Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักเรียน

คู่มือนักเรียน

Description: คู่มือนักเรียน

Search

Read the Text Version

ประวตั โิ รงเรยี นหนองไผ่ โรงเรียนหนองไผ่ ได้รับอนุญาตจากกระทรวงศึกษาธิการ ให้เปิดทำการสอนเมื่อปีการศึกษา 2507 เปน็ โรงเรียนสหศึกษา ท้งั น้มี สี าเหตุเนื่องจากในปีการศึกษา 2506 นักเรยี นทจี่ บการศึกษาช้ันประถมศึกษาปีที่ 7 ของอำเภอหนองไผ่ไม่มีโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาที่จะศึกษาต่อภายในอำเภอ การเดินทางไปศึกษาต่อ ที่อำเภอเมืองมีระยะทางไกลมาก การคมนาคมไม่สะดวก ผู้ปกครองนักเรียนจำนวนหนึ่งได้ทำหนังสือ ไปที่อำเภอหนองไผ่ ขอให้อำเภอทำเร่อื งขออนุญาตเปดิ โรงเรยี นมัธยมศกึ ษาในปีการศึกษา 2507 โดยมเี งอื นไข ว่าอำเภอหนองไผ่จะต้องจัดหาที่ดินจำนวนไม่น้อยกว่า 35 ไร่ และจะต้องมีอาคารเรียนชั่วคราว ซึ่งอำเภอ หนองไผ่ได้ดำเนนิ การตามเงือ่ นไขท้ัง 2 ประการได้สำเรจ็ ไดจ้ ัดสรรทด่ี ินสำหรับตัง้ โรงเรียน เนื้อที่ 80 ไร่ ซงึ่ เป็นท่ีสงวนของกระทรวงมหาดไทย สงวนไวส้ ำหรับตง้ั สถานทรี่ าชการของอำเภอหนองไผ่ สำหรับอาคารเรียน พ่อค้า ประชาชน และข้าราชการ ร่วมกันจัดงานวันครู (15-17 มกราคม 2507) เพื่อหา รายได้ เป็นค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง และดำเนินการก่อสร้างอาคารไม้ชั้นเดียว 4 ห้องเรียน กรมสามัญศึกษา (กรมวิสามัญเดิม) แต่งตั้งให้นายชนินทร์ สุพลพิชิต ครูโรงเรียนเพชรพิทยาคม อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัด เพชรบูรณ์ ดำรงตำแหน่งครูใหญ่โรงเรียนหนองไผ่ และบรรจุแต่งตั้ง นายธีรรัตน์ กิจจารักษ์ วุฒิ กศ.ษ. ดำรง ตำแหน่งครตู รีโรงเรียนหนองไผ่ อีก 1 คน ปีการศึกษา 2507 เปิดทำการเรียนการสอนช้ัน ม.ศ.1 คร้ังแรกมนี กั เรยี น 19 คน ชาย 16 คน หญงิ 3 คน นายธีรรัตน์ กิจจารักษ์ เป็นครูประจำชั้น โรงเรียนหนองไผ่ ได้ขยายเป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดกลาง และ ขนาดใหญ่ เป็นลำดับ นายชนินทร์ สุพลพิชิต ครูใหญ่นั้น ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์ใหญ่และเป็นผู้อำนวยการ โรงเรียนหนองไผ่ ในปีการศึกษา 2525 และปีการศึกษา 2527 ตามลำดับ เมื่อโรงเรียนหนองไผ่มีอายุการก่อตั้งครบ 20 ปี คณะศิษย์เก่าและครู-อาจารย์ โรงเรียนหนองไผ่ ได้จัดหาทุนตั้งมูลนิธิ “อาจารย์ชนินทร์ สุพลพิชิต” เพื่อนำ ดอกผลเป็นการศึกษาแก่นักเรยี นโรงเรยี นหนองไผส่ บื ไป ตราประจำโรงเรยี น สัญลักษณโ์ รงเรียนหนองไผ่ลักษณะเป็นวงกลม 3 ชัน้ บรรจตัวอักษร น.ผ. ซงึ่ เป็นอกั ษรย่อช่อื โรงเรียนหนองไผ่ อยู่ภายใต้ฉตั ร 3 ช้นั หมายถึง สมเดจ็ พระอริยวงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปริณายก

ทรงเมตตารบั โรงเรียนหนองไผไ่ ว้ในพระอุปถัมภ์ ตอนลา่ งวงกลมมีขอ้ ความวา่ \"โรงเรียนหนองไผ่\" และ \"ในพระ สงั ฆราชปู ถัมภ์\" โค้งตามลักษณะวงกลม สปี ระจำโรงเรยี น • สชี มพู ██ หมายถึง ผู้มีความรักในเพือ่ นมนษุ ย์ รักความกา้ วหน้า รักความสามัคคี • สีฟ้า ██ หมายถงึ ความสดชืน่ แจม่ ใส ใฝด่ ี มคี ุณธรรม มีใจบรสิ ุทธ์ิ เพลงประจำโรงเรียน • เพลง มาร์ชชมพูฟ้า (ทำนอง, คำรอ้ ง: ประเสรฐิ สร้อยอนิ ทร)์ • เพลง ดอกฟา้ สีชมพู (ทำนอง, คำรอ้ ง: ประเสริฐ สรอ้ ยอินทร์) ต้นไมป้ ระจำโรงเรียน • ต้นชัยพฤกษ์ จดั เปน็ พรรณไม้มงคล เป็นตน้ ไมแ้ หง่ ชยั ชนะ ชนะศตั รู ชนะอุปสรรคต่าง ๆ ข้อมูลโรงเรยี น ข้อมูลทั่วไป : โรงเรียนหนองไผ่เปน็ โรงเรียนสหศึกษา เปิดสอนระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ถงึ ระดบั ชนั้ มธั ยศกึ ษาปีที่ 6 วสิ ัยทัศน์และปรัชญา (Vision) : โรงเรยี นมาตรฐานสากล มวี นิ ัย ใฝค่ ณุ ธรรม นำความรู้ อย่อู ยา่ งพอเพยี ง อตั ลักษณ์ : กองพนั ชมพูฟ้า เอกลกั ษณ์ : ความมีวนิ ยั

โครงสร้างการบรหิ า ผอู้ านวยก คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน มลู นธิ ิอาจารยช์ นนิ ทร์ สพุ ลพิชติ สพม.พช. คณ ศนู ยพ์ ฒั นาศกั ยภาพบคุ คลเพือ่ ความเป็นเลศิ (Human Capital Excellence Center : HCEC) กลมุ่ บริหารงานกิจการนกั เรยี น กลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล กลมุ่ บรหิ ารงานวชิ าการ นางดวงตะวนั นามา นางดวงตะวนั นามา ผชู้ ว่ ยผอู้ านวยการโรงเรียน ผชู้ ่วยผอู้ านวยการโรงเรยี น นายสมปอง ตาลเพชร ผชู้ ่วยผอู้ านวยการโรงเรียน นายยทุ ธนา นาอดุ ม นายนิมติ ร ตนั ติวโรดม งานวางแผน งานวางแผน งานสานกั งานกล่มุ งานวางแผน งานสานกั งานกล่มุ งานสานกั งานกลมุ่ งานวนิ ยั นกั เรยี น งานวางแผนอตั รากาลงั งานพฒั นาหลกั สตู ร งานสรรหาและบรรจแุ ตง่ ตงั้ งานระบบการดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนนกั เรยี น งานวจิ ัยและโรงเรียนมาตรฐานสากลมาตรฐานส งานส่งเสรมิ ประชาธิปไตย งานยา้ ยขา้ ราชครูและบคุ ลากร งานทะเบียนนกั เรียน ทางการศึกษา งานป้องกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพติดยาเสพติด งานวดั และประเมินผล งานประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน งานแหลง่ เรียนรู้ งานคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและ คา่ นิยมไทย งานสง่ เสริมวนิ ยั คุณธรรมและจริยธรรมสาหรบั ครู งานส่ือและเทคโนโลยี งานกองพนั ชมพ-ู ฟา้ และบุคลากรบคุ ลากร งานนิเทศการสอน งานกจิ กรรมนกั เรยี น งานจดั ระบบและจดั ทาทะเบยี น งานประสานองคก์ รภายนอก ประวตั ิ งานสวสั ดิการนกั เรียน งานเสนอขอพระราชทาน งานรบั นกั เรยี น เครอื่ งราชอิสริยาภรณ์ งานส่งเสริมการเรียนรู้ งานทศั นศึกษา งานธนาคารโรงเรียน งานพฒั นาครูและบคุ ลากร งานเศรษฐกิจพอเพยี ง งานอาเซียนศึกษา งานรกั ษาความปลอดภยั ในสถานท่ี ราชการ งานแนะแนว งานโครงการพเิ ศษ งานกลมุ่ สาระการเรยี นรู้และกจิ กรรมพฒั

ารโรงเรยี นหนองไผ่ สหวิทยาเขตไผส่ ามพนั สมาคมครู ผปู้ กครองและศิษยเ์ กา่ การโรงเรยี นหนองไผ่ ณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น ศนู ยเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศและหนุ่ ยนต์ ศนู ยก์ จิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น กล่มุ อานวยการ กลมุ่ บริหารงานงบประมาณ กล่มุ บรหิ ารงานท่วั ไป นางทารกิ า วงศแ์ กว้ ผชู้ ว่ ยผอู้ านวยการโรงเรยี น ผชู้ ่วยผอู้ านวยการโรงเรียน นางโรจณา มาคาน ผชู้ ่วยผอู้ านวยการโรงเรยี น นายพรี ศษิ ย์ สงิ หโ์ สภา นางวนดิ า สารสทิ ธิ์ งานวางแผน งานวางแผน งานสานกั งานกลมุ่ งานวางแผน งานสานกั งานกลมุ่ งานสานกั งานกล่มุ งานเลขานกุ าร งานนโยบายและแผน งานพฒั นาระบบเครือข่ายและเทคโนโลยี งานควบคมุ ภายใน งานตรวจสอบตดิ ตามและรายงานการ งานระบบขอ้ มลู สารสนเทศ สากล ใชง้ บประมาณ งานอาคารสถานทแี่ ละสาธารณปู โภค งานตรวจสอบภายใน งานระดมทรพั ยากรและการลงทนุ เพ่ือ งานธรุ การ การศกึ ษา งานบริการชมุ ชน งานประชาสมั พนั ธ์ งานพสั ดุ งานประสานราชการกับสว่ นภูมิภาคและ งานคณะกรรมการถานศกึ ษา งานการเงนิ สว่ นทอ้ งถ่ิน งานชมุ ชนและองคก์ รภาคเี ครอื ขา่ ย งานบญั ชี งานอนามยั โรงเรยี น งานสวสั ดกิ าร งานสหกรณร์ า้ นคา้ งานบาเหนจ็ บานาญขา้ ราชการ งานโภชนาการ ฒนาผเู้ รยี น งานพฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพ งานส่งเสริมศิลปวฒั นธรรม การศึกษา และภูมปิ ัญญาไทย นักเรยี น งานเบกิ จา่ ยสวสั ดกิ าร งานโสตทศั นปู กรณ์ งานยานพาหนะ งานสง่ เสริมการจดั ระบบหอ้ งเรยี น อาคาร เรยี นและสถานที่ หมายเหตุ สายการประสานงาน สายการบังคบั บัญชา

ครูและบุคลากรทางการศกึ ษากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ลำดบั ที่ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ เพศ 1 ชาย หญิง รวม 2 11 3 ภาษาไทย 38 14 4 26 5 คณิตศาสตร์ 68 14 6 19 7 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 8 18 6 8 5 9 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 6 8 10 10 0 11 ภาษาต่างประเทศ 6 13 0 2 ศิลปะ 5 1 107 สุขศึกษาและพลศึกษา 41 การงานอาชีพ 46 การศึกษาอสิ ระ (is) 00 กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น 00 อ่นื ๆ 1 1 รวม

จำนวนนกั เรยี นโรงเรยี นหนองไผ่ ประจำปีการศกึ ษา 2564 จำนวน 1,985 คน ลำดับที่ ระดับชัน้ หอ้ งเรียน ชาย หญิง รวม 1 มัธยมศึกษาปที ่ี 1 10 168 232 400 2 มัธยมศึกษาปีท่ี 2 10 178 213 391 3 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 9 153 241 394 29 499 686 1,185 รวม ม. ตน้ 7 52 108 160 4 มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 7 73 83 156 5 มธั ยมศึกษาปีที่ 5 7 44 90 134 6 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 21 273 527 800 50 772 1,213 1,985 รวม ม. ปลาย รวมท้ังหมด

ขอ้ มลู บคุ ลากร

คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียน 1. นางสาวอารรี ตั น์ ชูรวง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นหนองไผ่ 2. นางดวงตะวัน นามา รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นหนองไผ่ 3. นางทารกิ า วงศแ์ ก้ว รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นหนองไผ่ 4. นายสมปอง ตาลเพชร ผชู้ ่วยผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล 5. นางโรจณา มาคาน ผชู้ ว่ ยผอู้ ำนวยการกลุ่มอำนวยการ 6. นายนมิ ติ ร ตันติวโรดม ผชู้ ่วยผอู้ ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ 7. นายพรี ศษิ ย์ สงิ ห์โสภา ผชู้ ่วยผู้อำนวยการกล่มุ บริหารงานทั่วไป 8. นางวนิดา สารสิทธิ์ ผชู้ ว่ ยผูอ้ ำนวยการกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 9. นายยุทธนา นาอดุ ม ผชู้ ่วยผู้อำนวยการกลุ่มกิจการนักเรยี น ครูและบุคลากรทางการศกึ ษากลุ่มสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย 1. นางสาวกมลวรรณ องิ ขนร 2. นายสมปอง ตาลเพชร 3. นางอรสา เสาโกมทุ 4. นางสายรงุ้ นลิ มูล 5. นางสาวสุวรรณี ภชู่ ัย 6. นางสาวนิตยา ชาตนิ ันท์ 7. นายแดนชยั สงิ หส์ นทิ 8. นางสาวเจรญิ ผลฉัตร 9. นางสาวภาวไิ ล ไชยโย 10. ว่าท่ีร.ต.พิชติ แก้วสรุ วิ งษ์ 11. นางเริงฤดี โสภาไชย กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ 1. นายสรุ ัตน์ชัย พรมเทา้

2. นายนมิ ิตร ตันติวโรดม 3. นางสมุ ิตตา ชนะพนั ธ์ 4. นางสาวชลลดา จนั ทะอักษร 5. นายเฉลิมชยั พันแนบ 6. นางสาวพรรณพร วงษแ์ หวน 7. นางอนัญญา จันทรัตน์ 8. นางน้ำอ้อย คุณดี 9. นายบณั ฑิต พวงดอกไม้ 10. นางศศธิ ร ช่างสวุ รรณ 11. นายเฉลิมพร แสงกล้า 12. นางสาวหชั ชพร อินทรร์ จนา 13. นางสาววยิ ดา ขนุ พรหม 14. นายอนุรกั ษ์ เพชรไทย กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1. นางอรวรรณ อานพรหม 2. นางเพญ็ ประภา นาราศรี 3. นางโรจณา มาคาน 4. นางสาวศุภรา จนั ทสงิ ห์ 5. นางสาวออมทิพย์ ภสั รางกูร 6. นางสาวจิตรวดี ภักดสี าร 7. นางวรี นุช ทองน้อย 8. นางดวงจันทร์ สิงห์โสภา 9. นายนะรงค์ ทองน้อย 10. นางสกลุ ยา พรมเทา้ 11. นางสายชล พลสีดา

12. นางกรทิพย์ มาอยู่วงั 13. นางสาวรงุ่ ทิวา รุ่งโรจน์ 14. นายพิชญุตม์ เทียนเทย่ี ง 15. นางเนตรนภา แสงกลา้ 16. น.ส.ปานทพิ ย์ แกว้ พวง 17. นายนิกร หล้านอ้ ย 18. นางสาววลัยพร นาคธรรมชาติ 19. น.ส.สภุ าภรณ์ กรณ์แก้ว 20. นายราชัย แก้วยศ 21. นายสรสิช ขนั ตรมี ติ ร 22. นางกรรณิกา เหลืองชยั พัฒนา 23. นายนนทป์ วิธ เที่ยงดฤี ทธิ์ 24. นายนรเศรษฐ์ แก้วขาว 25. นายชยั ชนะ ทองมา 26. นางสาวธนั พิชชา สขุ สนั ต์ กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1. นางดาวรุ่ง พรหมอนิ ทร์ 2. นางปรารถนา บุญนาค 3. นางกรรณิการ์ หสั นัย 4. นายศภุ ชยั อานพรหม 5. นางพวงรัตน์ จติ อารี 6. นางวนดิ า สารสทิ ธ์ิ 7. นายนริ ุตต์ มูลสี 8. นางมณี ด้วงนลิ 9. นางญาตา ศรีโคตร

10. นายณรงคช์ ยั สสี ุข 11. นายรชฏ แกว้ เกดิ 12. นายภัทรพล พมิ พา 13. นางกญั ญา หม่ืนชนะ 14. นายเริงนรินทร์ ขาวสะอาด กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา 1. นายทรงศกั ดิ์ ศรีภกั ดี 2. นายสมนึก บุญนาค 3. นางพัชรินทร์ จนั ทพยัคฆ์ 4. นายสวุ รรณ กนั แพงศรี 5. นายณฏั ฐนันท์ ทาชาติ กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ 1. นายพีรศิษย์ สงิ ห์โสภา 2. นางกุมารี ทบั ทิมหลา้ 3. นายชินกร โสมภา 4. นายธรี ะวฒั น์ พนั ธุ์แสง 5. นายมานะ บญุ เกดิ 6. นายจิรวัฒน์ รตั นเทพบัญชากลุ กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ 1. นางสาวพรทพิ ย์ ด้วงธิ 2. นางจันทร์ประภา ทองรวิ้ 3. นางสุกญั ญา ตันติวโรดม 4. นายยทุ ธนา นาอุดม 5. นางสาวรนิ ญภชั มิไพทูล 6. นายณัฐวุฒิ ชัยนอก

7. นายพโยธร ผลพนู 8. น.ส.กนกกาญจน์ การะเกษ 9. นางสาวใจแกว้ ออ้ ชยั ภูมิ 10. นายจริ ายุส เลิศบรุ ที วีทรัพย์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ 1. นางสาววิรัตน์ คำเขยี น 2. นางรชั นีกร ตาลเพชร 3. นางสาวชาริณา ศรเี หรา 4. นางสาวบวั เรยี น ฤทธิก์ ล้า 5. นางเพลินทิพย์ โล่สวุ รรณ 6. นางสาวปวณี า มลทาทพิ ย์ 7. นางสาวจรี นันท์ แกน่ เสา 8. นายชวุฒิ มากมง่ิ 9. นางอรธีรา บุญชว่ ย 10. นายวัชรวชิ ญ์ ดว้ งทา 11. นางสาววรศิ รา ชำนาญพันธ์ 12. นางสาวจุฑามาศ อ่อนตา 13. นางสาวอสมาภรณ์ มั่นพฒุ 14. นางสาวดวงกมล ธปู หอม 15. นางสาวนุชนาฏ พนั แนบ 16. Mr.Matthew Puglliese 17. Mr.Phillip 18. Mr.Aric 19. Ms.Jue Mueng Ling(เจอเมิ่งหลงิ )

วชิ าการ

กระทรวงศึกษาธกิ ารได้ประกาศใช้หลักสูตรการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 ให้เป็นหลักสตู รแกนกลาง ของประเทศ โดยกำหนดจดุ หมาย และมาตรฐานการเรยี นรู้เปน็ เปา้ หมายและกรอบทิศทางในการพัฒนา คณุ ภาพผู้เรยี นใหเ้ ปน็ คนดี มีปัญญา มคี ุณภาพชวี ติ ท่ีดแี ละมีขดี ความสามารถในการแขง่ ขันในเวทีระดับโลก (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2544) พร้อมกันน้ีไดป้ รับกระบวนการพัฒนาหลกั สูตรใหม้ ีความสอดคล้องกับ เจตนารมณแ์ ห่งพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552 และท่แี กไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ที่มุ่งเนน้ การกระจายอำนาจทางการศึกษาให้ท้องถ่ินและ สถานศกึ ษาได้มีบทบาทและมีส่วนรว่ มในการพัฒนาหลกั สตู ร เพ่ือให้สอดคล้องกบั สภาพ และความต้องการ ของทอ้ งถ่นิ (สำนักนายกรฐั มนตร,ี 2542) จากการวจิ ัย และตดิ ตามประเมนิ ผลการใช้หลกั สตู รในช่วงระยะ 6 ปที ผ่ี ่านมา (สำนกั วชิ าการและมาตรฐาน การศกึ ษา, 2546 ก., 2546 ข., 2548 ก., 2548 ข.; สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา,2547; สำนักผู้ตรวจ ราชการและติดตามประเมินผล 2548; สุวิมล วอ่ งวาณิช และนงลักษณ์ วิรชั ชัย, 2547; Nutravong2002; Kittisunthorn,2003) พบว่า หลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2544 มีจดุ ดีหลายประการ เชน่ ช่วย สง่ เสรมิ การกระจายอำนาจทางการศึกษาทำใหท้ ้องถิ่นและสถานศกึ ษามีสว่ นรว่ มและมีบทบาทสำคญั ในการ พฒั นาหลกั สตู รให้สอดคล้องกับความตอ้ งการ ของท้องถน่ิ และมแี นวคดิ และหลักการในการสง่ เสริมการ พัฒนาผเู้ รยี นแบบองค์รวมอย่างชัดเจน อยา่ งไรกต็ ามผลการศึกษาดังกลา่ วยงั ได้สะท้อนให้เหน็ ถงึ ประเดน็ ที่ เปน็ ปญั หาและความไม่ชัดเจนของหลักสูตรหลายประการท้งั ในสว่ นของเอกสารหลกั สตู ร กระบวนการนำ หลักสตู รสกู่ ารปฏิบตั ิ และผลผลติ ท่เี กดิ จากการใช้หลักสตู ร ไดแ้ ก่ ปัญหาความสับสนของผู้ปฏบิ ตั ใิ นระดับ สถานศึกษา ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สถานศกึ ษาสว่ นใหญก่ ำหนดสาระและผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังไวม้ ากทำให้ เกดิ ปัญหาหลกั สูตรแนน่ การวัดและประเมนิ ผลไม่สะทอ้ นมาตรฐาน สง่ ผลตอ่ ปัญหาการจัดทำเอกสารหลกั ฐาน ทางการศกึ ษาและการเทยี บโอนผลการเรยี น รวมทงั้ ปัญหาคณุ ภาพของผเู้ รยี นในดา้ นความรู้ ทักษะ ความสามารถ และคุณลกั ษณะที่พึงประสงคอ์ นั ยังไม่เป็นที่นา่ พอใจ นอกจากนั้นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 10 (พ.ศ.2550-2554)ไดช้ ี้ใหเ้ ห็นถงึ ความจำเป็นในการปรับเปลีย่ นจุดเนน้ ในการพัฒนา คุณภาพคนในสงั คมไทยใหม้ ีคุณธรรม และมคี วามรอบรู้อย่างเทา่ ทัน ใหม้ ีความพร้อมท้ังด้านรา่ งกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ และศลี ธรรม สามารถก้าวทนั การเปลย่ี นแปลงเพ่ือนำไปสสู่ งั คมฐานความรู้ได้อยา่ งมัน่ คง แนวการพฒั นาคนดังกล่าวมุ่งเตรียมเด็กและเยาวชนใหม้ ีพื้นฐานจติ ใจที่ดงี าม มจี ิตสาธารณะ พร้อมทงั้ มี สมรรถนะ ทักษะและความรู้พน้ื ฐานทีจ่ ำเป็นในการดำรงชีวิต อันจะส่งผลตอ่ การพฒั นาประเทศแบบยง่ั ยืน (สภาพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ, 2549) ซึง่ แนวทางดงั กล่าวสอดคล้องกับนโยบายของ กระทรวงศึกษาธกิ ารในการพัฒนาเยาวชนของชาตเิ ขา้ สโู่ ลกยคุ ศตวรรษท่ี 21 โดยมงุ่ สง่ เสริมผูเ้ รียนมคี ณุ ธรรม รักความเปน็ ไทย ใหม้ ีทักษะการคิดวิเคราะห์ สรา้ งสรรค์ มีทักษะ ด้านเทคโนโลยี สามารถทำงานรว่ มกับผอู้ นื่ และสามารถอยู่รว่ มกับผูอ้ ื่นในสงั คมโลกได้อยา่ งสนั ติ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2551) จากขอ้ คน้ พบในการศึกษาวจิ ัยและตดิ ตามผลการใช้หลักสูตรการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 ที่ผ่านมาประกอบกบั ข้อมูลจากแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติฉบับที่ 10 เก่ยี วกับแนวทางการพัฒนาคนในสังคมไทย และจดุ เนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการในการพฒั นาเยาวชนสู่

ศตวรรษที่ 21 จงึ เกิดการทบทวนหลักสูตรการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานพทุ ธศักราช 2544 เพ่ือนำไปสู่การพฒั นา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ทมี่ ีความเหมาะสม ชัดเจนทง้ั เปา้ หมายของ หลักสตู รในการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น พฒั นาเศรษฐกิจและสังคมพัฒนาประเทศพ้นื ฐานในการดำรงชวี ติ การ พัฒนาสมรรถนะและทกั และกระบวนการนำหลักสตู รไปสู่การปฏิบตั ใิ นระดับเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา และสถานศึกษา โดยไดม้ กี ารกำหนดวิสัยทศั น์ จุดหมาย สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คุณลกั ษณะอนั พึง ประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดทชี่ ดั เจน เพื่อใชเ้ ป็นทศิ ทางในการจัดทำหลกั สตู ร การเรียน การสอนในแตล่ ะระดับ นอกจากนน้ั ได้กำหนดโครงสรา้ งเวลาเรยี นขน้ั ต่ำของแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ ละช้ันปีไวใ้ นหลกั สูตรแกนกลาง และเปดิ โอกาสใหส้ ถานศึกษาเพ่ิมเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อมและจุดเนน้ อกี ท้ังได้ปรับกระบวนการวัดและประเมนิ ผลผู้เรียน เกณฑ์การจบการศึกษาแตล่ ะระดบั และเอกสารแสดง หลักฐานทางการศึกษาใหม้ ีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และมีความชดั เจนต่อการนำไปปฏบิ ัติ เอกสารหลกั สตู รสถานศึกษาน้ไี ด้จัดทำข้นึ เพ่ือนำไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดการเรยี นการ สอนเพ่ือพฒั นานักเรียนใหม้ ีคุณภาพด้านความรู้ และทักษะท่ีจำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตในสงั คมที่มกี าร เปลยี่ นแปลง และแสวงหาความรูเ้ พ่ือพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่อื งตลอดชีวติ วสิ ยั ทัศน์ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ โครงสร้างสถานศึกษา คำอธบิ ายรายวิชา กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น เกณฑ์การจบการศึกษาทีก่ ำหนดไวใ้ นเอกสารน้ี ชว่ ยทำให้เห็นผลคาดหวงั ท่ีต้องการใน การพัฒนาการเรียนร้ขู องผู้เรียนทีช่ ัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถชว่ ยให้สถานศึกษาพฒั นาหลักสตู รไดอ้ ยา่ ง ม่ันใจ ทำให้การจดั ทำหลกั สูตรในระดบั สถานศกึ ษามีคุณภาพและมคี วามเปน็ เอกภาพยงิ่ ขึ้น อกี ท้ังยังช่วยให้ เกดิ ความชัดเจนเรื่องการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแกป้ ัญหาการเทียบโอนระหวา่ ง การจัดหลกั สูตรการศึกษาขน้ั พนื้ ฐานจะประสบความสำเร็จตาม เปา้ หมายท่คี าดหวงั ได้ ทุกฝ่ายท่เี ก่ยี วข้องทง้ั ระดับชาติ ชุมชน ครอบครวั และบุคคลตอ้ งรว่ มรบั ผดิ ชอบ โดย ร่วมกันทำงานอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง ในการวางแผน ดำเนนิ การ ส่งเสรมิ สนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจน ปรับปรงุ แก้ไขเพื่อพัฒนาเยาวชนของชาติ ไปสู่คุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรทู้ ่ีกำหนดไว้ วิสัยทศั น์ โรงเรยี นช้นั นำแหง่ คุณภาพ สร้างสรรคแ์ ละทันสมยั มุ่งพฒั นาผู้เรยี นใหเ้ ปน็ มนษุ ยท์ ่ีมี ความสมดุลทัง้ ด้านร่างกาย ความรู้ คณุ ธรรม มจี ติ สำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยดึ ม่ันในการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข มคี วามรู้และทักษะพ้นื ฐาน รวมทงั้ เจต คตทิ ี่จำเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สง่ เสริมภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ

หลักการ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน มหี ลกั การทส่ี ำคัญ ดังน้ี 1. หลักสตู รการศกึ ษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มจี ดุ หมายและมาตรฐานการเรยี นรู้ เป็นเป้าหมายสำหรับพัฒนาเดก็ และเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคณุ ธรรมบนพ้ืนฐาน ของความเปน็ ไทยควบคู่กับความเป็นสากล 2. เปน็ หลกั สตู รการศกึ ษาเพ่อื ปวงชน ทป่ี ระชาชนทกุ คนมโี อกาสไดร้ ับการศึกษาอยา่ ง เสมอภาค และมีคุณภาพ 3. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สงั คมมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา ให้ สอดคล้อง กับสภาพและความต้องการของท้องถน่ิ 4. เป็นหลกั สูตรการศกึ ษาที่มีโครงสรา้ งยืดหยุ่นทง้ั ดา้ นสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจดั การเรยี นรู้ 5. เปน็ หลักสูตรการศกึ ษาทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ 6. เป็นหลักสตู รการศึกษาสำหรบั การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทกุ กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ จุดหมาย หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนใหเ้ ปน็ คนดี มีปญั ญามีความสุข มศี ักยภาพในการศกึ ษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้เกดิ กบั ผเู้ รียน เม่อื จบการศกึ ษา ข้ันพนื้ ฐาน ดังน้ี 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มที่พงึ ประสงค์ เหน็ คุณคา่ ของตนเอง มวี ินัยและปฏบิ ัตติ นตาม หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรอื ศาสนาท่ตี นนบั ถือ ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. มีความรู้ ความสามารถในการส่อื สาร การคิด การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทักษะชีวติ 3. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตท่ีดี มสี ุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย 4. มีความรักชาติ มีจติ สำนึกในความเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ยดึ ม่ันในวถิ ีชวี ติ และ การปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข 5. มีจติ สำนกึ ในการอนุรกั ษ์วฒั นธรรมและภูมิปญั ญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสง่ิ แวดล้อม มีจติ สาธารณะท่มี ุ่งทำประโยชน์และสรา้ งสงิ่ ทด่ี ีงามในสังคม และอยู่รว่ มกนั ในสงั คมอยา่ งมคี วามสุข

สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการพฒั นาผเู้ รียนตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มงุ่ เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีคณุ ภาพ ตามมาตรฐานที่กำหนด ซึง่ จะชว่ ยใหผ้ เู้ รียนเกิดสมรรถนะสำคัญและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ดงั นี้ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ม่งุ ให้ผเู้ รียนเกดิ สมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดังน้ี 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร เปน็ ความสามารถในการรับและสง่ สาร มีวฒั นธรรมในการใชภ้ าษาถา่ ยทอด ความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความร้สู ึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนข้อมลู ข่าวสารและประสบการณ์ อนั จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจดั และลดปัญหาความ ขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไมร่ ับขอ้ มูลขา่ วสารดว้ ยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลอื กใช้วิธี สื่อสารที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคดิ เปน็ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมวี ิจารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพ่ือนำไปสู่การสรา้ งองค์ความรู้ หรือสารสนเทศเพ่อื การตัดสินใจเก่ียวกบั ตนเองและสงั คมได้อยา่ งเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เปน็ ความสามารถในการแก้ปัญหาและอปุ สรรคตา่ ง ๆ ทเี่ ผชิญไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตผุ ล คณุ ธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เขา้ ใจ ความสมั พันธแ์ ละการเปลยี่ นแปลงของเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรปู้ ระยุกต์ความรู้มาใชใ้ นการ ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหา และมกี ารตัดสนิ ใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทเ่ี กดิ ขึ้นตอ่ ตนเอง สังคม และสิง่ แวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนนิ ชีวิตประจำวนั การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทำงาน และการอยูร่ ่วมกนั ในสงั คมด้วยการ สรา้ งเสริมความสมั พนั ธ์อันดีระหวา่ งบคุ คล การจดั การปญั หาและความขดั แย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การ ปรับตวั ให้ทันกบั การเปลย่ี นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรจู้ ักหลีกเล่ยี งพฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงค์ ทีส่ ่งผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ่ืน 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลอื ก และใช้ เทคโนโลยี ด้านตา่ ง ๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพฒั นาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การ สอ่ื สารการทำงาน การแกป้ ัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ม่งุ พัฒนาผู้เรียนให้มคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ เพ่ือให้สามารถอยูร่ ว่ มกับผู้อ่ืนในสงั คมได้ อยา่ งมีความสุขในฐานะเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2. ซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ 3. มวี ินยั 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน 7. รกั ความเปน็ ไทย 8. มจี ิตสาธารณะ มาตรฐานการเรียนรู้ การพฒั นาผ้เู รียนให้เกิดความสมดลุ ตอ้ งคำนึงถงึ หลักพฒั นาการทางสมองและพหปุ ญั ญา หลกั สูตร แกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน จงึ กำหนดให้ผูเ้ รยี นเรียนรู้ 8 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ดังนี้ 1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร์ 3. วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5. สุขศกึ ษาและพลศึกษา 6. ศิลปะ 7. การงานอาชีพ 8. ภาษาตา่ งประเทศ ในแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรียนรู้ได้กำหนดมาตรฐานการเรียนรเู้ ป็นเป้าหมายสำคัญของการพฒั นา คณุ ภาพผู้เรยี น มาตรฐานการเรยี นรูร้ ะบสุ ่ิงทผี่ ู้เรียนพึงรู้ ปฏบิ ตั ไิ ด้ มคี ุณธรรมจรยิ ธรรม และค่านยิ ม ท่พี งึ ประสงคเ์ มอื่ จบการศึกษาขน้ั พื้นฐาน นอกจากนัน้ มาตรฐานการเรียนรู้ยงั เปน็ กลไกสำคัญในการขบั เคล่ือน พฒั นาการศกึ ษาทงั้ ระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรูจ้ ะสะทอ้ นใหท้ ราบวา่ ต้องการอะไร

จะสอนอยา่ งไร และประเมนิ อย่างไร รวมท้ังเปน็ เครื่องมือในการตรวจสอบเพ่ือการประกันคุณภาพการศึกษา โดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซง่ึ รวมถงึ การทดสอบระดบั เขต พ้นื ทีก่ ารศกึ ษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อประกนั คุณภาพดังกลา่ วเป็นสง่ิ สำคัญท่ี ช่วยสะท้อนภาพการจัดการศึกษาวา่ สามารถพฒั นาผูเ้ รยี นให้มีคุณภาพตามท่ีมาตรฐานการเรยี นรกู้ ำหนด เพียงใด ตวั ชี้วดั ตวั ชวี้ ัดระบสุ ่ิงท่นี ักเรียนพึงรแู้ ละปฏบิ ัติได้ รวมทงั้ คณุ ลักษณะของผูเ้ รยี นในแตล่ ะระดับชนั้ ซ่ึงสะท้อนถงึ มาตรฐานการเรยี นรู้ มคี วามเฉพาะเจาะจงและมคี วามเป็นรูปธรรม นำไปใช้ในการกำหนดเนอ้ื หา จัดทำหน่วย การเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สำคัญสำหรบั การวัดประเมินผลเพอื่ ตรวจสอบคณุ ภาพผู้เรยี น 1. ตัวชีว้ ดั ชั้นปี เป็นเปา้ หมายในการพฒั นาผเู้ รยี นแตล่ ะช้ันปใี นระดบั การศึกษาภาคบังคับ (ประถมศึกษาปที ี่ 1-มธั ยมศึกษาปีที่ 3) 2. ตวั ช้วี ัดชว่ งช้นั เปน็ เปา้ หมายในการพัฒนาผูเ้ รยี นในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย(มธั ยมศึกษาปที ่ี 4-6) หลกั สูตรไดม้ ีการกำหนดรหัสกำกับมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชี้วดั เพอื่ ความเขา้ ใจและ ใหส้ อื่ สารตรงกนั ดงั นี้ ว 1.1 ป. 1/2 ป.1/2 ตวั ชวี้ ัดชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ข้อที่ 2 1.1 สาระท่ี 1 มาตรฐานขอ้ ท่ี 1 ว กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต 2.2 ม.4-6/ 3 ม.4-6/3 ตวั ชวี้ ดั ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ข้อท่ี 3 2.2 สาระท่ี 2 มาตรฐานขอ้ ท่ี 2 ต กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย องค์ความรู้ ทกั ษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะ อนั พงึ ประสงค์ ซึ่งกำหนดให้ผเู้ รียนทุกคนในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานจำเปน็ ต้องเรียนรู้ โดยแบง่ เป็น 8 กลุ่ม สาระการเรยี นรู้ ดงั น้ี

ภาษาไทย : ความรู้ ทักษะ คณิตศาสตร์ : การนำความรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ทักษะและกระบวนการ และวฒั นธรรมการใชภ้ าษา : การนำความรู้ และกระบวนการ ทางคณติ ศาสตร์ไปใช้ใน เพ่ือ การสอ่ื สาร ความชนื่ ชม การแก้ปัญหา การดำเนนิ ชีวติ ทางวิทยาศาสตรไ์ ปใช้ในการศึกษา และศกึ ษาต่อ การมเี หตมุ ผี ล คน้ คว้าหาความรู้ และแก้ปญั หา การเห็นคณุ คา่ ภูมิปญั ญาไทย มเี จตคติทด่ี ตี อ่ คณิตศาสตร์ และภมู ิใจในภาษาประจำชาติ พฒั นาการคิดอย่างเป็นระบบ อยา่ งเป็นระบบ การคดิ อยา่ งเปน็ เหตุ และสรา้ งสรรค์ เปน็ ผล คดิ วเิ คราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์ จิตวิทยาศาสตร์และการใช้เทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ : องค์ความรู้ ทักษะสำคญั สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ความรูท้ กั ษะ เจตคติ และคณุ ลกั ษณะ : การอยรู่ ว่ มกันในสังคมไทยและ สงั คมโลกอย่างสันตสิ ุข การเปน็ และวัฒนธรรม การใช้ ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พลเมอื งดี ศรัทธาในหลักธรรม ภาษาต่างประเทศในการ ข้นั พ้นื ฐาน สือ่ สาร การแสวงหาความรู้ ของศาสนา การเหน็ คณุ ค่าของ ทรัพยากรและสิ่งแวดลอ้ ม ความรกั และการประกอบอาชพี ชาติ และภมู ใิ จในความเปน็ ไทย การงานอาชพี : ความรู้ ทกั ษะ ศลิ ปะ : ความรู้และทักษะใน สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา : ความรู้ และเจตคติในการทำงาน การคิดรเิ รมิ่ จนิ ตนาการ ทกั ษะและเจตคตใิ นการสร้างเสรมิ สรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะ สขุ ภาพพลานามยั ของตนเองและผู้อนื่ การจัดการ การดำรงชวี ติ สุนทรียภาพและการเห็นคณุ ค่า การป้องกันและปฏบิ ตั ติ ่อสิง่ ต่าง ๆ ทางศิลปะ การประกอบอาชีพ ทีม่ ผี ลตอ่ สุขภาพอยา่ งถูกวิธแี ละทกั ษะ ในการดำเนินชวี ติ

วสิ ยั ทศั น์ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผเู้ รียนทุกคน ซึง่ เป็นกำลังของชาติใหเ้ ปน็ มนษุ ย์ท่มี ีความสมดลุ ทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยดึ มัน่ ในการปกครองตามระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข มีความรูแ้ ละทกั ษะพน้ื ฐาน รวมทั้ง เจตคติ ท่ีจำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชพี และการศึกษาตลอดชวี ติ โดยมงุ่ เน้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั บนพนื้ ฐานความเชอ่ื ว่า ทกุ คนสามารถเรยี นรู้ และพฒั นาตนเองไดเ้ ต็มตามศกั ยภาพ จุดหมาย 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ มที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มวี ินยั และปฏิบตั ิตนตามหลักธรรม ของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนบั ถือ ยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. มีความรูอ้ ันเปน็ สากลและมคี วามสามารถในการสอ่ื สารการคิดการแกป้ ัญหา การใช้เทคโนโลยีและมีทักษะ ชีวติ 3. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทีด่ ี มีสุขนสิ ยั และรักการออกกำลงั กาย 4. มคี วามรกั ชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยดึ มน่ั ในวถิ ชี วี ิตและการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข 5. มีจติ สำนึกในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภูมปิ ัญญาไทย การอนุรักษ์และพฒั นาสง่ิ แวดล้อม มจี ิตสาธารณะที่ มุ่งทำประโยชนแ์ ละสรา้ งสงิ่ ท่ดี งี ามในสังคม และอยรู่ ่วมกันในสังคมอยา่ งมีความสขุ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ซ่ือสตั ย์สจุ ริต 2. ความสามารถในการคิด 3. มวี ินยั 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 4. ใฝ่เรยี นรู้ 4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 5. อยูอ่ ย่างพอเพียง 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. มุ่งม่ันในการทำงาน 7. รกั ความเปน็ ไทย 8. มจี ิตสาธารณะ

มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร์ 3. วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. สังคมศกึ ษา ศาสนาและ วัฒนธรรม 5. สุขศึกษาและพลศึกษา 6. ศิลปะ 7. การงานอาชีพ 8. ภาษาต่างประเทศ คุณภาพของผู้เรยี นระดับการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ระดับช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้นโรงเรยี นหนองไผม่ ี 2 แผนการเรียน ดังน้ี 1. แผนการเรียนท่ีเน้นวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ภาษาอังกฤษและเทคโนโลยี 2. แผนการเรียนทั่วไป ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลายโรงเรียนหนองไผม่ ี 5 แผนการเรยี น ดังน้ี 1. แผนการเรยี นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ 2. แผนการเรยี นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ 3. แผนการเรียนคณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ 4. แผนการเรยี นภาษาไทย สังคมศกึ ษา 5. แผนการเรียนภาษาองั กฤษ ภาษาจีน

โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหนองไผ่ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 ตามหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 หอ้ งเรยี น SMET (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 รหัสวชิ า รายวชิ า/กจิ กรรม ช่ัวโมง รหัสวิชา รายวชิ า/กิจกรรม ชั่วโมง (หน่วยกติ ) (หน่วยกติ ) วิชาพน้ื ฐาน วิชาพน้ื ฐาน 3 (1.5) 3 (1.5) ท21101 ภาษาไทย 3 (1.5) ท21102 ภาษาไทย 2 (1.0) 1 (0.5) ค21101 คณติ ศาสตร์ 3 (1.5) ค21102 คณติ ศาสตร์ 3 (1.5) 1 (0.5) ว21101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 (1.0) ว21102 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 (1.5) 2 (1.0) ว21103 การออกแบบและเทคโนโลยี 1 (0.5) ว21104 วทิ ยาการคานวณ 2 (1.0) 2 (1.0) ส21101 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั ธรรม 3 (1.5) ส21102 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั ธรรม 22(11.0) ส21103 ประวัตศิ าสตร์ 1 (0.5) ส21104 ประวตั ศิ าสตร์ 2(1.0) 2(1.0) อ21101 ภาษาองั กฤษ 3 (1.5) อ21102 ภาษาอังกฤษ 2(1.0) 2(1.0) พ21101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 2 (1.0) พ21102 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 2(1.0) 1(0.5) ศ21101 ศลิ ปะ 2 (1.0) ศ21102 ศลิ ปะ 11(5.5) ง21101 การงานอาชพี 2 (1.0) ง21102 การงานอาชพี 1(0) 1(0) รวม 22(11.0) รวม 1(0) 3 วิชาเพม่ิ เตมิ วิชาเพมิ่ เตมิ 36 ค20201 คณติ ศาสตร์ 1 2(1.0) ค20202 คณติ ศาสตร์ 2 ว20207 ของเล่นเชงิ วิทยาศาสตร์ 2(1.0) ว20208 วิทยาศาสตร์กบั ความงาม ว20244 การสร้างส่อื e-book 2(1.0) ว20245 ตกแตง่ ภาพดว้ ย Photoshop อ20201 ภาษาองั กฤษฟงั พดู 1 2(1.0) อ20202 ภาษาองั กฤษฟงั พดู 2 I20201 การศกึ ษาคน้ ควา้ และสร้างองคค์ วามรู้ 2(1.0) I20202 การสอ่ื สารและการนาเสนอ หน้าทพี่ ลเมอื ง 1(0.5) หน้าทพ่ี ลเมอื ง รวม 11(5.5) รวม กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน แนะแนว 1(0) แนะแนว ลูกเสอื เนตรนารี ยุวกาชาด 1(0) ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ชมุ นุม 1(0) ชุมนุม รวม 3 รวม รวมทงั้ หมด 36 รวมทงั้ หมด

โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรียนหนองไผ่ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ห้องเรียน SMET (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 รหัสวิชา รายวชิ า/กจิ กรรม ชวั่ โมง รหัสวชิ า รายวชิ า/กิจกรรม ชั่วโมง (หน่วยกติ ) (หน่วยกติ ) วิชาพนื้ ฐาน วิชาพนื้ ฐาน 3 (1.5) 3 (1.5) ท 22101 ภาษาไทย 3 (1.5) ท 22102 ภาษาไทย 2 (1.0) 1 (0.5) ค 22101 คณติ ศาสตร์ 3 (1.5) ค 22102 คณติ ศาสตร์ 3 (1.5) 1 (0.5) ว 22101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 (1.0) ว 22102 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 (1.5) 2 (1.0) ว 22103 การออกแบบและเทคโนโลยี 1 (0.5) ว 22104 วทิ ยาการคานวณ 2 (1.0) 2 (1.0) ส 22101 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒธรรม 3 (1.5) ส 22102 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒธรรม 22(11.0) ส 22103 ประวตั ศิ าสตร์ 1 (0.5) ส 22104 ประวตั ศิ าสตร์ 2(1.0) 2(1.0) อ 22101 ภาษาอังกฤษ 3 (1.5) อ 22102 ภาษาองั กฤษ 2(1.0) 2(1.0) พ 22101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 2 (1.0) พ 21102 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 2(1.0) 1(0.5) ศ 22101 ศลิ ปะ 2 (1.0) ศ 22102 ศลิ ปะ 11(5.5) ง 22101 การงานอาชพี 2 (1.0) ง 22102 การงานอาชพี 1(0) 1(0) รวม 22(11.0) รวม 1(0) 3 วิชาเพมิ่ เตมิ วิชาเพม่ิ เตมิ 36 ค20203 คณติ ศาสตร์ 3 2(1.0) ค20204 คณติ ศาสตร์ 4 2(1.0) ว20210 โครงงานวิทยาศาสตร์ 2 ว20209 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ 1 ว20249 การเขียนโปรแกรม 2(1.0) ว20243 งานกราฟฟกิ อ20203 ภาษาองั กฤษฟงั พดู 3 2(1.0) อ20204 ภาษาองั กฤษฟงั พดู 4 หน้าทพ่ี ลเมอื ง 1(0.5) จ20221 ภาษาจีนฟงั พดู 1 รวม 9(4.5) หน้าทพี่ ลเมอื ง กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน รวม I20203 การนาองคค์ วามรู้ไปใชบ้ ริการสงั คม 2(0) กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน แนะแนว 1(0) แนะแนว ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด 1(0) ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ชมุ นุม 1(0) ชุมนุม รวม 5 รวม รวมทง้ั หมด 36 รวมทง้ั หมด

โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรียนหนองไผ่ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ห้องเรียน SMET (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 รหัสวชิ า รายวชิ า/กิจกรรม ชว่ั โมง รหัสวชิ า รายวชิ า/กจิ กรรม ช่ัวโมง (หนว่ ยกติ ) (หน่วยกติ ) วิชาพนื้ ฐาน วิชาพน้ื ฐาน ท23101 ภาษาไทย 3 (1.5) ท23102 ภาษาไทย 3 (1.5) ค23101 คณติ ศาสตร์ 3 (1.5) ค23102 คณติ ศาสตร์ 3 (1.5) ว23101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 (1.0) ว23102 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 (1.0) ว23103 การออกแบบและเทคโนโลยี 1 (0.5) ว23104 วทิ ยาการคานวณ 1 (0.5) ส23101 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒธรรม 3 (1.5) ส23102 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั ธรรม 3 (1.5) ส23103 ประวัตศิ าสตร์ 1 (0.5) ส23104 ประวตั ศิ าสตร์ 1 (0.5) อ23101 ภาษาอังกฤษ 3 (1.5) อ23102 ภาษาอังกฤษ 3 (1.5) พ23101 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 2 (1.0) พ23102 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 2 (1.0) ศ23101 ศลิ ปะ 2 (1.0) ศ21102 ศลิ ปะ 2 (1.0) ง23101 การงานอาชีพ 2 (1.0) ง23102 การงานอาชีพ 2 (1.0) รวม 22(11.0) รวม 22(11.0) วิชาเพมิ่ เตมิ วิชาเพม่ิ เตมิ ค20205 คณติ ศาสตร์ 5 2(1.0) ค20206 คณติ ศาสตร์ 6 2(1.0) ว20211 เช้ือเพลิงเพอ่ื การคมนาคม 2(1.0) ว20212 พลงั งานทดแทนและการใชป้ ระโยชน์ 2(1.0) ว20246 สร้าง Web Site 2(1.0) ว20242 งานกราฟฟกิ 2(1.0) อ20205 ภาษาองั กฤษฟงั พดู 5 2(1.0) อ20204 ภาษาอังกฤษฟงั พดู 4 2(1.0) จ20222 ภาษาจีนฟงั พดู 2 2(1.0) จ20223 ภาษาจีนฟงั พดู 3 2(1.0) หน้าทพี่ ลเมอื ง 1(0.5) หน้าทพ่ี ลเมอื ง 1(0.5) รวม 11(5.5) รวม 11(5.5) กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน แนะแนว 1(0) แนะแนว 1(0) ลูกเสอื เนตรนารี ยุวกาชาด 1(0) ลูกเสอื เนตรนารี ยุวกาชาด 1(0) ชมุ นุม 1(0) ชมุ นุม 1(0) รวม 3 รวม 3 รวมทง้ั หมด 36 รวมทงั้ หมด 36

โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหนองไผ่ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 - 6 (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร์) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 จานวนชั่วโมง/สปั ดาห์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาษาไทย พน้ื ฐาน เพมิ่ เตมิ พนื้ ฐาน เพมิ่ เตมิ ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ พนื้ ฐาน เพมิ่ เตมิ คณติ ศาสตร์ 2 02 0 พนื้ ฐาน เพม่ิ เตมิ พนื้ ฐาน เพมิ่ เตมิ 2020 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 32 3 2 0 20 2323 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 3 13 1 13 2 3 23 2 11 0 13 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 3 13 1 3 12 3 11 2020 ศลิ ปะ 1 01 1 3 1 31 1111 การงานอาชพี 1 01 0 1 1 10 1010 ภาษาตา่ งประเทศ 1 01 0 1 0 10 1010 IS 2 22 2 1 0 10 2222 รวม 0 00 0 2 2 22 0202 กิจกรรม (แนะแนว,ชมุ นุม,เพอ่ื สังคมฯ) 15 19 13 20 0 0 02 13 19 11 21 รวมทงั้ หมด 15 19 15 19 22 22 23 36 35 36 36 34 35 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหนองไผ่ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 (แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณติ ศาสตร์ - คอมพวิ เตอร์) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 จานวนชวั่ โมง/สัปดาห์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาษาไทย พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ พนื้ ฐาน เพมิ่ เตมิ ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 พนื้ ฐาน เพมิ่ เตมิ พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ คณติ ศาสตร์ 2 02 0 พนื้ ฐาน เพม่ิ เตมิ พนื้ ฐาน เพมิ่ เตมิ 2020 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 32 3 2 0 20 2323 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 3 13 1 13 2 3 23 2 11 0 13 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 3 13 1 3 11 3 11 2020 ศลิ ปะ 1 01 1 3 1 31 1111 การงานอาชพี 1 01 0 1 1 10 1010 ภาษาตา่ งประเทศ 1 01 0 1 0 10 1010 IS 2 22 2 1 0 10 2222 รวม 0 00 0 2 2 22 0202 กิจกรรม (แนะแนว,ชมุ นุม,เพอื่ สงั คมฯ) 15 19 13 20 0 0 02 13 19 11 21 รวมทง้ั หมด 15 18 15 19 22 24 23 36 35 35 38 34 35

โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหนองไผ่ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 - 6 (แผนการเรียนคณติ ศาสตร์ - ภาษาองั กฤษ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) จานวนช่ัวโมง/สปั ดาห์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาษาไทย พนื้ ฐาน เพม่ิ เตมิ พนื้ ฐาน เพม่ิ เตมิ พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ พนื้ ฐาน เพม่ิ เตมิ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 32 3 2 3 23 2323 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 2 22 2 2 2 22 2222 ศลิ ปะ การงานอาชพี 3 31 3 3 3 33 2305 ภาษาตา่ งประเทศ IS 3 23 2 3 1 32 2222 รวม กิจกรรม (แนะแนว,ชมุ นุม,เพอ่ื สงั คมฯ) 1 11 1 1 1 10 1111 รวมทงั้ หมด 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1 1 1 1 1 1 2 42 4 2 4 24 2424 0 00 2 0 2 02 0000 15 17 13 19 15 18 15 18 13 17 11 19 33 22 35 35 35 35 35 33 35 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหนองไผ่ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 - 6 (แผนการเรียนภาษาองั กฤษ - ภาษาจนี ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) จานวนชัว่ โมง/สปั ดาห์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 ภาษาไทย พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ พนื้ ฐาน เพมิ่ เตมิ พนื้ ฐาน เพม่ิ เตมิ พนื้ ฐาน เพม่ิ เตมิ พนื้ ฐาน เพมิ่ เตมิ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 02 0 2 0 20 2020 สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 2 02 0 2 0 20 2020 ศลิ ปะ การงานอาชีพ 3 21 2 3 2 32 2202 ภาษาตา่ งประเทศ IS 3 23 2 3 1 32 2224 รวม กจิ กรรม (แนะแนว,ชุมนุม,เพอื่ สังคมฯ) 1 11 1 1 1 10 1111 รวมทงั้ หมด 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1 1 1 1 1 1 2 10 2 10 2 10 2 10 2 10 2 10 0 00 2 0 2 00 0000 15 17 13 19 15 18 15 16 13 17 11 19 33 24 35 35 35 35 35 33 35

โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนหนองไผ่ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4 - 6 (แผนการเรียนภาษาไทย - สังคม) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) จานวนชว่ั โมง/สัปดาห์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาษาไทย พน้ื ฐาน เพมิ่ เตมิ พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ พนื้ ฐาน เพม่ิ เตมิ พน้ื ฐาน เพม่ิ เตมิ พนื้ ฐาน เพม่ิ เตมิ พนื้ ฐาน เพมิ่ เตมิ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2 42 4 2 4 24 2626 สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 2 02 0 2 0 20 2020 ศลิ ปะ การงานอาชพี 3 21 2 3 2 32 2202 ภาษาตา่ งประเทศ IS 3 63 6 3 5 36 2426 รวม กิจกรรม (แนะแนว,ชมุ นุม,เพอ่ื สังคมฯ) 1 11 1 1 1 10 1111 รวมทง้ั หมด 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1 2 1 1 1 1 1 1 2 22 2 2 2 22 2222 0 00 2 0 2 02 0000 15 17 13 19 15 18 15 18 13 17 11 19 33 22 35 35 35 35 35 33 35 กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี นโรงเรยี นหนองไผ่ ม่งุ ใหผ้ เู้ รยี นได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พฒั นาอยา่ งรอบ ดา้ นเพื่อความเปน็ มนุษยท์ ่สี มบรู ณ์ทัง้ รา่ งกาย สติปญั ญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เปน็ ผมู้ ีศลี ธรรม จรยิ ธรรม มีระเบยี บวินัย ปลูกฝงั และสร้างจติ สำนึกของการทำประโยชนเ์ พื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่รว่ มกับผู้อน่ื อยา่ งมีความสุข กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้ใช้องค์ความรู้ ทักษะและเจตคติ จากการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ และประสบการณ์ของผูเ้ รยี นมาปฏิบัติกิจกรรมเพ่ือช่วยให้ผ้เู รยี นเกิด สมรรถนะสำคัญ อันได้แก่ ความสามารถในการส่อื สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการ แกป้ ญั หา ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ และความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ซ่ึงจะส่งผลในการพัฒนา ผ้เู รียนให้มีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ มที กั ษะการทำงานและอยรู่ ว่ มกบั ผ้อู น่ื ในสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก อนั ไดแ้ ก่ รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอื่ สัตยส์ ุจริต มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ อยูอ่ ยา่ งพอเพียง ม่งุ มนั่ ในการทำงาน รักความ เป็นไทย และมจี ติ สาธารณะ โรงเรียนหนองไผ่ ไดจ้ ัดกรรมพัฒนาผเู้ รียนโดยแบ่งเป็น 3 ลักษณะดงั นี้ 1. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมทส่ี ง่ เสรมิ และพัฒนาผู้เรียนให้รจู้ ักตนเอง รู้รักษส์ ิง่ แวดลอ้ ม สามารถคดิ ตัดสนิ ใจ คดิ แก้ปัญหา กำหนดเปา้ หมาย วางแผนชวี ติ ทง้ั ดา้ นการเรยี น และอาชพี สามารถปรบั ตนได้อย่างเหมาะสม

นอกจากนย้ี งั ชว่ ยใหค้ รูร้จู กั และเข้าใจผูเ้ รยี น ท้ังยังเปน็ กจิ กรรมท่ีชว่ ยเหลอื และให้คำปรกึ ษาแกผ่ ปู้ กครองใน การมีส่วนรว่ มพฒั นาผู้เรยี น นักเรียนทุกคนต้องเขา้ รว่ มกิจกรรมแนะแนว 20 ชั่วโมงต่อภาคเรียน แนวการจัดกิจกรรมแนะแนว 1. สำรวจสภาพปัญหา ความต้องการ ความสนใจ และธรรมชาติของผเู้ รียน เพ่ือใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการกำหนดแนวทางและแผนการปฏบิ ัติกิจกรรมแนะแนว 2. ศึกษาวสิ ยั ทศั นข์ องสถานศกึ ษา และวิเคราะห์ข้อมูลของผเู้ รียนที่ไดจ้ ากฐานขอ้ มลู ผ้เู รียน รายบุคคล หรอื การสำรวจเพ่ือทราบปญั หา ความต้องการ และความสนใจ เพือ่ นำไปกำหนดสาระและ รายละเอียดของกจิ กรรมแนะแนว 3. กำหนดสัดส่วนของกจิ กรรมดา้ นการศกึ ษา การงานและอาชีพ รวมทงั้ ชีวติ และสงั คมให้ได้ สดั ส่วนท่ีเหมาะสม โดยยึดสภาพปญั หา ความต้องการ ความสนใจ ตลอดจนธรรมชาติของผ้เู รียนเปน็ หลัก ทั้งน้คี รูและผเู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 4. กำหนดแผนการปฏิบตั กิ จิ กรรมแนะแนว ระดบั มัธยมศึกษาจดั เป็นรายภาค เม่ือกำหนด สดั สว่ นของกจิ กรรมในแตล่ ะด้านแลว้ จะตอ้ งระบวุ า่ จะจัดกจิ กรรมแนะแนวในด้านใด จำนวนกี่ช่ัวโมง พรอ้ ม ทง้ั จะต้องกำหนดรายละเอียดของแต่ละด้านให้ชัดเจนว่าควรมีเร่อื งอะไรบ้าง เพื่อจะได้จัดทำเป็นรายละเอยี ด ของแต่ละกิจกรรมย่อยตอ่ ไป 5. การจดั ทำรายละเอียดของแต่ละแผนการปฏิบตั ิกิจกรรม เริม่ ต้ังแตก่ ารกำหนดชอ่ื กจิ กรรม จดุ ประสงค์ เวลา เนอ้ื หา / สาระ วธิ ดี ำเนนิ กิจกรรม ส่ือ / อุปกรณ์ และการประเมินผล 6. ปฏบิ ตั ติ ามแผนการปฏิบัติกิจกรรมแนะแนว วดั และประเมนิ ผล และสรปุ รายงาน 2. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่มงุ่ พฒั นาความมีระเบียบวนิ ยั ความเปน็ ผู้นำ ผูต้ ามทีด่ ี ความรับผิดชอบ การ ทำงานร่วมกัน การรู้จักแก้ปญั หา การตดั สนิ ใจทีเ่ หมาะสม ความมเี หตุผล การช่วยเหลือแบง่ ปันเอื้ออาทรและ สมานฉันท์ โดยจดั ให้สอดคล้องกบั ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ไดป้ ฏบิ ัติดว้ ย ตนเองในทุกข้นั ตอน ได้แก่ การศกึ ษาวเิ คราะห์ วางแผน ปฏบิ ตั ิตามแผน ประเมิน และปรับปรุงการทำงาน เนน้ การทำงานร่วมกนั เป็นกลุ่มตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒภิ าวะของผู้เรียน และบรบิ ทของ สถานศกึ ษาและทอ้ งถน่ิ กิจกรรมนักเรียนของโรงเรยี นหนองไผ่ ประกอบดว้ ย 2.1 กจิ กรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด 2.2 กจิ กรรมชมุ นมุ ชมรม นักศกึ ษาวชิ าทหาร นักเรยี นมธั ยมศกึ ษาตอนต้นจะตอ้ งเขา้ ร่วมกิจกรรมทั้งในข้อ 2.1 จำนวน 20 ชว่ั โมงต่อ ภาคเรยี น และจะต้องเข้าร่วมกจิ กรรมท้ังในข้อ 2.2 จำนวน 20 ช่วั โมงต่อภาคเรียน นักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลายจะต้องเขา้ รว่ มกิจกรรมในขอ้ 2.2 จำนวน 40 ช่วั โมงตอ่ ภาคเรียน

แนวการจดั กจิ กรรมลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาด กจิ กรรมลกู เสือ เนตรนารี มีแนวทางการจัดกิจกรรมตามวิธีการของลกู เสอื 7 ประการ ดังน้ี 1. คำปฏิญาณและกฎ 2. เรยี นรจู้ ากการกระทำ 3. ระบบหมู่ 4. การใช้สญั ลกั ษณร์ ว่ มกัน 5. การศกึ ษาธรรมชาติ 6. ความก้าวหน้าในการรว่ มกิจกรรม 7. การสนับสนบั สนุนโดยผใู้ หญ่ กิจกรรมยวุ กาชาด มีแนวทางการจดั กิจกรรมหลักและกจิ กรรมพิเศษ ดงั นี้ กิจกรรมหลัก หมายถงึ กิจกรรมพ้นื ฐานที่สำคัญทส่ี มาชิกทุกคนต้องร่วมกิจกรรม มี 4 กลุ่มกจิ กรรม คือ 1. กลมุ่ กจิ กรรมกาชาดและยวุ กาชาด 2. กลมุ่ กิจกรรมสุขภาพ 3. กลุม่ กิจกรรมสัมพันธภาพและความเขา้ ใจอนั ดี 4. กลมุ่ กจิ กรรมบำเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมพเิ ศษ เป็นกิจกรรมเสรมิ กิจกรรมหลักเพื่อสร้างทักษะ ความสามารถ ความถนดั หรือความสนใจของผเู้ รยี นโดยเฉพาะ ผูเ้ รียนสามารถเขา้ ร่วมกิจกรรมได้ 2. กจิ กรรมเพือ่ สังคมสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนบำเพญ็ ตนให้เปน็ ประโยชน์ต่อสงั คมชุมชนและ ท้องถ่นิ ตามความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัครเพื่อแสดงถึงความรบั ผดิ ชอบ ความดีงาม ความเสยี สละตอ่ สงั คม และการมีจิตสาธารณะ นกั เรยี นมัธยมศึกษาตอนตน้ จะตอ้ งเขา้ ร่วมกจิ กรรมเพื่อสังคมสาธารณประโยชน์จำนวน 45 ชว่ั โมง ตลอด 3 ปีการศกึ ษา นกั เรียนมัธยมศกึ ษาตอนปลายจะต้องเขา้ ร่วมกจิ กรรมเพื่อสังคมสาธารณประโยชน์จำนวน 60 ช่ัวโมง ตลอด 3 ปกี ารศกึ ษา

แนวการจดั กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ การจัดกจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์โรงเรยี นหนองไผจ่ ดั กจิ กรรม ดงั นี้ นกั เรยี นมัธยมศึกษาตอนตน้ จัดกจิ กรรมบูรณาการในกิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด ผู้บำเพญ็ ผูส้ อนสามารถจัดกิจกรรมตามองคค์ วามรู้ท่ีได้จากการเรียนรูแ้ ละประสบการณ์ ซง่ึ สามารถจดั กจิ กรรมได้ท้ังใน โรงเรยี นและภายนอกโรงเรียน โดยวางแผนการจัดกิจกกรมรว่ มกบั ผู้เรียนในการดำเนินกิจกรรม นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายจดั กิจกรรมบูรณาการในชุมนมุ ผู้สอนสามารถจัดกจิ กรรมตามองค์ ความร้ทู ไ่ี ดจ้ ากการเรียนรแู้ ละประสบการณ์ ซงึ่ สามารถจัดกิจกรรมไดท้ งั้ ในโรงเรยี นและภายนอกโรงเรียน โดยวางแผนการจัดกจิ กกรมร่วมกบั ผู้เรียนในการดำเนินกิจกรรม แนวทางการประเมนิ ผลกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น การประเมินผลการเข้ารว่ มกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ให้ถอื ปฏิบตั ติ ามแนวทาง ดังน้ี 1. ผ้รู ับผิดชอบกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นของโรงเรยี นและผูเ้ ก่ียวข้องดำเนินการประเมินผู้เรยี นตาม จุดประสงค์ของกิจกรรมอย่างต่อเน่ือง ตลอดชว่ งเวลาของการเขา้ ร่วมกจิ กรรม โดยการรวบรวมจากบันทกึ การ เขา้ รว่ มกจิ กรรม และผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมจากผู้ทเี่ กีย่ วข้อง รวมท้งั เวลาทผี่ ู้เรยี นใชใ้ นการเขา้ รว่ มกจิ กรรม เมื่อสน้ิ สดุ กจิ กรรมนำมาพจิ ารณาตดั สนิ ร่วมกัน 2. การตดั สินการเขา้ รว่ มกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนแต่ละกิจกรรม โดยให้พิจารณาจากผลการ ประเมิน ซ่ึงต้องผา่ นจดุ ประสงค์สำคัญของกจิ กรรมทุกข้อ และมีเวลาเขา้ ร่วมกจิ กรรมไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80 ของเวลาเรียน 3. การใหร้ ะดบั ผลการตดั สนิ การเขา้ รว่ มกจิ กรรม กำหนดให้ระดบั ผลการประเมินเป็น“ผา่ น” และ “ไมผ่ า่ น” 4. ในกรณีท่ีผูเ้ รียน “ไมผ่ า่ น” การเข้าร่วมกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น ให้ผู้เรียนเข้ารับการซ่อมเสริม หรือเลอื กกจิ กรรมใหมจ่ นผา่ นครบทุกกิจกรรม ตามหลักสตู ร 5. ผู้เรียนทไ่ี ม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานการประเมิน การเข้ารว่ มกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น จะต้อง เขา้ รว่ มกจิ กรรมเสริมท่โี รงเรียนจัดขน้ึ และสามารถผ่านเกณฑ์ที่กำหนดใหห้ รือขยายเวลาเรียนจนกวา่ จะมี คณุ สมบตั ติ ามเกณฑ์การผา่ นช่วงชนั้ การวดั ผลประเมนิ ผล

ระเบียบโรงเรียนหนองไผ่ วา่ ด้วยการประเมินผลการเรยี น ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๒ (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๖๑) โดยท่ีโรงเรยี นหนองไผ่ ได้ประกาศใชห้ ลกั สูตรโรงเรยี นตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ตามคำสงั่ กระทรวงศึกษาที่ สพฐ. ๒๙๓/๒๕๕๑ ลงวันท่ี ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ เรือ่ งให้ใช้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จงึ เปน็ การสมควรทจี่ ะระเบียบโรงเรียนหนองไผ่ วา่ ดว้ ยการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ เพ่ือให้ สามารถดำเนนิ การได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพและสอดคล้องกับคำสงั่ ดงั กล่าว ฉะนน้ั อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบัญญตั ิระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.๒๕๔๖ และและกฎกระทรวงแบง่ สว่ นราชการ คณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและวิชาการของ สถานศกึ ษา โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน จงึ วางระเบยี บไว้ดังตอ่ ไปนี้ ขอ้ ๑ ระเบยี บน้เี รียกวา่ “ระเบียบโรงเรยี นหนองไผว่ า่ ด้วยการประเมินผลการเรียน ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๒” ข้อ ๒ ระเบยี บนใ้ี หใ้ ช้บังคบั ตงั้ แต่ ปีการศึกษา ๒๕๕๒ เป็นต้นไป ข้อ ๓ ใหย้ กเลกิ ระเบยี บโรงเรียนหนองไผว่ า่ ด้วยการประเมนิ ผลการเรยี นตามหลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๔ พ.ศ. ๒๕๔๘ บรรดาข้อบงั คับหรือคำส่ังอืน่ ใดในส่วนที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้ หรือขัดแย้งกบั ระเบยี บนี้ ให้ใชร้ ะเบยี บนี้แทน ข้อ ๔ ใหใ้ ชร้ ะเบยี บน้ีควบคู่กบั หลักสตู รโรงเรียนหนองไผ่ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ พ.ศ.๒๕๕๒ ขอ้ ๕ ให้ผูอ้ ำนวยการ โรงเรียนหนองไผ่รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบน้ี

หมวด ๑ หลักการในการประเมินผลการเรยี น ขอ้ ๖ การประเมนิ ผลการเรียนใหเ้ ปน็ ไปตามหลักการต่อไปนี้ ๖.๑ โรงเรยี นหนองไผ่เปน็ ผูร้ ับผดิ ชอบการประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องผ้เู รียน โดยเปดิ โอกาส ให้ทกุ ฝ่ายทีเ่ ก่ยี วข้องมสี ่วนร่วม ๖.๒ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนต้องสอดคลอ้ งและครอบคลมุ มาตรฐาน การเรียนร้/ู ตวั ช้ีวัดตามกลุ่มสาระการเรยี นรทู้ ี่กำหนดในหลักสตู รและจดั ให้มกี ารประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ตลอดจนกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น ๖.๓ การประเมินผลการเรยี นพจิ ารณาจากพัฒนาการของผู้เรยี น ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ การรว่ มกจิ กรรมและการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอน ตาม ความเหมาะสมของแต่ละระดับและรปู แบบการศึกษา ๖.๔ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ เปน็ ส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการ เรียนการสอนต้องดำเนินการดว้ ยเทคนคิ วิธีการท่ีหลากหลาย เพือ่ ให้สามารถวดั และประเมินผลผู้เรียนไดอ้ ย่าง รอบดา้ น ทง้ั ดา้ นความรคู้ วามคิด กระบวนการ พฤตกิ รรมและเจตคติ เหมาะสมกบั สง่ิ ทต่ี ้องการวดั ธรรมชาติ วชิ าและระดบั ชัน้ ของผู้เรยี น โดยตัง้ อยบู่ นฐานความเท่ียงตรง ยุตธิ รรมและเช่อื ถือได้ ๖.๕ การประเมนิ ผลการเรียนรมู้ จี ุดมุ่งหมายเพื่อปรับปรุงพัฒนาผู้เรยี น พฒั นาการ จดั การเรยี นรู้และตัดสินผลการเรยี น ๖.๖ เปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นและผูม้ สี ่วนเกีย่ วข้องตรวจสอบผลการประเมินผลการ เรยี นรู้ ๖.๗ ให้มกี ารเทียบโอนผลการเรียนระหวา่ งสถานศึกษาและรูปแบบการศึกษา ต่าง ๆ ๖.๘ ใหม้ กี ารจดั ทำเอกสารหลกั ฐานการศึกษา เพอื่ เป็นหลักฐานการประเมินผลการเรียนรู้ รายงานผลการเรยี น แสดงวุฒิการศึกษาและรบั รองผลการเรยี นของผู้เรียน

หมวด ๓ วธิ ีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ขอ้ ๘ การประเมนิ ผลการเรียนรตู้ ามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลมุ่ ให้ถือแนวปฏิบัติดังนี้ ๘.๑ การประเมินผลกอ่ นเรียน ๘.๑.๑ การประเมินความพร้อมและพ้ืนฐานของผเู้ รยี น เป็นการประเมนิ ความพร้อมและพนื้ ฐานของผเู้ รียนก่อนเรยี น ซึ่ง มีความสำคัญและจำเป็นท่ีผสู้ อนจะต้องดำเนนิ การเพือ่ เตรียมผเู้ รียนใหม้ ีความพรอ้ มในการเรียน อย่างเหมาะสม และสามารถคาดหวงั ความสำเร็จไดท้ กุ คร้ังใหถ้ ือแนวปฏบิ ตั ิดงั น้ี ๘.๑.๑.๑ วเิ คราะหค์ วามร้แู ละทักษะท่เี ป็นพืน้ ฐานของเร่ือง ท่จี ะต้องเรยี น ๘.๑.๑.๒ เลือกวธิ กี ารและจดั ทำเครอ่ื งมือสำหรบั ประเมนิ ความรู้ และทักษะพื้นฐานอย่างเหมาะสมและมีประสิทธภิ าพ ๘.๑.๑.๓ ดำเนินการประเมินความรู้และทักษะพนื้ ฐานของผู้เรียน ๘.๑.๑.๔ นำผลการประเมนิ ไปดำเนนิ การปรับปรุงผ้เู รียน ให้มีความรู้และทักษะอย่างเพียงพอก่อนดำเนนิ การสอน ๘.๑.๑.๕ จัดการสอนในเรอ่ื งทจ่ี ัดเตรียมไว้ ๘.๑.๒ การประเมินความรอบรใู้ นเรอ่ื งที่จะเรียนก่อนการเรียน เปน็ การประเมนิ ผ้เู รียนในเร่ืองทจ่ี ะทำการสอน เพื่อตรวจสอบวา่ ผเู้ รียนมีความรู้และทกั ษะในเรื่องทจ่ี ะเรียนนนั้ มากน้อยเพยี งไร เพ่ือจะนำไปเป็นข้อมูลเบอ้ื งต้นของผเู้ รยี นแต่ ละคนและนำไปเปรยี บเทียบกับผลการเรยี นรู้ภายหลงั เขา้ ร่วมกิจกรรมการเรยี นการสอนแลว้ จะทำให้ทราบถึง ศักยภาพในการเรยี นรขู้ องผู้เรียน และประสิทธิภาพในการจัดการเรยี นการสอน ๘.๑.๓ ผ้สู อนตอ้ งแจง้ ใหผ้ ูเ้ รียนทราบตัวชีว้ ดั วิธกี ารประเมินผล กอ่ นทำการสอน ๘.๑.๔ จุดประสงค์การเรยี นรูจ้ ะตอ้ งครอบคลมุ พฤติกรรมด้านความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะ กระบวนการ และคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์

๘.๒ การประเมินระหว่างเรยี น ข้ันที่ ๑ เปน็ การประเมินเพื่อมงุ่ ตรวจสอบพัฒนาการของผเู้ รยี นวา่ บรรลุ ตามตวั ชว้ี ัดในการสอนตามแผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ไดว้ างแผนไวห้ รือไม่ ให้ถอื แนวทางปฏบิ ตั ดิ งั นี้ ขนั้ ท่ี ๒ วางแผนการจัดการเรียนรูแ้ ละการประเมนิ ผลระหว่างเรยี น ผู้สอนจัดทำแผนการจดั การเรียนรแู้ ละแนวทางการประเมินผล ให้สอดคล้องกับตวั ช้ีวดั ซง่ึ ควรระบุ ภาระงาน ที่จะทำใหผ้ ู้เรยี นบรรลุผลตามตวั ชว้ี ดั ขั้นท่ี ๓ เลือกวธิ ีการประเมนิ ท่ีสอดคล้องกบั ภาระงานหรอื กจิ กรรมหลกั ที่กำหนดให้ ผู้เรียนปฏบิ ตั ิ วธิ กี ารประเมนิ ทีเ่ หมาะสมอยา่ งย่งิ สำหรับการประเมนิ ระหว่างเรยี น ได้แก่การประเมินจากสิ่งที่ ผเู้ รยี นได้แสดงใหเ้ หน็ วา่ มีความรู้ ทักษะและความสามารถ ตลอดจนมคี ุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ อนั เปน็ ผล จากการเรยี นรู้ ตามกระบวนการเรียนรทู้ ่จี ดั ผสู้ อนควรใช้วิธกี ารประเมนิ ทห่ี ลากหลาย ขั้นที่ ๔ กำหนดสดั ส่วนการประเมินระหวา่ งเรยี นกับการประเมินผลปลายภาคเรียน เปน็ การประเมนิ เพื่อมุ่งนำสารสนเทศมาพฒั นาผเู้ รยี นและปรบั ปรงุ กระบวนการ จัดการเรียนรูข้ องผูส้ อน ดังนัน้ ควรให้น้ำหนักความสำคัญของการประเมินในสดั สว่ นท่มี ากกวา่ การประเมินตอนปลายภาคเรยี นหรือ ปลายปี โดยคำนึงถงึ ธรรมชาตขิ องวิชาและตัวชี้วัดเป็นสำคญั และต้องนำผลการประเมินระหว่างเรยี นไปใช้ ในการตดั สนิ ผลการเรียนดว้ ย ขั้นที่ ๕ จัดทำเอกสารบนั ทึกข้อมลู สารสนเทศของผู้เรียน ผ้สู อนต้องจดั ทำเอกสาร บันทึกข้อมลู สารสนเทศของผู้เรียนเก่ยี วกบั การประเมนิ ผลระหวา่ งเรียนอยา่ งเป็นระบบชัดเจน เพอ่ื ใชเ้ ป็น แหล่งข้อมูลในการปรับปรุง แก้ไข ส่งเสรมิ ผูเ้ รียน ใช้เป็นหลักฐานสำหรบั การส่ือสารกบั ผู้ที่เกย่ี วข้อง และ เป็นหลักฐานทต่ี รวจสอบได้ อันแสดงให้เห็นถึงความโปรง่ ใสและยุติธรรมในการประเมิน ขน้ั ท่ี ๖ ในกรณีท่ีดำเนินการประเมนิ ผลการเรยี นในระหวา่ งเรยี นตามตัวชี้วดั / จดุ ประสงค์การเรียนร/ู้ การทดสอบระหว่างเรียนในแต่ละหัวขอ้ /แต่ละคร้งั หากผเู้ รียนได้รับผลการประเมิน นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 ของคะแนนทก่ี ำหนดให้ครูผสู้ อนประจำวชิ าดำเนินการซ่อมเสริม เพิ่มเติมความรู้และ ทักษะท่บี กพร่องแกผ่ ู้เรยี นด้วยวธิ ีที่หลากหลาย จนกระท่ังนักเรียนไดร้ ับผลการประเมนิ ในแตล่ ะตัวช้ีวดั / จดุ ประสงค์การเรยี นรู้/ผลการทดสอบระหว่างเรียนใหไ้ ดผ้ า่ นเกณฑ์ขนั้ ตำ่ ท่ีร้อยละ 60 ขึ้นไป ๘.๓ การประเมินเพ่ือสรุปผลการเรียน ๘.๓.๑ การประเมินหลงั เรียน เปน็ การประเมนิ ผูเ้ รียนในเรื่องท่ีเรยี นจบแล้วเพื่อตรวจสอบวา่ ผ้เู รียนเกดิ การเรียนรู้ตามตวั ชว้ี ัดหรอื ไม่ และนำผลไปเปรียบเทียบกับผลการประเมนิ กอ่ นเรยี น เพ่ือทราบถงึ พัฒนาการและศักยภาพของผ้เู รยี น

๘.๓.๒ การประเมนิ ผลการเรียนปลายภาค เป็นการประเมินเพ่ือตรวจสอบผลสมั ฤทธ์ขิ องผูเ้ รยี นในการเรยี น รายวชิ าตา่ ง ๆ ตามตัวบ่งชี้หรอื ตัวช้วี ดั รายภาค หลังจากจบกระบวนการเรยี นการสอน โดยประเมนิ ให้ ครอบคลุมทง้ั ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ สามารถใชว้ ธิ กี าร และเครื่องมอื การประเมินได้อย่างหลากหลาย ให้สอดคล้องกบั ตวั บง่ ชีห้ รอื ตัวชีว้ ดั เน้อื หาสาระ กิจกรรมและช่วงเวลาใน การประเมนิ โดยนำผลการประเมนิ ระหว่างเรียนมาใช้เป็นข้อมูลรว่ มในการประเมินผลปลายภาค ดว้ ยใน สัดสว่ นการประเมนิ ระหวา่ งเรยี นมากกวา่ การประเมนิ ผลปลายภาค ในการประเมนิ ผลการเรยี นปลายภาค ทุกภาคเรียน ให้มีการประเมิน ทกั ษะการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียนด้วย ข้อ ๙ การประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ใหถ้ ือแนวปฏิบตั ิดังนี้ ๙.๑ การประเมนิ กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นปลายภาค ๙.๑.๑ ผรู้ บั ผดิ ชอบกิจกรรมประเมินการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมของผู้เรียน ตามจุดประสงคก์ ารปฏิบัติของแตล่ ะกจิ กรรม โดยประเมนิ จากพฤติกรรมการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมและผลการ ปฏบิ ตั ิกิจกรรม ดว้ ยวิธีการที่หลากหลายตามสภาพจรงิ ๙.๑.๒ ผ้รู บั ผดิ ชอบกจิ กรรมตรวจสอบการใช้เวลาเข้าร่วมกจิ กรรมของผ้เู รยี น ว่ามีเวลาเรียนไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาทั้งหมด ๙.๑.๓ เมือ่ สิ้นภาคเรียน ผูร้ ับผดิ ชอบกจิ กรรมต้องจดั ใหม้ ีการประเมนิ การปฏิบัติกจิ กรรมของผูเ้ รยี น เพือ่ สรุปความกา้ วหนา้ และสภาพของการปฏิบตั กิ จิ กรรมของผู้เรยี น เพ่อื การปรับปรุงแกไ้ ขหรอื ส่งเสริมการปฏิบัตกิ ิจกรรมของผู้เรียนให้เปน็ ไปอย่างถูกต้องและ มีประสทิ ธิภาพ และรายงานผลการประเมนิ ให้ผูป้ กครองทราบ โดยทำการประเมินตามจดุ ประสงค์ สำคญั ของกจิ กรรมเพื่อตัดสินผลการร่วมกจิ กรรมปลายภาค ๙.๒ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นผ่านช่วงชัน้ ให้ถอื แนวปฏิบัติดังน้ี ๙.๒.๑ กำหนดใหค้ ณะอนุกรรมการกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น เปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบ ในการรวบรวมขอ้ มลู เกี่ยวกับการร่วมกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียนของผ้เู รียนทุกคนตลอดชว่ งชั้น ๙.๒.๒ ผรู้ บั ผิดชอบสรุปและประเมนิ ผลการร่วมกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น เปน็ รายบุคคล โดยพจิ ารณาเวลาการเขา้ ร่วมกจิ กรรมต้องไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ ๘๐ และ ผา่ นจุดประสงค์สำคัญ ของกิจกรรมทุกขอ้

๙.๒.๓ นำเสนอผลการประเมินตอ่ คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและ วิชาการเพือ่ ให้ความเหน็ ชอบ ๙.๒.๔ เสนอผู้อำนวยการโรงเรยี นหนองไผ่เพื่อพิจารณาอนุมตั ิต่อไป ขอ้ ๑๐ การประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ให้ถือแนวปฏิบัติดังน้ี ๑๐.๑ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของโรงเรยี นกำหนดไว้ ดงั นี้ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ๒. ซอื่ สัตย์ สจุ รติ ๓. มีวินัย ๔. ใฝเ่ รยี นรู้ ๕. อยู่อยา่ งพอเพยี ง ๖. มุ่งมั่นในการทำงาน ๗. รกั ความเปน็ ไทย ๘. มจี ิตสาธารณะ ๑๐.๒ เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ดีเยี่ยม หมายถึง ผ้เู รยี นมีคณุ ลกั ษณะในการปฏบิ ตั ิจนเปน็ นิสยั และ นำไปใช้ในชวี ติ ประจำวันเพื่อประโยชนส์ ขุ ของตนเอง และสังคม ดี หมายถึง ผเู้ รยี นมีคุณลกั ษณะในการปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์เพื่อให้ เป็นทีย่ อมรับของสังคม ผา่ น หมายถึง ผเู้ รียนรับรู้และปฏบิ ัตติ ามกฎเกณฑ์และเง่ือนไขท่ี สถานศกึ ษากำหนด ๑๐.๓ กิจกรรมพัฒนา มี ๓ ลกั ษณะคือ ๑. กจิ กรรมแนะแนว ๒. กจิ กรรมนักเรยี นซง่ึ ประกอบดว้ ย ๑) กิจกรรมลกู เสือเนตรนารี ยวุ กาชาด ผบู้ ำเพ็ญประโยชน์ และ

นกั ศึกษาวิชาทหาร โดยผูเ้ รยี นเลอื กอย่างใดอยา่ งหนึง่ ๑ กิจกรรม ๓. กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ ให้ใชต้ วั อกั ษรแสดงผลการประเมินดงั นี้ “ผ” หมายถงึ ผู้เรยี นมเี วลาเขา้ รว่ มกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ปฏบิ ตั ิกิจกรรม และมผี ลงานตามเกณฑต์ ามท่ีสถานศึกษากำหนด “มผ” หมายถงึ ผเู้ รยี นมีเวลาเขา้ รว่ มกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ปฏบิ ตั กิ ิจกรรม และมผี ลงานไม่เปน็ ไปตามเกณฑ์ตามที่สถานศกึ ษากำหนด ในกรณที ่ผี เู้ รยี นได้ผลการเรยี น “มผ” สถานศึกษาต้องจัดซอ่ มเสริม ให้ผเู้ รียน ทำกิจกรรมในส่วนที่ผูเ้ รียนไม่ไดเ้ ข้ารว่ มหรือไม่ได้ทำจนครบถว้ น แลว้ จงึ เปล่ียนผลการเรยี นจาก “มผ” เป็น “ผ” ได้ ทงั้ นตี้ ้องดำเนินการใหเ้ สร็จในภาคเรยี นนนั้ ๆ ยกเวน้ มเี หตสุ ดุ วิสยั ให้อยู่ในดุลยพินจิ ของสถานศกึ ษาท่ี จะพจิ ารณาขยายเวลาออกไปอีก ๑ ไมเ่ กนิ ภาคเรียน แต่ต้องดำเนินการให้เสรจ็ สนิ้ ภายในปกี ารศึกษาน้ัน ๑๐.๔ ผสู้ อนหรอื ครทู ี่ปรึกษาเลอื กวิธีการประเมนิ และใชเ้ ครื่องมือทหี่ ลากหลาย ไดแ้ ก่ การสงั เกตพฤติกรรมในการดำเนนิ ชีวิตประจำวนั ทง้ั ในและนอกห้องเรยี น การสัมภาษณ์ การบันทกึ เหตกุ ารณ์ การรายงานตนเอง เปน็ ตน้ ทัง้ นีจ้ ะต้องเหมาะสมกบั กจิ กรรมและคณุ ลักษณะทีจ่ ะประเมิน ๑๐.๕ ผู้รบั ผิดชอบทำการประเมินและรวบรวมข้อมูลการประเมนิ คุณธรรมจรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคจ์ ากหลายฝา่ ย เช่น จากผสู้ อน ผู้เรียน ผปู้ กครอง และ ผู้เกย่ี วข้อง ให้คณะกรรมการพฒั นาและประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ประกอบการพิจารณา ตัดสนิ ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะแตล่ ะประการ ๑๐.๖ ผเู้ รียนท่ไี มผ่ า่ นเกณฑ์การประเมิน ให้บันทึกขอ้ มลู “ควรปรบั ปรงุ ” แจง้ ให้ผู้เรียนและผู้ปกครองทราบ จดั กจิ กรรมซ่อมเสรมิ เพอื่ ปรับปรุงแก้ไข ให้ผู้เรียนพฒั นาคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ท่ตี ้องปรบั ปรงุ ตามแนวทางท่ีคณะกรรมการกำหนด ขอ้ ๑๑ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น ให้ถอื แนวปฏบิ ตั ดิ งั น้ี ๑๑.๑ ข้นั ตอนดำเนินการในการประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี น มีดงั นี้ ๑๑.๑.๑ กำหนดใหค้ ณะกรรมการบริหารหลกั สูตรและวิชาการของ โรงเรียน กำหนดมาตรฐานการอา่ นคิดวิเคราะห์ และเขียนสื่อความกำหนดแนวทางและวิธีการประเมนิ ที่ เหมาะสม กำหนดเกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขยี นตามความเหมาะสมและแนว ทางการซ่อมเสริมปรบั ปรุงผู้เรียนที่ยังไม่ได้คุณภาพตามมาตรฐานข้นั ต่ำของโรงเรียนหนองไผ่ ๑๑.๑.๒ ประกาศแนวทางตา่ ง ๆ ตามข้อ ๑๐.๑.๑ ให้ผูเ้ กีย่ วข้องได้รับ

ทราบอยา่ งสม่ำเสมอและชแี้ จงใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจ ๑๑.๑.๓ กำหนดให้คณะกรรมการประเมนิ การอา่ น คิดวิเคราะห์ และ เขียนท่ีได้รบั การแต่งตง้ั จัดทำเครอ่ื งมือประเมนิ สรปุ รวบรวมข้อมูลและตดั สินผลการประเมิน ๑๑.๑.๔ คณะกรรมการดำเนินการประเมนิ และนำเสนอผลการประเมนิ ต่อ คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรและวิชาการของโรงเรียนเพื่อให้ความเห็นชอบและเสนอผู้อำนวยการ สถานศกึ ษา โรงเรียนหนองไผ่ อนุมัติผลตอ่ ไป ๑๑.๒ แนวทางการประเมินความสามารถการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน ปลายภาค มแี นวดำเนินการดงั นี้ ๑๑.๒.๑ ผ้มู ีหนา้ ที่ประเมนิ ตรวจสอบหรอื ประเมนิ ผ้เู รยี นใน ความรับผิดชอบตามวิธีการและเคร่อื งมือ ทค่ี ณะกรรมการดำเนินการจัดทำ เพ่ือให้ไดข้ อ้ มลู ความสามารถ ของผู้เรียน ดา้ นการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียนอยา่ งเหมาะสม ครบถ้วน ตามศักยภาพท่ีแทจ้ รงิ ของ ผเู้ รียน แล้วรายงานคณะกรรมการดำเนนิ การประเมิน การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน ผ้มู หี น้าท่ีประเมิน สามารถทจ่ี ะสรุปผลการประเมนิ กลางภาคเรยี นเพือ่ แจง้ ให้ผู้เรยี นได้ทราบถึงสถานภาพของตน และทำการ ปรบั ปรุงแก้ไขตนเองได้ ๑๑.๒.๒ เกณฑก์ ารตัดสิน ให้ใช้การคำนวณแบบฐานนยิ มจากผลการตดั สนิ รายวชิ า เปน็ ผลสรปุ การประเมนิ ในภาคเรียนหรอื ปลายปีนัน้ ๑๑.๒.๓ แจง้ ผลการประเมินใหผ้ เู้ รียนและผู้ปกครองทราบ ๑๑.๒.๔ ดำเนนิ การซอ่ มเสริม ปรับปรุง แก้ไขผูเ้ รยี นในส่วนทไ่ี มผ่ า่ น ประเมนิ ๑๑.๓ แนวทางการประเมินตัดสนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น ผา่ นช่วงชัน้ ให้ถือแนวปฏิบัตดิ งั น้ี ๑๑.๓.๑ ผู้มีหน้าท่ปี ระเมนิ ทำการตรวจสอบหรือประเมินผเู้ รียนในความ รับผิดชอบ ตามวิธีการและเคร่อื งมือทกี่ ำหนด ใหไ้ ดข้ ้อมูลความสามารถของผ้เู รยี นด้านการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน อยา่ งถูกต้อง ครบถว้ น ตามศกั ยภาพของผูเ้ รยี น รายงานคณะกรรมการดำเนินการประเมินการอ่านคิด วิเคราะห์และเขียน ๑๑.๓.๒ การดำเนินการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น ตดั สิน

การผ่านมาตรฐานตามเกณฑ์ทกี่ ำหนด โดยใชก้ ารคำนวณแบบฐานนิยมจากผลการประเมนิ รายวิชา เป็น ผลสรปุ การประเมินรายภาค และเพ่ือตดั สนิ การผ่านชว่ งชั้น ๑๑.๓.๓ ดำเนินการซอ่ มเสรมิ ปรบั ปรงุ แก้ไข ผูเ้ รียนทไี่ ม่ผ่านการประเมนิ แลว้ ประเมินใหม่ ๑๑.๓.๔ จดั ส่งผลการประเมนิ นำเสนอ ใหผ้ ู้อำนวยการสถานศกึ ษาโรงเรยี น หนองไผ่ อนุมัติผลการตัดสินการผ่านช่วงช้นั ตอ่ ไป หมวด ๔ การตัดสินผลการเรยี น ข้อ ๑๒ การตัดสนิ ผลการเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ๘ กลมุ่ ให้ถือแนวปฏิบตั ิดงั นี้ ๑๒.๑ การตดั สนิ ผลการเรยี นรู้กลมุ่ สาระรายภาค ๑๒.๑.๑ ผ้สู อนทำการวดั และประเมนิ ผูเ้ รยี นเป็นรายวชิ า ซึ่งครอบคลมุ ตวั บง่ ชี้หรอื ตัวชี้วดั รายภาค ดว้ ยวิธกี ารท่หี ลากหลายให้ไดผ้ ลการประเมนิ ตามความสามารถท่แี ทจ้ ริงของผเู้ รยี น โดยทำการวัดและประเมนิ ผลไปพร้อมกับกระบวนการจัดการเรียน การสอนได้แก่ การสังเกต พฒั นาการและ ความประพฤติของผู้เรยี น การสังเกตพฤติกรรมการเรยี น การร่วมกิจกรรมและการทดสอบภายหลังการเรยี น ซง่ึ ผสู้ อนต้องนำนวัตกรรมการวัดและประเมนิ ผลทางเลือกใหม่ เชน่ การประเมนิ ผลตามสภาพจริง การ ประเมินการปฏิบตั ิงาน การประเมนิ จากโครงงาน และการประเมนิ จากแฟ้มสะสมงานไปใชใ้ นการประเมินผล การเรียน ควบคไู่ ปกบั การใช้แบบทดสอบต่าง ๆ ซึ่งกำหนดใหม้ ีอตั ราส่วนของแบบทดสอบแบบอตั นัยไมต่ ำ่ กวา่ ร้อยละ ๓๐ ของการทดสอบนั้นรวมทั้งรวบรวมเวลาเรยี นของผเู้ รยี น ๑๒.๑.๒ การวดั และประเมินผลการเรียนรใู้ นกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ภาษาตา่ งประเทศ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กำหนดอตั รา คะแนนดังน้ี ๑) คะแนนสอบระหว่างเรยี น จำนวน ๗๐ คะแนน ๒) คะแนนสอบปลายภาค จำนวน ๓๐ คะแนน ๑๒.๑.๓ การวัดและประเมินผลการเรียนรใู้ นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี สุข ศึกษาและพลศกึ ษา ศิลปะ กำหนดอัตราคะแนนดังน้ี ๑) คะแนนสอบระหว่างเรยี น จำนวน ๘๐ คะแนน ๒) คะแนนสอบปลายภาค จำนวน ๒๐ คะแนน

๑๒.๑.๔ การตัดสินใหร้ ะดบั ผลการเรยี นกล่มุ สาระการเรียนรูร้ ายภาค ใหก้ ำหนดการตดั สนิ เปน็ รายวิชา ซ่งึ จำแนกเป็น ๘ ระดบั ดังน้ี “๔” หมายถงึ ผลการเรียนดเี ย่ียม “๓.๕” หมายถงึ ผลการเรียนดมี าก “๓” หมายถึง ผลการเรียนดี “๒.๕” หมายถึง ผลการเรียนคอ่ นข้างดี “๒” หมายถึง ผลการเรียนนา่ พอใจ “๑.๕” หมายถึง ผลการเรียนพอใช้ “๑” หมายถงึ ผลการเรยี นผา่ นเกณฑข์ ั้นตำ่ ท่ีกำหนด “๐” หมายถึง ผลการเรียนต่ำกวา่ เกณฑ์ขน้ั ต่ำท่ีกำหนด ๑๒.๑.๕ การตัดสนิ ให้ระดบั ผลการเรยี นวชิ าการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง ได้แก่ รายวชิ า IS1 (การศึกษาคน้ ควา้ และสร้างองคค์ วามรู้) และรายวชิ า IS2 (การส่ือสารและการนำเสนอ) ให้ กำหนดการตดั สนิ เป็นรายวชิ า ซง่ึ จำแนกเป็น ๘ ระดบั ดังนี้ “๔” หมายถึง ผลการเรยี นดเี ยี่ยม “๓.๕” หมายถงึ ผลการเรยี นดมี าก “๓” หมายถงึ ผลการเรียนดี “๒.๕” หมายถึง ผลการเรียนคอ่ นข้างดี “๒” หมายถงึ ผลการเรียนน่าพอใจ “๑.๕” หมายถึง ผลการเรียนพอใช้ “๑” หมายถงึ ผลการเรียนผ่านเกณฑ์ข้ันต่ำท่กี ำหนด “๐” หมายถงึ ผลการเรยี นตำ่ กว่าเกณฑ์ขน้ั ตำ่ ทีก่ ำหนด ๑๒.๑.๖ ใหพ้ จิ ารณาตัดสินวา่ ผู้เรยี นไดห้ น่วยการเรยี นเฉพาะผู้ท่สี อบได้ ระดับผลการเรยี น ๑, ๑.๕, ๒, ๒.๕, ๓, ๓.๕ และ ๔ เท่านนั้ และมีเวลาเรยี นไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ ในกรณีที่ไม่สามารถใหร้ ะดบั ผลการเรียนเป็น ๘ ระดับได้ให้ใชต้ วั อกั ษรระบุเง่ือนไขของผลการเรียนดังนี้ “มส” หมายถึง ผู้เรียนไม่มสี ิทธเิ ข้ารบั การวดั ผลปลายภาคเรียน เน่ืองจากผ้เู รยี นมเี วลาเรียน ไม่ถงึ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรยี นในแตล่ ะรายวิชา และไม่ไดร้ ับการผ่อนผันใหเ้ ขา้ รบั การวัดผลปลายภาคเรียน

“ร” หมายถงึ รอการตัดสินและยังตดั สนิ ผลการเรยี นไมไ่ ด้ เนือ่ งจากผู้เรยี นไม่มีข้อมูลผลการ เรียนรายวิชาน้ันครบถว้ น ได้แก่ ไม่ได้วดั ผลกลางภาคเรียน/ปลายภาคเรียน ไม่ไดส้ ง่ งานที่มอบหมายให้ทำ ซึ่ง งานนน้ั เป็นส่วนหนึ่งของการตัดสินผลการเรียน หรอื มเี หตุสุดวิสัยท่ีทำให้ประเมินผลการเรียนไมไ่ ด้ ๑๒.๑.๗ กรณีทผ่ี เู้ รียนมีผลการเรยี นมผี ลการเรียนตำ่ กว่าเกณฑ์ท่กี ำหนด สถานศกึ ษาจัดใหม้ ีการสอนซ่อมเสริมในมาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวช้ีวัดท่ผี เู้ รียนสอบไมผ่ า่ นกอ่ น แลว้ จึง สอบแกต้ ัวไดไ้ มเ่ กิน ๒ ครั้ง ถ้าผเู้ รียนไม่ดำเนนิ การสอบแก้ตวั ตามระยะเวลาทีส่ ถานศึกษากำหนดให้อย่ใู นดลุ ย พนิ จิ ของสถานศกึ ษาที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีก ๑ ภาคเรียน ท้ังนี้ต้องดำเนินการใหเ้ สร็จส้ินภายในปี การศึกษานนั้ ๑๒.๑.๘ ถา้ สอบแกต้ ัว ๒ ครั้งแลว้ ได้ระดบั ผลการเรียน “๐” อีกใหป้ ฏบิ ัตดิ งั นี้ ๑) ถ้าเป็นรายวชิ าทเ่ี ปน็ กล่มุ สาระพื้นฐานให้เรยี นซ้ำ ๒) ถา้ เป็นรายวิชาเพ่มิ เตมิ ให้เรยี นซ้ำหรือเปล่ยี นรายวิชาเรียนใหม่ ทั้งนใ้ี ห้อยูใ่ น ดุลยพินจิ ของสถานศึกษา ในกรณเี ปลย่ี นรายวิชาเรียนใหม่ให้หมายเหตุในระเบยี นแสดงผลการเรียน (ปพ.๑) วา่ ให้เรยี นแทนรายวิชาใด การเรียนซ้ำรายวชิ าหากผู้เรียนได้รับการสอนซอ่ มเสริมและสอบแก้ตัว ๒ คร้งั แล้วไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ ให้ เรยี นซำ้ รายวิชานัน้ ทั้งนีใ้ หอ้ ยใู่ นดุลยพินจิ ของสถานศกึ ษาในการจดั ให้เรยี นซำ้ ในช่วงใดชว่ งหน่งึ ท่สี ถานศึกษา เหน็ ว่าเหมาะสม เชน่ พักกลางวัน วันหยุด ชว่ั โมงว่าง หลังเลกิ เรยี น ภาคฤดูร้อนเป็นต้น ในกรณภี าคเรยี นที่ ๒ หากผ้เู รยี นยังมีผลการเรยี น “๐” “ร” “มส” ให้ดำเนนิ การใหเ้ สร็จสิน้ ก่อนเปิดเรยี นปี การศกึ ษาถัดไป สถานศึกษาอาจเปิดการเรยี นการสอนในภาคฤดรู ้อนเพ่ือแก้ไขผลการเรยี นของผูเ้ รยี นได้ ๑๒.๑.๘ การตัดสินใหร้ ะดบั ผลการเรยี นวชิ าการศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง ได้แก่ IS3 (การนำองคค์ วามรู้ไปบรกิ ารสงั คม) ให้กำหนดการตัดสนิ เป็นรายวิชา กำหนดให้ระดบั ผลการตดั สินเป็น“ผา่ น” และ “ไมผ่ า่ น” ข้อ ๑๓ การประเมินการอา่ น คิด วิเคราะห์ และเขยี นให้ถือแนวทางปฏิบตั ดิ งั น้ี ๑๓.๑ ผสู้ อนทุกกลุม่ สาระการเรยี นรกู้ ำหนดการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียนเป็น ผลการเรียนรหู้ น่งึ แยกตา่ งหากจากผลการเรยี นรูร้ ายภาค และบันทึกข้อมลู ของผลการเรียนรูน้ ี้ เพื่อส่งต่อให้ คณะกรรมการการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน ๑๓.๒ ผสู้ อนหรือคณะกรรมการการอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน อาจมอบหมายให้ ผู้เรียนไปศกึ ษาค้นควา้ เรอ่ื งใดเร่อื งหนึ่งด้วยตนเองหรือใหท้ ำโครงงาน เลอื กช้ินงานที่สะทอ้ นถึงการอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียนโดยบันทึกขอ้ มูลของผลการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเองน้ี เพื่อสง่ ต่อให้คณะกรรมการการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน

๑๓.๓ เกณฑ์การตัดสนิ ผลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียนใหต้ ัดสนิ เป็นรายภาค และรายช่วงชน้ั เปน็ ๔ กลมุ่ ดงั นี้ ๐ = ไม่ผ่านเกณฑ์ คะแนน ๐ - ๔๙ คะแนน ๑ = ผา่ นเกณฑ์การประเมิน คะแนน ๕๐ - ๖๙ คะแนน ๒ = ดี คะแนน ๗๐ - ๗๙ คะแนน ๓ = ดีเยี่ยม คะแนน ๘๐ - ๑๐๐ คะแนน ๑๓.๔ ผ้เู รยี นท่ไี ม่ผ่านเกณฑ์การประเมนิ การอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียนให้ ผ้เู รยี นซ่อมเสรมิ จนกว่าจะสามารถผา่ นการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี นหรือจนกวา่ จะมี คุณสมบัติตามเกณฑ์ ข้อ ๑๔ การประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของโรงเรียน ให้ถอื ปฏิบตั ิตามแนวทาง ดังน้ี ๑๔.๑ บุคลากรทง้ั หมดของโรงเรียนและผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย ดำเนินการประเมิน ผ้เู รียนอยา่ งต่อเนอ่ื ง ซ่ึงมวี ิธีการหลากหลาย เช่น การสงั เกตและรายงานพฤติกรรม จากผทู้ ี่เกี่ยวขอ้ ง การดู ผลงาน การบนั ทึกความดี การรายงานตนเองของผู้เรยี น ฯลฯ ๑๔.๒ การประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผเู้ รียนเป็นรายปหี รือรายภาค ใหป้ ระเมนิ เพอ่ื วินิจฉัย โดยแบ่งพฤติกรรมของผู้เรียนเปน็ ๔ กลมุ่ พรอ้ มท้ังบันทึกรายละเอยี ดเก่ียวกับ พฤติกรรมเพื่อการสง่ ต่อในการพัฒนาผ้เู รยี นตอ่ ไป ๑๔.๓ การจัดกลมุ่ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผูเ้ รียนเปน็ ๔ กลมุ่ ดงั น้ี ๐ = ไมผ่ ่านเกณฑ์ คะแนน ๐ - ๔๙ คะแนน ๑ = ผ่านเกณฑ์การประเมิน คะแนน ๕๐ - ๖๙ คะแนน ๒ = ดี คะแนน ๗๐ - ๗๙ คะแนน ๓ = ดเี ยยี่ ม คะแนน ๘๐ - ๑๐๐ คะแนน ๑๔.๔ ผูเ้ รยี นที่ไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ คุณลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องโรงเรียน จะต้องปฏิบัตกิ ิจกรรมคณุ ความดชี ดเชยตามที่โรงเรยี นกำหนดจนกว่าจะมีคณุ สมบัติตามเกณฑ์

ท่ีโรงเรียนกำหนดจงึ จะให้ผา่ นช่วงชนั้ ข้อ ๑๕ การตัดสินการเขา้ ร่วมกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ใหถ้ อื ปฏบิ ตั ิตามแนวทาง ดังน้ี ๑๕.๑ ผรู้ ับผิดชอบกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนของโรงเรยี น และผเู้ กย่ี วข้องจะดำเนินการ ประเมนิ ผเู้ รยี น ตามจุดประสงคข์ องกิจกรรมอย่างต่อเนอื่ งตลอดช่วงเวลาของการเข้ารว่ มกิจกรรมโดยการ รวบรวมจากบนั ทึกการเขา้ รว่ มกิจกรรม และผลการปฏิบตั ิกจิ กรรมจากผู้ทเ่ี ก่ยี วข้อง รวมทง้ั เวลาท่ผี เู้ รยี นใชใ้ น การเขา้ ร่วมกิจกรรมเมื่อสิ้นสุดกิจกรรมนำมา พิจารณาตัดสนิ ร่วมกนั ๑๕.๒ การตดั สินการเขา้ ร่วมกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียนแต่ละกิจกรรม โดยให้พิจารณา จากผลการประเมนิ ซ่ึงต้องผา่ นจุดประสงค์สำคัญของกิจกรรมทุกข้อ และมีเวลาเขา้ ร่วมกจิ กรรมไม่น้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ๑๕.๓ การให้ระดับผลการตัดสินการเขา้ ร่วมกจิ กรรม กำหนดใหร้ ะดับผลการ ประเมินเป็น“ผ่าน” และ “ไม่ผา่ น” ๑๕.๔ ในกรณที ่ผี เู้ รียน “ไม่ผา่ น” การเขา้ ร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ให้ผเู้ รียน เข้ารบั การซ่อมเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนทำในสว่ นในส่วนทีผ่ ู้เรยี นไม่ได้ทำหรือไมไ่ ด้เขา้ รว่ มจนครบถว้ นแลว้ จงึ เปล่ียนผล การเรียนจาก “ไม่ผ่าน” เปน็ “ผา่ น” ได้ ๑๕.๕ ผ้เู รยี นทไี่ มผ่ า่ นเกณฑ์มาตรฐานการประเมิน การเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนา ผเู้ รียนจะต้องเข้ารว่ มกจิ กรรมเสริมทโ่ี รงเรยี นจดั ขึน้ และสามารถผ่านเกณฑ์ทก่ี ำหนดให้ หรอื ขยายเวลาเรยี นจนกวา่ จะมีคุณสมบัติตามเกณฑ์การผา่ นช่วงชั้น ข้อ ๑๖ ผูเ้ รยี นท่ไี ด้รบั ผลการตดั สนิ ผา่ นตามเกณฑ์ จงึ จะได้รบั การเลื่อนชนั้ การผา่ นช่วงชั้น การ จบหลกั สูตรการศึกษาภาคบังคับและการจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน หมวด ๕ การอนุมัติการจบหลักสตู ร ขอ้ ๑๗ ผู้เรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ๓ จะไดร้ ับการพจิ ารณาใหจ้ บหลักสูตรได้จะต้อง มี คุณสมบัติดงั น้ี ๑๗.๑ เรียนรายวชิ าพ้ืนฐานและเพิม่ เติม ไม่เกิน ๘๑ หนว่ ยกติ โดยเป็นรายวชิ าพน้ื ฐาน ๖๓ หนว่ ยกติ และรายวชิ าเพิ่มเติมตามหลกั สูตรสถานศึกษา

๑๗.๒ ผู้เรยี นตอ้ งไดห้ นว่ ยกิตตลอดหลกั สตู รไม่นอ้ ยกว่า ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็นรายวชิ า พน้ื ฐาน ๖๓ หนว่ ยกติ และรายวิชาเพม่ิ เตมิ ไม่น้อยกว่า ๑๔ หนว่ ยกติ (ได้ระดับผลการเรียน ๑ , ๑.๕, ๒ , ๒.๕, ๓ , ๓.๕ และ ๔) ๑๗.๓ ไดผ้ ลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี นส่อื ความ “ผ่านเกณฑ์ ขั้นต่ำ” (ไดร้ ะดับผลการประเมนิ ๑, ๒ และ ๓) ๑๗.๔ ได้ผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ “ผา่ นเกณฑ์ขนั้ ต่ำ”(ไดร้ ะดับ ผลการประเมนิ ๑, ๒ และ ๓) ๑๗.๕ ได้ผลการประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน “ผ่าน” ทุกกิจกรรม ใหถ้ อื ว่าเปน็ ผู้ที่ได้รบั การตดั สินใหผ้ ่านช่วงช้ันท่ี ๓ และเปน็ ผจู้ บหลักสูตรการศกึ ษาภาคบงั คับ ข้อ ๑๘ ผู้เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๔ – ๖ จะได้รับการพจิ ารณาให้จบหลักสตู รได้ จะตอ้ งมี คณุ สมบตั ดิ ังน้ี ๑๘.๑ ผู้เรียนเรยี นรายวชิ าพนื้ ฐานและเพิ่มเติม ไมเ่ กิน ๘๑ หน่วยกิต โดยเปน็ รายวิชาพนื้ ฐาน ๓๙ หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามหลักสูตรสถานศึกษา ๑๘.๒ ผูเ้ รยี นตอ้ งไดห้ น่วยกิตตลอดหลกั สตู รไม่น้อยกว่า ๗๗ หนว่ ยกติ โดยเป็นรายวิชา พนื้ ฐาน ๓๙ หน่วยกติ และรายวชิ าเพิ่มเติมไม่น้อยกวา่ ๓๘ หน่วยกิต (ได้ระดบั ผลการเรยี น ๑ , ๑.๕, ๒ , ๒.๕, ๓ , ๓.๕ และ ๔) ๑๘.๓ ไดผ้ ลการประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น “ผ่านเกณฑ์ ข้นั ต่ำ” (ได้ระดับผลการประเมนิ ๑, ๒ และ ๓) ๑๘.๔ ได้ผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ “ผ่านเกณฑ์ข้นั ต่ำ” (ไดร้ ะดับผลการประเมิน ๑, ๒ และ ๓) ๑๘.๕ ไดผ้ ลการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน “ผา่ น” ทุกกจิ กรรมให้ถือวา่ เป็น ผู้ทไี่ ด้รับการตัดสินใหผ้ ่านชว่ งชน้ั ท่ี ๔ และเป็นผจู้ บหลกั สูตรการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ข้อ ๑๙ ใหผ้ ู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรยี นหนองไผ่ เป็นผู้อนมุ ตั ิผลการเรยี นและการจบ หลกั สตู ร

หมวด ๖ การเทยี บโอนผลการเรียน ข้อ ๒๐ ผขู้ อเทยี บความร้แู ละประสบการณ์ต้องเปน็ ผู้ที่กำลังเรยี นอยูต่ ามโครงสร้างหลักสูตรของ โรงเรยี น/สถานศกึ ษานนั้ หรอื กำลงั ปฏิบัตปิ ระสบการณน์ ้นั อยู่หรือผู้ทสี่ อบเทยี บความรกู้ ารศึกษานอกระบบ ผา่ นมาแล้วอยา่ งน้อย ๑ ปี ข้อ ๒๑ ผู้ขอเทียบความรู้และประสบการณ์ ต้องมคี วามรู้ ประสบการณ์ ทกั ษะตรงและครอบคลุม กับสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มวชิ ารายภาค ซง่ึ โรงเรียนได้จดั เปน็ หลกั สตู รของโรงเรียนไวแ้ ลว้ และ ตรงกับชั้นปีทีก่ ำลังจะเปดิ เรียน ขอ้ ๒๒ คณะกรรมการบริหารหลักสตู รเปน็ ผพู้ จิ ารณาการขอเทียบโอนความร้แู ละประสบการณ์โดย ใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บของกระทรวงศึกษาธิการ หมวด ๗ การยา้ ยสถานศึกษา ขอ้ ๒๓ ผเู้ รยี นคนใดตอ้ งยา้ ยทเี่ รยี นให้นำหลกั ฐานจากโรงเรยี นเดิมไปใหโ้ รงเรียนใหม่ ข้อ ๒๔ โรงเรียนพิจารณาหลักฐานการศึกษาของผู้เรยี น แลว้ จัดการเรยี นการสอนสาระและ มาตรฐานการเรยี นรู้กลุ่มวิชารายปี ใหต้ อ่ เน่อื งครบถ้วนตามโครงสร้างของหลักสตู ร ขอ้ ๒๕ กลุ่มสาระและมาตรฐานการเรียนรูร้ ายภาคใด ที่ผขู้ อยา้ ยไมไ่ ด้ศกึ ษาตามแผนการจดั การ เรียนการสอนของโรงเรยี นเดิม ใหโ้ รงเรยี นจดั สอนเพิ่มใหค้ รบ แต่ถา้ ผูข้ อย้ายได้ศึกษามาแล้วใหอ้ ยู่ในดุลยพนิ ิจ ของโรงเรยี นใหม่ว่าจะให้เรยี นใหมท่ งั้ หมดหรือเรยี นใหม่ เฉพาะบางส่วนหรอื ยกเวน้ ไม่ตอ้ งเรยี นในกรณที ่ีใหเ้ รียนใหมเ่ ฉพาะบางส่วน ผลการเรียนทีไ่ ด้ไม่มผี ลต่อการ เปลย่ี นแปลงผลการเรยี นจากโรงเรยี นเดิม ขอ้ ๒๖ ผู้เรยี นท่ีทำการย้ายสถานศึกษา ตอ้ งผ่านการทดสอบความพร้อมดว้ ยวธิ กี ารและเครื่องมือที่ หลากหลาย โดยครอบคลุมทุกกลมุ่ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ และผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ของโรงเรียนที่ กำหนดไว้ โดยมีคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรเป็นผ้ดู ูแล

แนวทางการประเมนิ ผลการเรียน ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๖๑ โรงเรียนหนองไผ่ อำเภอหนองไผ่ จงั หวัดเพชรบูรณ์ การประเมนิ ความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น น้ำหนักคะแนน การอา่ น , คิดวเิ คราะห์ , เขียนสื่อความ (๑๐๐ คะแนน) กล่มุ สาระการเรยี นรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียน ๓๕ ๓๕ ภาษาไทย ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๕๐ ๓๐ ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๕๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ วิทยาศาสตร์ ๒๐ ๔๐ ๓๐ ๔๐ ๓๐ คณติ ศาสตร์ ๒๐ ๖๐ ๒๐ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ๔๐ ศลิ ปะ ๓๐ สุขศกึ ษาและพลานามัย ๓๐ การงานและพื้นฐานอาชพี และเทคโนโลยี ๒๐ การอ่าน - สรุปใจความสำคญั จากเร่ืองทอี่ า่ นได้ การคดิ วิเคราะห์ - เลือกใชข้ อ้ มูลได้อยา่ งถูกต้อง และนำเสนอเป็นสาระสนเทศได้ การเขียน - เขียนสื่อความหมายได้ชัดเจนถูกต้อง เกณฑก์ ารตดั สนิ ผลการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น ให้ตัดสินเป็นรายปี (ม.๑-๓) และตัดสนิ เป็นรายภาค (ม.๔-๖) และรายช่วงช้ันเป็น ๔ กลุ่ม ดังนี้ ๐ = ไม่ผ่านเกณฑ์ คะแนน ๐ - ๔๙ คะแนน ๑ = ผ่านเกณฑ์การประเมิน คะแนน ๕๐ - ๖๙ คะแนน ๒ = ดี คะแนน ๗๐ - ๗๙ คะแนน ๓ = ดเี ยีย่ ม คะแนน ๘๐ - ๑๐๐ คะแนน

แนวปฏบิ ตั กิ ารซ่อมเสริมทกั ษะการอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขียน - ในกรณนี ักเรยี นไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินให้คณะกรรมการกลมุ่ สาระดำเนนิ การซ่อมเสริม โดยการสอน ทดสอบ หรอื มอบหมายงานในทักษะที่ไมผ่ า่ นเกณฑ์ตามความเหน็ ชอบของคณะกรรมการการ ซ่อมเสรมิ ทักษะการอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน การประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของสถานศกึ ษา การประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของผเู้ รียน เป็นเงื่อนไขหนึ่งท่ผี ู้เรยี นทุกคนจะต้องได้รบั การ ประเมินผา่ นเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนด จงึ จะได้รับการตัดสินให้ผ่านการประเมนิ ตามเกณฑ์การผ่านชว่ งชนั้ การประเมินดังกล่าวเป็นการพัฒนาผเู้ รยี นเพิ่มเตมิ จากคุณลกั ษณะ ท่ีกำหนดในกล่มุ สาระการเรียนรทู้ กุ กลมุ่ เพ่อื สร้างเอกลักษณเ์ กยี่ วกับคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และ วฒั นธรรมในการดำรงชวี ติ สามารถประกอบรว่ มกับผู้อื่นอยา่ งมคี วามสุข ทั้งน้ี การประเมนิ ดงั กลา่ วจะต้องกำหนดมาตรฐานคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ทสี่ อดคล้องกบั วสิ ัยทศั น์ของสถานศึกษา และแจง้ ให้ผู้เกีย่ วข้องทุกฝ่ายทราบและมสี ่วนรว่ มในการประเมนิ ด้วย การประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของผเู้ รียนมีแนวทางในการดำเนินการประเมนิ และตดั สิน ดังน้ี ๑. บุคลากรท้ังหมดของสถานศึกษาและผู้เกยี่ วข้องทกุ ฝ่าย ดำเนนิ การประเมินผเู้ รยี น อย่างต่อเนื่อง ซง่ึ มีวิธีการให้หลากหลาย เชน่ การสังเกตและรายงานพฤติกรรมจากผูท้ ่ีเก่ียวข้อง การดูผลงาน การบันทึกความดี การรายงานตนเองของผเู้ รียน ฯลฯ ๒. การประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของผู้เรยี นเปน็ รายภาคใหป้ ระเมนิ เพื่อวินจิ ฉยั โดย แบ่งพฤตกิ รรมของผู้เรยี นเป็น ๔ กลมุ่ พรอ้ มท้งั บันทกึ รายละเอยี ดเกีย่ วกบั พฤติกรรม เพื่อการส่งต่อในการ พัฒนาผเู้ รียนตอ่ ไป ๓. การจดั กลุ่มคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผู้เรียนเป็น ๔ กลมุ่ ดังน้ี ๓ = “ดีเยี่ยม” มพี ฤตกิ รรมสูงกวา่ เกณฑ์ท่สี ถานศึกษากำหนดมาก ๒ = “ดี” มีพฤติกรรมสูงกว่าเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด ๑ = “ผ่านเกณฑ์การประเมิน” มพี ฤติกรรมตามเกณฑ์ขั้นตำ่ ทสี่ ถานศึกษากำหนด ๐ = “ควรปรับปรุง” มพี ฤตกิ รรมบางประการทีต่ อ้ งปรบั ปรุง

๔. ผเู้ รยี นที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณลกั ษณะที่พึงประสงคข์ องโรงเรียนจะต้องปฏบิ ัติ กจิ กรรมคุณความดีชดเชยตามที่โรงเรยี นกำหนดจึงจะให้ผ่านช่วงชั้น หากผเู้ รียนยังไมส่ ามารถปฏบิ ตั ติ าม เงือ่ นไขท่ีกำหนด ใหผ้ เู้ รียนขยายเวลาเรียนออกไปอกี อย่างนอ้ ย ๑ ปี/ภาคเรียน หรอื จนกวา่ จะมีคณุ สมบัติ ตามเกณฑก์ ารผ่านชว่ งชน้ั คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องโรงเรยี นหนองไผ่ มีเกณฑ์ ดังน้ี คอื ๐ = ไม่ผา่ นเกณฑ์ คะแนน ๐ - ๔๙ คะแนน ๑ = ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน คะแนน ๕๐ - ๖๙ คะแนน ๒ = ดี คะแนน ๗๐ - ๗๙ คะแนน ๓ = ดีเย่ียม คะแนน ๘๐ - ๑๐๐ คะแนน ในกรณี “ไม่ผา่ น” แนวปฏบิ ัติการปรับปรุง ๑. ทำคณุ ความดีชดเชยตามทีโ่ รงเรียนกำหนด ๒. ผูเ้ รียนท่ีไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องโรงเรียนจะต้องปฏิบัติ กจิ กรรมคุณความดีชดเชยตามท่โี รงเรียนกำหนดจงึ จะใหผ้ ่านชว่ งชัน้ จนกวา่ จะมคี ุณสมบตั ติ ามเกณฑ์การผา่ น ช่วงช้ัน ตาราง การกำหนดเกณฑ์อัตราส่วนคะแนน การประเมินผล ระหว่างภาคเรียน/ปี และ ปลายภาคเรียน/ปี กลุ่มสาระการเรียนรทู้ ุกระดบั ช้ัน กลุม่ สาระการเรียนรู้ วชิ าพ้นื ฐาน วชิ าเพ่มิ เติม ภาษาไทย ๗๐ - ๓๐ ๖๐ - ๔๐ คณิตศาสตร์ ๗๐ - ๓๐ ๗๐ - ๓๐ วิทยาศาสตร์ ๗๐ - ๓๐ ๗๐ - ๓๐ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๗๐ - ๓๐ ๗๐ - ๓๐ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ๘๐ - ๒๐ ๘๐ - ๒๐ ศิลปะ ๘๐ - ๒๐ ๘๐ - ๒๐ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ๘๐ - ๒๐ ๘๐ - ๒๐ ภาษาตา่ งประเทศ ๗๐ - ๓๐ ๗๐ - ๓๐


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook