/1 18 22 40 6/1 11 25 36 3/2 18 20 38 6/2 11 32 43 3/3 17 20 37 6/3 15 23 38 3/4 16 23 39 ม.6 วิทย์ 37 80 117 3/5 20 20 40 6/4 16 23 39 3/6 20 20 40 6/5 14 25 39 3/7 18 21 39 6/6 26 10 36 3/8 17 22 39 6/7 16 24 40 3/9 17 23 40 ม.6 ศลิ ป์ 72 82 154 3/10 17 22 39 รวม ม.3 178 213 391 รวม ม.6 109 162 271 รวม ม.ต้น 507 672 1,179 รวม ม.ปลาย 281 541 822 ม.1 แขวนลอย 0 0 0 รวม ม.ตน้ +ปลาย 788 1213 2,001 ม.2 แขวนลอย 0 0 0 ม.3 ค้างรุ่น 000 ม.3 แขวนลอย 0 0 0 ม.6 ค้างรุ่น 000 ม.4 แขวนลอย 0 0 0 รวมค้างรุ่น 000 ม.5แขวนลอย 0 0 0 รวมทั้งสิ้น 788 1214 2,002 ม.6 แขวนลอย 0 1 1 รวมแขวนลอย 0 1 1 ข้อมูล 10 มถิ ุนายน 2565 รวม ม.ต้น+ปลาย+แขวนลอย 788 1214 2,002



7 คณะกรรมการบริหารโรงเรยี น นางสาวอารรี ัตน ชูรวง ผอู ำนวยการโรงเรยี น นางดวงตะวัน นามา นางทาริกา วงศแ กว นายจติ รภณ ชมภู นายวิษรตุ ต เมืองทา รองผูอำนวยการโรงเรียน รองผอู ำนวยการโรงเรยี น รองผูอ ำนวยการโรงเรยี น รองผูอำนวยการโรงเรยี น

8 ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษากลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย

ครูและบุคลากรทางการศึกษากลุมสาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร 9

ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษากลุม สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 10

11 ครูและบุคลากรทางการศึกษากลุม สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

12 ครแู ละบุคลากรทางการศึกษากลุมสาระการเรยี นรสู ขุ ศึกษาและพลศึกษา

13 ครูและบคุ ลากรทางการศึกษากลุม สาระการเรียนรศู ิลปะ

14 ครูและบุคลากรทางการศึกษากลุมสาระการเรยี นรูก ารงานอาชีพ

ครูและบคุ ลากรทางการศึกษากลุม สาระการเรยี นรูภ าษาตางประเทศ 15



16 หลกั สูตรสถานศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ให้เป็นหลักสูตรแกนกลาง ของประเทศ โดยกำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรยี นร้เู ป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ เป็นคนดี มีปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีขีดความสามารถในการแข่งขันในเวทีระดับโลก (กระทรวงศึกษาธิการ , 2544) พร้อมกันนี้ได้ปรับกระบวนการพัฒนาหลักสูตรให้มีความสอดคล้องกับเจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่มุ่งเน้นการกระจายอำนาจทางการศึกษาให้ท้องถิ่นและ สถานศึกษาได้มีบทบาทและมีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพ และความต้องการของท้องถิ่น (สำนักนายกรัฐมนตรี, 2542) จากการวิจัย และติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรในช่วงระยะ 6 ปีที่ผ่านมา (สำนัก วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา, 2546 ก., 2546 ข., 2548 ก., 2548 ข.; สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา,2547; สำนัก ผู้ตรวจราชการและติดตามประเมินผล 2548; สุวิมล ว่องวาณิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย, 2547; Nutravong2002; Kittisunthorn,2003) พบวา่ หลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2544 มีจดุ ดีหลายประการ เช่น ช่วยส่งเสรมิ การ กระจายอำนาจทางการศึกษาทำให้ท้องถิ่นและสถานศึกษามีส่วนร่วมและมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาหลักสูตรให้ สอดคล้องกับความต้องการ ของท้องถิ่น และมีแนวคิดและหลักการในการส่งเสริมการพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวมอย่าง ชัดเจน อย่างไรก็ตามผลการศึกษาดังกล่าวยังได้สะท้อนให้เห็นถึงประเด็นที่เป็นปัญหาและความไม่ชัดเจนของหลักสูตร หลายประการทั้งในส่วนของเอกสารหลักสูตร กระบวนการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ และผลผลติ ทีเ่ กิดจากการใช้หลักสูตร ไดแ้ ก่ ปัญหาความสับสนของผู้ปฏบิ ัติในระดับสถานศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สถานศกึ ษาส่วนใหญ่กำหนด สาระและผลการเรียนรู้ที่คาดหวังไว้มากทำให้เกิดปัญหาหลักสูตรแน่น การวัดและประเมินผลไม่สะท้อนมาตรฐาน ส่งผล ต่อปญั หาการจัดทำเอกสารหลักฐานทางการศึกษาและการเทียบโอนผลการเรยี น รวมท้งั ปัญหาคุณภาพของผู้เรียนในด้าน ความรู้ ทักษะ ความสามารถ และคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์อันยังไมเ่ ปน็ ที่น่าพอใจ นอกจากนัน้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ.2550-2554)ได้ชี้ให้เห็นถึงความจำเป็นในการปรบั เปล่ียนจุดเนน้ ในการพัฒนาคณุ ภาพคน ในสังคมไทยให้มคี ุณธรรม และมคี วามรอบรู้อย่างเทา่ ทัน ใหม้ คี วามพร้อมทั้งด้านรา่ งกาย สติปัญญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถก้าวทันการเปลี่ยนแปลงเพื่อนำไปสู่สังคมฐานความรู้ได้อย่างมั่นคง แนวการพัฒนาคนดังกล่าวมุ่งเตรียมเด็กและ เยาวชนให้มีพื้นฐานจติ ใจที่ดีงาม มีจิตสาธารณะ พร้อมทั้งมีสมรรถนะ ทักษะและความรู้พื้นฐานที่จำเป็นในการดำรงชีวติ อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน (สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2549) ซึ่งแนวทางดังกล่าว สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่โลกยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริม ผู้เรียนมคี ุณธรรม รกั ความเปน็ ไทย ให้มที ักษะการคิดวเิ คราะห์ สรา้ งสรรค์ มที กั ษะด้านเทคโนโลยี สามารถทำงานร่วมกับ ผอู้ น่ื และสามารถอยูร่ ่วมกบั ผ้อู ่นื ในสังคมโลกไดอ้ ย่างสนั ติ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) จากขอ้ คน้ พบในการศกึ ษาวิจัย และติดตามผลการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ที่ผ่านมาประกอบกับข้อมูลจากแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาคนในสังคมไทย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ ในการพัฒนาเยาวชนสู่ศตวรรษที่ 21 จึงเกิดการทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 เพื่อนำไปสู่

17 การพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 ท่มี ีความเหมาะสม ชัดเจนทงั้ เป้าหมายของหลักสูตร ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน พัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมพัฒนาประเทศพื้นฐานในการดำรงชีวิต การพัฒนาสมรรถนะและ ทักและกระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยได้มีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่ชัดเจน เพื่อใช้เป็น ทิศทางในการจัดทำหลักสูตร การเรียนการสอนในแต่ละระดับ นอกจากน้ันได้กำหนดโครงสร้างเวลาเรียนข้ันต่ำของแต่ละ กลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปีไว้ในหลักสูตรแกนกลาง และเปิดโอกาสให้สถานศึกษาเพิ่มเติมเวลาเรียนได้ตามความ พร้อมและจุดเน้น อีกทั้งได้ปรับกระบวนการวัดและประเมินผลผู้เรียน เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับ และเอกสาร แสดงหลักฐานทางการศกึ ษาให้มคี วามสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ และมคี วามชดั เจนตอ่ การนำไปปฏบิ ัติ เอกสารหลักสูตรสถานศึกษานี้ได้จัดทำขึ้นเพื่อนำไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือ พฒั นานักเรยี นใหม้ คี ุณภาพด้านความรู้ และทักษะทจ่ี ำเปน็ สำหรับการดำรงชีวติ ในสังคมท่ีมีการเปลยี่ นแปลง และแสวงหา ความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต วิสัยทัศน์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ โครงสร้างสถานศึกษา คำอธิบายรายวชิ ากิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น เกณฑ์การจบการศึกษาท่ีกำหนดไวใ้ นเอกสารน้ี ช่วยทำให้ เห็นผลคาดหวังที่ต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถช่วยให้สถานศึกษาพัฒนา หลกั สตู รไดอ้ ย่างมน่ั ใจ ทำให้การจดั ทำหลกั สูตรในระดับสถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพยิง่ ขน้ึ อีกทั้งยังช่วย ให้เกิดความชัดเจนเรื่องการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่าง การจัดหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทำงานอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ในการวางแผน ดำเนินการ ส่งเสริม สนบั สนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไขเพ่อื พัฒนาเยาวชนของชาติ ไปสคู่ ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ท่ีกำหนดไว้ วิสยั ทัศน์ โรงเรียนช้นั นำแหง่ คุณภาพ สรา้ งสรรค์และทนั สมัย มงุ่ พฒั นาผูเ้ รียนใหเ้ ป็นมนษุ ย์ท่ีมีความสมดลุ ท้งั ด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มจี ติ สำนึกในความเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ยึดมนั่ ในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข มีความรู้และทักษะพนื้ ฐาน รวมท้งั เจตคตทิ ่จี ำเป็นตอ่ การศึกษาตอ่ การประกอบอาชีพและ การศกึ ษาตลอดชวี ติ ยดึ หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ส่งเสรมิ ภูมิปัญญาท้องถน่ิ

18 หลกั การ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน มีหลกั การที่สำคัญ ดังนี้ 1. หลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเปน็ เอกภาพของชาติ มีจดุ หมายและมาตรฐานการเรยี นรู้ เปน็ เป้าหมายสำหรับพัฒนาเดก็ และเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพน้ื ฐาน ของความเปน็ ไทยควบคู่กับความเป็นสากล 2. เปน็ หลกั สตู รการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสไดร้ ับการศึกษาอย่าง เสมอภาค และมคี ุณภาพ 3. เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาที่สนองการกระจายอำนาจ ใหส้ งั คมมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา ให้สอดคล้อง กับสภาพและความต้องการของท้องถิน่ 4. เปน็ หลกั สตู รการศึกษาท่ีมีโครงสรา้ งยดื หย่นุ ท้ังดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาและการจดั การเรยี นรู้ 5. เปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาทเ่ี น้นผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ 6. เปน็ หลักสูตรการศกึ ษาสำหรบั การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั ครอบคลมุ ทกุ กลุ่มเปา้ หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน มุ่งพฒั นาผู้เรยี นใหเ้ ปน็ คนดี มีปญั ญามคี วามสุข มีศกั ยภาพในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชพี จงึ กำหนดเป็นจุดหมายเพ่ือใหเ้ กดิ กบั ผู้เรียน เมื่อจบการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ดังนี้ 1. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมที่พึงประสงค์ เหน็ คุณค่าของตนเอง มวี นิ ัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรมของ พระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ตี นนบั ถือ ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสือ่ สาร การคิด การแกป้ ัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทกั ษะชวี ติ 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ที่ดี มสี ขุ นสิ ยั และรักการออกกำลงั กาย

19 4. มีความรักชาติ มจี ิตสำนึกในความเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถชี วี ติ และ การปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข 5. มจี ติ สำนกึ ในการอนุรกั ษว์ ัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย การอนรุ ักษแ์ ละพัฒนาสิ่งแวดลอ้ ม มีจิตสาธารณะทีม่ ุ่ง ทำประโยชน์และสรา้ งสิ่งที่ดีงามในสงั คม และอย่รู ว่ มกนั ในสังคมอยา่ งมีความสขุ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการพัฒนาผู้เรยี นตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน มุ่งเนน้ พัฒนาผู้เรียนให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานที่ กำหนด ซงึ่ จะช่วยใหผ้ เู้ รียนเกิดสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดงั นี้ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น มุ่งให้ผเู้ รียนเกดิ สมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดงั น้ี 1. ความสามารถในการส่อื สาร เปน็ ความสามารถในการรับและส่งสาร มวี ฒั นธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอด ความคดิ ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สกึ และทศั นะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมลู ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็น ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาตนเองและสังคม รวมทัง้ การเจรจาตอ่ รองเพื่อขจัด และลดปญั หาความขัดแย้งตา่ ง ๆ การเลอื กรับ หรือไมร่ ับขอ้ มูลขา่ วสารด้วยหลกั เหตผุ ลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใชว้ ิธสี ่อื สารที่มีประสิทธภิ าพโดยคำนึงถึง ผลกระทบที่มตี ่อตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เปน็ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสรา้ งสรรค์ การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพ่ือนำไปสู่การสร้างองคค์ วามรู้ หรือสารสนเทศเพื่อการตดั สนิ ใจเกี่ยวกบั ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชญิ ไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลกั เหตผุ ล คุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เขา้ ใจความสัมพนั ธแ์ ละการ เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ประยุกต์ความรมู้ าใชใ้ นการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการ ตัดสนิ ใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่เี กิดข้ึนต่อตนเอง สงั คมและส่งิ แวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เปน็ ความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนิน ชีวิตประจำวนั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริม ความสัมพนั ธ์อันดรี ะหวา่ งบุคคล การจัดการปญั หาและความขัดแยง้ ต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการ

20 เปลยี่ นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรจู้ ักหลกี เลยี่ งพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ทีส่ ่งผลกระทบต่อตนเองและ ผอู้ ่ืน 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลอื ก และใช้ เทคโนโลยี ด้านตา่ ง ๆ และมที ักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพฒั นาตนเองและสงั คม ในด้านการเรยี นรู้ การส่อื สารการ ทำงาน การแกป้ ญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ มุ่งพัฒนาผเู้ รยี นให้มคี ุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ เพ่ือให้สามารถอยรู่ ่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้ อย่างมคี วามสุขในฐานะ เปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซ่ือสตั ย์สจุ รติ 3. มวี ินัย 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง 6. มงุ่ ม่ันในการทำงาน 7. รกั ความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ

21 มาตรฐานการเรียนรู้ การพฒั นาผ้เู รยี นใหเ้ กิดความสมดลุ ต้องคำนึงถงึ หลกั พัฒนาการทางสมองและพหุปญั ญา หลักสตู รแกนกลาง การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน จงึ กำหนดให้ผ้เู รยี นเรียนรู้ 8 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ดังน้ี 1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร์ 3. วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 5. สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 6. ศลิ ปะ 7. การงานอาชีพ 8. ภาษาต่างประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรไู้ ด้กำหนดมาตรฐานการเรยี นรเู้ ปน็ เปา้ หมายสำคัญของการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรยี นรู้ระบสุ ่งิ ท่ีผเู้ รียนพึงรู้ ปฏบิ ัตไิ ด้ มีคุณธรรมจรยิ ธรรม และคา่ นิยม ทพี่ ึงประสงคเ์ ม่อื จบการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน นอกจากน้ันมาตรฐานการเรียนรู้ยงั เปน็ กลไกสำคัญในการขบั เคลื่อนพฒั นา การศึกษาท้งั ระบบ เพราะมาตรฐานการเรยี นร้จู ะสะท้อนใหท้ ราบวา่ ตอ้ งการอะไร จะสอนอยา่ งไร และประเมินอย่างไร รวมท้ังเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพ่ือการประกันคณุ ภาพการศึกษาโดยใช้ระบบ การประเมินคุณภาพภายในและการประเมนิ คุณภาพภายนอก ซง่ึ รวมถงึ การทดสอบระดับเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา และการ ทดสอบระดบั ชาติ ระบบการตรวจสอบเพอ่ื ประกนั คณุ ภาพดงั กลา่ วเปน็ ส่งิ สำคญั ทชี่ ่วยสะทอ้ นภาพการจัดการศึกษาวา่ สามารถพฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ีคุณภาพตามท่ีมาตรฐานการเรยี นรู้กำหนดเพียงใด ตัวชว้ี ัด ตวั ชี้วัดระบุสง่ิ ท่นี ักเรียนพึงรูแ้ ละปฏิบัตไิ ด้ รวมท้ังคณุ ลักษณะของผเู้ รยี นในแต่ละระดับชั้น ซึ่งสะทอ้ นถงึ มาตรฐาน การเรยี นรู้ มคี วามเฉพาะเจาะจงและมีความเปน็ รูปธรรม นำไปใช้ในการกำหนดเนื้อหา จัดทำหนว่ ยการเรียนรู้ จดั การ เรียนการสอน และเปน็ เกณฑ์สำคญั สำหรับการวดั ประเมนิ ผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน 1. ตัวช้วี ัดชัน้ ปี เป็นเปา้ หมายในการพฒั นาผเู้ รยี นแต่ละชน้ั ปีในระดับการศกึ ษาภาคบังคับ (ประถมศึกษาปที ่ี 1- มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3) 2. ตัวช้ีวัดชว่ งชั้น เปน็ เป้าหมายในการพฒั นาผูเ้ รยี นในระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย(มัธยมศึกษาปที ี่ 4-6) หลกั สูตรได้มีการกำหนดรหัสกำกบั มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้ีวัด เพือ่ ความเขา้ ใจและ ให้สอื่ สารตรงกัน ดังนี้

22 ว 1.1 ป. 1/2 ป.1/2 ตวั ชี้วดั ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ข้อท่ี 2 1.1 สาระที่ 1 มาตรฐานขอ้ ท่ี 1 ว กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต 2.2 ม.4-6/ 3 ม.4-6/3 ตวั ชว้ี ัดช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ข้อท่ี 3 2.2 สาระท่ี 2 มาตรฐานขอ้ ท่ี 2 ต กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย องคค์ วามรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรยี นรู้ และคุณลักษณะ อนั พึงประสงค์ ซ่ึงกำหนดใหผ้ เู้ รยี นทุกคนในระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐานจำเปน็ ต้องเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น 8 กล่มุ สาระการ เรียนรู้ ดังนี้

23 ภาษาไทย : ความรู้ ทกั ษะ คณติ ศาสตร์ : การนำความรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทักษะและกระบวนการ และวฒั นธรรมการใช้ภาษา : การนำความรู้ และกระบวนการ ทางคณติ ศาสตร์ไปใชใ้ น เพอ่ื การสอ่ื สาร ความชื่นชม การแก้ปญั หา การดำเนนิ ชวี ติ ทางวิทยาศาสตรไ์ ปใชใ้ นการศึกษา และศกึ ษาตอ่ การมีเหตมุ ผี ล ค้นคว้าหาความรู้ และแก้ปญั หา การเห็นคณุ ค่าภมู ิปญั ญาไทย มีเจตคติท่ดี ตี อ่ คณติ ศาสตร์ และภมู ใิ จในภาษาประจำชาติ พฒั นาการคิดอย่างเปน็ ระบบ อยา่ งเป็นระบบ การคิดอยา่ งเปน็ เหตุ และสร้างสรรค์ เปน็ ผล คดิ วเิ คราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ จิตวทิ ยาศาสตรแ์ ละการใช้เทคโนโลยี ภาษาตา่ งประเทศ : องค์ความรู้ ทักษะสำคญั สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ความร้ทู กั ษะ เจตคติ และคุณลกั ษณะ : การอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมไทยและ สังคมโลกอย่างสันตสิ ุข การเป็น และวัฒนธรรม การใช้ ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พลเมอื งดี ศรทั ธาในหลักธรรม ภาษาต่างประเทศในการ ข้ันพ้ืนฐาน สือ่ สาร การแสวงหาความรู้ ของศาสนา การเหน็ คณุ คา่ ของ ทรพั ยากรและสิ่งแวดลอ้ ม ความรกั และการประกอบอาชีพ ชาติ และภมู ใิ จในความเปน็ ไทย การงานอาชพี : ความรู้ ทักษะ ศิลปะ : ความร้แู ละทักษะใน สุขศึกษาและพลศกึ ษา : ความรู้ และเจตคติในการทำงาน การคิดรเิ รม่ิ จินตนาการ ทกั ษะและเจตคตใิ นการสรา้ งเสรมิ สรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะ สุขภาพพลานามยั ของตนเองและผอู้ ่ืน การจดั การ การดำรงชวี ิต สนุ ทรยี ภาพและการเห็นคุณค่า การปอ้ งกันและปฏบิ ตั ติ อ่ สงิ่ ตา่ ง ๆ ทางศิลปะ การประกอบอาชีพ ทมี่ ผี ลต่อสขุ ภาพอยา่ งถกู วิธแี ละทกั ษะ ในการดำเนินชวี ิต

24 วสิ ัยทศั น์ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน มุ่งพัฒนาผ้เู รยี นทกุ คน ซงึ่ เป็นกำลงั ของชาติให้เป็นมนษุ ย์ที่มคี วามสมดลุ ทั้งดา้ นร่างกาย ความรู้ คณุ ธรรม มจี ิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเปน็ พลโลก ยดึ ม่นั ในการปกครองตามระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข มคี วามรู้และทกั ษะพ้นื ฐาน รวมท้ัง เจตคติ ท่ีจำเป็นต่อการศึกษาตอ่ การประกอบอาชีพและการศกึ ษาตลอดชีวติ โดยมงุ่ เนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั บนพ้นื ฐานความเชือ่ ว่า ทกุ คนสามารถเรยี นรู้ และพัฒนาตนเองไดเ้ ต็มตามศักยภาพ จุดหมาย 1. มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เหน็ คุณค่าของตนเอง มีวินยั และปฏิบัติตนตามหลักธรรม ของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนบั ถือ ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. มีความรอู้ นั เป็นสากลและมคี วามสามารถในการส่ือสารการคิดการแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยแี ละมที ักษะชีวติ 3. มสี ุขภาพกายและสุขภาพจติ ท่ดี ี มีสขุ นสิ ยั และรักการออกกำลงั กาย 4. มีความรักชาติ มจี ิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวถิ ีชวี ิตและการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ 5. มีจติ สำนกึ ในการอนรุ ักษ์วัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย การอนรุ ักษแ์ ละพฒั นาสงิ่ แวดลอ้ ม มีจิตสาธารณะท่ี มุ่งทำประโยชน์และสร้างสงิ่ ท่ีดงี ามในสังคม และอยรู่ ว่ มกันในสังคมอย่างมีความสขุ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2. ความสามารถในการคิด 2. ซื่อสัตย์สจุ รติ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 3. มวี นิ ยั 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. อยอู่ ยา่ งพอเพียง 6. ม่งุ มัน่ ในการทำงาน 7. รกั ความเปน็ ไทย 8. มีจติ สาธารณะ

25 มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้ีวดั 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 1. ภาษาไทย 2. คณติ ศาสตร์ 3. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4. สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 5. สขุ ศึกษาและพลศึกษา 6. ศิลปะ 7. การงานอาชีพ 8. ภาษาตา่ งประเทศ คณุ ภาพของผ้เู รยี นระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนหนองไผม่ ี 2 แผนการเรียน ดังนี้ 1. แผนการเรยี นที่เนน้ วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษและเทคโนโลยี 2. แผนการเรยี นท่ัวไป ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายโรงเรียนหนองไผม่ ี 5 แผนการเรียน ดังน้ี 1. แผนการเรียนวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ 2. แผนการเรียนวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ คอมพวิ เตอร์ 3. แผนการเรยี นคณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ 4. แผนการเรียนภาษาไทย สังคมศึกษา 5. แผนการเรียนภาษาอังกฤษ ภาษาจีน

โครงสรา้ งหลักสูตร 26 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรยี นหนองไผ่ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 ตามหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 หอ้ งเรียน SMET (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 รหัสวิชา รายวิชา/กจิ กรรม ชว่ั โมง รหัสวชิ า รายวิชา/กิจกรรม ชั่วโมง (หน่วยกติ ) (หน่วยกติ ) วิชาพน้ื ฐาน วิชาพนื้ ฐาน 3 (1.5) 3 (1.5) ท21101 ภาษาไทย 3 (1.5) ท21102 ภาษาไทย 2 (1.0) 1 (0.5) ค21101 คณติ ศาสตร์ 3 (1.5) ค21102 คณติ ศาสตร์ 3 (1.5) 1 (0.5) ว21101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 (1.0) ว21102 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 (1.5) 2 (1.0) ว21103 การออกแบบและเทคโนโลยี 1 (0.5) ว21104 วิทยาการคานวณ 2 (1.0) 2 (1.0) ส21101 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั ธรรม 3 (1.5) ส21102 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒธรรม 22(11.0) ส21103 ประวัตศิ าสตร์ 1 (0.5) ส21104 ประวัตศิ าสตร์ 2(1.0) 2(1.0) อ21101 ภาษาองั กฤษ 3 (1.5) อ21102 ภาษาองั กฤษ 2(1.0) 2(1.0) พ21101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 2 (1.0) พ21102 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 2(1.0) 1(0.5) ศ21101 ศลิ ปะ 2 (1.0) ศ21102 ศลิ ปะ 11(5.5) ง21101 การงานอาชพี 2 (1.0) ง21102 การงานอาชพี 1(0) 1(0) รวม 22(11.0) รวม 1(0) 3 วิชาเพมิ่ เตมิ วิชาเพมิ่ เตมิ 36 ค20201 คณติ ศาสตร์ 1 2(1.0) ค20202 คณติ ศาสตร์ 2 ว20207 ของเลน่ เชิงวทิ ยาศาสตร์ 2(1.0) ว20208 วิทยาศาสตร์กบั ความงาม ว20244 การสร้างสือ่ e-book 2(1.0) ว20245 ตกแตง่ ภาพดว้ ย Photoshop อ20201 ภาษาอังกฤษฟงั พดู 1 2(1.0) อ20202 ภาษาองั กฤษฟงั พดู 2 I20201 การศกึ ษาคน้ ควา้ และสร้างองคค์ วามรู้ 2(1.0) I20202 การสื่อสารและการนาเสนอ หน้าทพี่ ลเมอื ง 1(0.5) หน้าทพ่ี ลเมอื ง รวม 11(5.5) รวม กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน แนะแนว 1(0) แนะแนว ลกู เสอื เนตรนารี ยุวกาชาด 1(0) ลูกเสอื เนตรนารี ยุวกาชาด ชมุ นุม 1(0) ชมุ นุม รวม 3 รวม รวมทงั้ หมด 36 รวมทง้ั หมด

27 โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรียนหนองไผ่ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ห้องเรียน SMET (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 รหัสวชิ า รายวิชา/กจิ กรรม ชัว่ โมง รหัสวิชา รายวิชา/กิจกรรม ช่วั โมง (หนว่ ยกติ ) (หน่วยกติ ) วิชาพนื้ ฐาน วิชาพน้ื ฐาน 3 (1.5) 3 (1.5) ท 22101 ภาษาไทย 3 (1.5) ท 22102 ภาษาไทย 2 (1.0) 1 (0.5) ค 22101 คณติ ศาสตร์ 3 (1.5) ค 22102 คณติ ศาสตร์ 3 (1.5) 1 (0.5) ว 22101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 (1.0) ว 22102 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 (1.5) 2 (1.0) ว 22103 การออกแบบและเทคโนโลยี 1 (0.5) ว 22104 วทิ ยาการคานวณ 2 (1.0) 2 (1.0) ส 22101 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒธรรม 3 (1.5) ส 22102 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒธรรม 22(11.0) ส 22103 ประวัตศิ าสตร์ 1 (0.5) ส 22104 ประวตั ศิ าสตร์ 2(1.0) 2(1.0) อ 22101 ภาษาองั กฤษ 3 (1.5) อ 22102 ภาษาอังกฤษ 2(1.0) 2(1.0) พ 22101 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 2 (1.0) พ 21102 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 2(1.0) 1(0.5) ศ 22101 ศลิ ปะ 2 (1.0) ศ 22102 ศลิ ปะ 11(5.5) ง 22101 การงานอาชีพ 2 (1.0) ง 22102 การงานอาชีพ 1(0) 1(0) รวม 22(11.0) รวม 1(0) 3 วิชาเพม่ิ เตมิ วิชาเพมิ่ เตมิ 36 ค20203 คณติ ศาสตร์ 3 2(1.0) ค20204 คณติ ศาสตร์ 4 2(1.0) ว20210 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ 2 ว20209 โครงงานวิทยาศาสตร์ 1 ว20249 การเขียนโปรแกรม 2(1.0) ว20243 งานกราฟฟกิ อ20203 ภาษาองั กฤษฟงั พดู 3 2(1.0) อ20204 ภาษาอังกฤษฟงั พดู 4 หน้าทพี่ ลเมอื ง 1(0.5) จ20221 ภาษาจีนฟงั พดู 1 รวม 9(4.5) หน้าทพ่ี ลเมอื ง กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน รวม I20203 การนาองคค์ วามรู้ไปใชบ้ ริการสังคม 2(0) กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน แนะแนว 1(0) แนะแนว ลกู เสอื เนตรนารี ยุวกาชาด 1(0) ลูกเสอื เนตรนารี ยุวกาชาด ชุมนุม 1(0) ชุมนุม รวม 5 รวม รวมทง้ั หมด 36 รวมทง้ั หมด

28 โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรียนหนองไผ่ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หอ้ งเรียน SMET (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 รหัสวชิ า รายวิชา/กิจกรรม ช่วั โมง รหัสวชิ า รายวชิ า/กิจกรรม ชั่วโมง (หน่วยกติ ) (หนว่ ยกติ ) วิชาพน้ื ฐาน วิชาพน้ื ฐาน ท23101 ภาษาไทย 3 (1.5) ท23102 ภาษาไทย 3 (1.5) ค23101 คณติ ศาสตร์ 3 (1.5) ค23102 คณติ ศาสตร์ 3 (1.5) ว23101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 (1.0) ว23102 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 (1.0) ว23103 การออกแบบและเทคโนโลยี 1 (0.5) ว23104 วิทยาการคานวณ 1 (0.5) ส23101 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒธรรม 3 (1.5) ส23102 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั ธรรม 3 (1.5) ส23103 ประวตั ศิ าสตร์ 1 (0.5) ส23104 ประวตั ศิ าสตร์ 1 (0.5) อ23101 ภาษาอังกฤษ 3 (1.5) อ23102 ภาษาอังกฤษ 3 (1.5) พ23101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 2 (1.0) พ23102 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 2 (1.0) ศ23101 ศลิ ปะ 2 (1.0) ศ21102 ศลิ ปะ 2 (1.0) ง23101 การงานอาชีพ 2 (1.0) ง23102 การงานอาชพี 2 (1.0) รวม 22(11.0) รวม 22(11.0) วิชาเพมิ่ เตมิ วิชาเพม่ิ เตมิ ค20205 คณติ ศาสตร์ 5 2(1.0) ค20206 คณติ ศาสตร์ 6 2(1.0) ว20211 เชอื้ เพลงิ เพอ่ื การคมนาคม 2(1.0) ว20212 พลงั งานทดแทนและการใชป้ ระโยชน์ 2(1.0) ว20246 สร้าง Web Site 2(1.0) ว20242 งานกราฟฟกิ 2(1.0) อ20205 ภาษาอังกฤษฟงั พดู 5 2(1.0) อ20204 ภาษาอังกฤษฟงั พดู 4 2(1.0) จ20222 ภาษาจีนฟงั พดู 2 2(1.0) จ20223 ภาษาจีนฟงั พดู 3 2(1.0) หน้าทพ่ี ลเมอื ง 1(0.5) หน้าทพ่ี ลเมอื ง 1(0.5) รวม 11(5.5) รวม 11(5.5) กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน แนะแนว 1(0) แนะแนว 1(0) ลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาด 1(0) ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด 1(0) ชมุ นุม 1(0) ชมุ นุม 1(0) รวม 3 รวม 3 รวมทงั้ หมด 36 รวมทง้ั หมด 36

29 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหนองไผ่ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4 - 6 (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร์) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุม่ สาระการเรียนรู้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 จานวนชั่วโมง/สัปดาห์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาษาไทย พนื้ ฐาน เพมิ่ เตมิ พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ พนื้ ฐาน เพมิ่ เตมิ คณติ ศาสตร์ 2 02 0 พน้ื ฐาน เพมิ่ เตมิ พนื้ ฐาน เพมิ่ เตมิ 2020 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 32 3 2 0 20 2323 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 3 13 1 13 2 3 23 2 11 0 13 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 3 13 1 3 12 3 11 2020 ศลิ ปะ 1 01 1 3 1 31 1111 การงานอาชพี 1 01 0 1 1 10 1010 ภาษาตา่ งประเทศ 1 01 0 1 0 10 1010 IS 2 22 2 1 0 10 2222 รวม 0 00 0 2 2 22 0202 กิจกรรม (แนะแนว,ชุมนุม,เพอื่ สังคมฯ) 15 19 13 20 0 0 02 13 19 11 21 รวมทงั้ หมด 15 19 15 19 22 22 23 36 35 36 36 34 35 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหนองไผ่ ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 - 6 (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร์ - คอมพวิ เตอร์) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุม่ สาระการเรียนรู้ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 จานวนชว่ั โมง/สัปดาห์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาษาไทย พน้ื ฐาน เพมิ่ เตมิ พน้ื ฐาน เพมิ่ เตมิ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 พนื้ ฐาน เพม่ิ เตมิ พนื้ ฐาน เพมิ่ เตมิ คณติ ศาสตร์ 2 02 0 พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ พน้ื ฐาน เพมิ่ เตมิ 2020 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 32 3 2 0 20 2323 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 3 13 1 13 2 3 23 2 11 0 13 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 3 13 1 3 11 3 11 2020 ศลิ ปะ 1 01 1 3 1 31 1111 การงานอาชพี 1 01 0 1 1 10 1010 ภาษาตา่ งประเทศ 1 01 0 1 0 10 1010 IS 2 22 2 1 0 10 2222 รวม 0 00 0 2 2 22 0202 กจิ กรรม (แนะแนว,ชมุ นุม,เพอ่ื สังคมฯ) 15 19 13 20 0 0 02 13 19 11 21 รวมทงั้ หมด 15 18 15 19 22 24 23 36 35 35 38 34 35

30 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหนองไผ่ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 (แผนการเรียนคณติ ศาสตร์ - ภาษาองั กฤษ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) จานวนชัว่ โมง/สปั ดาห์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาษาไทย พนื้ ฐาน เพมิ่ เตมิ พน้ื ฐาน เพมิ่ เตมิ พน้ื ฐาน เพมิ่ เตมิ พนื้ ฐาน เพมิ่ เตมิ พน้ื ฐาน เพมิ่ เตมิ พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 32 3 2 3 23 2323 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 2 22 2 2 2 22 2222 ศลิ ปะ การงานอาชพี 3 31 3 3 3 33 2305 ภาษาตา่ งประเทศ IS 3 23 2 3 1 32 2222 รวม กจิ กรรม (แนะแนว,ชุมนุม,เพอ่ื สังคมฯ) 1 11 1 1 1 10 1111 รวมทงั้ หมด 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1 1 1 1 1 1 2 42 4 2 4 24 2424 0 00 2 0 2 02 0000 15 17 13 19 15 18 15 18 13 17 11 19 33 22 35 35 35 35 35 33 35 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหนองไผ่ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 - 6 (แผนการเรียนภาษาองั กฤษ - ภาษาจนี ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) จานวนชั่วโมง/สัปดาห์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 กลุม่ สาระการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาษาไทย พนื้ ฐาน เพม่ิ เตมิ พน้ื ฐาน เพมิ่ เตมิ พนื้ ฐาน เพม่ิ เตมิ พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ พนื้ ฐาน เพมิ่ เตมิ พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 02 0 2 0 20 2020 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 2 02 0 2 0 20 2020 ศลิ ปะ การงานอาชีพ 3 21 2 3 2 32 2202 ภาษาตา่ งประเทศ IS 3 23 2 3 1 32 2224 รวม กิจกรรม (แนะแนว,ชมุ นุม,เพอ่ื สังคมฯ) 1 11 1 1 1 10 1111 รวมทงั้ หมด 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1 1 1 1 1 1 2 10 2 10 2 10 2 10 2 10 2 10 0 00 2 0 2 00 0000 15 17 13 19 15 18 15 16 13 17 11 19 33 24 35 35 35 35 35 33 35

31 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหนองไผ่ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 (แผนการเรียนภาษาไทย - สังคม) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) จานวนชั่วโมง/สปั ดาห์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 กลุม่ สาระการเรียนรู้ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาษาไทย พนื้ ฐาน เพมิ่ เตมิ พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ พน้ื ฐาน เพมิ่ เตมิ พน้ื ฐาน เพมิ่ เตมิ พน้ื ฐาน เพมิ่ เตมิ พนื้ ฐาน เพม่ิ เตมิ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 42 4 2 4 24 2626 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 2 02 0 2 0 20 2020 ศลิ ปะ การงานอาชีพ 3 21 2 3 2 32 2202 ภาษาตา่ งประเทศ IS 3 63 6 3 5 36 2426 รวม กจิ กรรม (แนะแนว,ชมุ นุม,เพอ่ื สงั คมฯ) 1 11 1 1 1 10 1111 รวมทง้ั หมด 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1 1 1 1 1 1 2 22 2 2 2 22 2222 0 00 2 0 2 02 0000 15 17 13 19 15 18 15 18 13 17 11 19 33 22 35 35 35 35 35 33 35

32 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน กิจกรรมพฒั นาผู้เรียนโรงเรียนหนองไผ่ มุง่ ใหผ้ เู้ รยี นได้พฒั นาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อความ เปน็ มนุษย์ท่ีสมบูรณท์ ั้งร่างกาย สติปญั ญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างใหเ้ ปน็ ผมู้ ีศลี ธรรม จริยธรรม มรี ะเบยี บวนิ ยั ปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำประโยชนเ์ พ่ือสงั คม สามารถจัดการตนเองได้ และอยูร่ ่วมกับผู้อื่นอยา่ งมีความสขุ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นมุง่ พัฒนาผู้เรยี นใหใ้ ชอ้ งค์ความรู้ ทักษะและเจตคติจากการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ และ ประสบการณ์ของผู้เรยี นมาปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเพอื่ ช่วยให้ผูเ้ รียนเกดิ สมรรถนะสำคัญ อนั ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแกป้ ัญหา ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต และความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี ซึ่งจะสง่ ผลในการพฒั นาผู้เรียนให้มคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ มีทกั ษะการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสงั คม ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุขในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก อันไดแ้ ก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอ่ื สตั ย์สจุ รติ มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ อยู่ อยา่ งพอเพยี ง ม่งุ มนั่ ในการทำงาน รักความเปน็ ไทย และมีจิตสาธารณะ โรงเรยี นหนองไผ่ ไดจ้ ัดกรรมพัฒนาผเู้ รยี นโดยแบง่ เปน็ 3 ลักษณะดังน้ี 1. กิจกรรมแนะแนว เป็นกจิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ และพัฒนาผู้เรยี นให้รู้จกั ตนเอง รรู้ ักษส์ ่งิ แวดลอ้ ม สามารถคิดตัดสนิ ใจ คดิ แกป้ ญั หา กำหนดเปา้ หมาย วางแผนชีวิตท้งั ด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากน้ยี ังชว่ ย ให้ครูรจู้ ักและเขา้ ใจผูเ้ รียน ท้ังยังเปน็ กิจกรรมทช่ี ว่ ยเหลอื และให้คำปรึกษาแกผ่ ู้ปกครองในการมสี ว่ นรว่ มพัฒนาผู้เรียน นกั เรียนทกุ คนตอ้ งเขา้ รว่ มกิจกรรมแนะแนว 20 ชัว่ โมงต่อภาคเรียน แนวการจดั กิจกรรมแนะแนว 1. สำรวจสภาพปญั หา ความตอ้ งการ ความสนใจ และธรรมชาตขิ องผเู้ รียน เพ่ือใชเ้ ป็นข้อมูลในการ กำหนดแนวทางและแผนการปฏิบัติกจิ กรรมแนะแนว 2. ศึกษาวสิ ัยทศั นข์ องสถานศกึ ษา และวเิ คราะหข์ ้อมูลของผูเ้ รยี นท่ีได้จากฐานข้อมูล ผู้เรียนรายบคุ คล หรือการสำรวจเพ่ือทราบปัญหา ความต้องการ และความสนใจ เพอื่ นำไปกำหนดสาระและรายละเอียดของกิจกรรมแนะ แนว 3. กำหนดสัดส่วนของกิจกรรมดา้ นการศึกษา การงานและอาชพี รวมทง้ั ชีวิตและสังคมให้ได้สดั สว่ นที่ เหมาะสม โดยยึดสภาพปญั หา ความตอ้ งการ ความสนใจ ตลอดจนธรรมชาติของผู้เรียนเป็นหลักทั้งนค้ี รูและผเู้ รยี นมี สว่ นรว่ มในการปฏิบตั ิกจิ กรรม 4. กำหนดแผนการปฏบิ ตั ิกิจกรรมแนะแนว ระดบั มธั ยมศกึ ษาจัดเปน็ รายภาค เม่ือกำหนดสัดสว่ นของ กจิ กรรมในแตล่ ะด้านแล้ว จะตอ้ งระบุวา่ จะจดั กจิ กรรมแนะแนวในดา้ นใด จำนวนกีช่ ่ัวโมง พรอ้ มทั้งจะต้องกำหนด รายละเอยี ดของแต่ละด้านให้ชัดเจนว่าควรมเี ร่อื งอะไรบ้าง เพื่อจะได้จดั ทำเป็นรายละเอียดของแตล่ ะกจิ กรรมย่อยต่อไป 5. การจัดทำรายละเอยี ดของแต่ละแผนการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม เริ่มตงั้ แต่การกำหนดชื่อกจิ กรรม จุดประสงค์ เวลา เนอื้ หา / สาระ วธิ ดี ำเนินกิจกรรม ส่อื / อปุ กรณ์ และการประเมินผล 6. ปฏบิ ัติตามแผนการปฏิบัตกิ ิจกรรมแนะแนว วดั และประเมนิ ผล และสรปุ รายงาน

33 2. กิจกรรมนกั เรยี น เปน็ กิจกรรมท่มี งุ่ พฒั นาความมีระเบียบวนิ ยั ความเป็นผ้นู ำ ผ้ตู ามทดี่ ี ความรบั ผดิ ชอบ การทำงาน ร่วมกัน การรจู้ ักแก้ปัญหา การตัดสนิ ใจทเี่ หมาะสม ความมีเหตุผล การชว่ ยเหลอื แบง่ ปนั เอือ้ อาทรและสมานฉนั ท์ โดยจดั ใหส้ อดคล้องกับความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผ้เู รียน ใหไ้ ดป้ ฏิบตั ิด้วยตนเองในทุกขัน้ ตอน ได้แก่ การศึกษาวเิ คราะห์ วางแผน ปฏบิ ัติตามแผน ประเมนิ และปรับปรงุ การทำงาน เนน้ การทำงานรว่ มกนั เป็นกลุ่มตาม ความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรยี น และบริบทของสถานศึกษาและท้องถ่ิน กจิ กรรมนักเรยี นของ โรงเรียนหนองไผ่ ประกอบด้วย 2.1 กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด 2.2 กจิ กรรมชุมนุม ชมรม นักศึกษาวิชาทหาร นกั เรยี นมธั ยมศึกษาตอนต้นจะตอ้ งเข้าร่วมกิจกรรมท้ังในข้อ 2.1 จำนวน 20 ชั่วโมงต่อภาคเรยี น และจะต้องเข้ารว่ มกจิ กรรมทั้งในข้อ 2.2 จำนวน 20 ชวั่ โมงตอ่ ภาคเรียน นักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลายจะตอ้ งเข้ารว่ มกิจกรรมในข้อ 2.2 จำนวน 40 ช่วั โมงต่อภาคเรยี น แนวการจัดกิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี มีแนวทางการจดั กิจกรรมตามวธิ กี ารของลกู เสือ 7 ประการ ดงั นี้ 1.คำปฏญิ าณและกฎ 2.เรยี นรจู้ ากการกระทำ 3.ระบบหมู่ 4.การใช้สัญลกั ษณร์ ่วมกนั 5.การศกึ ษาธรรมชาติ 6.ความกา้ วหน้าในการร่วมกจิ กรรม 7.การสนับสนบั สนนุ โดยผู้ใหญ่ กจิ กรรมยุวกาชาด มีแนวทางการจัดกจิ กรรมหลกั และกิจกรรมพิเศษ ดังน้ี กจิ กรรมหลัก หมายถงึ กิจกรรมพน้ื ฐานทสี่ ำคัญทีส่ มาชิกทุกคนต้องร่วมกิจกรรม มี 4 กลมุ่ กิจกรรม คือ 1.กลุม่ กจิ กรรมกาชาดและยวุ กาชาด 2.กลมุ่ กจิ กรรมสขุ ภาพ 3.กลุ่มกจิ กรรมสมั พันธภาพและความเข้าใจอนั ดี 4.กล่มุ กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ 5.กจิ กรรมพิเศษ เป็นกจิ กรรมเสริมกิจกรรมหลกั เพื่อสรา้ งทักษะ ความสามารถ ความถนัด หรอื ความ สนใจของผู้เรยี นโดยเฉพาะ ผเู้ รียนสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้

34 2. กจิ กรรมเพอ่ื สังคมสาธารณประโยชน์ เป็นกจิ กรรมทีส่ ง่ เสริมให้ผเู้ รียนบำเพญ็ ตนให้เป็นประโยชน์ตอ่ สงั คมชมุ ชนและท้องถน่ิ ตามความสนใจในลักษณะ อาสาสมคั รเพ่ือแสดงถงึ ความรับผดิ ชอบ ความดีงาม ความเสียสละตอ่ สังคม และการมจี ิตสาธารณะ นกั เรยี นมัธยมศึกษาตอนตน้ จะตอ้ งเขา้ รว่ มกิจกรรมเพื่อสงั คมสาธารณประโยชน์จำนวน 45 ช่วั โมง ตลอด 3 ปกี ารศึกษา นักเรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลายจะต้องเขา้ ร่วมกจิ กรรมเพื่อสังคมสาธารณประโยชนจ์ ำนวน 60 ชั่วโมง ตลอด 3 ปกี ารศึกษา แนวการจัดกจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ การจดั กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนโ์ รงเรยี นหนองไผจ่ ัดกิจกรรม ดงั นี้ นกั เรียนมธั ยมศึกษาตอนต้นจัดกจิ กรรมบูรณาการในกิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี ยวุ กาชาด ผบู้ ำเพญ็ ผ้สู อน สามารถจดั กจิ กรรมตามองค์ความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการเรียนรู้และประสบการณ์ ซึ่งสามารถจดั กิจกรรมได้ทั้งในโรงเรียนและ ภายนอกโรงเรียน โดยวางแผนการจดั กจิ กกรมรว่ มกับผเู้ รยี นในการดำเนินกจิ กรรม นกั เรียนมธั ยมศึกษาตอนปลายจัดกิจกรรมบูรณาการในชุมนมุ ผู้สอนสามารถจัดกจิ กรรมตามองค์ความรทู้ ี่ไดจ้ าก การเรียนรแู้ ละประสบการณ์ ซง่ึ สามารถจัดกิจกรรมได้ท้งั ในโรงเรียนและภายนอกโรงเรียน โดยวางแผนการจัดกจิ กกรม รว่ มกบั ผ้เู รยี นในการดำเนนิ กิจกรรม แนวทางการประเมินผลกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น การประเมนิ ผลการเขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ใหถ้ อื ปฏิบัติตามแนวทาง ดังนี้ 1. ผรู้ ับผิดชอบกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนของโรงเรียนและผูเ้ ก่ยี วข้องดำเนนิ การประเมนิ ผู้เรียนตามจดุ ประสงค์ ของกจิ กรรมอยา่ งต่อเนื่อง ตลอดชว่ งเวลาของการเข้ารว่ มกจิ กรรม โดยการรวบรวมจากบันทกึ การเข้ารว่ มกจิ กรรม และ ผลการปฏิบัติกิจกรรมจากผู้ท่ีเกี่ยวข้อง รวมท้งั เวลาทผ่ี เู้ รียนใชใ้ นการเขา้ ร่วมกจิ กรรม เมอ่ื ส้ินสุดกิจกรรมนำมาพจิ ารณา ตัดสินรว่ มกัน 2. การตดั สินการเข้ารว่ มกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นแตล่ ะกจิ กรรม โดยให้พจิ ารณาจากผลการประเมนิ ซง่ึ ต้อง ผ่านจุดประสงคส์ ำคัญของกิจกรรมทกุ ขอ้ และมีเวลาเข้าร่วมกจิ กรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียน 3. การใหร้ ะดับผลการตดั สิน การเขา้ รว่ มกจิ กรรม กำหนดใหร้ ะดับ ผลการประเมนิ เป็น“ผ่าน” และ “ไม่ ผ่าน” 4. ในกรณที ีผ่ ูเ้ รียน “ไม่ผา่ น” การเขา้ รว่ มกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน ให้ผู้เรียนเข้ารับการซ่อมเสริมหรือเลือก กิจกรรมใหมจ่ นผ่านครบทุกกิจกรรม ตามหลกั สตู ร 5. ผ้เู รียนทไี่ มผ่ า่ นเกณฑ์มาตรฐานการประเมิน การเข้ารว่ มกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น จะตอ้ งเข้ารว่ ม กจิ กรรมเสริมที่โรงเรียนจดั ขึ้น และสามารถผ่านเกณฑ์ทก่ี ำหนดให้หรือขยายเวลาเรยี นจนกว่าจะมีคณุ สมบัตติ ามเกณฑ์ การผา่ นช่วงชั้น

35 การวดั ผลประเมินผล ระเบยี บโรงเรยี นหนองไผ่ วา่ ดว้ ยการประเมินผลการเรียน ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ฉบบั แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ พ.ศ. ๒๕๖๑) โดยทีโ่ รงเรยี นหนองไผ่ ได้ประกาศใช้หลักสตู รโรงเรยี นตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ตามคำสงั่ กระทรวงศึกษาท่ี สพฐ. ๒๙๓/๒๕๕๑ ลงวนั ท่ี ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เรอ่ื งใหใ้ ชห้ ลักสตู รแกนกลาง การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ จงึ เป็นการสมควรท่จี ะระเบียบโรงเรียนหนองไผ่ ว่าด้วยการประเมินผลการเรยี น ตามหลักสตู รแกนกลาง การศึกษาข้นั พ้นื ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๕๑ เพ่ือใหส้ ามารถดำเนนิ การได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและ สอดคล้องกบั คำสงั่ ดังกลา่ ว ฉะนั้น อาศยั อำนาจตามความในมาตรา ๓๙ แหง่ พระราชบัญญตั ิระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และและกฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการ คณะกรรมการบริหารหลักสตู รและวิชาการของสถานศกึ ษา โดยความ เห็นชอบของคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน จึงวางระเบียบไวด้ งั ตอ่ ไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรยี กวา่ “ระเบยี บโรงเรยี นหนองไผว่ า่ ด้วยการประเมนิ ผลการเรยี น ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๒” ข้อ ๒ ระเบยี บน้ีให้ใชบ้ ังคบั ตั้งแต่ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๒ เปน็ ต้นไป ข้อ ๓ ใหย้ กเลกิ ระเบียบโรงเรยี นหนองไผ่วา่ ดว้ ยการประเมนิ ผลการเรยี นตามหลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๔ พ.ศ. ๒๕๔๘ บรรดาข้อบังคบั หรือคำส่งั อ่ืนใดในส่วนที่กำหนดไวใ้ นระเบียบน้ี หรือขัดแยง้ กบั ระเบียบนี้ ใหใ้ ช้ระเบยี บน้ีแทน ขอ้ ๔ ใหใ้ ชร้ ะเบียบนค้ี วบคู่กบั หลกั สตู รโรงเรียนหนองไผ่ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ พ.ศ.๒๕๕๒ ขอ้ ๕ ใหผ้ ู้อำนวยการ โรงเรียนหนองไผ่รกั ษาการใหเ้ ป็นไปตามระเบียบนี้

36 หมวด ๑ หลักการในการประเมินผลการเรยี น ข้อ ๖ การประเมินผลการเรียนให้เปน็ ไปตามหลักการต่อไปน้ี ๖.๑ โรงเรียนหนองไผเ่ ปน็ ผรู้ ับผดิ ชอบการประเมินผลการเรียนร้ขู องผเู้ รยี น โดยเปดิ โอกาสใหท้ กุ ฝา่ ยท่ี เกย่ี วข้องมีส่วนร่วม ๖.๒ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนตอ้ งสอดคลอ้ งและครอบคลุมมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวดั ตามกล่มุ สาระการเรยี นรู้ท่ีกำหนดในหลักสูตรและจัดใหม้ ีการประเมินการอา่ นคดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียนคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ตลอดจนกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน ๖.๓ การประเมนิ ผลการเรยี นพจิ ารณาจากพัฒนาการของผู้เรยี น ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรม การเรียนรู้ การร่วมกจิ กรรมและการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอน ตามความเหมาะสมของแตล่ ะระดับ และรูปแบบการศึกษา ๖.๔ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เปน็ ส่วนหนง่ึ ของกระบวนการจดั การ เรยี นการสอนต้องดำเนนิ การดว้ ยเทคนิควธิ ีการทห่ี ลากหลาย เพอ่ื ให้สามารถวดั และประเมนิ ผลผู้เรยี นไดอ้ ย่างรอบด้าน ทงั้ ด้านความรู้ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกับสงิ่ ทตี่ ้องการวดั ธรรมชาติวชิ าและระดับช้นั ของ ผเู้ รยี น โดยตงั้ อยบู่ นฐานความเทย่ี งตรง ยตุ ธิ รรมและเชอ่ื ถือได้ ๖.๕ การประเมินผลการเรียนรู้มีจดุ มงุ่ หมายเพื่อปรับปรงุ พัฒนาผเู้ รียน พฒั นาการจัดการเรียนรู้และ ตดั สินผลการเรยี น ๖.๖ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผ้มู ีส่วนเกีย่ วขอ้ งตรวจสอบผลการประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๖.๗ ใหม้ ีการเทยี บโอนผลการเรยี นระหว่างสถานศึกษาและรูปแบบการศึกษาตา่ ง ๆ ๖.๘ ใหม้ ีการจดั ทำเอกสารหลักฐานการศึกษา เพ่อื เปน็ หลักฐานการประเมินผลการเรยี นรู้ รายงานผล การเรียน แสดงวฒุ ิการศึกษาและรับรองผลการเรียนของผู้เรียน

37 หมวด ๓ วิธีการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ข้อ ๘ การประเมนิ ผลการเรียนร้ตู ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่ม ให้ถอื แนวปฏิบตั ิดังน้ี ๘.๑ การประเมินผลก่อนเรียน ๘.๑.๑ การประเมนิ ความพร้อมและพน้ื ฐานของผู้เรียนเป็นการประเมินความพร้อมและพื้นฐานของ ผู้เรยี นก่อนเรยี น ซึง่ มีความสำคญั และจำเปน็ ทีผ่ ู้สอนจะต้องดำเนินการเพ่ือเตรียมผู้เรยี นให้มคี วามพร้อมในการเรยี นอย่าง เหมาะสม และสามารถคาดหวงั ความสำเรจ็ ไดท้ ุกครง้ั ให้ถือแนวปฏิบัติดงั น้ี ๘.๑.๑.๑ วเิ คราะห์ความรู้และทักษะท่ีเป็นพ้ืนฐานของเรื่องท่ีจะต้องเรียน ๘.๑.๑.๒ เลอื กวิธกี ารและจัดทำเครื่องมือสำหรบั ประเมินความรู้ และทกั ษะพ้นื ฐานอยา่ ง เหมาะสมและมีประสทิ ธภิ าพ ๘.๑.๑.๓ ดำเนินการประเมินความรูแ้ ละทักษะพน้ื ฐานของผู้เรียน ๘.๑.๑.๔ นำผลการประเมินไปดำเนินการปรบั ปรงุ ผูเ้ รยี น ให้มคี วามรแู้ ละทักษะอยา่ ง เพยี งพอกอ่ นดำเนนิ การสอน ๘.๑.๑.๕ จัดการสอนในเรือ่ งทจ่ี ัดเตรยี มไว้ ๘.๑.๒ การประเมินความรอบร้ใู นเรอ่ื งท่ีจะเรยี นก่อนการเรียน เปน็ การประเมินผู้เรียนในเร่อื งทจี่ ะทำการ สอน เพอื่ ตรวจสอบวา่ ผูเ้ รียนมคี วามรแู้ ละทักษะในเร่ืองที่จะเรียนนั้นมากน้อยเพียงไร เพ่ือจะนำไปเป็นข้อมลู เบื้องตน้ ของ ผู้เรยี นแตล่ ะคนและนำไปเปรียบเทียบกบั ผลการเรียนร้ภู ายหลงั เข้ารว่ มกิจกรรมการเรยี นการสอนแล้ว จะทำให้ทราบถึง ศักยภาพในการเรยี นรู้ของผูเ้ รียน และประสทิ ธภิ าพในการจัดการเรยี นการสอน ๘.๑.๓ ผสู้ อนต้องแจง้ ให้ผเู้ รียนทราบตวั ชี้วดั วิธีการประเมินผล กอ่ นทำการสอน ๘.๑.๔ จุดประสงค์การเรยี นร้จู ะตอ้ งครอบคลมุ พฤติกรรมด้านความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการ และคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ ๘.๒ การประเมินระหวา่ งเรยี น ข้ันที่ ๑ เปน็ การประเมินเพือ่ ม่งุ ตรวจสอบพัฒนาการของผู้เรียนวา่ บรรลุ ตามตวั ชีว้ ดั ในการสอนตามแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ไดว้ างแผนไว้หรือไม่ ให้ถอื แนวทางปฏบิ ตั ิดงั นี้ ข้ันท่ี ๒ วางแผนการจดั การเรยี นรแู้ ละการประเมนิ ผลระหวา่ งเรียน ผสู้ อนจดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้และแนวทางการประเมินผล ใหส้ อดคลอ้ งกับตัวชว้ี ัดซ่งึ ควรระบุ ภาระงานท่ีจะทำให้ ผเู้ รยี นบรรลุผลตามตวั ชวี้ ัด ขน้ั ท่ี ๓ เลือกวธิ กี ารประเมินทส่ี อดคล้องกบั ภาระงานหรอื กิจกรรมหลกั ท่ีกำหนดใหผ้ ู้เรียนปฏิบตั ิ วิธีการประเมินทเี่ หมาะสมอย่างยง่ิ สำหรับการประเมินระหวา่ งเรยี น ได้แกก่ ารประเมินจากสงิ่ ท่ีผ้เู รยี นได้แสดงให้เห็นว่ามี

38 ความรู้ ทักษะและความสามารถ ตลอดจนมีคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ อันเป็นผลจากการเรียนรู้ ตามกระบวนการเรียนรู้ ท่ีจดั ผสู้ อนควรใช้วธิ กี ารประเมนิ ที่หลากหลาย ขั้นท่ี ๔ กำหนดสัดส่วนการประเมนิ ระหวา่ งเรยี นกับการประเมนิ ผลปลายภาคเรียนเป็นการ ประเมินเพื่อม่งุ นำสารสนเทศมาพัฒนาผู้เรยี นและปรับปรงุ กระบวนการ จดั การเรียนรขู้ องผ้สู อน ดงั นัน้ ควรใหน้ ำ้ หนัก ความสำคัญของการประเมนิ ในสดั สว่ นทีม่ ากกว่าการประเมินตอนปลายภาคเรยี นหรือปลายปี โดยคำนึงถงึ ธรรมชาตขิ อง วิชาและตวั ชวี้ ดั เปน็ สำคัญ และตอ้ งนำผลการประเมนิ ระหวา่ งเรยี นไปใชใ้ นการตดั สินผลการเรียนดว้ ย ขนั้ ที่ ๕ จดั ทำเอกสารบนั ทกึ ข้อมลู สารสนเทศของผู้เรียน ผ้สู อนตอ้ งจดั ทำเอกสารบนั ทึกข้อมูล สารสนเทศของผู้เรียนเก่ยี วกับการประเมนิ ผลระหว่างเรยี นอย่างเปน็ ระบบชัดเจน เพอื่ ใชเ้ ปน็ แหลง่ ข้อมูลในการปรับปรุง แก้ไข สง่ เสรมิ ผูเ้ รียน ใชเ้ ปน็ หลกั ฐานสำหรบั การส่ือสารกบั ผทู้ ่ีเกยี่ วข้อง และเปน็ หลกั ฐานทีต่ รวจสอบได้ อนั แสดงให้ เหน็ ถงึ ความโปร่งใสและยตุ ิธรรมในการประเมนิ ข้นั ที่ ๖ ในกรณีทด่ี ำเนินการประเมนิ ผลการเรยี นในระหว่างเรยี นตามตัวช้ีวดั /จดุ ประสงค์การ เรียนรู้/การทดสอบระหว่างเรียนในแต่ละหวั ข้อ/แตล่ ะครั้ง หากผู้เรียนไดร้ บั ผลการประเมนิ นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 60 ของ คะแนนทก่ี ำหนดใหค้ รผู ู้สอนประจำวิชาดำเนนิ การซ่อมเสริม เพิม่ เติมความรู้และทักษะที่บกพร่องแก่ผเู้ รยี นดว้ ยวธิ ีท่ี หลากหลาย จนกระท่ังนักเรยี นได้รบั ผลการประเมินในแต่ละตวั ช้วี ัด/จดุ ประสงค์การเรยี นรู/้ ผลการทดสอบระหวา่ งเรียนให้ ได้ผ่านเกณฑข์ ้ันต่ำท่รี ้อยละ 60 ข้นึ ไป ๘.๓ การประเมินเพ่ือสรุปผลการเรียน ๘.๓.๑ การประเมนิ หลงั เรยี นเป็นการประเมนิ ผู้เรียนในเร่ืองทเ่ี รยี นจบแล้วเพ่อื ตรวจสอบวา่ ผเู้ รียนเกิด การเรยี นรู้ตามตวั ช้ีวัดหรอื ไม่ และนำผลไปเปรียบเทียบกบั ผลการประเมินก่อนเรยี น เพื่อทราบถึงพฒั นาการและ ศักยภาพของผเู้ รียน ๘.๓.๒ การประเมนิ ผลการเรียนปลายภาคเป็นการประเมินเพอื่ ตรวจสอบผลสมั ฤทธข์ิ องผเู้ รียนในการ เรียนรายวชิ าต่าง ๆ ตามตวั บง่ ช้ีหรือตวั ชี้วัดรายภาค หลังจากจบกระบวนการเรยี นการสอน โดยประเมินให้ครอบคลมุ ทั้งดา้ นความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สามารถใชว้ ิธีการ และเครื่องมือการประเมินได้อยา่ ง หลากหลาย ใหส้ อดคล้องกบั ตัวบ่งช้ีหรอื ตัวชวี้ ดั เน้ือหาสาระ กจิ กรรมและช่วงเวลาในการประเมิน โดยนำผลการ ประเมนิ ระหวา่ งเรยี นมาใช้เป็นขอ้ มูลรว่ มในการประเมินผลปลายภาค ดว้ ยในสัดสว่ นการประเมินระหวา่ งเรยี นมากกว่า การประเมินผลปลายภาค ในการประเมินผลการเรียนปลายภาคทกุ ภาคเรยี น ให้มกี ารประเมิน ทักษะการอา่ น คิด วเิ คราะห์ และเขียนด้วย ขอ้ ๙ การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ให้ถือแนวปฏบิ ัตดิ ังน้ี ๙.๑ การประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นปลายภาค ๙.๑.๑ ผ้รู บั ผดิ ชอบกจิ กรรมประเมินการปฏบิ ัติกจิ กรรมของผเู้ รยี นตามจดุ ประสงค์การปฏิบัตขิ องแต่ละ กจิ กรรม โดยประเมินจากพฤตกิ รรมการปฏบิ ัติกจิ กรรมและผลการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ดว้ ยวธิ กี ารทีห่ ลากหลายตามสภาพจริง ๙.๑.๒ ผู้รบั ผิดชอบกิจกรรมตรวจสอบการใชเ้ วลาเขา้ ร่วมกจิ กรรมของผูเ้ รยี นวา่ มีเวลาเรยี นไม่น้อยกว่า รอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาทั้งหมด

39 ๙.๑.๓ เมื่อสิ้นภาคเรียน ผรู้ บั ผิดชอบกิจกรรมตอ้ งจดั ให้มกี ารประเมินการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมของผ้เู รยี น เพ่อื สรุปความกา้ วหน้าและสภาพของการปฏิบัติกิจกรรมของผู้เรยี น เพื่อการปรบั ปรุงแก้ไขหรือส่งเสริมการปฏบิ ัติกจิ กรรม ของผ้เู รียนให้เป็นไปอย่างถูกต้องและมีประสทิ ธิภาพ และรายงานผลการประเมนิ ใหผ้ ปู้ กครองทราบ โดยทำการประเมิน ตามจดุ ประสงค์ สำคญั ของกิจกรรมเพื่อตดั สนิ ผลการรว่ มกิจกรรมปลายภาค ๙.๒ การประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผา่ นช่วงช้ัน ให้ถอื แนวปฏิบตั ดิ ังนี้ ๙.๒.๑ กำหนดให้คณะอนุกรรมการกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น เปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบในการรวบรวมข้อมูลเกีย่ วกบั การร่วมกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นของผเู้ รียนทุกคนตลอดช่วงชัน้ ๙.๒.๒ ผ้รู ับผดิ ชอบสรปุ และประเมนิ ผลการรว่ มกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนเปน็ รายบคุ คล โดยพิจารณาเวลา การเข้าร่วมกิจกรรมต้องไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ และผ่านจดุ ประสงค์สำคัญ ของกิจกรรมทกุ ขอ้ ๙.๒.๓ นำเสนอผลการประเมนิ ตอ่ คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวิชาการเพ่ือให้ความเหน็ ชอบ ๙.๒.๔ เสนอผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นหนองไผ่เพือ่ พิจารณาอนุมตั ิตอ่ ไป ขอ้ ๑๐ การประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงคใ์ หถ้ อื แนวปฏิบตั ิดงั น้ี ๑๐.๑ คุณลักษณะอันพึงประสงคข์ องโรงเรยี นกำหนดไว้ ดังนี้ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ๒. ซ่อื สัตย์ สจุ รติ ๓. มีวนิ ัย ๔. ใฝเ่ รยี นรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพยี ง ๖. ม่งุ ม่ันในการทำงาน ๗. รกั ความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๑๐.๒ เกณฑก์ ารประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ดเี ยย่ี ม หมายถึง ผเู้ รียนมีคณุ ลักษณะในการปฏิบัติจนเปน็ นิสัยและ นำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั เพ่ือประโยชน์สุข ของตนเอง และสังคม ดี หมายถงึ ผูเ้ รยี นมคี ณุ ลักษณะในการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์เพื่อให้เปน็ ทย่ี อมรับของสงั คม ผา่ น หมายถึง ผเู้ รยี นรับรแู้ ละปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์และเงอื่ นไขทส่ี ถานศกึ ษากำหนด ๑๐.๓ กจิ กรรมพัฒนา มี ๓ ลกั ษณะคือ ๑. กิจกรรมแนะแนว ๒. กจิ กรรมนกั เรียนซงึ่ ประกอบดว้ ย ๑) กจิ กรรมลูกเสือเนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ และนกั ศึกษาวิชาทหาร โดยผเู้ รยี น เลอื กอยา่ งใดอย่างหน่งึ ๑ กจิ กรรม ๓. กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์

40 ให้ใชต้ วั อักษรแสดงผลการประเมินดงั น้ี “ผ” หมายถึง ผู้เรยี นมีเวลาเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ปฏิบัตกิ จิ กรรมและมผี ลงานตามเกณฑต์ ามทสี่ ถานศึกษา กำหนด “มผ” หมายถงึ ผ้เู รียนมเี วลาเข้าร่วมกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมและมผี ลงานไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ตามท่ี สถานศกึ ษากำหนด ในกรณีทีผ่ เู้ รียนไดผ้ ลการเรียน “มผ” สถานศึกษาต้องจัดซอ่ มเสริม ให้ผเู้ รยี นทำกิจกรรมในส่วนทีผ่ เู้ รยี นไม่ไดเ้ ข้า รว่ มหรอื ไม่ได้ทำจนครบถ้วน แลว้ จงึ เปลี่ยนผลการเรียนจาก “มผ” เปน็ “ผ” ได้ ทั้งนต้ี ้องดำเนนิ การใหเ้ สร็จในภาคเรียน น้นั ๆ ยกเวน้ มีเหตสุ ุดวสิ ัยให้อยใู่ นดลุ ยพินิจของสถานศึกษาท่จี ะพิจารณาขยายเวลาออกไปอกี ๑ ไม่เกนิ ภาคเรียน แต่ต้อง ดำเนินการให้เสร็จสิน้ ภายในปกี ารศึกษานัน้ ๑๐.๔ ผสู้ อนหรือครทู ป่ี รึกษาเลือกวิธกี ารประเมนิ และใชเ้ ครื่องมือท่หี ลากหลาย ไดแ้ ก่ การสังเกตพฤติกรรมในการดำเนนิ ชีวติ ประจำวันท้งั ในและนอกห้องเรยี น การสัมภาษณ์ การบันทกึ เหตุการณ์ การรายงานตนเอง เปน็ ต้น ทง้ั นี้จะต้องเหมาะสมกับกจิ กรรมและคุณลกั ษณะทจี่ ะประเมิน ๑๐.๕ ผ้รู บั ผดิ ชอบทำการประเมนิ และรวบรวมข้อมูลการประเมินคุณธรรมจรยิ ธรรม คา่ นิยม และ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคจ์ ากหลายฝ่าย เชน่ จากผูส้ อน ผเู้ รยี น ผู้ปกครอง และผูเ้ กี่ยวขอ้ ง ใหค้ ณะกรรมการพัฒนา และประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ประกอบการพิจารณาตัดสนิ ผลการประเมินคุณลักษณะแตล่ ะประการ ๑๐.๖ ผู้เรยี นทีไ่ ม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน ใหบ้ ันทกึ ขอ้ มลู “ควรปรบั ปรุง” แจ้งใหผ้ เู้ รียนและ ผูป้ กครองทราบ จัดกิจกรรมซอ่ มเสรมิ เพื่อปรับปรุงแก้ไข ใหผ้ ้เู รียนพัฒนาคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ท่ีต้องปรบั ปรงุ ตามแนวทางที่คณะกรรมการกำหนด ขอ้ ๑๑ การประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ให้ถือแนวปฏบิ ตั ิดังน้ี ๑๑.๑ ขน้ั ตอนดำเนนิ การในการประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียน มีดังนี้ ๑๑.๑.๑ กำหนดให้คณะกรรมการบริหารหลักสตู รและวชิ าการของ โรงเรยี น กำหนดมาตรฐานการอา่ นคดิ วเิ คราะห์ และเขียนสื่อความกำหนดแนวทางและวิธกี ารประเมนิ ทเี่ หมาะสม กำหนดเกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียนตามความเหมาะสมและแนวทางการซ่อมเสริมปรบั ปรุง ผเู้ รยี นที่ยังไม่ไดค้ ุณภาพตามมาตรฐานขน้ั ต่ำของโรงเรียนหนองไผ่ ๑๑.๑.๒ ประกาศแนวทางตา่ ง ๆ ตามข้อ ๑๐.๑.๑ ใหผ้ เู้ ก่ียวขอ้ งได้รับทราบอยา่ งสมำ่ เสมอ และชี้แจงให้เกิดความเข้าใจ ๑๑.๑.๓ กำหนดให้คณะกรรมการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียนที่ได้รับการ แต่งตั้ง จดั ทำเครื่องมอื ประเมิน สรุปรวบรวมข้อมูลและตัดสนิ ผลการประเมิน ๑๑.๑.๔ คณะกรรมการดำเนินการประเมินและนำเสนอผลการประเมนิ ต่อ คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวชิ าการของโรงเรียนเพื่อให้ความเห็นชอบและเสนอผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียน หนองไผ่ อนุมตั ผิ ลตอ่ ไป

41 ๑๑.๒ แนวทางการประเมนิ ความสามารถการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ปลายภาค มีแนว ดำเนินการดงั นี้ ๑๑.๒.๑ ผูม้ ีหน้าท่ีประเมนิ ตรวจสอบหรอื ประเมินผู้เรียนในความรับผดิ ชอบตามวธิ ีการและ เคร่อื งมอื ทีค่ ณะกรรมการดำเนนิ การจัดทำ เพื่อให้ไดข้ ้อมูลความสามารถของผู้เรยี น ด้านการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียนอยา่ งเหมาะสม ครบถ้วน ตามศกั ยภาพที่แทจ้ ริงของผู้เรยี น แลว้ รายงานคณะกรรมการดำเนินการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ผู้มีหนา้ ทปี่ ระเมิน สามารถท่จี ะสรุปผลการประเมนิ กลางภาคเรยี นเพ่ือแจง้ ใหผ้ ูเ้ รยี นได้ ทราบถงึ สถานภาพของตน และทำการปรับปรุงแก้ไขตนเองได้ ๑๑.๒.๒ เกณฑ์การตดั สนิ ให้ใช้การคำนวณแบบฐานนิยมจากผลการตัดสนิ รายวิชา เป็นผลสรปุ การประเมนิ ในภาคเรยี นหรือปลายปีนั้น ๑๑.๒.๓ แจง้ ผลการประเมินใหผ้ ู้เรียนและผู้ปกครองทราบ ๑๑.๒.๔ ดำเนนิ การซอ่ มเสริม ปรบั ปรงุ แก้ไขผู้เรยี นในสว่ นที่ไม่ผา่ นประเมนิ ๑๑.๓ แนวทางการประเมนิ ตัดสนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ผา่ นช่วงช้ัน ใหถ้ อื แนวปฏิบัตดิ งั น้ี ๑๑.๓.๑ ผมู้ ีหนา้ ที่ประเมินทำการตรวจสอบหรือประเมินผเู้ รยี นในความ รับผิดชอบตามวธิ กี าร และเครื่องมือที่กำหนด ให้ได้ข้อมลู ความสามารถของผู้เรียนด้านการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน อยา่ งถูกต้อง ครบถ้วน ตามศักยภาพของผู้เรยี น รายงานคณะกรรมการดำเนนิ การประเมนิ การอา่ นคิดวิเคราะหแ์ ละเขยี น ๑๑.๓.๒ การดำเนนิ การประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ตดั สิน การผ่านมาตรฐานตามเกณฑ์ทีก่ ำหนด โดยใช้การคำนวณแบบฐานนยิ มจากผลการประเมินรายวิชา เปน็ ผลสรุปการ ประเมินรายภาค และเพื่อตดั สนิ การผา่ นชว่ งช้ัน ๑๑.๓.๓ ดำเนินการซ่อมเสริม ปรับปรุงแก้ไข ผู้เรียนท่ีไม่ผา่ นการประเมิน แล้วประเมินใหม่ ๑๑.๓.๔ จดั ส่งผลการประเมินนำเสนอ ให้ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนหนองไผ่ อนุมัติผล การตัดสินการผา่ นช่วงชน้ั ต่อไป

42 หมวด ๔ การตัดสินผลการเรยี น ขอ้ ๑๒ การตดั สนิ ผลการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่ม ใหถ้ ือแนวปฏบิ ัตดิ ังนี้ ๑๒.๑ การตัดสนิ ผลการเรยี นรกู้ ลมุ่ สาระรายภาค ๑๒.๑.๑ ผสู้ อนทำการวดั และประเมนิ ผ้เู รยี นเปน็ รายวชิ า ซง่ึ ครอบคลมุ ตวั บง่ ช้ีหรอื ตัวช้ีวดั รายภาค ด้วยวิธกี ารท่ีหลากหลายให้ได้ผลการประเมนิ ตามความสามารถทแ่ี ท้จริงของผเู้ รียน โดยทำการ วดั และประเมนิ ผลไปพร้อมกับกระบวนการจัดการเรยี น การสอนได้แก่ การสังเกต พัฒนาการและความประพฤติของ ผูเ้ รยี น การสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียน การรว่ มกจิ กรรมและการทดสอบภายหลงั การเรียน ซึ่งผู้สอนตอ้ งนำนวตั กรรม การวัดและประเมินผลทางเลือกใหม่ เช่น การประเมินผลตามสภาพจริง การประเมนิ การปฏบิ ัติงาน การประเมนิ จาก โครงงาน และการประเมินจากแฟ้มสะสมงานไปใช้ในการประเมนิ ผลการเรยี น ควบคู่ไปกบั การใชแ้ บบทดสอบตา่ ง ๆ ซง่ึ กำหนดใหม้ ีอตั ราส่วนของแบบทดสอบแบบอัตนยั ไม่ต่ำกว่ารอ้ ยละ ๓๐ ของการทดสอบน้ันรวมทงั้ รวบรวมเวลาเรยี นของ ผู้เรยี น ๑๒.๑.๒ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นร้ใู นกล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม กำหนดอัตราคะแนนดังน้ี ๑) คะแนนสอบระหวา่ งเรยี น จำนวน ๗๐ คะแนน ๒) คะแนนสอบปลายภาค จำนวน ๓๐ คะแนน ๑๒.๑.๓ การวัดและประเมินผลการเรยี นรใู้ นกล่มุ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ สขุ ศึกษาและ พลศึกษา ศิลปะ กำหนดอัตราคะแนนดังน้ี ๑) คะแนนสอบระหว่างเรยี น จำนวน ๘๐ คะแนน ๒) คะแนนสอบปลายภาค จำนวน ๒๐ คะแนน ๑๒.๑.๔ การตดั สินใหร้ ะดับผลการเรยี นกล่มุ สาระการเรียนรูร้ ายภาค ให้กำหนดการตัดสิน เปน็ รายวชิ า ซึง่ จำแนกเปน็ ๘ ระดับ ดังน้ี “๔” หมายถงึ ผลการเรยี นดีเยี่ยม “๓.๕” หมายถึง ผลการเรยี นดมี าก “๓” หมายถงึ ผลการเรยี นดี “๒.๕” หมายถึง ผลการเรียนคอ่ นข้างดี “๒” หมายถงึ ผลการเรียนนา่ พอใจ “๑.๕” หมายถงึ ผลการเรยี นพอใช้ “๑” หมายถงึ ผลการเรียนผ่านเกณฑข์ ั้นตำ่ ที่กำหนด “๐” หมายถึง ผลการเรียนตำ่ กวา่ เกณฑ์ข้นั ตำ่ ทกี่ ำหนด

43 ๑๒.๑.๕ การตัดสินให้ระดับผลการเรียนวชิ าการศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเอง ได้แก่ รายวิชา IS1 (การศึกษาคน้ ควา้ และสร้างองค์ความรู้) และรายวชิ า IS2 (การสือ่ สารและการนำเสนอ) ให้กำหนดการ ตดั สนิ เปน็ รายวิชา ซ่ึงจำแนกเปน็ ๘ ระดับ ดังน้ี “๔” หมายถงึ ผลการเรยี นดีเย่ยี ม “๓.๕” หมายถึง ผลการเรียนดีมาก “๓” หมายถึง ผลการเรียนดี “๒.๕” หมายถงึ ผลการเรยี นคอ่ นขา้ งดี “๒” หมายถึง ผลการเรยี นนา่ พอใจ “๑.๕” หมายถงึ ผลการเรียนพอใช้ “๑” หมายถึง ผลการเรยี นผ่านเกณฑข์ ั้นตำ่ ท่ีกำหนด “๐” หมายถงึ ผลการเรียนต่ำกวา่ เกณฑ์ขัน้ ตำ่ ท่ีกำหนด ๑๒.๑.๖ ใหพ้ จิ ารณาตดั สนิ วา่ ผูเ้ รียนได้หนว่ ยการเรยี นเฉพาะผทู้ สี่ อบไดร้ ะดบั ผลการเรียน ๑, ๑.๕, ๒, ๒.๕, ๓, ๓.๕ และ ๔ เท่าน้นั และมเี วลาเรยี นไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ในกรณีที่ไมส่ ามารถให้ระดบั ผลการเรียนเป็น ๘ ระดบั ได้ใหใ้ ชต้ วั อกั ษรระบเุ ง่อื นไขของผลการเรียนดังน้ี “มส” หมายถึง ผเู้ รยี นไม่มีสิทธิเข้ารบั การวัดผลปลายภาคเรียน เนือ่ งจากผ้เู รยี นมีเวลาเรยี นไม่ถงึ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นในแต่ละรายวชิ า และไมไ่ ด้รับการผ่อนผันใหเ้ ข้ารับการวดั ผลปลายภาคเรยี น “ร” หมายถึง รอการตัดสนิ และยงั ตดั สนิ ผลการเรยี นไม่ได้ เนื่องจากผเู้ รยี นไมม่ ีขอ้ มูลผลการเรยี น รายวิชาน้นั ครบถ้วน ไดแ้ ก่ ไม่ได้วัดผลกลางภาคเรยี น/ปลายภาคเรยี น ไมไ่ ด้สง่ งานท่ีมอบหมายใหท้ ำ ซง่ึ งานนน้ั เป็นส่วน หน่งึ ของการตดั สนิ ผลการเรียน หรอื มีเหตุสดุ วิสยั ท่ที ำให้ประเมนิ ผลการเรยี นไม่ได้ ๑๒.๑.๗ กรณที ีผ่ เู้ รยี นมีผลการเรยี นมีผลการเรยี นตำ่ กวา่ เกณฑ์ที่กำหนด สถานศึกษาจัดใหม้ กี าร สอนซ่อมเสรมิ ในมาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชี้วัดที่ผเู้ รยี นสอบไมผ่ ่านก่อน แลว้ จึงสอบแก้ตัวได้ไม่เกนิ ๒ ครั้ง ถ้าผู้เรยี นไม่ ดำเนนิ การสอบแก้ตวั ตามระยะเวลาทสี่ ถานศึกษากำหนดให้อยใู่ นดุลยพินิจของสถานศึกษาทจี่ ะพิจารณาขยายเวลาออกไป อกี ๑ ภาคเรยี น ท้ังนี้ต้องดำเนินการใหเ้ สรจ็ สิน้ ภายในปีการศึกษาน้นั ๑๒.๑.๘ ถ้าสอบแกต้ ัว ๒ คร้ังแล้วไดร้ ะดับผลการเรียน “๐” อีกให้ปฏบิ ัติดังนี้ ๑) ถา้ เป็นรายวิชาท่เี ป็นกลมุ่ สาระพ้ืนฐานให้เรยี นซ้ำ ๒) ถา้ เปน็ รายวิชาเพม่ิ เติมให้เรยี นซำ้ หรือเปล่ยี นรายวิชาเรยี นใหม่ ทั้งนใี้ ห้อยู่ในดุลยพนิ จิ ของ สถานศกึ ษา ในกรณเี ปล่ียนรายวชิ าเรยี นใหมใ่ ห้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.๑) วา่ ให้เรียนแทนรายวชิ าใด การเรยี นซำ้ รายวิชาหากผู้เรยี นไดร้ ับการสอนซ่อมเสรมิ และสอบแก้ตัว ๒ ครัง้ แลว้ ไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมินให้เรียนซำ้ รายวชิ านั้น ทั้งนใ้ี ห้อยู่ในดลุ ยพินิจของสถานศกึ ษาในการจัดใหเ้ รยี นซำ้ ในชว่ งใดชว่ งหนึง่ ทส่ี ถานศึกษาเหน็ ว่าเหมาะสม เชน่ พกั กลางวัน วันหยดุ ชวั่ โมงวา่ ง หลังเลกิ เรียน ภาคฤดูรอ้ นเป็นตน้ ในกรณภี าคเรียนที่ ๒ หากผู้เรียนยงั มีผลการเรียน “๐” “ร” “มส” ใหด้ ำเนนิ การใหเ้ สร็จสิน้ ก่อน เปดิ เรยี นปีการศึกษาถัดไป สถานศกึ ษาอาจเปดิ การเรยี นการสอนในภาคฤดรู อ้ นเพ่ือแก้ไขผลการเรียนของผเู้ รียนได้

44 ๑๒.๑.๘ การตดั สินใหร้ ะดบั ผลการเรียนวชิ าการศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง ไดแ้ ก่ IS3 (การนำองค์ ความรไู้ ปบริการสังคม) ให้กำหนดการตัดสินเป็นรายวิชา กำหนดใหร้ ะดับผลการตัดสินเปน็ “ผา่ น” และ “ไมผ่ า่ น” ข้อ ๑๓ การประเมินการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียนให้ถือแนวทางปฏบิ ตั ดิ ังน้ี ๑๓.๑ ผสู้ อนทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้กำหนดการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเปน็ ผลการเรียนรหู้ นงึ่ แยกต่างหากจากผลการเรยี นรูร้ ายภาค และบนั ทึกข้อมลู ของผลการเรยี นรู้นี้ เพื่อส่งต่อให้คณะกรรมการการอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขียน ๑๓.๒ ผสู้ อนหรือคณะกรรมการการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขยี น อาจมอบหมายให้ผู้เรยี นไปศกึ ษา คน้ คว้าเรื่องใดเรื่องหน่งึ ด้วยตนเองหรือใหท้ ำโครงงาน เลือกชน้ิ งานทส่ี ะท้อนถงึ การอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขียนโดยบันทกึ ขอ้ มลู ของผลการศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองน้ี เพ่ือสง่ ต่อใหค้ ณะกรรมการการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น ๑๓.๓ เกณฑ์การตัดสินผลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียนให้ตัดสนิ เป็นรายภาค และรายชว่ งชนั้ เป็น ๔ กลุม่ ดังนี้ ๐ = ไม่ผ่านเกณฑ์ คะแนน ๐ - ๔๙ คะแนน ๑ = ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ คะแนน ๕๐ - ๖๙ คะแนน ๒ = ดี คะแนน ๗๐ - ๗๙ คะแนน ๓ = ดีเยย่ี ม คะแนน ๘๐ - ๑๐๐ คะแนน ๑๓.๔ ผู้เรียนท่ไี ม่ผ่านเกณฑ์การประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี นให้ ผเู้ รียนซอ่ มเสริมจนกว่าจะสามารถผ่านการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี นหรือจนกว่าจะมคี ุณสมบัติตามเกณฑ์ ข้อ ๑๔ การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ของโรงเรยี น ให้ถอื ปฏิบัติตามแนวทาง ดงั น้ี ๑๔.๑ บคุ ลากรทงั้ หมดของโรงเรยี นและผเู้ กย่ี วข้องทุกฝ่าย ดำเนินการประเมนิ ผ้เู รียนอย่างต่อเนอื่ ง ซ่งึ มีวธิ กี ารหลากหลาย เช่น การสงั เกตและรายงานพฤติกรรม จากผูท้ ีเ่ กี่ยวข้อง การดผู ลงาน การบันทกึ ความดี การรายงานตนเองของผเู้ รียน ฯลฯ ๑๔.๒ การประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผู้เรียนเปน็ รายปหี รือรายภาค ให้ประเมินเพือ่ วนิ จิ ฉยั โดยแบง่ พฤติกรรมของผู้เรียนเป็น ๔ กลุม่ พรอ้ มท้ังบนั ทึกรายละเอียดเกย่ี วกบั พฤติกรรมเพ่ือ การส่งต่อในการพฒั นาผ้เู รยี นต่อไป ๑๔.๓ การจัดกลุ่มคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของผูเ้ รียนเปน็ ๔ กลุม่ ดังนี้ ๐ = ไมผ่ ่านเกณฑ์ คะแนน ๐ - ๔๙ คะแนน ๕๐ - ๖๙ คะแนน ๑ = ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ คะแนน ๗๐ - ๗๙ คะแนน ๘๐ - ๑๐๐ คะแนน ๒ = ดี คะแนน ๓ = ดเี ยยี่ ม คะแนน

45 ๑๔.๔ ผเู้ รียนท่ีไม่ผ่านเกณฑ์การประเมนิ คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องโรงเรยี นจะต้องปฏบิ ัติกจิ กรรม คณุ ความดชี ดเชยตามทีโ่ รงเรียนกำหนดจนกวา่ จะมคี ุณสมบตั ิตามเกณฑ์ที่โรงเรยี นกำหนดจึงจะให้ผา่ นชว่ งช้นั ขอ้ ๑๕ การตัดสนิ การเข้ารว่ มกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน ให้ถือปฏบิ ัติตามแนวทาง ดังน้ี ๑๕.๑ ผ้รู ับผิดชอบกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นของโรงเรยี น และผเู้ ก่ียวข้องจะดำเนินการประเมินผู้เรียน ตาม จุดประสงค์ของกิจกรรมอยา่ งตอ่ เนือ่ งตลอดช่วงเวลาของการเขา้ รว่ มกจิ กรรมโดยการรวบรวมจากบนั ทึกการเข้ารว่ ม กจิ กรรม และผลการปฏิบัติกิจกรรมจากผ้ทู ี่เก่ียวข้อง รวมท้ังเวลาทีผ่ ้เู รยี นใชใ้ นการเขา้ ร่วมกจิ กรรมเม่ือสน้ิ สดุ กิจกรรม นำมา พจิ ารณาตัดสนิ รว่ มกนั ๑๕.๒ การตัดสินการเขา้ รว่ มกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนแตล่ ะกิจกรรม โดยใหพ้ ิจารณาจากผลการประเมนิ ซ่ึงต้องผา่ นจดุ ประสงคส์ ำคญั ของกิจกรรมทกุ ข้อ และมีเวลาเขา้ รว่ มกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ๑๕.๓ การใหร้ ะดับผลการตัดสนิ การเขา้ ร่วมกจิ กรรม กำหนดใหร้ ะดบั ผลการ ประเมินเป็น“ผ่าน” และ “ไมผ่ ่าน” ๑๕.๔ ในกรณที ผ่ี ูเ้ รยี น “ไม่ผา่ น” การเข้ารว่ มกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ให้ผเู้ รียนเข้ารับการซ่อมเสริม ใหผ้ ู้เรียนทำในส่วนในส่วนทีผ่ เู้ รยี นไมไ่ ดท้ ำหรอื ไม่ไดเ้ ข้ารว่ มจนครบถว้ นแล้วจงึ เปลย่ี นผลการเรยี นจาก “ไมผ่ ่าน” เป็น “ผา่ น” ได้ ๑๕.๕ ผเู้ รยี นที่ไมผ่ ่านเกณฑ์มาตรฐานการประเมนิ การเขา้ รว่ มกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนจะตอ้ งเขา้ รว่ ม กิจกรรมเสริมทโี่ รงเรยี นจัดขึ้น และสามารถผา่ นเกณฑท์ ่กี ำหนดใหห้ รอื ขยายเวลาเรยี นจนกว่าจะมีคุณสมบัตติ ามเกณฑก์ าร ผ่านช่วงช้ัน ข้อ ๑๖ ผู้เรียนท่ีได้รับผลการตัดสินผ่านตามเกณฑ์ จึงจะไดร้ บั การเลือ่ นช้นั การผ่านช่วงชั้น การจบหลักสตู ร การศึกษาภาคบังคบั และการจบหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook